SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 37
Baixar para ler offline
nice                 low
       desi                pric
              gn               e




                   new
                         arriva
best                              ls
       qual
           ity
สารบัญ
                                                          หนา
ตอนที่ 1 บทนํา                                              1
 บทที่ 1 แนวคิดและความสําคัญของพฤติกรรมผูบริโภค            3
       ความหมายของพฤติกรรมผูบริโภค                         4
       ความแตกตางระหวางผูซื้อ ลูกคา และผูบริโภค        8
       ประเภทของผูบริโภค                                   9
       ปจจัยทีกาหนดพฤติกรรมผูบริโภค
               ่ํ                                         12
       แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภค                          12
       การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค                           19
       แนวโนมพฤติกรรมผูบริโภคในอนาคต                     23
       ความสําคัญของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค              24
       พฤติกรรมผูบริโภคกับการประยุกตใชทางดานการตลาด    25
       โครงสรางเนื้อหาในตําราพฤติกรรมผูบริโภค            27
 บทที่ 2 การวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค                         33
       ประเภทของการวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค                  34
       ประเภทของขอมูล                                     35
       เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล                     36
       ขั้นตอนการทําวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค                 44
       ขันตอนการวาจางบริษทรับทําวิจย
         ้                     ั       ั                   47
       หัวขอการวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค                     51
       ขอพึงระวังในการทําวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค           53
       ประเด็นสําคัญในการวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค            55
ตอนที่ 2 ปจจัยดานจิตวิทยา                                61
  บทที่ 3 แรงจูงใจ                                         63
     ความหมายของแรงจูงใจ                                   64
     ประเภทของแรงจูงใจ                                     67
     ทฤษฎีแรงจูงใจ                                         73
     ความตองการ                                           79
หนา
   เปาหมาย                                      86
   การขัดจังหวะ                                  88
   ความรูสกผิดหวัง
             ึ                                  89
   การวัดแรงจูงใจ                                91
บทที่ 4 บุคลิกภาพ                                97
   ความหมายของบุคลิกภาพ                          98
   ธรรมชาติของบุคลิกภาพ                         100
   แนวทางการศึกษาเกียวกับบุคลิกภาพ
                        ่                       101
   ทฤษฎีบคลิกภาพ
              ุ                                 101
   ประเภทของบุคลิกภาพ                           105
   บุคลิกภาพตราสินคา                           116
   ภาพลักษณของตน                               120
บทที่ 5 การรับรู                               127
   ธรรมชาติของการรับรู                         129
   สวนประกอบของการรับรู                       131
   การรับรูของผูบริโภค                        135
   พลวัตของการรับรู                            140
   ตําแหนงและการเปลียนตําแหนงผลิตภัณฑ
                          ่                     149
   การรับรูดานราคา                            151
   การรับรูคุณภาพ                              153
   การรับรูความเสี่ยง                          156
บทที่ 6 การเรียนรู                             163
   การเรียนรูของผูบริโภค                      164
   ทฤษฎีการเรียนรูเชิงพฤติกรรม                 166
   ทฤษฎีการเรียนรูเชิงความคิด                  172
   การวัดการเรียนรูของผูบริโภค                180
   ขอพึงระวังในการวัดการเรียนรูของผูบริโภค   183
บทที่ 7 ทัศนคติ                                 189
   ธรรมชาติของทัศนคติ                           190
หนา
     แบบจําลองโครงสรางของทัศนคติ                       191
     การเกิดทัศนคติ                                     195
     การเปลียนแปลงทัศนคติ
            ่                                           198
     พฤติกรรมมากอนหรือมาหลังการเกิดทัศนคติ             207
ตอนที่ 3 สภาพแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรม                 217
  บทที่ 8 อิทธิพลของกลุมอางอิงและครอบครัว             219
       ธรรมชาติของกลุมอางอิง                          220
       ปจจัยที่สงผลตออิทธิพลของกลุมอางอิง          222
       กลุมอางอิงกับพฤติกรรมผูบริโภค                 224
       สังคมของสมาชิกครอบครัว                           230
  บทที่ 9 ชั้นทางสังคม                                  243
       ธรรมชาติของชั้นทางสังคม                          244
       การวัดระดับชั้นทางสังคม                          247
       ผูบริโภคที่มีฐานะดีและฐานะไมดี                 253
       การประยุกตใชชั้นทางสังคมกับงานทางดานการตลาด   254
 บทที่ 10 วัฒนธรรม                                      261
       ความรูเ บืองตนเกียวกับวัฒนธรรม
                  ้       ่                             262
       ความสําคัญของวัฒนธรรมตอนักการตลาด               263
       ธรรมชาติของวัฒนธรรม                              264
       คานิยมของคนไทยและพฤติกรรมผูบริโภค              267
       เศรษฐกิจพอเพียง                                  273
       เครื่องมือในการสํารวจวัฒนธรรมและคานิยม          274
  บทที่ 11 วัฒนธรรมยอย                                 283
       ความหมายของวัฒนธรรมยอย                          284
       วัฒนธรรมยอยทางเชื้อชาติ                         286
       วัฒนธรรมยอยทางอายุ                              289
       วัฒนธรรมยอยทางศาสนา                             295
       วัฒนธรรมยอยทางภูมิศาสตร                        300
       วัฒนธรรมยอยทางเพศ                               301
หนา
 บทที่ 12 พฤติกรรมผูบริโภคขามวัฒนธรรม                            309
       ความจําเปนของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคขามวัฒนธรรม         310
       ประเทศไทยกับผูบริโภคขามวัฒนธรรม                           311
       ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน                                      315
       ผลกระทบของประเทศแหลงกําเนิด                                316
       ความแตกตางของพฤติกรรมผูบริโภคขามวัฒนธรรม                 317
       การวิจัยตลาดกลุมผูบริโภคขามวัฒนธรรม                      327
       กลยุทธการตลาดสําหรับผูบริโภคขามวัฒนธรรม                  329
ตอนที่ 4 พฤติกรรมผูบริโภคกับการบริหารการตลาด
                                                                  339
  บทที่ 13 พฤติกรรมผูบริโภคกับคุณคาตราสินคา                     341
       ความหมายของคุณคาตราสินคา                                  342
       มุมมองคุณคาตราสินคาดานการเงิน                            344
       มุมมองคุณคาตราสินคาดานลูกคา                             344
       พฤติกรรมผูบริโภคและคุณคาตราสินคา                         347
       การประเมินมูลคาของตราสินคากับพฤติกรรมผูบริโภค            351
 บทที่ 14 การสื่อสารและกระบวนการตัดสินใจ                           363
       ทฤษฎีการสื่อสาร                                             364
       พฤติกรรมผูบริโภคกับการสื่อสารบนอินเทอรเน็ต                371
       กระบวนการตอบสนองของผูบริโภคตอสื่อ                         374
       กระบวนการตัดสินใจ                                           379
       การประยุกตใชแบบจําลองกระบวนการตัดสินใจกับงานดานการตลาด   385
  บทที่ 15 จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบตอสังคม              391
       จริยธรรมทางธุรกิจ                                           392
       จริยธรรมทางการตลาด                                          395
       จรรยาบรรณนักการตลาดไทย                                      397
       ความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร                              400
       การบริหารการตลาดมุงจริยธรรมและสิ่งแวดลอม                  402
บรรณานุกรม                                                         415
ตอนที่ 1
                                                     บทนํา

         ในปจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว นักการตลาดตองมีการปรับตัวและปรับเปลี่ยน
กลยุทธเพื่อใหทันตอการเปลี่ยนแปลง อยางไรก็ดีพื้นฐานสําคัญ ดานการตลาดยังคงไมเปลี่ยนแปลง คือ
การเริ่มตนที่ผูบริโภคและจบลงที่ผูบริโ ภค (It starts with the consumer and ends with the consumer)
การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคจึงเปนสิ่งจําเปนสําหรับนักการตลาด
         เนื้อหาในตอนที่ 1 จะเปนการนําเสนอเนื้อหาพื้นฐานเกี่ยวกับศาสตรดานพฤติกรรมผูบริโภค
และการวิ จัย พฤติก รรมผูบ ริ โ ภค เพื่ อ ใหผู อ า นไดมีค วามรู พื้น ฐานก อ นที่ จะทํ า การศึ ก ษาพฤติ ก รรม
ผูบริโภคในเชิงลึกตอไป เนื้อหาในตอนที่ 1 ประกอบดวย 2 บท ไดแก

         บทที่ 1 แนวคิดและความสําคัญของพฤติกรรมผูบริโภค เนื้อหาประกอบดวย ความหมายของ
พฤติก รรมผูบ ริโ ภค ความแตกต างระหวา งผู ซ้ื อ ลู กค า และผู บ ริโ ภค ประเภทของผู บริ โ ภค ป จจั ย ที่
กําหนดพฤติกรรมผูบริโภค แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภค การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค แนวโนม
พฤติกรรมผูบริโภคในอนาคต ความสําคัญของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค และพฤติกรรมผูบริโภคกับ
การประยุกตใชทางดานการตลาด
         บทที่ 2 การวิ จั ย พฤติ ก รรมผู บ ริ โ ภค เนื้ อ หาประกอบดว ย ประเภทของการวิ จัย พฤติ ก รรม
ผูบริโภค ประเภทของขอมูล เครืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูล ขันตอนการทําวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค
                                 ่                                  ้
ขั้นตอนการวาจางบริษัทรับทําวิจัย หัวขอการวิจยพฤติกรรมผูบริโภค ขอพึงระวังในการทําวิจัยพฤติกรรม
                                                    ั
ผูบริโภค และประเด็นสําคัญในการวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค
บทที่ 1
                    แนวคิดและความสําคัญของพฤติกรรมผูบริโภค

โครงสรางเนื้อหาของบทที่ 1 แนวคิดและความสําคัญของพฤติกรรมผูบริโภค
      o ความหมายของพฤติกรรมผูบริโภค 
      o ความแตกตางระหวางผูซื้อ ลูกคา และผูบริโภค
      o ประเภทของผูบริโภค
                        
          - ผูบริโภคทีเ่ ปนบุคคล
                
          - ผูบริโภคภาคอุตสาหกรรม
          - ผูบริโภคภาคสถาบัน
                  
          - ผูบริโภคภาครัฐ
              
      o ปจจัยทีกาหนดพฤติกรรมผูบริโภค
                    ่ํ            
          - ปจจัยภายนอก
          - ปจจัยภายใน
      o แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภค
          - แบบจําลองสิ่งกระตุนและการตอบสนอง
          - แบบจําลองกลองดําของ Meldrum และ McDonald
          - แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคของ Schiffman และ Kanuk
          - แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคของ Blythe
          - แบบจําลองกระบวนการการบริโภคแบบบูรณาการ
      o การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค
          - การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคดานเศรษฐศาสตร
          - การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคดานจิตวิทยา
          - การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคดานสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
      o แนวโนมพฤติกรรมผูบริโภคในอนาคต
      o ความสําคัญของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค
                                           
      o พฤติกรรมผูบริโภคกับการประยุกตใชทางดานการตลาด
4 | พฤติกรรมผูบริโภค

     จุดประสงคการเรียนรู
     หลังจากศึกษาบทนี้แลว ผูอานควรมีความสามารถดังนี้

     þ ยกตัวอยางปจจัยทีกาหนดพฤติกรรมผูบริโภคได
                         ่ํ             
     þ ยกตัวอยางแบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคได
     þ อธิบายความสําคัญของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคได
     þ ยกตัวอยางการประยุกตใชพฤติกรรมผูบริโภคกับงานดานการตลาดได



ความนํา
         การตลาดในยุคแรกเกิดจากการที่สินคามีไมเพียงพอตอความตองการของผูบริโภค ทําใหนกการ               ั
ตลาดต อ งเน น ที่ก ารผลิต สิ นค าให เ พี ย งพอต อ ความต อ งการ จึ ง ผลิ ต สิน คา ออกมาจํ านวนมาก และมี
ลักษณะคลายคลึงกันเพือความรวดเร็วและประหยัดตนทุนในการผลิต ปจจุบันผูบริโภคไดรับอิทธิพล
                         ่
จากปจจัยตาง ๆ ทําใหมความตองการสินคาทีแตกตางกัน การตลาดสมัย ใหมจึงมุงทีจะตอบสนองความ
                           ี                       ่                                       ่
ตองการของลูกคาเฉพาะกลุม เพื่อสรางใหเกิดความพึงพอใจ การศึกษาและการทําความเขาใจพฤติกรรม
ผูบริโภคจึงเปนภาวะที่หลีกเลี่ยงไมได ดังคําในภาษาลาตินที่วา "Sine-qua-non"
                                                                   
         ในบทนีเ้ ปนการนําเสนอเนือหาทีเ่ ปนความรูพนฐานเกียวกับพฤติกรรมผูบริโภค ทําใหผอานได
                                         ้                  ้ื      ่                                ู 
เห็นภาพกวางเกี่ยวกับศาสตรดานพฤติกรรมผูบริโภค กอนจะนําเสนอรายละเอียดในบทตอ ๆ ไป


ความหมายของพฤติกรรมผูบริโภค
                     
          พฤติกรรมผูบริโภคเปนศาสตรที่มีความเกี่ยวพันกับศาสตรดานการตลาดอยางใกลชิด แนวคิด
เกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภคจึงมีการพัฒนาควบคูไปกับแนวคิดดานการตลาด โดยแนวคิดทางการตลาด
ดั้งเดิม (Classical marketing) จะอาศั ยพื้น ฐานของศาสตร ทางด านสังคมศาสตร เช น เศรษฐศาสตร
สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา ซึ่งเปนการศึกษาผลรวมของพฤติกรรมตลาด โดยไดรับอิทธิพลจากทฤษฎี
อุปสงค (Demand theory) การเขาใจพฤติกรรมผูบริโภคจึงเกิดจากการสํารวจตลาด และใชขอมูลจากการ
สํารวจสํามะโนประชากร ตอมาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดความตองการสินคาเพิ่มมากขึ้น และมีการ
แขงขันในการออกสินคาใหม การตลาดจึงเริ่มเปนแนวคิดเชิงบริหาร (Managerial marketing) การศึกษา
พฤติกรรมผูบริโภคเปนแบบผลรวมคือเปนการศึกษาผูบริโภคแตละคน เชน การศึกษาพฤติกรรมการซื้อ
ของผูบริโภคแตละคน เปนตน ตอมาแนวคิ ดทางการตลาดเปลี่ยนแปลงไปสูการตลาดเชิงพฤติกรรม
(Behavioral marketing) โดยใชศาสตรทางจิตวิทยาเพื่อศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค และพบวาพฤติกรรม
บรรณานุกรม | 5

การซื้อไม ไดเกิ ดจากแรงผลักดันทางตรรกวิทยา (Logically driven) แตเป นแรงผลักดันทางจิตวิทยา
(Psychologically driven) โดยเฉพาะอยางยิ่งการเกิดขึ้นของสังคมบนอินเทอรเน็ต ที่ตอ งมีการศึกษา
ผูบริโภคเพื่อใหส ามารถทํา การตลาดไดอยางมีประสิท ธิภาพ (Powell, Groves, & Dimos, 2011, pp.
65-66; Sheth, 1985, pp. 5-7) ดังนั้นการตลาดเชิงพฤติกรรมจึงทวีความสําคัญมากขึ้น เพราะเปนการตลาด
ที่อาศัยพื้นฐานพฤติกรรมของผูบริโภค และสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผูบริโภคในปจจุบน             ั
จากขอมูลเบื้องตนจึงสรุปไดวา การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคเปนการผสมผสานศาสตรหลาย ๆ แขนงเขา
ดวยกัน เชน เศรษฐศาสตร สังคมวิทยา จิตวิทยา และมานุษยวิทยา เปนตน โดยมีการพัฒนาไปในแตละ
ชวงเวลาเพื่อใหมีความสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดทางดานการตลาด และการเปลียนแปลง           ่
ของผูบริโภค
       
           จากแนวคิดดานพฤติกรรมผูบริโภคมีการพัฒนาอยางตอเนื่องควบคูไปกับการตลาด จึงมีผูให
ความหมายของพฤติกรรมผูบริโภคไวอยางหลากหลาย ความหมายที่แตกต างกันยอ มทําใหเ กิดความ
เขาใจและมีขอบเขตของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคที่แตกตางกัน เชน
           Kardes, Cronley, and Cline (2011, p. 8) ใหความหมายของพฤติกรรมผูบริโภควา หมายถึง
กิจกรรมทั้งหมดของผูบริโภคที่เกี่ยวของกับการซื้อ การใช การทิ้งสินคา และบริการ รวมไปถึงอารมณ
จิต ใจ และการตอบสนองเชิ ง พฤติ ก รรม ที่ เ กิด ขึ้ น ล วงหน า ขณะใช สิ น คา หรื อ บริ ก าร และภายหลั ง
กิจกรรมนั้น ซึ่งสามารถแสดงขอบเขตของพฤติกรรมผูบริโภคไดดังภาพที่ 1.1



                                           พฤติกรรมผูบริโภค
                                                     



           กิจกรรมของผูบริโภค
                                                                  การตอบสนองของผูบริโภค
                                                                                  
            o ซื้อ                                                  o อารมณ
            o ใช / บริโภค                                          o จิตใจ
            o ทิง้                                                  o พฤติกรรม


ภาพที่ 1.1 แสดงขอบเขตของพฤติกรรมผูบริโภค ตามแนวคิดของ Kardes, Cronley และ Cline ที่ครอบคลุม
ดานกิจกรรมและการตอบสนองของผูบริโภค (ปรับปรุงจาก Kardes, Cronley, & Cline, 2011, p. 8)
6 | พฤติกรรมผูบริโภค

            จากความหมายของพฤติก รรมผูบ ริโ ภคของ Kardes, Cronley และ Cline พบวา การศึ กษา
พฤติกรรมผูบริโภคเปนการศึกษากิจกรรมของกระบวนการในการใชสินคาหรือบริการ โดยครอบคลุม
ตั้งแตกระบวนการกอนการซื้อ ขณะซื้อ ใช และหลังใช สินคา หรือ บริการ โดยใหความสนใจในการ
ตอบสนองของผูบริโภคในดานตาง ๆ ไดแก ดานอารมณ ดานจิตใจ และดานพฤติกรรม ดังนั้นการศึกษา
                        
พฤติก รรมผูบริโ ภคจึ งเปนการนํากิ จกรรมตา ง ๆ มาแตกเปนกิ จกรรมยอ ย เชน การคนหาข อมูล การ
เปรี ย บเที ย บคุณ ค า การเปรี ย บเทีย บราคา ความพึ ง พอใจในการใชสิ นคา จากนั้น จึง ทําการศึก ษาการ
ตอบสนองของผูบริโภคในแตละกิจกรรมดังกลาว ซึงจะทําใหนกการตลาดสามารถเขาใจพฤติกรรมของ
                                                     ่              ั
ผูบ ริ โ ภคได อ ย า งครอบคลุ ม สง ผลให การวางแผนการตลาดและการกํ า หนดกลยุ ท ธ เ ป นไปอย า งมี
ประสิทธิผล
            Blackwell, Miniard, and Engel (2006, p. 4) ระบุวาพฤติกรรมผูบริโภค คือกิจกรรมของผูคนใน
การพยายามเพื่อใหไดมา บริโภค และทิ้งสินคาหรือบริการ จากคําจํากัดความของ Blackwell, Miniard
และ Engel พบวา ยังมีความคลุมเครือเกี่ยวกับความพยายามเพื่อให ไดมาซึ่งสินคาหรือบริ การ ความ
พยายามนี้มีความหมายที่ไมไดระบุชัดเจนถึงการซื้อ ดังนั้นในกรณีที่เด็กตองการจักรยาน ทําใหตองขยัน
เรียนหนังสือเพื่อใหไดคะแนนสูง ๆ ตามที่ตกลงกับพอแม เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนกับการไดครอบครอง
จักรยาน ความพยายามของเด็กเพื่อใหไดจักรยานจะถูกจัดอยูในการศึกษาพฤติกรรมผูบริโ ภค ดังนั้นการ
ใชคําวาความพยายามเพื่อใหไดมาจึงเปนคําที่มีความหมายกวางเกินไป
            Hoyer and Macinnis (2010, pp. 3-4) ระบุวา พฤติกรรมผูบริโภคเปนสิ่งที่สะทอนจากผลรวม
ของการตัดสินใจของผูบริโภค โดยมีลําดับตั้งแตการจัดหา การบริโภค และการทิ้งสินคาหรือ บริการ ที่มี
ตอ กิ จ กรรม ประสบการณ บุ ค คล และความคิ ด ของการตั ดสิ น ใจในช ว งเวลาหนึ่ ง จากความหมาย
ดั ง กล า วทํ า ให ส ามารถแบ ง องค ป ระกอบของพฤติ ก รรมผู บ ริ โ ภคได เ ป น 5 องค ป ระกอบ ได แ ก
องคประกอบที่ 1 คือการตัดสินใจซื้อหรือไม ซื้ออะไร ทําไมตองซื้อ ซื้ออยางไร ซื้อเมื่อไร ซื้อที่ไหน ซื้อ
เทาไร ซื้อบอยแคไหน และใชเวลานานเทาไร องคประกอบที่ 2 เกี่ยวกับการบริโภค ไดแ ก การไดรับมา
การใช และการทิ้ง องคประกอบที่ 3 คือ สิ่งที่นําเสนอ ไดแก สินคา บริการ กิจกรรม ประสบการณ บุคคล
และความคิ ด องค ป ระกอบที่ 4 คื อ หน ว ยของการตั ด สิ น ใจ ได แ ก ผู ร วบรวมข อ มู ล (Information
gatherer) ผูมีอิทธิพล (Influencer) ผูตัดสินใจ (Decider) ผูซื้อ (Purchaser) และผูใช (User) องคประกอบที่
5 คือ ระยะเวลา ไดแก ชั่วโมง วัน สัปดาห เดือ น ป ซึ่งองคประกอบทั้ง 5 สวน ทําใหเกิดความสัมพันธ
แบบสองทิศทางกับกลยุทธและยุทธวิธทางการตลาด โดยพฤติกรรมผูบริโภคเปนพืนฐานของการกําหนด
                                           ี                                            ้
กลยุ ท ธ แ ละยุทธวิ ธี ท างการตลาด ในขณะเดี ย วกั น กลยุ ทธ แ ละยุท ธวิ ธีท างการตลาดจะต อ งมี ค วาม
สอดคลองกับพฤติกรรมผูบริโภค โดยสามารถแสดงความเชื่อมโยงของพฤติกรรมผูบริโภคกับกลยุทธ
และยุทธวิธทางการตลาดได ดังภาพที่ 1.2
                ี
บรรณานุกรม | 7


          ผลรวมการตัดสินใจ     การบริโภค       สิ่งทีนําเสนอ
                                                     ่          หนวยการตัดสินใจ      ระยะเวลา
          ซือหรือไม
              ้               การไดรบมา
                                      ั       สินคา                ผูรวบรวมขอมูล   ชั่วโมง
          ซื้ออะไร            การใช          บริการ                ผูมีอิทธิพล      วัน
          ทําไมตองซือ้       การทิ้ง         กิจกรรม               ผูตัดสินใจ       สัปดาห
          ซื้ออยางไร                         ประสบการณ            ผูซื้อ           เดือน
          ซื้อเมื่อไร                         บุคคล                 ผูใช
                                                                                     ป
          ซื้อที่ไหน                          ความคิด
          ซือเทาไร
            ้
          ซื้อบอยแคไหน
          ใชเวลานานเทาไร



                                      กลยุทธและยุทธวิธทางการตลาด
                                                       ี

ภาพที่ 1.2 องคประกอบของพฤติกรรมผูบริโภค (ปรับปรุงจาก Hoyer & Macinnis, 2010, p. 4)
                                  

          Loudon and Bitta (1993, p. 5) ระบุวา พฤติกรรมผูบริโภคหมายถึงกระบวนการตัดสินใจและ
                                             
กิจกรรมทางกายภาพของบุคคลที่เขาไปมีสวนในการประเมิน ไดมา ใช หรือทิ้งสินคาและบริการ จาก
นิยามดังกลาวจะเห็นไดวาความหมายของพฤติกรรมผูบริโภคตามแบบของ Loudon และ Bitta จะมุงเนน
ในเชิงกระบวนการ เริ่มจากกระบวนการตัดสินใจไปจนถึงการทิ้งสินคาที่ใชเสร็จแลว ซึ่งมีความชัดเจน
ในเชิงกระบวนการ แตยังขาดในเชิงรายละเอียดของกิจกรรมยอยในแตละกระบวนการ เชน การไดมาซึ่ง
สินคาหรือบริการในกรณีที่ไมไดเปนเชิงการคาจะไมเขาขายพฤติกรรมผูบริโภค เปนตน
          Moven and Minor (1998, p. 5) ไดใหความหมายของคําวาพฤติกรรมผูบริโภควา เปนการศึกษา
หนวยของการซื้อและกระบวนการแลกเปลี่ยนที่เกี่ยวของกับการไดมา การบริโภค และการทิ้งสินคาหรือ
บริการ ประสบการณ และแนวคิด เมื่อพิจารณาคํานิยามพฤติกรรมผูบริโภคในความหมายของ Moven
และ Minor พบวา จะใหความสําคัญของกิจกรรมที่ไดมาซึ่งสินคา บริการ ประสบการณ และแนวคิด อาจ
เกิดจากการซื้อ-ขาย หรือการแลกเปลี่ยนก็ได อยางไรก็ดีหากกระบวนการแลกเปลี่ยนมิไดเปนในเชิง
การคา กระบวนการดังกลาวจะไมจัดอยูในความหมายของคําวาพฤติกรรมผูบริโภค
          Noel (2009, p. 11) ใหความหมายพฤติ กรรมผูบริโภควา หมายถึ งการศึกษากระบวนการที่
เกี่ยวของกับการที่ผูบริโภคไดมา บริโภคและทิ้งสินคา บริการ กิจกรรม แนวคิด เพื่อตอบสนองความ
ตองการและความปรารถนา ซึ่งการไดมาของสินคาหรือบริการ ไมใชจํากัดเพียงการซื้อเทานั้น แตรวมถึง
การแลกเปลี่ยน (Barter) เชาซื้อ (Leasing) หรือขอยืม (Borrowing) เพื่อใหไดมาซึ่งสินคาหรือบริก ารนั้น
8 | พฤติกรรมผูบริโภค

ดวย จะเห็นไดวาความหมายของพฤติกรรมผูบริโภคของ Noel เนนไปที่กระบวนการในการตัดสินใจซื้อ
ใช และทิ้งสินคา โดยไมไดระบุถึงปจจัยหรือองคประกอบอื่นที่เ กี่ยวของกับพฤติกรรมผูบริโภค ทําให
ขาดความกวางของพฤติกรรมผูบริโภค อยางไรก็ดี Noel ไดขยายขอบเขตของการไดมาซึ่งสินคาหรือ
บริการ ทํ าใหมีมุมมองของรูปแบบการตั ดสิน ใจที่ กวางขึ้น ขอดีอีกประการหนึ่ง ของความหมายของ
พฤติกรรมผูบริโภคของ Noel คือการระบุถึงการตอบสนองความตองการของผูบริโภค นับไดวามีการ
            
นําเอาแนวคิดทางการตลาดเขามาผสมผสานกับพฤติกรรมผูบริโภค ทําใหมีความชัดเจนในผลลัพธมาก
ยิงขึน
  ่ ้

        สรุปความหมายของพฤติกรรมผูบริโภค
                 จากการศึ ก ษาความหมายของพฤติ ก รรมผู บ ริ โ ภคพบว า มี ผู ใ ห ค วามหมายไว
        หลากหลาย แตละความหมายมีความครอบคลุมที่แตกตางกัน หากจะพิจารณาองคประกอบ
        ของพฤติกรรมผูบริ โภคซึ่งมีความสัมพั นธกับศาสตรทางดานการตลาด ผูเ ขียนสามารถ
        นํามาสรุปไดดงนี้
                        ั
                 คําวา “พฤติกรรม” ในเชิงการตลาด หมายถึงการแสดงออกในเชิงกิจกรรม คําวา
        “ผูบริโภค” ในเชิงการตลาด หมายถึงการบริโภคในเชิงเศรษฐศาสตร ดังนั้นผูเขีย นจึงให
        ความหมายของพฤติกรรมผูบริโภคหมายถึง

             “กิจกรรมทีเ่ กิดขึนในกระบวนการทีเ่ กียวของกับการบริโภคใด ๆ เชิงเศรษฐศาสตร”
                               ้                  ่



ความแตกตางระหวางผูซื้อ (Buyer) ลูกคา (Customer) และผูบริโภค (Consumer)
             คําวาผูซื้อ ลูกคา และผูบริโภคถูกใชกันอยางแพรหลายในศาสตรการตลาด นักการตลาดตองเขา
ใจความแตกตางของคําดังกลาว เนืองจากการทํากิจกรรมทางดานการตลาดใหประสบความสําเร็จ นักการ
                                         ่
ตลาดจําเปนตองเขาใจถึงบทบาทของผูมสวนในกระบวนการตัดสินใจ
                                              ี 
             บทบาทของผูซอและลูกคามีสวนทีเ่ หมือนกัน คือเปนการกระทําทีเ่ กียวของกับการแลกเปลี่ยน
                               ้ื                                               ่
สินคา และ/หรือบริการ กับเงิน ซึ่งทั้งผูซ้ือและลูกคาอาจจะเปนผูใชสินคาหรือบริการนั้นหรือไมก็ได
ขึ้นอยูกับวาการซื้อนั้นมีวัตถุประสงคเพื่อบริโภคดวยตนเอง หรือเพื่อนําไปจําหนายตอ หรือไปเพิ่มเติม
กระบวนการเพื่อการขายตอ หรืออาจเปนเพียงการซื้อในบทบาทของคนกลาง
           Loudon and Bitta (1993, p. 5) ระบุวา ลูกคาหมายถึงผูซื้อที่ทําการซื้ออยางสม่ําเสมอจากรานคา
หรือบริษท และใหความหมายของคําวาผูบริโภคคือผูท่ีมีสวนเกี่ยวของกับกิจกรรมในความหมายของ
           ั
บรรณานุกรม | 9

พฤติกรรมผูบริโภค ดังนั้น จะเห็นไดวา ผูซ้ือ ลูกค า และผูบริโภค ตางมีบทบาทที่แตกตางกัน ผูซ้ือทํ า
หนาที่ในกิจกรรมการแลกเปลี่ยน ซึ่งมีความสําคัญนอยในดานการตลาด ลูกคาคือ ผูที่ซื้ออยางสม่ําเสมอ
ซึ่ ง ย อ มมี ค วามสํ า คั ญ มากกว า ส ว นผู บ ริ โ ภคเป น ส ว นที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด เพราะมี ส ว นเกี่ ย วข อ งในทุ ก
กระบวนการของศาสตรพฤติกรรมผูบริโภค นักการตลาดจําเปนตองเขาใจบทบาทหนาทีของแตละบุคคล
                                                                                                           ่
เพื่อทําการศึกษาและออกแบบกิจกรรมทางการตลาดไดอยางเหมาะสม
             อดุลย จาตุรงคกุล และ ดลยา จาตุรงคกุล (2550, น. 6) ระบุวา ผูบริโภคคือบุคคลตาง ๆ ที่มี
ความสามารถในการซื้อ (Ability to buy) หรือทุกคนที่มีเงิน และยังมีความเต็มใจในการซื้อ (Willingness
to buy) สินคาหรือบริการดวย


ประเภทของผูบริโภค
      ผูบริโภคไมไดจากัดแตเพียงบุคคลเทานัน แตยงหมายถึงองคกรทังภาครัฐและภาคเอกชน โดยมี
                      ํ                       ้    ั                ้
บทบาทที่แ ตกตางกัน มีร ายละเอี ย ดดัง นี้ (O'Dougherty et al., 2007, pp. 17-18; Kotler, 2000,
p. 176; Kotler & Keller, 2009, p. 228; Loudon & Bitta, 1993, p. 7)

ผูบริโภคที่เปนบุคคล (Personal consumers)
         ผูบริโภคที่เปนบุคคลไดแก ผูที่ซ้ือสินคาหรือบริการเพื่อนําไปใชประโยชนสําหรับตนหรือ
           
บุคคลอื่น เชน แมซื้อเสื้อผาใหลูก หรือซื้อเครื่องครัวเพื่อใชในบาน หรือซื้อเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อ เปน
ของขวัญใหลูก เปนตน ผูบริโภคที่เปนบุคคล (Personal consumers) ประกอบดวยผูมีบทบาทในการซื้อ
ไดแก

     1. ผูริเริ่ม (Initiators) คือ ผูมีความคิดที่ตองการซื้อสินคา หรือบริการเปนคนแรก เชน แมเห็นผล
        การเรียนของลูกไมดีจึงตองการใหลูกไปเรียนพิเศษ
     2. ผูมอทธิพล (Influencers) คือ ผูที่ใหคําแนะนําหรือมีอิทธิพลตอการตัดสินใจ เชน ครูผูสอนจะ
           ีิ
        ใหความเห็นวาเด็กควรจะเรียนพิเศษวิชาไหนจึงจะเหมาะสม
     3. ผูตัดสินใจ (Deciders) คือ บุคคลที่เปนผูตัดสินใจวา จะซื้อหรือไม ซื้ออะไร ซื้ออยางไร หรือซื้อ
        ที่ไหน เชน พอของเด็กจะเปนผูหาขอ มูล และเลือกวาจะใหลูกเรียนพิเ ศษหรือไม เรียนที่ไ หน
        เรียนอยางไร เปนตน
     4. ผูซื้อ (Buyers) คือ บุคคลทีทาหนาทีในการซือ เชน แมพาลูกไปสมัครเรียนพิเศษตามทีพอไดหา
                                         ่ ํ     ่        ้                                     ่ 
        ขอมูลมา
10 | พฤติกรรมผูบริโภค

     5. ผูใช (Users) คือ ผูใชสินคาหรือบริการ เชน เมื่อแมพาลูกมาสมัครเรียนพิเศษแลว ลูกมีหนาที่มา
          
        เรียนพิเศษตามกําหนดเวลา

ผูบริโภคภาคอุตสาหกรรม (Industrial consumers)
         ผูบริโภคภาคอุตสาหกรรม ไดแก ผูซื้อสินคาหรือบริการเพื่อนําไปใชในธุรกิจของตน เชน ราน
ขายสงที่ซื้อเครื่องดื่มแลวนําไปจําหนายตอใหกับรานคายอย หรือซื้อรถบรรทุกเพื่อใชในการขนสงสินคา
หรือโรงงานอุตสาหกรรมซื้อวัตถุดิบเพื่อนําไปผลิตสินคาและนําไปจําหนายตอ

ผูบริโภคภาคสถาบัน (Institutional consumers)
  
        ผูบริโ ภคภาคสถาบัน ไดแก ผูซ้ือสินคาหรือบริการเพื่อนําไปประกอบการใหบริการ เชน
โรงเรียนซื้อกระดาษเพื่อใชในการสอนหนังสือ องคกรพิทักษสัตวซ้ืออาหารสัตวเพื่อใชเลี้ยงดูสัตวท่ี
ไดรับมา

ผูบริโภคภาครัฐ (State consumers)
         ผูบริโภคภาครัฐ ไดแก ประเทศ จังหวัด หรือหนวยงานของรัฐที่ทําการซื้อสินคาหรือบริการ
เพื่อนําไปใชในการใหบริการของตน เชน ประเทศไทยสั่งซื้อเรือเพื่อนํามาชวยเหลือผูประสบอุทกภัย
เปนตน
              เมื่อ พิจารณาจากผูบริโภคทั้ง 4 ประเภท จะสามารถแบงผูบริโภคเปน 2 กลุมใหญ ๆ ไดแ ก
ผูบริโภคทีเ่ ปนบุคคล และผูบริโภคทีเ่ ปนองคกร ผูบริโภคทังสองกลุมมีบคคลหรือหนวยงานทีมีบทบาท
                                                                     ้          ุ                    ่
เกี่ ย วข อ งกับ กระบวนการตัด สิ น ใจที่ แ ตกต างกั น ผู ซื้ อ ที่ เ ป นองค กรจะมี ผู มีบทบาทในกระบวนการ
ตัดสินใจ ดังนี้

     1. ผูริเริ่ม (Initiators) คือ ผูใชสินคาหรือบริการ หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งระบุความตองการใช
        หรือความตองการซื้อสินคาหรือบริการ เชน ในโรงงานผลิต ผูจัดการโรงงานมีความตองการ
        เครื่องจักรที่ควบคุมโดยคอมพิวเตอรมาทดแทนเครื่องจักรเกา เพื่อทําใหการผลิตสินคามีคณภาพ    ุ
        มากยิ่งขึ้น
     2. ผูใช (Users) คือ ผูใชสินคาหรือบริการ บางครั้งผูใชสินคาหรือบริการอาจเปนผูริเริ่มในการระบุ
          
        ความตองการสินคาหรือบริการ หรืออาจมีสวนรวมในการตัดสินใจ เชน ผูจัดการโรงงานไดขอ
        ความเห็นจากผูควบคุมเครื่องจักรในการซื้อเครื่องจักรที่ควบคุมโดยคอมพิวเตอรมาทดแทน
        เครื่องจักรเกา
บรรณานุกรม | 11

    3. ผูมอทธิพล (Influencers) เปนผูมีอิทธิพลตอการเลือกสินคาหรือบริการ เชน ผูจัดการโรงงานได
           ีิ
       นําเรื่องการนําเครื่องจักรที่ควบคุมโดยคอมพิ วเตอรมาทดแทนเครื่องจักรเกาไปปรึกษากับที่
       ปรึกษาฝายเทคนิค ทีปรึกษาฝายเทคนิคจะมีอทธิพลในการระบุความจําเปน ความคุมคาในการ
                              ่                            ิ
       เปลี่ยนเครื่องจักร และชวยในการกําหนดคุณสมบัติของเครื่องจักรที่ตองการ
    4. ผูตัดสินใจ (Deciders) คือ ผูทําหนาที่ตัดสินใจวาสมควรจะซื้อหรือไม เชน ผูจัดการโรงงานนํา
       เรื่ อ งการเปลี่ ย นเครื่ อ งจั ก รที่ ค วบคุ ม โดยคอมพิ ว เตอร มาทดแทนเครื่ อ งจั ก รเก า เสนอกั บ
       ผูอานวยการฝายผลิต เพือตัดสินใจ
         ํ                          ่
    5. ผูอนุมติ (Approvers) คือ ผูทําหนาที่อนุมัติการตัดสินใจ เชน ผูอํานวยการฝายผลิตนําเรื่องเสนอ
            ั
       ขอจัดซื้อกับกรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการจะทําหนาที่อนุมัติการจัดซื้อ
    6. ผูซื้อ (Buyers) คือ ผูมีหนาที่ดํา เนินการจัดซื้อ ซึ่ งบางครั้งมีหนาที่ ในการคัดเลือกผู ขาย และ
       ตอรอง เชน กรรมการผูจัดการอนุมัติการสั่งซื้อเครื่องจักร จากนั้นฝายจัดซื้อดําเนินการคัดเลือกผู
       จําหนายเครื่องจักร โดยจัดใหมีการเสนอราคา และกระบวนการคัดเลือก
    7. ผูเฝาประตู (Gatekeepers) คือ ผูมีอํานาจหรือผูมีอิทธิพลในการปองกันหรืออนุญาตใหมีการ
       เขาถึงผูมีสวนในการตัดสินใจ เชน บริษัทที่จําหนายเครื่องจักรไดทราบขาววาโรงงานจะมีการ
       สั่งซื้อเครื่องจักรใหม ไดทําการติดตอเพื่อขอเขาพบผูจัดการฝายจัดซื้อเพื่อนําเสนอสินคา แต
       พนักงานทีดาเนินการเรืองจัดตารางนัด บายเบียงทีจะนัดใหพบกับผูจดการฝายจัดซือ
                     ่ํ            ่                         ่ ่              ั               ้

        การเขา ใจผูมีบ ทบาทต าง ๆ ในกระบวนการตั ดสิ น ใจซื้ อ จะช ว ยให นั กการตลาดออกแบบ
กิจกรรมทางการตลาดไดอยางเหมาะสม เชน หากเปนบริษัทจําหนายเครื่องจักร ฝายการตลาดอาจทํา
กิจกรรมทางการตลาดผานผูจัดการโรงงานเพื่อกระตุนใหเกิดความคิดริเริ่มในการซื้อเครื่องจักรใหม โดย
อาจใหความรูกับผูควบคุมเครื่องจักรและที่ปรึกษาทางดานเทคนิค เพื่อให เกิดการสนับสนุนผูจัดการ
โรงงาน นอกจากนั้นอาจจัดทําขอดี-ขอเสีย และจุดคุมทุนใหกับผูอํานวยการฝายผลิต รวมถึงกรรมการ
ผูจดการเพือใหเห็นถึงประโยชนทจะไดรบจากการเปลียนเครืองจักร นอกจากนันยังสามารถทํากิจกรรม
  ั      ่                         ่ี      ั                   ่       ่                  ้
ทางการตลาดเพื่ อ เพิ่ ม ความสั ม พั น ธ กั บ ผู ซ้ื อ และผู เ ฝ า ประตู เช น มี ก ารมอบของขวั ญ ป ใ หม หรื อ
สนับสนุนกิจกรรมของบริษท เพือใหเกิดความคุนเคย เปนตน
                                ั ่                     
        จากขอมูลขางตนจึงสรุปไดวา ผูบริโภคที่มีลักษณะแตกตางกัน จะมีพฤติกรรมที่ไมเหมือนกัน
โดยเฉพาะอย างยิ่ ง ผู ที่มีบ ทบาทในกระบวนการตั ด สิน ใจซื้ อ ดั ง นั้ น นัก การตลาดควรทํ าความเขา ใจ
ประเภทของผูบริโภคและบทบาทของผูมีสวนเกี่ยวของทุกคน เพื่อกําหนดกลยุทธการตลาดไดอยางมี
ประสิทธิภาพ
12 | พฤติกรรมผูบริโภค

ปจจัยที่กําหนดพฤติกรรมผูบริโภค
       การทีผบริโภคมีพฤติกรรมที่แตกตางกันยอมมีผลมาจากปจจัยตาง ๆ ที่มีอิทธิพลตอผูบริโภค
            ่ ู
โดยทัวไปสามารถแบงปจจัยทีกาหนดพฤติกรรมผูบริโภคไดเปน 2 ประเภท ไดแก
     ่                    ่ํ              

     1. ปจจัยภายนอก (External factors) หมายถึงปจจัยทีเ่ ปนสภาพแวดลอมภายนอกผูบริโภค เชน            
        กิจกรรมการตลาดของบริษัท ภาวะแวดลอมดานตาง ๆ เชน ชั้นทางสังคม ครอบครัว เปนตน
        ปจจัยดังกลาวเปนสิ่งกระตุนใหผูบริโภคเกิดการตอบสนอง เชน เกิดความตองการบริโภคสินคา
        หรือบริการ รวมทั้งเปนตัวกําหนดความแตกตางและระดับของการตอบสนอง เชน ผูบริโภคที่
        อยูในชันทางสังคมทีสงมักจะมีพฤติกรรมทีจะบริโภคสินคาทีมการออกแบบทีทนสมัย เปนตน
            ้                      ่ ู                    ่                  ่ ี                ่ ั
     2. ปจจัยภายใน (Internal factors) หมายถึงปจจัยทีเ่ ปนสภาพแวดลอมภายในผูบริโภค เชน การ     
        รับรู การเรียนรู แรงจูงใจ บุคลิกภาพ ทัศนคติ คานิยม เปนตน ปจจัยภายในจะเปนตัวกําหนด
        รูปแบบการตอบสนองของผูบริโภคแตละคนที่แตกตางกัน เชน หากผูบริโภคมีทัศนคติที่ไ มดี
        ตอ สิ นค าที่ ไ มเ ปน มิต รตอ สิ่ง แวดลอ ม การตั ดสิน ใจซื้อ สินค าผู บริ โ ภคจะให ความสํ าคั ญ กั บ
        สินคาทีถกผลิตภายใตการควบคุมทีไมทาลายสิงแวดลอม เปนตน
                 ู่                                 ่ ํ         ่


แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภค
        เนื่องจากพฤติกรรมผูบริโภคครอบคลุมกระบวนการที่เกี่ยวของกับการบริโภคสินคา เพื่อใหงาย
ตอการเขาใจถึงปจจัยตาง ๆ ที่กําหนดพฤติกรรมผูบริโภคและใหเกิดความชัดเจนในขอบเขตการศึกษา
พฤติกรรมผูบริโภค นักวิชาการจึงนิยมแสดงความสัมพันธระหวางปจจัยที่กําหนดพฤติกรรมผูบริโภคกับ
กระบวนการในการบริโภคสินคาหรือบริการในลักษณะทีเ่ ปนแบบจําลองรูปแบบตาง ๆ ดังนี้

แบบจําลองสิงกระตุนและการตอบสนอง (Stimulus-response model) หรือแบบจําลองกลองดํา (Black
           ่      
box model)
         การศึ กษาด านจิ ตวิ ทยาผู บริ โ ภค นิ ย มให ความสนใจป จจั ย ที่กํ าหนดพฤติก รรมผูบ ริโ ภคใน
รูปแบบของการตอบสนองตอสิ่งเรา (Stimuli) และมักแสดงแบบจําลองในรูปแบบปจจัยนําเขา ปจจัย
คั่นกลาง และผลลั พธ โดยปจจั ยนําเขาคือสิ่งเรา ที่มีอิทธิพลตอ พฤติก รรมผูบริโภค ปจจั ยคั่นกลางคือ
กระบวนการภายในผูบริโภคที่ สังเกตได ยาก จึงมั กเรียกว ากลองดํา (Black box) และผลลัพธคือการ
ตอบสนองของผูบริโภค (Smith & Taylor, 2004, p. 102) แบบจําลองสิ่งกระตุนและการตอบสนองเปน
แบบจําลองที่มีความเรียบงาย แตทําใหนักการตลาดเขาใจถึงกระบวนการของอิทธิพลที่มีตอพฤติกรรม
บรรณานุกรม | 13

ผูบริโภค ตั้งแตปจจั ยที่มีอิทธิพล ไปสูกระบวนการตัดสินใจที่ ตองทํ าการศึก ษาให เขาใจ เพื่อ นําไปสู
พฤติกรรมที่เปนผลลัพธในเชิงการตอบสนอง (ภาพที่ 1.3)


          ปจจัยนําเขา (Inputs)           กลองดํา (Black box)              ผลลัพธ (Outputs)

           ปจจัยทีเ่ ปนสิงเรา
                           ่                   ปจจัยคั่นกลาง                  การตอบสนอง
          (Stimulus variables)            (Intervening variables)           (Response variables)


ภาพที่ 1.3 แบบจําลองกลองดํา (ปรับปรุงจาก Smith & Taylor, 2004, p. 102)

แบบจําลองกลองดําของ Meldrum และ McDonald
           Meldrum and McDonald (2007, pp. 69-70) ไดเสนอแบบจําลองกลองดําของผูซื้อ ตามรูปแบบ
สิ่งกระตุนและการตอบสนอง โดยนําปจจัยตาง ๆ มาบรรจุในแบบจําลอง เพื่ออธิบายรายละเอียดของแต
ละกระบวนการใหชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยแบงเปน 3 สวน ดังนี้
          สวนที่ 1 ปจจัยภายนอก (External factors) คือ ปจจัยภายนอกผูบริโภคที่เปนสิ่งเราหรือสิ่ง
กระตุนที่ทําใหผูบริโภคเกิดความตองการสินคาหรือบริการ ไดแ ก สภาพทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีใหม
สื่อตาง ๆ กฎหมายและการเมือง สังคมและวัฒนธรรม รวมไปถึงสวนประสมการตลาด (สินคา ราคา ชอง
ทางการจัดจําหนาย การสงเสริมการตลาด) ทีเ่ กิดจากบริษทหรือจากคูแขง ปจจัยภายนอกเหลานีมอทธิพล
                                                       ั                                    ้ ีิ
ตอผูบริโภค ทําใหเกิดความตองการสินคาหรือบริการ และนําไปสูกระบวนการตัดสินใจซื้อ
          สวนที่ 2 กลองดําของผูซ้ือ (Buyer’s black box) เมื่อผูบริโ ภคเกิดความตองการสินคาหรื อ
บริการ จะทําใหเกิดกระบวนการซือ ภายในกลองดํานีประกอบไปดวย ปจจัยทีมอทธิพลตอกระบวนการ
                                     ้               ้                        ่ ีิ
ตัดสินใจซือ ไดแก บุคลิกภาพ (วัฒนธรรม บริบททางสังคม คานิยมครอบครัว และรูปแบบทางจิตวิทยา)
            ้
และสภาพแวดลอมสวนบุคคล (ตําแหนงทางสังคมและเศรษฐศาสตร ชวงอายุ รูปแบบการดําเนินชีวิต
และการเขาถึงความไววางใจ) ซึ่งปจจั ยดังกลาวจะทําใหผูบริโภคเกิดความตระหนักถึงความตองการ
สินคาหรือบริการ ทําใหเกิดการคนหาขอมูล การประเมินทางเลือก ความประสงคที่มีความจําเพาะเจาะจง
ในการซื้อ กิจกรรมการซื้อ และการรับรูหลังการซื้อ หรือใชสินคาหรือบริการเสร็จสิ้น
          ส ว นที่ 3 ผลลั พ ธ (Outcomes) จากกระบวนการภายในกล อ งดํ า ทํ า ให เ กิ ด ผลลั พ ธ ที่เ ป น
พฤติกรรมเชิงรายละเอียดของการซื้อ ไดแก การเลือกรูปแบบสินคา ตราสินคา รานคายอยจําหนายสินคา
คุณคา รูปแบบการชําระเงิน และชวงเวลาซื้อ
14 | พฤติกรรมผูบริโภค

         แบบจําลองของ Meldrum และ McDonald (ภาพที่ 1.4) นับไดวามีประโยชนกับนักการตลาด
เปนอยางมาก เนืองจากนักการตลาดสามารถนําแบบจําลองดังกลาว ไปเปนกรอบในการศึกษาและทํา
                ่
ความเขาใจพฤติกรรมของผูบริโภครวมถึงปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของ


              ปจจัยภายนอก                     กลองดําของผูซ้ือ
                                                                                      ผลลัพธ
            (External factors)               (Buyer’s black box)                     (Outcomes)
          สภาพทางเศรษฐกิจ              บุคลิกภาพ (Characteristics)
                                                                                   รูปแบบสินคา
          (Economic condition)           - วัฒนธรรม (Culture)                      (Product form)
          เทคโนโลยีใหม                  - บริบททางสังคม (Social context)
          (New technology)               - คานิยมครอบครัว (Family values)
                                                                                   ตราสินคา
                                         - รูปแบบทางจิตวิทยา
                                                                                   (Brand)
          สือตาง ๆ
            ่                                (Psychology profile)
          (Media)
                                       สภาพแวดลอมสวนบุคคล                        รานคายอยจําหนาย
          กฎหมายและการเมือง            (Personal circumstances)                    สินคา
          (Law and politics)                                                       (Retail outlet)
                                         - ตําแหนงทางสังคมและเศรษฐศาสตร
          สังคมและวัฒนธรรม                    (Socio-economic position)
                                         -   ชวงอายุ (Lifecycle stage)            คุณคา
          (Social culture)
                                         -   รูปแบบการดําเนินชีวต (Lifestyle)
                                                                   ิ               (Value)
          สวนประสมการตลาด               -   การเขาถึงความไววางใจ
          (Marketing mix)                    (Access to credit)                    รูปแบบการชําระเงิน
             - สินคา (Product)                                                    (Form of payment)
             - ราคา (Price)            กระบวนการตัดสินใจ
             - ชองทางการจัดจําหนาย   (Decision process)                          ชวงเวลาซื้อ
               (Place)                   - การตระหนักถึงความตองการ                (Timing of purchase)
             - การสงเสริมการตลาด             (Recognition of need)
               (Promotion)               -   การคนหาขอมูล (Information search)
                                         -   การประเมิน (Evaluation)
                                         -   ความประสงคซ้ือ
                                             (Purchase intention)
                                         -   การซือ (Purchase)
                                                  ้
                                         -   การรับรูหลังการซื้อ
                                             (Post-purchase perceptions)



ภาพที่ 1.4 แบบจําลองกลองดําของ Meldrum และ McDonald (ปรับปรุงจาก Meldrum & McDonald, 2007,
p. 70)
บรรณานุกรม | 15

แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคของ Schiffman และ Kanuk
                             
          Schiffman and Kanuk (2010, pp. 36-37) ไดเ สนอแบบจําลองเพื่อแสดงใหเห็นถึง ปจจัย ที่
กําหนดพฤติกรรมผูบริโภค รวมถึ งมีการเชื่อมโยงไปสูกิจกรรมของผูบริโภค ซึ่งนําเสนอในรูปแบบ
กระบวนการ 3 ขั้น (ภาพที่ 1.5) ไดแก
          ขั้น ป จ จัยนํ า เขา (Input) คื อ ป จจั ย ภายนอกที่ มีอิ ท ธิพ ลต อ ผู บ ริ โ ภค (External influences)
ประกอบไปดวย ความพยายามดานการตลาดของธุร กิจ (Firm’s marketing efforts) หมายถึง การที่บริษัท
ต า ง ๆ พยายามจั ด กิ จ กรรมการตลาดในด า นต า ง ๆ ได แ ก สิ น ค า (Product) การส ง เสริ มการตลาด
(Promotion) ราคา (Price) และชองทางการจัดจําหนาย (Channels of distribution) สงผลใหผูบริโภคเกิด
การรับรูและความตองการในสินคาหรือบริการ ปจจัยภายนอกที่กําหนดพฤติกรรมผูบริโภคอีกปจจัยหนึง                       ่
ไดแก สภาพแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural environment) เชน ครอบครัว (Family)
กลุมอางอิง (Reference groups) แหลงขอมูลอื่น ๆ ที่ไมเปนการคา (Noncommercial sources) ชั้นทาง
สังคม (Social class) วัฒนธรรม (Culture) และวัฒนธรรมยอย (Subculture)
          ขั้ น กระบวนการ (Process) คื อ การที่ ผู บ ริ โ ภคได รั บ อิ ท ธิ พ ลจากป จ จั ย ภายนอกทํ า ให เ กิ ด
กระบวนการตัดสินใจซื้อสินคา โดยเริ่มจากเกิดความตระหนักถึงความตองการสินคาหรือบริการ (Need
recognition) จากนั้ น จึ ง เริ่ ม ทํ าการค น หาข อ มู ล ก อ นการซื้ อ (Prepurchase search) และการประเมิ น
ทางเลือก (Evaluation of alternatives) กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคจะไดรับอิทธิพลจากปจจัย
ภายในของผู บริ โ ภคทางจิ ต วิท ยา (Psychological field) ได แ ก แรงจู ง ใจ (Motivation) การรั บ รู
(Perception) การเรียนรู (Learning) บุคลิกภาพ (Personality) ทัศนคติ (Attitudes) รวมทั้งประสบการณ
(Experience) ในอดีตที่เกี่ยวของกับสินคาหรือบริการที่กําลังตัดสินใจซื้อ ปจจัยภายในตัวผูบริโภคนับได
วาเปนปจจัยสําคัญที่สงผลตอพฤติกรรมผูบริโภคในการระบุวาจะซื้อหรือไม และตองการสินคาหรือ
บริการในลักษณะใด
          ขันผลลัพธ (Output) คือ การที่ผูบริโภคไดตัดสินใจเลือกซื้อสินคาหรือบริการจากบริษัทใด
              ้
บริษัทหนึ่งแลวไดทดลองใช ในกรณีที่ผูบริโภคเกิดความพึงพอใจในสินคา หรือบริการ อาจมีการซื้อซ้ํา
โดยทุกครั้งที่มีการใชสินคาหรือบริการ ผูบริโภคจะมีการประเมินความพึงพอใจตอสินคาหรือบริการนั้น
และสงผลทําใหเกิดประสบการณและความทรงจํา อันจะสงผลตอการตัดสินใจซื้อครั้งตอไป
          เมื่อเปรียบเทียบแบบจําลองของ Schiffman และ Kanuk กับแบบจําลองของ Meldrum และ
McDonald พบวา แบบจําลองทั้งสองแบบมีความคลายคลึงกันในการนําเสนอรูปแบบของสิ่งกระตุนและ
การตอบสนอง โดยเพิ่มรายละเอียดในแตละกระบวนการ และยึดพื้นฐานจากแบบจําลองที่นําเสนอโดย
Smith และ Taylor ทําใหนักการตลาดสามารถนําแบบจําลองดังกลาวไปประยุกตใชไดสะดวกขึ้น
16 | พฤติกรรมผูบริโภค



       อิทธิพลภายนอก (External influences)
                         ความพยายามดานการตลาดของธุรกิจ            สภาพแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรม
                         (Firm’s marketing efforts)                (Sociocultural environment)
                           o สินคา (Product)                        o ครอบครัว (Family)
                           o การสงเสริมการตลาด                      o กลุมอางอิง (Reference groups)
         ปจจัยนําเขา       (Promotion)                             o แหลงขอมูล ทีไมเปนการคา
                                                                                      ่
         (Input)           o ราคา (Price)                               (Noncommercial sources)
                           o ชองทางการจัดจําหนาย                   o ชันทางสังคม (Social class)
                                                                         ้
                              (Channels of distribution)             o วัฒนธรรม และวัฒนธรรมยอย
                                                                        (Culture and subculture)


       การตัดสินใจของผูบริโภค (Consumer decision making)
                       
                                                                       ดานจิตวิทยา (Psychological field)
                              การตระหนักถึงความตองการ
                                                                          o แรงจูงใจ (Motivation)
                              (Need recognition)
                                                                          o การรับรู (Perception)
                              การคนหาขอมูลกอนการซือ
                                                     ้                    o การเรียนรู (Learning)
                              (Prepurchase search)                        o บุคลิกภาพ (Personality)
          กระบวนการ
                                                                          o ทัศนคติ (Attitudes)
          (Process)
                              การประเมินทางเลือก
                              (Evaluation of alternatives)
                                                                          ประสบการณ (Experience)


       พฤติกรรมหลังการตัดสิน ใจ (Postdecision behavior)
                                   การซื้อ (Purchase)
                                     o การทดลองใช (Trial)
           ผลลัพธ                   o การซื้อซ้ํา (Repeat purchase)
           (Output)
                                   การประเมินหลังการใช
                                   (Postpurchase evaluation)



ภาพที่ 1.5 แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคของ Schiffman และ Kanuk (ปรับปรุงจาก Schiffman & Kanuk,
2010, p. 36)
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tJaturapad Pratoom
 
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคการรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคRatchadaporn Khwanpanya
 
การวัดการกระจาย
การวัดการกระจายการวัดการกระจาย
การวัดการกระจายCholticha Boonliang
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมTBnakglan
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapkrupornpana55
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Mais procurados (20)

สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง t
 
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภคการรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
การรับรู้สิ่งเร้าของผู้บริโภค
 
การวัดการกระจาย
การวัดการกระจายการวัดการกระจาย
การวัดการกระจาย
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
 
ตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind mapตัวอย่าง Mind map
ตัวอย่าง Mind map
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 

Destaque

พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคtumetr1
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคWut Sookcharoen
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1pattanapong1320
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มHappy Zaza
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและเรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและsupatra39
 
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นtumetr1
 
การจัดการร้านค้าปลีก
การจัดการร้านค้าปลีกการจัดการร้านค้าปลีก
การจัดการร้านค้าปลีกsuttinun jiyaamorndach
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต1707253417072534
 
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower market
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower marketพฤติกรรมผู้บริโภค Lower market
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower marketfon_ii
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์Thanaphat Tachaphan
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค พัน พัน
 

Destaque (20)

พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค1
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและเรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
เรื่องที่ 7 การเรียนรู้ของผู้บริโภคและ
 
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
 
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior ClassPerception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
 
การจัดการร้านค้าปลีก
การจัดการร้านค้าปลีกการจัดการร้านค้าปลีก
การจัดการร้านค้าปลีก
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต
 
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower market
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower marketพฤติกรรมผู้บริโภค Lower market
พฤติกรรมผู้บริโภค Lower market
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2560 (ฉบับที่ 23)
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
Ch.04 การจัดเก็บและการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์
 
การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค การคุ้มครองผู้บริโภค
การคุ้มครองผู้บริโภค
 

พฤติกรรมผู้บริโภค

  • 1. nice low desi pric gn e new arriva best ls qual ity
  • 2. สารบัญ หนา ตอนที่ 1 บทนํา 1 บทที่ 1 แนวคิดและความสําคัญของพฤติกรรมผูบริโภค 3 ความหมายของพฤติกรรมผูบริโภค 4 ความแตกตางระหวางผูซื้อ ลูกคา และผูบริโภค 8 ประเภทของผูบริโภค 9 ปจจัยทีกาหนดพฤติกรรมผูบริโภค ่ํ  12 แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภค 12 การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค 19 แนวโนมพฤติกรรมผูบริโภคในอนาคต 23 ความสําคัญของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค 24 พฤติกรรมผูบริโภคกับการประยุกตใชทางดานการตลาด 25 โครงสรางเนื้อหาในตําราพฤติกรรมผูบริโภค 27 บทที่ 2 การวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค 33 ประเภทของการวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค 34 ประเภทของขอมูล 35 เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล 36 ขั้นตอนการทําวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค 44 ขันตอนการวาจางบริษทรับทําวิจย ้ ั ั 47 หัวขอการวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค 51 ขอพึงระวังในการทําวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค 53 ประเด็นสําคัญในการวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค 55 ตอนที่ 2 ปจจัยดานจิตวิทยา 61 บทที่ 3 แรงจูงใจ 63 ความหมายของแรงจูงใจ 64 ประเภทของแรงจูงใจ 67 ทฤษฎีแรงจูงใจ 73 ความตองการ 79
  • 3. หนา เปาหมาย 86 การขัดจังหวะ 88 ความรูสกผิดหวัง  ึ 89 การวัดแรงจูงใจ 91 บทที่ 4 บุคลิกภาพ 97 ความหมายของบุคลิกภาพ 98 ธรรมชาติของบุคลิกภาพ 100 แนวทางการศึกษาเกียวกับบุคลิกภาพ ่ 101 ทฤษฎีบคลิกภาพ ุ 101 ประเภทของบุคลิกภาพ 105 บุคลิกภาพตราสินคา 116 ภาพลักษณของตน 120 บทที่ 5 การรับรู 127 ธรรมชาติของการรับรู 129 สวนประกอบของการรับรู 131 การรับรูของผูบริโภค 135 พลวัตของการรับรู 140 ตําแหนงและการเปลียนตําแหนงผลิตภัณฑ ่ 149 การรับรูดานราคา 151 การรับรูคุณภาพ 153 การรับรูความเสี่ยง 156 บทที่ 6 การเรียนรู 163 การเรียนรูของผูบริโภค 164 ทฤษฎีการเรียนรูเชิงพฤติกรรม 166 ทฤษฎีการเรียนรูเชิงความคิด 172 การวัดการเรียนรูของผูบริโภค 180 ขอพึงระวังในการวัดการเรียนรูของผูบริโภค 183 บทที่ 7 ทัศนคติ 189 ธรรมชาติของทัศนคติ 190
  • 4. หนา แบบจําลองโครงสรางของทัศนคติ 191 การเกิดทัศนคติ 195 การเปลียนแปลงทัศนคติ ่ 198 พฤติกรรมมากอนหรือมาหลังการเกิดทัศนคติ 207 ตอนที่ 3 สภาพแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรม 217 บทที่ 8 อิทธิพลของกลุมอางอิงและครอบครัว 219 ธรรมชาติของกลุมอางอิง 220 ปจจัยที่สงผลตออิทธิพลของกลุมอางอิง 222 กลุมอางอิงกับพฤติกรรมผูบริโภค 224 สังคมของสมาชิกครอบครัว 230 บทที่ 9 ชั้นทางสังคม 243 ธรรมชาติของชั้นทางสังคม 244 การวัดระดับชั้นทางสังคม 247 ผูบริโภคที่มีฐานะดีและฐานะไมดี 253 การประยุกตใชชั้นทางสังคมกับงานทางดานการตลาด 254 บทที่ 10 วัฒนธรรม 261 ความรูเ บืองตนเกียวกับวัฒนธรรม ้ ่ 262 ความสําคัญของวัฒนธรรมตอนักการตลาด 263 ธรรมชาติของวัฒนธรรม 264 คานิยมของคนไทยและพฤติกรรมผูบริโภค 267 เศรษฐกิจพอเพียง 273 เครื่องมือในการสํารวจวัฒนธรรมและคานิยม 274 บทที่ 11 วัฒนธรรมยอย 283 ความหมายของวัฒนธรรมยอย 284 วัฒนธรรมยอยทางเชื้อชาติ 286 วัฒนธรรมยอยทางอายุ 289 วัฒนธรรมยอยทางศาสนา 295 วัฒนธรรมยอยทางภูมิศาสตร 300 วัฒนธรรมยอยทางเพศ 301
  • 5. หนา บทที่ 12 พฤติกรรมผูบริโภคขามวัฒนธรรม 309 ความจําเปนของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคขามวัฒนธรรม 310 ประเทศไทยกับผูบริโภคขามวัฒนธรรม 311 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 315 ผลกระทบของประเทศแหลงกําเนิด 316 ความแตกตางของพฤติกรรมผูบริโภคขามวัฒนธรรม 317 การวิจัยตลาดกลุมผูบริโภคขามวัฒนธรรม 327 กลยุทธการตลาดสําหรับผูบริโภคขามวัฒนธรรม 329 ตอนที่ 4 พฤติกรรมผูบริโภคกับการบริหารการตลาด  339 บทที่ 13 พฤติกรรมผูบริโภคกับคุณคาตราสินคา 341 ความหมายของคุณคาตราสินคา 342 มุมมองคุณคาตราสินคาดานการเงิน 344 มุมมองคุณคาตราสินคาดานลูกคา 344 พฤติกรรมผูบริโภคและคุณคาตราสินคา 347 การประเมินมูลคาของตราสินคากับพฤติกรรมผูบริโภค 351 บทที่ 14 การสื่อสารและกระบวนการตัดสินใจ 363 ทฤษฎีการสื่อสาร 364 พฤติกรรมผูบริโภคกับการสื่อสารบนอินเทอรเน็ต 371 กระบวนการตอบสนองของผูบริโภคตอสื่อ 374 กระบวนการตัดสินใจ 379 การประยุกตใชแบบจําลองกระบวนการตัดสินใจกับงานดานการตลาด 385 บทที่ 15 จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบตอสังคม 391 จริยธรรมทางธุรกิจ 392 จริยธรรมทางการตลาด 395 จรรยาบรรณนักการตลาดไทย 397 ความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร 400 การบริหารการตลาดมุงจริยธรรมและสิ่งแวดลอม 402 บรรณานุกรม 415
  • 6. ตอนที่ 1 บทนํา ในปจจุบันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว นักการตลาดตองมีการปรับตัวและปรับเปลี่ยน กลยุทธเพื่อใหทันตอการเปลี่ยนแปลง อยางไรก็ดีพื้นฐานสําคัญ ดานการตลาดยังคงไมเปลี่ยนแปลง คือ การเริ่มตนที่ผูบริโภคและจบลงที่ผูบริโ ภค (It starts with the consumer and ends with the consumer) การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคจึงเปนสิ่งจําเปนสําหรับนักการตลาด เนื้อหาในตอนที่ 1 จะเปนการนําเสนอเนื้อหาพื้นฐานเกี่ยวกับศาสตรดานพฤติกรรมผูบริโภค และการวิ จัย พฤติก รรมผูบ ริ โ ภค เพื่ อ ใหผู อ า นไดมีค วามรู พื้น ฐานก อ นที่ จะทํ า การศึ ก ษาพฤติ ก รรม ผูบริโภคในเชิงลึกตอไป เนื้อหาในตอนที่ 1 ประกอบดวย 2 บท ไดแก บทที่ 1 แนวคิดและความสําคัญของพฤติกรรมผูบริโภค เนื้อหาประกอบดวย ความหมายของ พฤติก รรมผูบ ริโ ภค ความแตกต างระหวา งผู ซ้ื อ ลู กค า และผู บ ริโ ภค ประเภทของผู บริ โ ภค ป จจั ย ที่ กําหนดพฤติกรรมผูบริโภค แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภค การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค แนวโนม พฤติกรรมผูบริโภคในอนาคต ความสําคัญของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค และพฤติกรรมผูบริโภคกับ การประยุกตใชทางดานการตลาด บทที่ 2 การวิ จั ย พฤติ ก รรมผู บ ริ โ ภค เนื้ อ หาประกอบดว ย ประเภทของการวิ จัย พฤติ ก รรม ผูบริโภค ประเภทของขอมูล เครืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูล ขันตอนการทําวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค  ่ ้ ขั้นตอนการวาจางบริษัทรับทําวิจัย หัวขอการวิจยพฤติกรรมผูบริโภค ขอพึงระวังในการทําวิจัยพฤติกรรม ั ผูบริโภค และประเด็นสําคัญในการวิจัยพฤติกรรมผูบริโภค
  • 7.
  • 8. บทที่ 1 แนวคิดและความสําคัญของพฤติกรรมผูบริโภค โครงสรางเนื้อหาของบทที่ 1 แนวคิดและความสําคัญของพฤติกรรมผูบริโภค o ความหมายของพฤติกรรมผูบริโภค  o ความแตกตางระหวางผูซื้อ ลูกคา และผูบริโภค o ประเภทของผูบริโภค  - ผูบริโภคทีเ่ ปนบุคคล  - ผูบริโภคภาคอุตสาหกรรม - ผูบริโภคภาคสถาบัน  - ผูบริโภคภาครัฐ  o ปจจัยทีกาหนดพฤติกรรมผูบริโภค ่ํ  - ปจจัยภายนอก - ปจจัยภายใน o แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภค - แบบจําลองสิ่งกระตุนและการตอบสนอง - แบบจําลองกลองดําของ Meldrum และ McDonald - แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคของ Schiffman และ Kanuk - แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคของ Blythe - แบบจําลองกระบวนการการบริโภคแบบบูรณาการ o การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค - การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคดานเศรษฐศาสตร - การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคดานจิตวิทยา - การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคดานสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา o แนวโนมพฤติกรรมผูบริโภคในอนาคต o ความสําคัญของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค  o พฤติกรรมผูบริโภคกับการประยุกตใชทางดานการตลาด
  • 9. 4 | พฤติกรรมผูบริโภค จุดประสงคการเรียนรู หลังจากศึกษาบทนี้แลว ผูอานควรมีความสามารถดังนี้ þ ยกตัวอยางปจจัยทีกาหนดพฤติกรรมผูบริโภคได ่ํ  þ ยกตัวอยางแบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคได þ อธิบายความสําคัญของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคได þ ยกตัวอยางการประยุกตใชพฤติกรรมผูบริโภคกับงานดานการตลาดได ความนํา การตลาดในยุคแรกเกิดจากการที่สินคามีไมเพียงพอตอความตองการของผูบริโภค ทําใหนกการ ั ตลาดต อ งเน น ที่ก ารผลิต สิ นค าให เ พี ย งพอต อ ความต อ งการ จึ ง ผลิ ต สิน คา ออกมาจํ านวนมาก และมี ลักษณะคลายคลึงกันเพือความรวดเร็วและประหยัดตนทุนในการผลิต ปจจุบันผูบริโภคไดรับอิทธิพล ่ จากปจจัยตาง ๆ ทําใหมความตองการสินคาทีแตกตางกัน การตลาดสมัย ใหมจึงมุงทีจะตอบสนองความ ี ่  ่ ตองการของลูกคาเฉพาะกลุม เพื่อสรางใหเกิดความพึงพอใจ การศึกษาและการทําความเขาใจพฤติกรรม ผูบริโภคจึงเปนภาวะที่หลีกเลี่ยงไมได ดังคําในภาษาลาตินที่วา "Sine-qua-non"  ในบทนีเ้ ปนการนําเสนอเนือหาทีเ่ ปนความรูพนฐานเกียวกับพฤติกรรมผูบริโภค ทําใหผอานได ้  ้ื ่  ู  เห็นภาพกวางเกี่ยวกับศาสตรดานพฤติกรรมผูบริโภค กอนจะนําเสนอรายละเอียดในบทตอ ๆ ไป ความหมายของพฤติกรรมผูบริโภค  พฤติกรรมผูบริโภคเปนศาสตรที่มีความเกี่ยวพันกับศาสตรดานการตลาดอยางใกลชิด แนวคิด เกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภคจึงมีการพัฒนาควบคูไปกับแนวคิดดานการตลาด โดยแนวคิดทางการตลาด ดั้งเดิม (Classical marketing) จะอาศั ยพื้น ฐานของศาสตร ทางด านสังคมศาสตร เช น เศรษฐศาสตร สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา ซึ่งเปนการศึกษาผลรวมของพฤติกรรมตลาด โดยไดรับอิทธิพลจากทฤษฎี อุปสงค (Demand theory) การเขาใจพฤติกรรมผูบริโภคจึงเกิดจากการสํารวจตลาด และใชขอมูลจากการ สํารวจสํามะโนประชากร ตอมาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดความตองการสินคาเพิ่มมากขึ้น และมีการ แขงขันในการออกสินคาใหม การตลาดจึงเริ่มเปนแนวคิดเชิงบริหาร (Managerial marketing) การศึกษา พฤติกรรมผูบริโภคเปนแบบผลรวมคือเปนการศึกษาผูบริโภคแตละคน เชน การศึกษาพฤติกรรมการซื้อ ของผูบริโภคแตละคน เปนตน ตอมาแนวคิ ดทางการตลาดเปลี่ยนแปลงไปสูการตลาดเชิงพฤติกรรม (Behavioral marketing) โดยใชศาสตรทางจิตวิทยาเพื่อศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค และพบวาพฤติกรรม
  • 10. บรรณานุกรม | 5 การซื้อไม ไดเกิ ดจากแรงผลักดันทางตรรกวิทยา (Logically driven) แตเป นแรงผลักดันทางจิตวิทยา (Psychologically driven) โดยเฉพาะอยางยิ่งการเกิดขึ้นของสังคมบนอินเทอรเน็ต ที่ตอ งมีการศึกษา ผูบริโภคเพื่อใหส ามารถทํา การตลาดไดอยางมีประสิท ธิภาพ (Powell, Groves, & Dimos, 2011, pp. 65-66; Sheth, 1985, pp. 5-7) ดังนั้นการตลาดเชิงพฤติกรรมจึงทวีความสําคัญมากขึ้น เพราะเปนการตลาด ที่อาศัยพื้นฐานพฤติกรรมของผูบริโภค และสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผูบริโภคในปจจุบน ั จากขอมูลเบื้องตนจึงสรุปไดวา การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคเปนการผสมผสานศาสตรหลาย ๆ แขนงเขา ดวยกัน เชน เศรษฐศาสตร สังคมวิทยา จิตวิทยา และมานุษยวิทยา เปนตน โดยมีการพัฒนาไปในแตละ ชวงเวลาเพื่อใหมีความสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดทางดานการตลาด และการเปลียนแปลง ่ ของผูบริโภค  จากแนวคิดดานพฤติกรรมผูบริโภคมีการพัฒนาอยางตอเนื่องควบคูไปกับการตลาด จึงมีผูให ความหมายของพฤติกรรมผูบริโภคไวอยางหลากหลาย ความหมายที่แตกต างกันยอ มทําใหเ กิดความ เขาใจและมีขอบเขตของการศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคที่แตกตางกัน เชน Kardes, Cronley, and Cline (2011, p. 8) ใหความหมายของพฤติกรรมผูบริโภควา หมายถึง กิจกรรมทั้งหมดของผูบริโภคที่เกี่ยวของกับการซื้อ การใช การทิ้งสินคา และบริการ รวมไปถึงอารมณ จิต ใจ และการตอบสนองเชิ ง พฤติ ก รรม ที่ เ กิด ขึ้ น ล วงหน า ขณะใช สิ น คา หรื อ บริ ก าร และภายหลั ง กิจกรรมนั้น ซึ่งสามารถแสดงขอบเขตของพฤติกรรมผูบริโภคไดดังภาพที่ 1.1 พฤติกรรมผูบริโภค  กิจกรรมของผูบริโภค  การตอบสนองของผูบริโภค  o ซื้อ o อารมณ o ใช / บริโภค o จิตใจ o ทิง้ o พฤติกรรม ภาพที่ 1.1 แสดงขอบเขตของพฤติกรรมผูบริโภค ตามแนวคิดของ Kardes, Cronley และ Cline ที่ครอบคลุม ดานกิจกรรมและการตอบสนองของผูบริโภค (ปรับปรุงจาก Kardes, Cronley, & Cline, 2011, p. 8)
  • 11. 6 | พฤติกรรมผูบริโภค จากความหมายของพฤติก รรมผูบ ริโ ภคของ Kardes, Cronley และ Cline พบวา การศึ กษา พฤติกรรมผูบริโภคเปนการศึกษากิจกรรมของกระบวนการในการใชสินคาหรือบริการ โดยครอบคลุม ตั้งแตกระบวนการกอนการซื้อ ขณะซื้อ ใช และหลังใช สินคา หรือ บริการ โดยใหความสนใจในการ ตอบสนองของผูบริโภคในดานตาง ๆ ไดแก ดานอารมณ ดานจิตใจ และดานพฤติกรรม ดังนั้นการศึกษา  พฤติก รรมผูบริโ ภคจึ งเปนการนํากิ จกรรมตา ง ๆ มาแตกเปนกิ จกรรมยอ ย เชน การคนหาข อมูล การ เปรี ย บเที ย บคุณ ค า การเปรี ย บเทีย บราคา ความพึ ง พอใจในการใชสิ นคา จากนั้น จึง ทําการศึก ษาการ ตอบสนองของผูบริโภคในแตละกิจกรรมดังกลาว ซึงจะทําใหนกการตลาดสามารถเขาใจพฤติกรรมของ  ่ ั ผูบ ริ โ ภคได อ ย า งครอบคลุ ม สง ผลให การวางแผนการตลาดและการกํ า หนดกลยุ ท ธ เ ป นไปอย า งมี ประสิทธิผล Blackwell, Miniard, and Engel (2006, p. 4) ระบุวาพฤติกรรมผูบริโภค คือกิจกรรมของผูคนใน การพยายามเพื่อใหไดมา บริโภค และทิ้งสินคาหรือบริการ จากคําจํากัดความของ Blackwell, Miniard และ Engel พบวา ยังมีความคลุมเครือเกี่ยวกับความพยายามเพื่อให ไดมาซึ่งสินคาหรือบริ การ ความ พยายามนี้มีความหมายที่ไมไดระบุชัดเจนถึงการซื้อ ดังนั้นในกรณีที่เด็กตองการจักรยาน ทําใหตองขยัน เรียนหนังสือเพื่อใหไดคะแนนสูง ๆ ตามที่ตกลงกับพอแม เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนกับการไดครอบครอง จักรยาน ความพยายามของเด็กเพื่อใหไดจักรยานจะถูกจัดอยูในการศึกษาพฤติกรรมผูบริโ ภค ดังนั้นการ ใชคําวาความพยายามเพื่อใหไดมาจึงเปนคําที่มีความหมายกวางเกินไป Hoyer and Macinnis (2010, pp. 3-4) ระบุวา พฤติกรรมผูบริโภคเปนสิ่งที่สะทอนจากผลรวม ของการตัดสินใจของผูบริโภค โดยมีลําดับตั้งแตการจัดหา การบริโภค และการทิ้งสินคาหรือ บริการ ที่มี ตอ กิ จ กรรม ประสบการณ บุ ค คล และความคิ ด ของการตั ดสิ น ใจในช ว งเวลาหนึ่ ง จากความหมาย ดั ง กล า วทํ า ให ส ามารถแบ ง องค ป ระกอบของพฤติ ก รรมผู บ ริ โ ภคได เ ป น 5 องค ป ระกอบ ได แ ก องคประกอบที่ 1 คือการตัดสินใจซื้อหรือไม ซื้ออะไร ทําไมตองซื้อ ซื้ออยางไร ซื้อเมื่อไร ซื้อที่ไหน ซื้อ เทาไร ซื้อบอยแคไหน และใชเวลานานเทาไร องคประกอบที่ 2 เกี่ยวกับการบริโภค ไดแ ก การไดรับมา การใช และการทิ้ง องคประกอบที่ 3 คือ สิ่งที่นําเสนอ ไดแก สินคา บริการ กิจกรรม ประสบการณ บุคคล และความคิ ด องค ป ระกอบที่ 4 คื อ หน ว ยของการตั ด สิ น ใจ ได แ ก ผู ร วบรวมข อ มู ล (Information gatherer) ผูมีอิทธิพล (Influencer) ผูตัดสินใจ (Decider) ผูซื้อ (Purchaser) และผูใช (User) องคประกอบที่ 5 คือ ระยะเวลา ไดแก ชั่วโมง วัน สัปดาห เดือ น ป ซึ่งองคประกอบทั้ง 5 สวน ทําใหเกิดความสัมพันธ แบบสองทิศทางกับกลยุทธและยุทธวิธทางการตลาด โดยพฤติกรรมผูบริโภคเปนพืนฐานของการกําหนด ี  ้ กลยุ ท ธ แ ละยุทธวิ ธี ท างการตลาด ในขณะเดี ย วกั น กลยุ ทธ แ ละยุท ธวิ ธีท างการตลาดจะต อ งมี ค วาม สอดคลองกับพฤติกรรมผูบริโภค โดยสามารถแสดงความเชื่อมโยงของพฤติกรรมผูบริโภคกับกลยุทธ และยุทธวิธทางการตลาดได ดังภาพที่ 1.2 ี
  • 12. บรรณานุกรม | 7 ผลรวมการตัดสินใจ การบริโภค สิ่งทีนําเสนอ ่ หนวยการตัดสินใจ ระยะเวลา ซือหรือไม ้ การไดรบมา ั สินคา ผูรวบรวมขอมูล ชั่วโมง ซื้ออะไร การใช บริการ ผูมีอิทธิพล วัน ทําไมตองซือ้ การทิ้ง กิจกรรม ผูตัดสินใจ สัปดาห ซื้ออยางไร ประสบการณ ผูซื้อ เดือน ซื้อเมื่อไร บุคคล ผูใช  ป ซื้อที่ไหน ความคิด ซือเทาไร ้ ซื้อบอยแคไหน ใชเวลานานเทาไร กลยุทธและยุทธวิธทางการตลาด ี ภาพที่ 1.2 องคประกอบของพฤติกรรมผูบริโภค (ปรับปรุงจาก Hoyer & Macinnis, 2010, p. 4)  Loudon and Bitta (1993, p. 5) ระบุวา พฤติกรรมผูบริโภคหมายถึงกระบวนการตัดสินใจและ  กิจกรรมทางกายภาพของบุคคลที่เขาไปมีสวนในการประเมิน ไดมา ใช หรือทิ้งสินคาและบริการ จาก นิยามดังกลาวจะเห็นไดวาความหมายของพฤติกรรมผูบริโภคตามแบบของ Loudon และ Bitta จะมุงเนน ในเชิงกระบวนการ เริ่มจากกระบวนการตัดสินใจไปจนถึงการทิ้งสินคาที่ใชเสร็จแลว ซึ่งมีความชัดเจน ในเชิงกระบวนการ แตยังขาดในเชิงรายละเอียดของกิจกรรมยอยในแตละกระบวนการ เชน การไดมาซึ่ง สินคาหรือบริการในกรณีที่ไมไดเปนเชิงการคาจะไมเขาขายพฤติกรรมผูบริโภค เปนตน Moven and Minor (1998, p. 5) ไดใหความหมายของคําวาพฤติกรรมผูบริโภควา เปนการศึกษา หนวยของการซื้อและกระบวนการแลกเปลี่ยนที่เกี่ยวของกับการไดมา การบริโภค และการทิ้งสินคาหรือ บริการ ประสบการณ และแนวคิด เมื่อพิจารณาคํานิยามพฤติกรรมผูบริโภคในความหมายของ Moven และ Minor พบวา จะใหความสําคัญของกิจกรรมที่ไดมาซึ่งสินคา บริการ ประสบการณ และแนวคิด อาจ เกิดจากการซื้อ-ขาย หรือการแลกเปลี่ยนก็ได อยางไรก็ดีหากกระบวนการแลกเปลี่ยนมิไดเปนในเชิง การคา กระบวนการดังกลาวจะไมจัดอยูในความหมายของคําวาพฤติกรรมผูบริโภค Noel (2009, p. 11) ใหความหมายพฤติ กรรมผูบริโภควา หมายถึ งการศึกษากระบวนการที่ เกี่ยวของกับการที่ผูบริโภคไดมา บริโภคและทิ้งสินคา บริการ กิจกรรม แนวคิด เพื่อตอบสนองความ ตองการและความปรารถนา ซึ่งการไดมาของสินคาหรือบริการ ไมใชจํากัดเพียงการซื้อเทานั้น แตรวมถึง การแลกเปลี่ยน (Barter) เชาซื้อ (Leasing) หรือขอยืม (Borrowing) เพื่อใหไดมาซึ่งสินคาหรือบริก ารนั้น
  • 13. 8 | พฤติกรรมผูบริโภค ดวย จะเห็นไดวาความหมายของพฤติกรรมผูบริโภคของ Noel เนนไปที่กระบวนการในการตัดสินใจซื้อ ใช และทิ้งสินคา โดยไมไดระบุถึงปจจัยหรือองคประกอบอื่นที่เ กี่ยวของกับพฤติกรรมผูบริโภค ทําให ขาดความกวางของพฤติกรรมผูบริโภค อยางไรก็ดี Noel ไดขยายขอบเขตของการไดมาซึ่งสินคาหรือ บริการ ทํ าใหมีมุมมองของรูปแบบการตั ดสิน ใจที่ กวางขึ้น ขอดีอีกประการหนึ่ง ของความหมายของ พฤติกรรมผูบริโภคของ Noel คือการระบุถึงการตอบสนองความตองการของผูบริโภค นับไดวามีการ  นําเอาแนวคิดทางการตลาดเขามาผสมผสานกับพฤติกรรมผูบริโภค ทําใหมีความชัดเจนในผลลัพธมาก ยิงขึน ่ ้ สรุปความหมายของพฤติกรรมผูบริโภค จากการศึ ก ษาความหมายของพฤติ ก รรมผู บ ริ โ ภคพบว า มี ผู ใ ห ค วามหมายไว หลากหลาย แตละความหมายมีความครอบคลุมที่แตกตางกัน หากจะพิจารณาองคประกอบ ของพฤติกรรมผูบริ โภคซึ่งมีความสัมพั นธกับศาสตรทางดานการตลาด ผูเ ขียนสามารถ นํามาสรุปไดดงนี้ ั คําวา “พฤติกรรม” ในเชิงการตลาด หมายถึงการแสดงออกในเชิงกิจกรรม คําวา “ผูบริโภค” ในเชิงการตลาด หมายถึงการบริโภคในเชิงเศรษฐศาสตร ดังนั้นผูเขีย นจึงให ความหมายของพฤติกรรมผูบริโภคหมายถึง “กิจกรรมทีเ่ กิดขึนในกระบวนการทีเ่ กียวของกับการบริโภคใด ๆ เชิงเศรษฐศาสตร” ้ ่ ความแตกตางระหวางผูซื้อ (Buyer) ลูกคา (Customer) และผูบริโภค (Consumer) คําวาผูซื้อ ลูกคา และผูบริโภคถูกใชกันอยางแพรหลายในศาสตรการตลาด นักการตลาดตองเขา ใจความแตกตางของคําดังกลาว เนืองจากการทํากิจกรรมทางดานการตลาดใหประสบความสําเร็จ นักการ ่ ตลาดจําเปนตองเขาใจถึงบทบาทของผูมสวนในกระบวนการตัดสินใจ  ี  บทบาทของผูซอและลูกคามีสวนทีเ่ หมือนกัน คือเปนการกระทําทีเ่ กียวของกับการแลกเปลี่ยน  ้ื  ่ สินคา และ/หรือบริการ กับเงิน ซึ่งทั้งผูซ้ือและลูกคาอาจจะเปนผูใชสินคาหรือบริการนั้นหรือไมก็ได ขึ้นอยูกับวาการซื้อนั้นมีวัตถุประสงคเพื่อบริโภคดวยตนเอง หรือเพื่อนําไปจําหนายตอ หรือไปเพิ่มเติม กระบวนการเพื่อการขายตอ หรืออาจเปนเพียงการซื้อในบทบาทของคนกลาง Loudon and Bitta (1993, p. 5) ระบุวา ลูกคาหมายถึงผูซื้อที่ทําการซื้ออยางสม่ําเสมอจากรานคา หรือบริษท และใหความหมายของคําวาผูบริโภคคือผูท่ีมีสวนเกี่ยวของกับกิจกรรมในความหมายของ ั
  • 14. บรรณานุกรม | 9 พฤติกรรมผูบริโภค ดังนั้น จะเห็นไดวา ผูซ้ือ ลูกค า และผูบริโภค ตางมีบทบาทที่แตกตางกัน ผูซ้ือทํ า หนาที่ในกิจกรรมการแลกเปลี่ยน ซึ่งมีความสําคัญนอยในดานการตลาด ลูกคาคือ ผูที่ซื้ออยางสม่ําเสมอ ซึ่ ง ย อ มมี ค วามสํ า คั ญ มากกว า ส ว นผู บ ริ โ ภคเป น ส ว นที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด เพราะมี ส ว นเกี่ ย วข อ งในทุ ก กระบวนการของศาสตรพฤติกรรมผูบริโภค นักการตลาดจําเปนตองเขาใจบทบาทหนาทีของแตละบุคคล  ่ เพื่อทําการศึกษาและออกแบบกิจกรรมทางการตลาดไดอยางเหมาะสม อดุลย จาตุรงคกุล และ ดลยา จาตุรงคกุล (2550, น. 6) ระบุวา ผูบริโภคคือบุคคลตาง ๆ ที่มี ความสามารถในการซื้อ (Ability to buy) หรือทุกคนที่มีเงิน และยังมีความเต็มใจในการซื้อ (Willingness to buy) สินคาหรือบริการดวย ประเภทของผูบริโภค ผูบริโภคไมไดจากัดแตเพียงบุคคลเทานัน แตยงหมายถึงองคกรทังภาครัฐและภาคเอกชน โดยมี  ํ ้ ั ้ บทบาทที่แ ตกตางกัน มีร ายละเอี ย ดดัง นี้ (O'Dougherty et al., 2007, pp. 17-18; Kotler, 2000, p. 176; Kotler & Keller, 2009, p. 228; Loudon & Bitta, 1993, p. 7) ผูบริโภคที่เปนบุคคล (Personal consumers) ผูบริโภคที่เปนบุคคลไดแก ผูที่ซ้ือสินคาหรือบริการเพื่อนําไปใชประโยชนสําหรับตนหรือ  บุคคลอื่น เชน แมซื้อเสื้อผาใหลูก หรือซื้อเครื่องครัวเพื่อใชในบาน หรือซื้อเครื่องคอมพิวเตอรเพื่อ เปน ของขวัญใหลูก เปนตน ผูบริโภคที่เปนบุคคล (Personal consumers) ประกอบดวยผูมีบทบาทในการซื้อ ไดแก 1. ผูริเริ่ม (Initiators) คือ ผูมีความคิดที่ตองการซื้อสินคา หรือบริการเปนคนแรก เชน แมเห็นผล การเรียนของลูกไมดีจึงตองการใหลูกไปเรียนพิเศษ 2. ผูมอทธิพล (Influencers) คือ ผูที่ใหคําแนะนําหรือมีอิทธิพลตอการตัดสินใจ เชน ครูผูสอนจะ  ีิ ใหความเห็นวาเด็กควรจะเรียนพิเศษวิชาไหนจึงจะเหมาะสม 3. ผูตัดสินใจ (Deciders) คือ บุคคลที่เปนผูตัดสินใจวา จะซื้อหรือไม ซื้ออะไร ซื้ออยางไร หรือซื้อ ที่ไหน เชน พอของเด็กจะเปนผูหาขอ มูล และเลือกวาจะใหลูกเรียนพิเ ศษหรือไม เรียนที่ไ หน เรียนอยางไร เปนตน 4. ผูซื้อ (Buyers) คือ บุคคลทีทาหนาทีในการซือ เชน แมพาลูกไปสมัครเรียนพิเศษตามทีพอไดหา ่ ํ ่ ้ ่  ขอมูลมา
  • 15. 10 | พฤติกรรมผูบริโภค 5. ผูใช (Users) คือ ผูใชสินคาหรือบริการ เชน เมื่อแมพาลูกมาสมัครเรียนพิเศษแลว ลูกมีหนาที่มา  เรียนพิเศษตามกําหนดเวลา ผูบริโภคภาคอุตสาหกรรม (Industrial consumers) ผูบริโภคภาคอุตสาหกรรม ไดแก ผูซื้อสินคาหรือบริการเพื่อนําไปใชในธุรกิจของตน เชน ราน ขายสงที่ซื้อเครื่องดื่มแลวนําไปจําหนายตอใหกับรานคายอย หรือซื้อรถบรรทุกเพื่อใชในการขนสงสินคา หรือโรงงานอุตสาหกรรมซื้อวัตถุดิบเพื่อนําไปผลิตสินคาและนําไปจําหนายตอ ผูบริโภคภาคสถาบัน (Institutional consumers)  ผูบริโ ภคภาคสถาบัน ไดแก ผูซ้ือสินคาหรือบริการเพื่อนําไปประกอบการใหบริการ เชน โรงเรียนซื้อกระดาษเพื่อใชในการสอนหนังสือ องคกรพิทักษสัตวซ้ืออาหารสัตวเพื่อใชเลี้ยงดูสัตวท่ี ไดรับมา ผูบริโภคภาครัฐ (State consumers) ผูบริโภคภาครัฐ ไดแก ประเทศ จังหวัด หรือหนวยงานของรัฐที่ทําการซื้อสินคาหรือบริการ เพื่อนําไปใชในการใหบริการของตน เชน ประเทศไทยสั่งซื้อเรือเพื่อนํามาชวยเหลือผูประสบอุทกภัย เปนตน เมื่อ พิจารณาจากผูบริโภคทั้ง 4 ประเภท จะสามารถแบงผูบริโภคเปน 2 กลุมใหญ ๆ ไดแ ก ผูบริโภคทีเ่ ปนบุคคล และผูบริโภคทีเ่ ปนองคกร ผูบริโภคทังสองกลุมมีบคคลหรือหนวยงานทีมีบทบาท   ้  ุ ่ เกี่ ย วข อ งกับ กระบวนการตัด สิ น ใจที่ แ ตกต างกั น ผู ซื้ อ ที่ เ ป นองค กรจะมี ผู มีบทบาทในกระบวนการ ตัดสินใจ ดังนี้ 1. ผูริเริ่ม (Initiators) คือ ผูใชสินคาหรือบริการ หรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งระบุความตองการใช หรือความตองการซื้อสินคาหรือบริการ เชน ในโรงงานผลิต ผูจัดการโรงงานมีความตองการ เครื่องจักรที่ควบคุมโดยคอมพิวเตอรมาทดแทนเครื่องจักรเกา เพื่อทําใหการผลิตสินคามีคณภาพ ุ มากยิ่งขึ้น 2. ผูใช (Users) คือ ผูใชสินคาหรือบริการ บางครั้งผูใชสินคาหรือบริการอาจเปนผูริเริ่มในการระบุ  ความตองการสินคาหรือบริการ หรืออาจมีสวนรวมในการตัดสินใจ เชน ผูจัดการโรงงานไดขอ ความเห็นจากผูควบคุมเครื่องจักรในการซื้อเครื่องจักรที่ควบคุมโดยคอมพิวเตอรมาทดแทน เครื่องจักรเกา
  • 16. บรรณานุกรม | 11 3. ผูมอทธิพล (Influencers) เปนผูมีอิทธิพลตอการเลือกสินคาหรือบริการ เชน ผูจัดการโรงงานได  ีิ นําเรื่องการนําเครื่องจักรที่ควบคุมโดยคอมพิ วเตอรมาทดแทนเครื่องจักรเกาไปปรึกษากับที่ ปรึกษาฝายเทคนิค ทีปรึกษาฝายเทคนิคจะมีอทธิพลในการระบุความจําเปน ความคุมคาในการ ่ ิ เปลี่ยนเครื่องจักร และชวยในการกําหนดคุณสมบัติของเครื่องจักรที่ตองการ 4. ผูตัดสินใจ (Deciders) คือ ผูทําหนาที่ตัดสินใจวาสมควรจะซื้อหรือไม เชน ผูจัดการโรงงานนํา เรื่ อ งการเปลี่ ย นเครื่ อ งจั ก รที่ ค วบคุ ม โดยคอมพิ ว เตอร มาทดแทนเครื่ อ งจั ก รเก า เสนอกั บ ผูอานวยการฝายผลิต เพือตัดสินใจ ํ ่ 5. ผูอนุมติ (Approvers) คือ ผูทําหนาที่อนุมัติการตัดสินใจ เชน ผูอํานวยการฝายผลิตนําเรื่องเสนอ  ั ขอจัดซื้อกับกรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการจะทําหนาที่อนุมัติการจัดซื้อ 6. ผูซื้อ (Buyers) คือ ผูมีหนาที่ดํา เนินการจัดซื้อ ซึ่ งบางครั้งมีหนาที่ ในการคัดเลือกผู ขาย และ ตอรอง เชน กรรมการผูจัดการอนุมัติการสั่งซื้อเครื่องจักร จากนั้นฝายจัดซื้อดําเนินการคัดเลือกผู จําหนายเครื่องจักร โดยจัดใหมีการเสนอราคา และกระบวนการคัดเลือก 7. ผูเฝาประตู (Gatekeepers) คือ ผูมีอํานาจหรือผูมีอิทธิพลในการปองกันหรืออนุญาตใหมีการ เขาถึงผูมีสวนในการตัดสินใจ เชน บริษัทที่จําหนายเครื่องจักรไดทราบขาววาโรงงานจะมีการ สั่งซื้อเครื่องจักรใหม ไดทําการติดตอเพื่อขอเขาพบผูจัดการฝายจัดซื้อเพื่อนําเสนอสินคา แต พนักงานทีดาเนินการเรืองจัดตารางนัด บายเบียงทีจะนัดใหพบกับผูจดการฝายจัดซือ ่ํ ่ ่ ่ ั ้ การเขา ใจผูมีบ ทบาทต าง ๆ ในกระบวนการตั ดสิ น ใจซื้ อ จะช ว ยให นั กการตลาดออกแบบ กิจกรรมทางการตลาดไดอยางเหมาะสม เชน หากเปนบริษัทจําหนายเครื่องจักร ฝายการตลาดอาจทํา กิจกรรมทางการตลาดผานผูจัดการโรงงานเพื่อกระตุนใหเกิดความคิดริเริ่มในการซื้อเครื่องจักรใหม โดย อาจใหความรูกับผูควบคุมเครื่องจักรและที่ปรึกษาทางดานเทคนิค เพื่อให เกิดการสนับสนุนผูจัดการ โรงงาน นอกจากนั้นอาจจัดทําขอดี-ขอเสีย และจุดคุมทุนใหกับผูอํานวยการฝายผลิต รวมถึงกรรมการ ผูจดการเพือใหเห็นถึงประโยชนทจะไดรบจากการเปลียนเครืองจักร นอกจากนันยังสามารถทํากิจกรรม ั ่ ่ี ั ่ ่ ้ ทางการตลาดเพื่ อ เพิ่ ม ความสั ม พั น ธ กั บ ผู ซ้ื อ และผู เ ฝ า ประตู เช น มี ก ารมอบของขวั ญ ป ใ หม หรื อ สนับสนุนกิจกรรมของบริษท เพือใหเกิดความคุนเคย เปนตน ั ่  จากขอมูลขางตนจึงสรุปไดวา ผูบริโภคที่มีลักษณะแตกตางกัน จะมีพฤติกรรมที่ไมเหมือนกัน โดยเฉพาะอย างยิ่ ง ผู ที่มีบ ทบาทในกระบวนการตั ด สิน ใจซื้ อ ดั ง นั้ น นัก การตลาดควรทํ าความเขา ใจ ประเภทของผูบริโภคและบทบาทของผูมีสวนเกี่ยวของทุกคน เพื่อกําหนดกลยุทธการตลาดไดอยางมี ประสิทธิภาพ
  • 17. 12 | พฤติกรรมผูบริโภค ปจจัยที่กําหนดพฤติกรรมผูบริโภค การทีผบริโภคมีพฤติกรรมที่แตกตางกันยอมมีผลมาจากปจจัยตาง ๆ ที่มีอิทธิพลตอผูบริโภค ่ ู โดยทัวไปสามารถแบงปจจัยทีกาหนดพฤติกรรมผูบริโภคไดเปน 2 ประเภท ไดแก ่ ่ํ  1. ปจจัยภายนอก (External factors) หมายถึงปจจัยทีเ่ ปนสภาพแวดลอมภายนอกผูบริโภค เชน  กิจกรรมการตลาดของบริษัท ภาวะแวดลอมดานตาง ๆ เชน ชั้นทางสังคม ครอบครัว เปนตน ปจจัยดังกลาวเปนสิ่งกระตุนใหผูบริโภคเกิดการตอบสนอง เชน เกิดความตองการบริโภคสินคา หรือบริการ รวมทั้งเปนตัวกําหนดความแตกตางและระดับของการตอบสนอง เชน ผูบริโภคที่ อยูในชันทางสังคมทีสงมักจะมีพฤติกรรมทีจะบริโภคสินคาทีมการออกแบบทีทนสมัย เปนตน  ้ ่ ู ่ ่ ี ่ ั 2. ปจจัยภายใน (Internal factors) หมายถึงปจจัยทีเ่ ปนสภาพแวดลอมภายในผูบริโภค เชน การ  รับรู การเรียนรู แรงจูงใจ บุคลิกภาพ ทัศนคติ คานิยม เปนตน ปจจัยภายในจะเปนตัวกําหนด รูปแบบการตอบสนองของผูบริโภคแตละคนที่แตกตางกัน เชน หากผูบริโภคมีทัศนคติที่ไ มดี ตอ สิ นค าที่ ไ มเ ปน มิต รตอ สิ่ง แวดลอ ม การตั ดสิน ใจซื้อ สินค าผู บริ โ ภคจะให ความสํ าคั ญ กั บ สินคาทีถกผลิตภายใตการควบคุมทีไมทาลายสิงแวดลอม เปนตน ู่ ่ ํ ่ แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภค เนื่องจากพฤติกรรมผูบริโภคครอบคลุมกระบวนการที่เกี่ยวของกับการบริโภคสินคา เพื่อใหงาย ตอการเขาใจถึงปจจัยตาง ๆ ที่กําหนดพฤติกรรมผูบริโภคและใหเกิดความชัดเจนในขอบเขตการศึกษา พฤติกรรมผูบริโภค นักวิชาการจึงนิยมแสดงความสัมพันธระหวางปจจัยที่กําหนดพฤติกรรมผูบริโภคกับ กระบวนการในการบริโภคสินคาหรือบริการในลักษณะทีเ่ ปนแบบจําลองรูปแบบตาง ๆ ดังนี้ แบบจําลองสิงกระตุนและการตอบสนอง (Stimulus-response model) หรือแบบจําลองกลองดํา (Black ่  box model) การศึ กษาด านจิ ตวิ ทยาผู บริ โ ภค นิ ย มให ความสนใจป จจั ย ที่กํ าหนดพฤติก รรมผูบ ริโ ภคใน รูปแบบของการตอบสนองตอสิ่งเรา (Stimuli) และมักแสดงแบบจําลองในรูปแบบปจจัยนําเขา ปจจัย คั่นกลาง และผลลั พธ โดยปจจั ยนําเขาคือสิ่งเรา ที่มีอิทธิพลตอ พฤติก รรมผูบริโภค ปจจั ยคั่นกลางคือ กระบวนการภายในผูบริโภคที่ สังเกตได ยาก จึงมั กเรียกว ากลองดํา (Black box) และผลลัพธคือการ ตอบสนองของผูบริโภค (Smith & Taylor, 2004, p. 102) แบบจําลองสิ่งกระตุนและการตอบสนองเปน แบบจําลองที่มีความเรียบงาย แตทําใหนักการตลาดเขาใจถึงกระบวนการของอิทธิพลที่มีตอพฤติกรรม
  • 18. บรรณานุกรม | 13 ผูบริโภค ตั้งแตปจจั ยที่มีอิทธิพล ไปสูกระบวนการตัดสินใจที่ ตองทํ าการศึก ษาให เขาใจ เพื่อ นําไปสู พฤติกรรมที่เปนผลลัพธในเชิงการตอบสนอง (ภาพที่ 1.3) ปจจัยนําเขา (Inputs) กลองดํา (Black box) ผลลัพธ (Outputs) ปจจัยทีเ่ ปนสิงเรา ่ ปจจัยคั่นกลาง การตอบสนอง (Stimulus variables) (Intervening variables) (Response variables) ภาพที่ 1.3 แบบจําลองกลองดํา (ปรับปรุงจาก Smith & Taylor, 2004, p. 102) แบบจําลองกลองดําของ Meldrum และ McDonald Meldrum and McDonald (2007, pp. 69-70) ไดเสนอแบบจําลองกลองดําของผูซื้อ ตามรูปแบบ สิ่งกระตุนและการตอบสนอง โดยนําปจจัยตาง ๆ มาบรรจุในแบบจําลอง เพื่ออธิบายรายละเอียดของแต ละกระบวนการใหชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยแบงเปน 3 สวน ดังนี้ สวนที่ 1 ปจจัยภายนอก (External factors) คือ ปจจัยภายนอกผูบริโภคที่เปนสิ่งเราหรือสิ่ง กระตุนที่ทําใหผูบริโภคเกิดความตองการสินคาหรือบริการ ไดแ ก สภาพทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีใหม สื่อตาง ๆ กฎหมายและการเมือง สังคมและวัฒนธรรม รวมไปถึงสวนประสมการตลาด (สินคา ราคา ชอง ทางการจัดจําหนาย การสงเสริมการตลาด) ทีเ่ กิดจากบริษทหรือจากคูแขง ปจจัยภายนอกเหลานีมอทธิพล ั  ้ ีิ ตอผูบริโภค ทําใหเกิดความตองการสินคาหรือบริการ และนําไปสูกระบวนการตัดสินใจซื้อ สวนที่ 2 กลองดําของผูซ้ือ (Buyer’s black box) เมื่อผูบริโ ภคเกิดความตองการสินคาหรื อ บริการ จะทําใหเกิดกระบวนการซือ ภายในกลองดํานีประกอบไปดวย ปจจัยทีมอทธิพลตอกระบวนการ ้ ้ ่ ีิ ตัดสินใจซือ ไดแก บุคลิกภาพ (วัฒนธรรม บริบททางสังคม คานิยมครอบครัว และรูปแบบทางจิตวิทยา) ้ และสภาพแวดลอมสวนบุคคล (ตําแหนงทางสังคมและเศรษฐศาสตร ชวงอายุ รูปแบบการดําเนินชีวิต และการเขาถึงความไววางใจ) ซึ่งปจจั ยดังกลาวจะทําใหผูบริโภคเกิดความตระหนักถึงความตองการ สินคาหรือบริการ ทําใหเกิดการคนหาขอมูล การประเมินทางเลือก ความประสงคที่มีความจําเพาะเจาะจง ในการซื้อ กิจกรรมการซื้อ และการรับรูหลังการซื้อ หรือใชสินคาหรือบริการเสร็จสิ้น ส ว นที่ 3 ผลลั พ ธ (Outcomes) จากกระบวนการภายในกล อ งดํ า ทํ า ให เ กิ ด ผลลั พ ธ ที่เ ป น พฤติกรรมเชิงรายละเอียดของการซื้อ ไดแก การเลือกรูปแบบสินคา ตราสินคา รานคายอยจําหนายสินคา คุณคา รูปแบบการชําระเงิน และชวงเวลาซื้อ
  • 19. 14 | พฤติกรรมผูบริโภค แบบจําลองของ Meldrum และ McDonald (ภาพที่ 1.4) นับไดวามีประโยชนกับนักการตลาด เปนอยางมาก เนืองจากนักการตลาดสามารถนําแบบจําลองดังกลาว ไปเปนกรอบในการศึกษาและทํา ่ ความเขาใจพฤติกรรมของผูบริโภครวมถึงปจจัยตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ปจจัยภายนอก กลองดําของผูซ้ือ  ผลลัพธ (External factors) (Buyer’s black box) (Outcomes) สภาพทางเศรษฐกิจ บุคลิกภาพ (Characteristics) รูปแบบสินคา (Economic condition) - วัฒนธรรม (Culture) (Product form) เทคโนโลยีใหม - บริบททางสังคม (Social context) (New technology) - คานิยมครอบครัว (Family values) ตราสินคา - รูปแบบทางจิตวิทยา (Brand) สือตาง ๆ ่ (Psychology profile) (Media) สภาพแวดลอมสวนบุคคล รานคายอยจําหนาย กฎหมายและการเมือง (Personal circumstances) สินคา (Law and politics) (Retail outlet) - ตําแหนงทางสังคมและเศรษฐศาสตร สังคมและวัฒนธรรม (Socio-economic position) - ชวงอายุ (Lifecycle stage) คุณคา (Social culture) - รูปแบบการดําเนินชีวต (Lifestyle) ิ (Value) สวนประสมการตลาด - การเขาถึงความไววางใจ (Marketing mix) (Access to credit) รูปแบบการชําระเงิน - สินคา (Product) (Form of payment) - ราคา (Price) กระบวนการตัดสินใจ - ชองทางการจัดจําหนาย (Decision process) ชวงเวลาซื้อ (Place) - การตระหนักถึงความตองการ (Timing of purchase) - การสงเสริมการตลาด (Recognition of need) (Promotion) - การคนหาขอมูล (Information search) - การประเมิน (Evaluation) - ความประสงคซ้ือ (Purchase intention) - การซือ (Purchase) ้ - การรับรูหลังการซื้อ (Post-purchase perceptions) ภาพที่ 1.4 แบบจําลองกลองดําของ Meldrum และ McDonald (ปรับปรุงจาก Meldrum & McDonald, 2007, p. 70)
  • 20. บรรณานุกรม | 15 แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคของ Schiffman และ Kanuk  Schiffman and Kanuk (2010, pp. 36-37) ไดเ สนอแบบจําลองเพื่อแสดงใหเห็นถึง ปจจัย ที่ กําหนดพฤติกรรมผูบริโภค รวมถึ งมีการเชื่อมโยงไปสูกิจกรรมของผูบริโภค ซึ่งนําเสนอในรูปแบบ กระบวนการ 3 ขั้น (ภาพที่ 1.5) ไดแก ขั้น ป จ จัยนํ า เขา (Input) คื อ ป จจั ย ภายนอกที่ มีอิ ท ธิพ ลต อ ผู บ ริ โ ภค (External influences) ประกอบไปดวย ความพยายามดานการตลาดของธุร กิจ (Firm’s marketing efforts) หมายถึง การที่บริษัท ต า ง ๆ พยายามจั ด กิ จ กรรมการตลาดในด า นต า ง ๆ ได แ ก สิ น ค า (Product) การส ง เสริ มการตลาด (Promotion) ราคา (Price) และชองทางการจัดจําหนาย (Channels of distribution) สงผลใหผูบริโภคเกิด การรับรูและความตองการในสินคาหรือบริการ ปจจัยภายนอกที่กําหนดพฤติกรรมผูบริโภคอีกปจจัยหนึง ่ ไดแก สภาพแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural environment) เชน ครอบครัว (Family) กลุมอางอิง (Reference groups) แหลงขอมูลอื่น ๆ ที่ไมเปนการคา (Noncommercial sources) ชั้นทาง สังคม (Social class) วัฒนธรรม (Culture) และวัฒนธรรมยอย (Subculture) ขั้ น กระบวนการ (Process) คื อ การที่ ผู บ ริ โ ภคได รั บ อิ ท ธิ พ ลจากป จ จั ย ภายนอกทํ า ให เ กิ ด กระบวนการตัดสินใจซื้อสินคา โดยเริ่มจากเกิดความตระหนักถึงความตองการสินคาหรือบริการ (Need recognition) จากนั้ น จึ ง เริ่ ม ทํ าการค น หาข อ มู ล ก อ นการซื้ อ (Prepurchase search) และการประเมิ น ทางเลือก (Evaluation of alternatives) กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคจะไดรับอิทธิพลจากปจจัย ภายในของผู บริ โ ภคทางจิ ต วิท ยา (Psychological field) ได แ ก แรงจู ง ใจ (Motivation) การรั บ รู (Perception) การเรียนรู (Learning) บุคลิกภาพ (Personality) ทัศนคติ (Attitudes) รวมทั้งประสบการณ (Experience) ในอดีตที่เกี่ยวของกับสินคาหรือบริการที่กําลังตัดสินใจซื้อ ปจจัยภายในตัวผูบริโภคนับได วาเปนปจจัยสําคัญที่สงผลตอพฤติกรรมผูบริโภคในการระบุวาจะซื้อหรือไม และตองการสินคาหรือ บริการในลักษณะใด ขันผลลัพธ (Output) คือ การที่ผูบริโภคไดตัดสินใจเลือกซื้อสินคาหรือบริการจากบริษัทใด ้ บริษัทหนึ่งแลวไดทดลองใช ในกรณีที่ผูบริโภคเกิดความพึงพอใจในสินคา หรือบริการ อาจมีการซื้อซ้ํา โดยทุกครั้งที่มีการใชสินคาหรือบริการ ผูบริโภคจะมีการประเมินความพึงพอใจตอสินคาหรือบริการนั้น และสงผลทําใหเกิดประสบการณและความทรงจํา อันจะสงผลตอการตัดสินใจซื้อครั้งตอไป เมื่อเปรียบเทียบแบบจําลองของ Schiffman และ Kanuk กับแบบจําลองของ Meldrum และ McDonald พบวา แบบจําลองทั้งสองแบบมีความคลายคลึงกันในการนําเสนอรูปแบบของสิ่งกระตุนและ การตอบสนอง โดยเพิ่มรายละเอียดในแตละกระบวนการ และยึดพื้นฐานจากแบบจําลองที่นําเสนอโดย Smith และ Taylor ทําใหนักการตลาดสามารถนําแบบจําลองดังกลาวไปประยุกตใชไดสะดวกขึ้น
  • 21. 16 | พฤติกรรมผูบริโภค อิทธิพลภายนอก (External influences) ความพยายามดานการตลาดของธุรกิจ สภาพแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรม (Firm’s marketing efforts) (Sociocultural environment) o สินคา (Product) o ครอบครัว (Family) o การสงเสริมการตลาด o กลุมอางอิง (Reference groups) ปจจัยนําเขา (Promotion) o แหลงขอมูล ทีไมเปนการคา ่ (Input) o ราคา (Price) (Noncommercial sources) o ชองทางการจัดจําหนาย o ชันทางสังคม (Social class) ้ (Channels of distribution) o วัฒนธรรม และวัฒนธรรมยอย (Culture and subculture) การตัดสินใจของผูบริโภค (Consumer decision making)  ดานจิตวิทยา (Psychological field) การตระหนักถึงความตองการ o แรงจูงใจ (Motivation) (Need recognition) o การรับรู (Perception) การคนหาขอมูลกอนการซือ ้ o การเรียนรู (Learning) (Prepurchase search) o บุคลิกภาพ (Personality) กระบวนการ o ทัศนคติ (Attitudes) (Process) การประเมินทางเลือก (Evaluation of alternatives) ประสบการณ (Experience) พฤติกรรมหลังการตัดสิน ใจ (Postdecision behavior) การซื้อ (Purchase) o การทดลองใช (Trial) ผลลัพธ o การซื้อซ้ํา (Repeat purchase) (Output) การประเมินหลังการใช (Postpurchase evaluation) ภาพที่ 1.5 แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคของ Schiffman และ Kanuk (ปรับปรุงจาก Schiffman & Kanuk, 2010, p. 36)