SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 13
Baixar para ler offline
จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 1
คู่มือการบันทึกคะแนนนักเรียน V.3
วิธีการเข้าสู่โปรแกรม
ให้เปิด Brower ด้วย Internet Explore/Chrome/Mozilla Firefox ตัวใดตัวหนึ่งเท่านั้น
(ผู้ดูแลระบบเลือกใช้ Chrome ในการจัดการ) จากนั้นไปที่ช่อง URL ของ Brower เพื่อพิมพ์ข้อความ
โดยให้พิมพ์ www.banjongrat.ac.th ลงไป ดังภาพที่ 1
ภาพ 1 แสดงการพิมพ์ URL ของเว็บไซต์ที่ต้องการเข้า
เมื่อพิมพ์ URL เสร็จแล้วระบบจะนาท่านไปสู่หน้าเว็บไซต์ของโรงเรียนบรรจงรัตน์ ให้ท่าน
เลื่อนลงมาด้านล่างสุด แล้วคลิกคาว่า “เข้าสู่หน้าเว็บไซต์” ดังภาพที่ 2
ภาพ 2 แสดงหน้าเว็บไซต์ของโรงเรียนบรรจงรัตน์
จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 2
จากนั้นระบบจะนาเข้าสู่หน้าหลักของเว็บไซต์โรงเรียน ให้ท่านสังเกตที่เมนูของเว็บไซต์ด้าน
ขวามือ และหาเมนูที่มีชื่อว่า “ระบบสารสนเทศ” ตามภาพที่ 3
ภาพ 3 หน้าเว็บไซต์หลักของโรงเรียนให้เลือกเมนู “ระบบสารสนเทศ”
เมื่อเลิกเมนู “ระบบสารสนเทศ” แล้วระบบจานาเข้าสู่การล็อกอินเพื่อเข้าใช้ระบบงานดังภาพ
ที่ 4
ให้ทาการใส่ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน คือ
br123456 โดยชื่อผู้ใช้คือหมายเลขบัตร
ประชาชนของคุณครูที่ต้องการใช้งาน
ภาพ 4 หน้าสาหรับการล็อกอินเข้าสู่ระบบ โดยจะต้องใส่
ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านที่ได้รับ
หากเข้าไม่ได้ให้ติดต่อผู้ดูแลระบบ
โทร. 081-3529639 หรืออีเมล์
arrati@banjongrat.ac.th
จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 3
หลังจากที่ล็อกอินเรียบร้อยแล้วระบบจะแสดงส่วนงานให้ท่านเลือก โดยในการบันทึกคะแนน
นั้นท่านจะต้องเลือก “งานทะเบียน-วัดผล” เท่านั้น
ภาพ 5 เลือกส่วนงานที่ต้องการใช้งาน
จากนั้นระบบจะแสดงหน้าจอสาหรับการกรอกคะแนนของนักเรียน โดยแบ่งเป็นกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ ให้ครูผู้สอนเลือกตามรายวิชาที่ตนเองจะกรอก เช่น ครูระดับชั้น ป.4-6 ที่ทาการสอนวิชา
วิทยาศาสตร์ ให้เลือกภาพ วิทยาศาสตร์ หรือกรณีครูประจาชั้นป.1-2 ซึ่งจะต้องการทากรอกรายวิชา
พื้นฐานเกือบทั้งหมด ท่านจะต้องเลือกตามรายวิชาที่จะกรอกเช่นกัน อาทิ ภาษาไทย ป.1 ก็เลือก
ภาษาไทย แล้วเลือก ภาษาไทย ป.1 ดังจะแสดงตามภาพที่ 6-7
จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 4
วิธีการบันทึกคะแนน
ภาพ 6 หน้าหลักสาหรับการลงทะเบียนนักเรียนแบ่งหมวดหมู่แบบกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาพ 7 หลังจากเลือกกลุ่มสาระ
ที่ต้องการลงคะแนนแล้ว ให้
เลือกระดับชั้นของรายวิชานั้น
เช่น ต้องการบันทึกคะแนนของ
ภาษาไทย ป.1 ก็เลือกตรง
ภาษาไทย ป.1 ตามภาพ
จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 5
ภาพ 8 แสดงแบบฟอร์มค้นหานักเรียนและฟอร์มการกรอกคะแนนแต่ละชั้นเรียน
จากภาพที่ 8 แสดงให้เห็นแบบฟอร์มสาหรับการค้นหาห้องเรียนที่ต้องการบันทึกคะแนน โดย
เลือกปุ่มจากภาพที่ 7 หากเลือก ภาษาไทย ป.1 ก็แสดงรายชื่อห้องเรียนเฉพาะป. 1 เท่านั้น แต่หาก
เลือก ภาษาไทย ป.2 ก็จะแสดงรายชื่อห้องเรียนเฉพาะป.2
ภาพ 9 แสดงรายชื่อห้องเรียนที่ถูกเลือกและแบบฟอร์มสาหรับกรอกคะแนน
จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 6
จากภาพที่ 9 จะแสดงรายชื่อนักเรียนห้องเรียนที่ถูกเลือก พร้อมแบบฟอร์มสาหรับกรอก
คะแนน โดยจะสังเกตว่า ระบบจะแสดงรหัสวิชา ปีการศึกษาและภาคเรียนนั้นๆ ไว้ให้เรียบร้อยแล้ว
คุณครูผู้สอนก็เริ่มกรอกคะแนนในหน้านี้ได้ทัน โดยในช่องแรก (ช่องสีชมพู) สาหรับกรอกคะแนนเก็บ
ของนักเรียน (คะแนนเต็ม 35) ในช่องที่ 2 (ช่องสีเหลือง) สาหรับกรอกคะแนนสอบปลายภาคเรียน
(คะแนนเต็ม 15) และช่องสุดท้าย (ช่องสีแดง) จะเป็นคะแนนรวม ซึ่งได้มาจากคะแนนเก็บของ
นักเรียน + คะแนนสอบปลายภาคเรียน = 50 คะแนน
ในแบบฟอร์มการกรอกคะแนนนั้น จะต้องกรอกคะแนนให้ครบทุกช่อง โดยห้ามเว้นว่างไว้
เพราะหากเว้นว่างไว้ ระบบจะไม่ทาการบันทึกคะแนนให้ แต่ในกรณีที่มีความจาเป็นจะต้องบันทึก
คะแนน หากคะแนนของนักเรียนคนใดมีปัญหา ให้คุณครูทาการใส่ 0 ไว้ ยกตัวอย่างเช่น เด็กชายเอ
นามสมมติ มีคะแนนเก็บระหว่างเรียน 29 และขาดสอบ ให้บันทึกคะแนนเป็น คะแนนเก็บ 29 สอบ 0
รวม 29 ซึ่งท่านสามารถย้อนกลับมาแก้ไขได้ หากมีการทดสอบและรวมคะแนนเรียบร้อยแล้วในหน้า
แก้ไขคะแนน และเมื่อกรอกครบทุกช่องแล้ว ให้กดปุ่ม SUMMIT เพื่อยืนยันการบันทึกคะแนนและ
ระบบจะจัดเก็บคะแนนของท่าน แต่หากต้องการพิมพ์หน้านี้ไว้ ให้กดปุ่ม Print ดังภาพที่ 10
ภาพ 10 แสดงคาสั่งบันทึกข้อมูลและคาสั่งพิมพ์
คะแนน = คะแนนเก็บระหว่างเรียน + คะแนนสอบ
ตัวอย่าง เช่น
50 = 35 + 15
จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 7
วิธีดูคะแนน/แก้ไขคะแนน/ลบคะแนน
ในส่วนนี้จะกล่าวถึงวิธีการเรียกดูคะแนนที่ได้ทาการบันทึกไว้แล้วแต่หากต้องแก้ไขหรือลบ
คะแนน ท่านสามารถทาได้ในส่วนนี้ โดยไปที่เมนูของโปรแกรม แล้วเลือก “ดูคะแนน/แก้ไขคะแนน”
ดังภาพที่ 11
เมนูของโปรแกรมจะอยู่ทางด้านซ้ายมือ โดยมี
รายละเอียดต่าง ๆ ในกรณีที่ต้องการจะดูคะแนนที่ได้
บันทึกไปแล้ว หรือต้องการแก้ไข/ลบคะแนน โดยเลือก
“ดูคะแนน/แก้ไขคะแนน” แล้วระบบจะนาท่านไปสู่
รายการดังภาพที่ 12 ต่อไป
ภาพ 11 แสดงเมนูของระบบ
ภาพ 12 แสดงรายการกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ต้องการดูคะแนน
จากภาพที่ 12 แสดงรายการดูคะแนนแบ่งตามรายวิชา โดยหากต้องการดูคะแนนรายวิชา
ภาษาไทย ให้คลิกเลือกที่คาสั่งท้ายชื่อรายวิชานั้น แล้วระบบจะแสดงรายชื่อห้องตามภาพที่ 13
คลิกเพื่อเรียกดูรายชื่อห้อง
แบ่งเป็นกลุ่มสาระฯ
จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 8
จากภาพที่ 13 แสดงรายชื่อห้องเรียนแต่ละห้อง
แยกตามสายชั้น โดยจะดูได้เฉพาะรายวิชาที่เลือกเท่านั้น
เช่น เลือกดูรายวิชาภาษาไทย ก็แสดงคะแนนของวิชา
ภาษาไทย ในระดับและห้องเรียนที่เลือก
ภาพ 13 ห้องผังห้องเรียนที่จะดูคะแนน
หรือแก้ไข
ภาพ 14 แสดงรายงานคะแนนที่ถูกบันทึกแล้วแยกตามรายวิชาและรายห้อง
จากภาพที่ 14 จะแสดงรายงานคะแนนของนักเรียนที่ถูกบันทึกแล้วแยกตามรายวิชา หาก
รายวิชาหรือห้องเรียนใดยังไม่ถูกบันทึกคะแนน ระบบแสดงเป็นหน้าว่างเปล่าวตามภาพ แต่หากถูก
บันทึกคะแนนเข้ามาแล้ว จะแสดงรายการเรียงตามเลขที่ และถ้าพบคะแนนไม่ถูกต้องก็สามารถเลือก
คาสั่ง “แก้ไข” หรือ “ลบ” หากทาการแก้ไขจะแสดงตามภาพที่ 15
จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 9
ภาพ 15 แสดงหน้าต่างการแก้ไข
คะแนนนักเรียนรายบุคคล
จากภาพที่ 15 เมื่อท่านคลิกทารายการแก้ไข ระบบจะแสดงหน้าต่าง Popup ขึ้นมา โดย
ระบบจะดึงคะแนนเฉพาะที่เลือกเท่านั้น คุณครูแก้ไขคะแนนในส่วนที่ผิดพลาด และท่านจะต้องแก้ไข
ข้อมูลในช่องรวมคะแนนด้วย ตัวอย่างเช่น ต้องการแก้ไขคะแนนของเด็กชายเอ นามสมมติ โดยเด็ก
นักเรียนขาดสอบ มีคะแนนเก็บระหว่างเรียน 29 และช่องสอบปลายภาคแสดงเป็น 0 ช่องรวมคะแนน
เป็น 29 ท่านจะต้องแก้ไขในช่องสอบปลายภาคให้เป็นคะแนนปัจจุบัน คือ 10 และรวมคะแนนให้
นักเรียนใหม่ แล้วกรอกข้อมูลในช่องรวมคะแนนเป็น 39 จากนั้นกดปุ่ม “แก้ไข” ระบบจะทาการ
บันทึกข้อมูลและแก้ไขคะแนนให้
เมื่อท่านทาการแก้ไขแล้ว ท่านจะต้องทาการกดปุ่ม F5 ที่คีย์บอร์ดในรูป 14 จานวน 1 ครั้ง
เพื่อเรียกดูคะแนนที่แก้ไข ระบบจะทาการเรียกคะแนนที่ถูกแก้ไขออกมาแสดง แต่หากต้องการลบ
ข้อมูลในกรณีที่กรอกผิดหรือข้อมูลเกิน ให้ท่านกดที่คาสั่ง “ลบ” ระบบจะทาการลบข้อมูลนั้นออกไป
แล้วให้ท่านทาการกด F5 อีกครั้ง ระบบจะแสดงข้อมูลที่ลบไปแล้วให้เป็นปัจจุบัน
จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 10
วิธีการเพิ่มข้อมูลชุมนุมนักเรียน/ดูรายงาน
ในการบันทึกข้อมูลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รายวิชาชุมนุม ให้ครูประจาชั้นดาเนินการเพิ่มข้อมูล
การเรียนชุมนุมของนักเรียนด้วยวิธีการดังนี้
ภาพ 16 หน้าหลักแสดงข้อมูลแบ่งเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้
จากภาพที่ 16 ที่หน้าหลักของระบบทะเบียน-วัดผลจะถูกแบ่งเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทั้งนี้ที่
หน้านี้จะมีในส่วนของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอยู่ด้วย การบันทึกข้อมูลชุมนุมของนักเรียนให้เลือกที่
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จากนั้นระบบจะนาสู่การเลือกข้อมูลนักเรียนและชุมนุมดังภาพที่ 17 ต่อไป
จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 11
ภาพ 17 แสดงหน้าสาหรับเลือกห้องเรียนและเลือกชุมนุม
จากภาพที่ 17 ให้เลือกห้องเรียนที่ต้องการบันทึก จากนั้นให้กดปุ่ม Submit ที่อยู่ข้างกัน
หลังจากนั้นระบบจะแสดงรายชื่อของนักเรียนที่อยู่ในห้องเรียน ให้ท่านเลือกรายการชุมนุมที่อยู่ช่อง
หลังสุด โดยระบบจะระบุปีการศึกษาไว้ โดยท่านจะต้องเลือกให้ครบตามจานวนของห้องเรียน แล้วจึง
กดปุ่ม Submit ที่อยู่ด้านล่างรายชื่อเพียงครั้งเดียว ระบบจะทาการเก็บข้อมูลเข้าระบบ ดังภาพที่ 18
ภาพ 18 แสดงรายชื่อนักเรียนที่จะเลือกชุมนุม
หลังจากที่เลือกข้อมูลการเรียนชุมนุมของนักเรียนครบทั้งห้องแล้ว ท่านจะต้องทาการ
ตรวจสอบ โดยเลือกที่เมนูด้านซ้ายมือ เลือกดูคะแนน/แก้ไข แล้วจะแสดงดังภาพที่ 11-12
จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 12
ภาพ 19 แสดงรายการรายวิชาชุมนุม
หลังจากที่เลือกเมนูดูคะแนน/แก้ไข แล้ว จะแสดงรายชื่อรายวิชา และจากนั้นให้เลือกเมนู
ชุมนุมของนักเรีย คลิกเพื่อแสดงรายชื่อห้องเรียน ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 ดังภาพที่ 20 โดย
ท่านจะต้องคลิกที่ชื่อห้องเรียนนั้น ๆ เพื่อแสดงรายงาน ตามภาพที่ 21 ต่อไป
ภาพ 20 แสดงรายชื่อห้องเรียนแต่ละระดับชั้น
ภาพ 21 หน้าแสดงรายงานชุมนุมของนักเรียนรายห้อง
จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 13
หากจากท่านต้องการแก้ไขข้อมูลชุมนุมของนักเรียน จะต้องทาการแก้ไขในหน้าตามภาพที่ 21
ตรงคาสั่ง “แก้ไข” หรือหากต้องการลบข้อมูลให้เลือกคาสั่ง “ลบ” ดังภาพที่ 22 ต่อไป
จากภาพที่ 22 เมื่อท่านคลิกคาสั่ง “แก้ไข” แล้วจะ
ปรากฎหน้าต่างขึ้นมา โดยแสดงรายการข้อมูลชุมนุม
ที่ถูกเลือกไว้ก่อน พร้อมรหัสนักเรียนและปีการศึกษา
โดยท่านจะต้องเลือกชุมนุมใหม่ ในกล่องตัวเลือก
ดังภาพ หลังจากเลือกชุมนุมใหม่ให้นักเรียนแล้ว จะต้อง
กดปุ่ม “แก้ไข” เพื่อทาการแก้ไขข้อมูล หลังจากนั้น
ระบบจะทาการแก้ไขข้อมูลชุมนุมของนักเรียนคนดังกล่าว
ภาพ 22 แสดงหน้าต่างการแก้ไขข้อมูลชุมนุม
หากเข้าไม่ได้ให้ติดต่อผู้ดูแลระบบ
โทร. 081-3529639 หรืออีเมล์
arrati@banjongrat.ac.th

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a คู่มือการบันทึกคะแนนนักเรียน เวอร์ชั่น 3

งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010MSWORD2010 COMPUTER
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010sutham lrp
 
Portal manual (Original)
Portal manual (Original)Portal manual (Original)
Portal manual (Original)UsableLabs
 

Semelhante a คู่มือการบันทึกคะแนนนักเรียน เวอร์ชั่น 3 (10)

งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
 
Flash2
Flash2Flash2
Flash2
 
53011220073
5301122007353011220073
53011220073
 
53011220073
5301122007353011220073
53011220073
 
53011220073
5301122007353011220073
53011220073
 
วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 5
วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 5วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 5
วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 5
 
วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 5
วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 5วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 5
วิธีการใช้โปรแกรม Microsoft word 5
 
Lesson1-3
Lesson1-3Lesson1-3
Lesson1-3
 
Portal manual (Original)
Portal manual (Original)Portal manual (Original)
Portal manual (Original)
 

Mais de Arrat Krupeach

คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...Arrat Krupeach
 
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์Arrat Krupeach
 
คู่มือการบันทึกคะแนน
คู่มือการบันทึกคะแนนคู่มือการบันทึกคะแนน
คู่มือการบันทึกคะแนนArrat Krupeach
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Arrat Krupeach
 
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญบทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญArrat Krupeach
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550Arrat Krupeach
 
ศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนArrat Krupeach
 
อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 
การใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข Calculator
การใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข Calculatorการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข Calculator
การใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข CalculatorArrat Krupeach
 
การจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม Notepad
การจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม Notepadการจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม Notepad
การจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม NotepadArrat Krupeach
 
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ WindowsArrat Krupeach
 

Mais de Arrat Krupeach (14)

คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
 
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
 
Appendix
AppendixAppendix
Appendix
 
คู่มือการบันทึกคะแนน
คู่มือการบันทึกคะแนนคู่มือการบันทึกคะแนน
คู่มือการบันทึกคะแนน
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
 
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญบทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
 
ศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
การใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข Calculator
การใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข Calculatorการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข Calculator
การใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข Calculator
 
ข้อมูล
ข้อมูลข้อมูล
ข้อมูล
 
การจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม Notepad
การจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม Notepadการจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม Notepad
การจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม Notepad
 
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windows
 

คู่มือการบันทึกคะแนนนักเรียน เวอร์ชั่น 3

  • 1. จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 1 คู่มือการบันทึกคะแนนนักเรียน V.3 วิธีการเข้าสู่โปรแกรม ให้เปิด Brower ด้วย Internet Explore/Chrome/Mozilla Firefox ตัวใดตัวหนึ่งเท่านั้น (ผู้ดูแลระบบเลือกใช้ Chrome ในการจัดการ) จากนั้นไปที่ช่อง URL ของ Brower เพื่อพิมพ์ข้อความ โดยให้พิมพ์ www.banjongrat.ac.th ลงไป ดังภาพที่ 1 ภาพ 1 แสดงการพิมพ์ URL ของเว็บไซต์ที่ต้องการเข้า เมื่อพิมพ์ URL เสร็จแล้วระบบจะนาท่านไปสู่หน้าเว็บไซต์ของโรงเรียนบรรจงรัตน์ ให้ท่าน เลื่อนลงมาด้านล่างสุด แล้วคลิกคาว่า “เข้าสู่หน้าเว็บไซต์” ดังภาพที่ 2 ภาพ 2 แสดงหน้าเว็บไซต์ของโรงเรียนบรรจงรัตน์
  • 2. จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 2 จากนั้นระบบจะนาเข้าสู่หน้าหลักของเว็บไซต์โรงเรียน ให้ท่านสังเกตที่เมนูของเว็บไซต์ด้าน ขวามือ และหาเมนูที่มีชื่อว่า “ระบบสารสนเทศ” ตามภาพที่ 3 ภาพ 3 หน้าเว็บไซต์หลักของโรงเรียนให้เลือกเมนู “ระบบสารสนเทศ” เมื่อเลิกเมนู “ระบบสารสนเทศ” แล้วระบบจานาเข้าสู่การล็อกอินเพื่อเข้าใช้ระบบงานดังภาพ ที่ 4 ให้ทาการใส่ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน คือ br123456 โดยชื่อผู้ใช้คือหมายเลขบัตร ประชาชนของคุณครูที่ต้องการใช้งาน ภาพ 4 หน้าสาหรับการล็อกอินเข้าสู่ระบบ โดยจะต้องใส่ ชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านที่ได้รับ หากเข้าไม่ได้ให้ติดต่อผู้ดูแลระบบ โทร. 081-3529639 หรืออีเมล์ arrati@banjongrat.ac.th
  • 3. จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 3 หลังจากที่ล็อกอินเรียบร้อยแล้วระบบจะแสดงส่วนงานให้ท่านเลือก โดยในการบันทึกคะแนน นั้นท่านจะต้องเลือก “งานทะเบียน-วัดผล” เท่านั้น ภาพ 5 เลือกส่วนงานที่ต้องการใช้งาน จากนั้นระบบจะแสดงหน้าจอสาหรับการกรอกคะแนนของนักเรียน โดยแบ่งเป็นกลุ่มสาระการ เรียนรู้ ให้ครูผู้สอนเลือกตามรายวิชาที่ตนเองจะกรอก เช่น ครูระดับชั้น ป.4-6 ที่ทาการสอนวิชา วิทยาศาสตร์ ให้เลือกภาพ วิทยาศาสตร์ หรือกรณีครูประจาชั้นป.1-2 ซึ่งจะต้องการทากรอกรายวิชา พื้นฐานเกือบทั้งหมด ท่านจะต้องเลือกตามรายวิชาที่จะกรอกเช่นกัน อาทิ ภาษาไทย ป.1 ก็เลือก ภาษาไทย แล้วเลือก ภาษาไทย ป.1 ดังจะแสดงตามภาพที่ 6-7
  • 4. จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 4 วิธีการบันทึกคะแนน ภาพ 6 หน้าหลักสาหรับการลงทะเบียนนักเรียนแบ่งหมวดหมู่แบบกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาพ 7 หลังจากเลือกกลุ่มสาระ ที่ต้องการลงคะแนนแล้ว ให้ เลือกระดับชั้นของรายวิชานั้น เช่น ต้องการบันทึกคะแนนของ ภาษาไทย ป.1 ก็เลือกตรง ภาษาไทย ป.1 ตามภาพ
  • 5. จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 5 ภาพ 8 แสดงแบบฟอร์มค้นหานักเรียนและฟอร์มการกรอกคะแนนแต่ละชั้นเรียน จากภาพที่ 8 แสดงให้เห็นแบบฟอร์มสาหรับการค้นหาห้องเรียนที่ต้องการบันทึกคะแนน โดย เลือกปุ่มจากภาพที่ 7 หากเลือก ภาษาไทย ป.1 ก็แสดงรายชื่อห้องเรียนเฉพาะป. 1 เท่านั้น แต่หาก เลือก ภาษาไทย ป.2 ก็จะแสดงรายชื่อห้องเรียนเฉพาะป.2 ภาพ 9 แสดงรายชื่อห้องเรียนที่ถูกเลือกและแบบฟอร์มสาหรับกรอกคะแนน
  • 6. จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 6 จากภาพที่ 9 จะแสดงรายชื่อนักเรียนห้องเรียนที่ถูกเลือก พร้อมแบบฟอร์มสาหรับกรอก คะแนน โดยจะสังเกตว่า ระบบจะแสดงรหัสวิชา ปีการศึกษาและภาคเรียนนั้นๆ ไว้ให้เรียบร้อยแล้ว คุณครูผู้สอนก็เริ่มกรอกคะแนนในหน้านี้ได้ทัน โดยในช่องแรก (ช่องสีชมพู) สาหรับกรอกคะแนนเก็บ ของนักเรียน (คะแนนเต็ม 35) ในช่องที่ 2 (ช่องสีเหลือง) สาหรับกรอกคะแนนสอบปลายภาคเรียน (คะแนนเต็ม 15) และช่องสุดท้าย (ช่องสีแดง) จะเป็นคะแนนรวม ซึ่งได้มาจากคะแนนเก็บของ นักเรียน + คะแนนสอบปลายภาคเรียน = 50 คะแนน ในแบบฟอร์มการกรอกคะแนนนั้น จะต้องกรอกคะแนนให้ครบทุกช่อง โดยห้ามเว้นว่างไว้ เพราะหากเว้นว่างไว้ ระบบจะไม่ทาการบันทึกคะแนนให้ แต่ในกรณีที่มีความจาเป็นจะต้องบันทึก คะแนน หากคะแนนของนักเรียนคนใดมีปัญหา ให้คุณครูทาการใส่ 0 ไว้ ยกตัวอย่างเช่น เด็กชายเอ นามสมมติ มีคะแนนเก็บระหว่างเรียน 29 และขาดสอบ ให้บันทึกคะแนนเป็น คะแนนเก็บ 29 สอบ 0 รวม 29 ซึ่งท่านสามารถย้อนกลับมาแก้ไขได้ หากมีการทดสอบและรวมคะแนนเรียบร้อยแล้วในหน้า แก้ไขคะแนน และเมื่อกรอกครบทุกช่องแล้ว ให้กดปุ่ม SUMMIT เพื่อยืนยันการบันทึกคะแนนและ ระบบจะจัดเก็บคะแนนของท่าน แต่หากต้องการพิมพ์หน้านี้ไว้ ให้กดปุ่ม Print ดังภาพที่ 10 ภาพ 10 แสดงคาสั่งบันทึกข้อมูลและคาสั่งพิมพ์ คะแนน = คะแนนเก็บระหว่างเรียน + คะแนนสอบ ตัวอย่าง เช่น 50 = 35 + 15
  • 7. จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 7 วิธีดูคะแนน/แก้ไขคะแนน/ลบคะแนน ในส่วนนี้จะกล่าวถึงวิธีการเรียกดูคะแนนที่ได้ทาการบันทึกไว้แล้วแต่หากต้องแก้ไขหรือลบ คะแนน ท่านสามารถทาได้ในส่วนนี้ โดยไปที่เมนูของโปรแกรม แล้วเลือก “ดูคะแนน/แก้ไขคะแนน” ดังภาพที่ 11 เมนูของโปรแกรมจะอยู่ทางด้านซ้ายมือ โดยมี รายละเอียดต่าง ๆ ในกรณีที่ต้องการจะดูคะแนนที่ได้ บันทึกไปแล้ว หรือต้องการแก้ไข/ลบคะแนน โดยเลือก “ดูคะแนน/แก้ไขคะแนน” แล้วระบบจะนาท่านไปสู่ รายการดังภาพที่ 12 ต่อไป ภาพ 11 แสดงเมนูของระบบ ภาพ 12 แสดงรายการกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ต้องการดูคะแนน จากภาพที่ 12 แสดงรายการดูคะแนนแบ่งตามรายวิชา โดยหากต้องการดูคะแนนรายวิชา ภาษาไทย ให้คลิกเลือกที่คาสั่งท้ายชื่อรายวิชานั้น แล้วระบบจะแสดงรายชื่อห้องตามภาพที่ 13 คลิกเพื่อเรียกดูรายชื่อห้อง แบ่งเป็นกลุ่มสาระฯ
  • 8. จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 8 จากภาพที่ 13 แสดงรายชื่อห้องเรียนแต่ละห้อง แยกตามสายชั้น โดยจะดูได้เฉพาะรายวิชาที่เลือกเท่านั้น เช่น เลือกดูรายวิชาภาษาไทย ก็แสดงคะแนนของวิชา ภาษาไทย ในระดับและห้องเรียนที่เลือก ภาพ 13 ห้องผังห้องเรียนที่จะดูคะแนน หรือแก้ไข ภาพ 14 แสดงรายงานคะแนนที่ถูกบันทึกแล้วแยกตามรายวิชาและรายห้อง จากภาพที่ 14 จะแสดงรายงานคะแนนของนักเรียนที่ถูกบันทึกแล้วแยกตามรายวิชา หาก รายวิชาหรือห้องเรียนใดยังไม่ถูกบันทึกคะแนน ระบบแสดงเป็นหน้าว่างเปล่าวตามภาพ แต่หากถูก บันทึกคะแนนเข้ามาแล้ว จะแสดงรายการเรียงตามเลขที่ และถ้าพบคะแนนไม่ถูกต้องก็สามารถเลือก คาสั่ง “แก้ไข” หรือ “ลบ” หากทาการแก้ไขจะแสดงตามภาพที่ 15
  • 9. จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 9 ภาพ 15 แสดงหน้าต่างการแก้ไข คะแนนนักเรียนรายบุคคล จากภาพที่ 15 เมื่อท่านคลิกทารายการแก้ไข ระบบจะแสดงหน้าต่าง Popup ขึ้นมา โดย ระบบจะดึงคะแนนเฉพาะที่เลือกเท่านั้น คุณครูแก้ไขคะแนนในส่วนที่ผิดพลาด และท่านจะต้องแก้ไข ข้อมูลในช่องรวมคะแนนด้วย ตัวอย่างเช่น ต้องการแก้ไขคะแนนของเด็กชายเอ นามสมมติ โดยเด็ก นักเรียนขาดสอบ มีคะแนนเก็บระหว่างเรียน 29 และช่องสอบปลายภาคแสดงเป็น 0 ช่องรวมคะแนน เป็น 29 ท่านจะต้องแก้ไขในช่องสอบปลายภาคให้เป็นคะแนนปัจจุบัน คือ 10 และรวมคะแนนให้ นักเรียนใหม่ แล้วกรอกข้อมูลในช่องรวมคะแนนเป็น 39 จากนั้นกดปุ่ม “แก้ไข” ระบบจะทาการ บันทึกข้อมูลและแก้ไขคะแนนให้ เมื่อท่านทาการแก้ไขแล้ว ท่านจะต้องทาการกดปุ่ม F5 ที่คีย์บอร์ดในรูป 14 จานวน 1 ครั้ง เพื่อเรียกดูคะแนนที่แก้ไข ระบบจะทาการเรียกคะแนนที่ถูกแก้ไขออกมาแสดง แต่หากต้องการลบ ข้อมูลในกรณีที่กรอกผิดหรือข้อมูลเกิน ให้ท่านกดที่คาสั่ง “ลบ” ระบบจะทาการลบข้อมูลนั้นออกไป แล้วให้ท่านทาการกด F5 อีกครั้ง ระบบจะแสดงข้อมูลที่ลบไปแล้วให้เป็นปัจจุบัน
  • 10. จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 10 วิธีการเพิ่มข้อมูลชุมนุมนักเรียน/ดูรายงาน ในการบันทึกข้อมูลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รายวิชาชุมนุม ให้ครูประจาชั้นดาเนินการเพิ่มข้อมูล การเรียนชุมนุมของนักเรียนด้วยวิธีการดังนี้ ภาพ 16 หน้าหลักแสดงข้อมูลแบ่งเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ จากภาพที่ 16 ที่หน้าหลักของระบบทะเบียน-วัดผลจะถูกแบ่งเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทั้งนี้ที่ หน้านี้จะมีในส่วนของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอยู่ด้วย การบันทึกข้อมูลชุมนุมของนักเรียนให้เลือกที่ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จากนั้นระบบจะนาสู่การเลือกข้อมูลนักเรียนและชุมนุมดังภาพที่ 17 ต่อไป
  • 11. จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 11 ภาพ 17 แสดงหน้าสาหรับเลือกห้องเรียนและเลือกชุมนุม จากภาพที่ 17 ให้เลือกห้องเรียนที่ต้องการบันทึก จากนั้นให้กดปุ่ม Submit ที่อยู่ข้างกัน หลังจากนั้นระบบจะแสดงรายชื่อของนักเรียนที่อยู่ในห้องเรียน ให้ท่านเลือกรายการชุมนุมที่อยู่ช่อง หลังสุด โดยระบบจะระบุปีการศึกษาไว้ โดยท่านจะต้องเลือกให้ครบตามจานวนของห้องเรียน แล้วจึง กดปุ่ม Submit ที่อยู่ด้านล่างรายชื่อเพียงครั้งเดียว ระบบจะทาการเก็บข้อมูลเข้าระบบ ดังภาพที่ 18 ภาพ 18 แสดงรายชื่อนักเรียนที่จะเลือกชุมนุม หลังจากที่เลือกข้อมูลการเรียนชุมนุมของนักเรียนครบทั้งห้องแล้ว ท่านจะต้องทาการ ตรวจสอบ โดยเลือกที่เมนูด้านซ้ายมือ เลือกดูคะแนน/แก้ไข แล้วจะแสดงดังภาพที่ 11-12
  • 12. จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 12 ภาพ 19 แสดงรายการรายวิชาชุมนุม หลังจากที่เลือกเมนูดูคะแนน/แก้ไข แล้ว จะแสดงรายชื่อรายวิชา และจากนั้นให้เลือกเมนู ชุมนุมของนักเรีย คลิกเพื่อแสดงรายชื่อห้องเรียน ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 ดังภาพที่ 20 โดย ท่านจะต้องคลิกที่ชื่อห้องเรียนนั้น ๆ เพื่อแสดงรายงาน ตามภาพที่ 21 ต่อไป ภาพ 20 แสดงรายชื่อห้องเรียนแต่ละระดับชั้น ภาพ 21 หน้าแสดงรายงานชุมนุมของนักเรียนรายห้อง
  • 13. จัดทาโดย นายเอื้ออังกูร เอี่ยมประภาศ งานธุรการ/เทคโนโลยีสารสนเทศ pg. 13 หากจากท่านต้องการแก้ไขข้อมูลชุมนุมของนักเรียน จะต้องทาการแก้ไขในหน้าตามภาพที่ 21 ตรงคาสั่ง “แก้ไข” หรือหากต้องการลบข้อมูลให้เลือกคาสั่ง “ลบ” ดังภาพที่ 22 ต่อไป จากภาพที่ 22 เมื่อท่านคลิกคาสั่ง “แก้ไข” แล้วจะ ปรากฎหน้าต่างขึ้นมา โดยแสดงรายการข้อมูลชุมนุม ที่ถูกเลือกไว้ก่อน พร้อมรหัสนักเรียนและปีการศึกษา โดยท่านจะต้องเลือกชุมนุมใหม่ ในกล่องตัวเลือก ดังภาพ หลังจากเลือกชุมนุมใหม่ให้นักเรียนแล้ว จะต้อง กดปุ่ม “แก้ไข” เพื่อทาการแก้ไขข้อมูล หลังจากนั้น ระบบจะทาการแก้ไขข้อมูลชุมนุมของนักเรียนคนดังกล่าว ภาพ 22 แสดงหน้าต่างการแก้ไขข้อมูลชุมนุม หากเข้าไม่ได้ให้ติดต่อผู้ดูแลระบบ โทร. 081-3529639 หรืออีเมล์ arrati@banjongrat.ac.th