SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 7
7


 ขอบข่ายทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
                                    ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์

      ขอบข่ายการวิจยทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
                   ั
ประมวลออกเป็นขอบข่ายตามแนวตั้ง แนวนอน และแนวลึก เกิด
เป็นมิติขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขึ้น ดังแสดงใน
ภาพที่ 1




     ภาพที่ 1 ขอบข่ายตามแนวตั้ง แนวนอน และแนวลึก ของ
         เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา


1. ขอบข่ายตามแนวตั้งของการวิจัยทางเทคโนโลยีและ
สื่อสารการศึกษา
      การจำาแนกขอบข่ายตามแนวตั้งของการวิจัยทางเทคโนโลยี
และสื่อสารการศึกษากระทำาได้หลายทางที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
ทาง เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
      ขอบข่ายตามแนวตั้งครอบคลุม การวิจัยด้านการจัดระบบ
ทางการศึกษา การวิจัยด้านพฤติกรรมการเรียนการสอน วิธีการ
สอนสื่อสารการศึกษา สภาพแวดล้อมทางการศึกษา การจัดการ
ด้านการเรียนการสอนและการประเมินการศึกษา
      1.1 การจัดระบบ เป็นแขนงวิชาในสาขาวิชาเทคโนโลยี
และสื่อสารการศึกษาที่อาจถือเป็นเครื่องมือสำาคัญของแขนงวิชา
อื่น เพราะการดำาเนินงานและการแก้ปัญหาจำาเป็นต้องใช้การจัด
ระบบการพัฒนาระบบ และการออกแบบระบบมาใช้ ขอบข่ายการ
วิจัยในด้านนี้จึงมุงที่การจัดระบบ การพัฒนาระบบ และการ
                   ่
ออกแบบระบบขั้นใหม่
       การจัดระบบ (Systems Approach) เป็นการวางแผน
การพัฒนาระบบใหม่หรือปรับปรุงระบบที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น ด้วย
การกำาหนดปรัชญา ปณิธาน จุดมุ่งหมาย องค์ประกอบ ภาระหน้าที่
ความสัมพันธ์/ปฏิสัมพันธ์ ขั้นตอน ปัจจัยเกื้อหนุนและแนวทาง
การประเมินและควบคุม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำางานหรือแก้
ปัญหาการดำาเนินงาน การจัดระบบมีความสำาคัญในการกำาหนด
แนวทางการดำาเนินงานทีมีคุณภาพ การจัดระบบมีขอบข่าย
                           ่
ระดับ และองค์ประกอบระบบที่เด่นชัดและครอบคลุมการดำาเนิน
งานทุกแง่มม โดยมีขั้นตอนหลักที่ครอบคลุม การวิเคราะห์ระบบ
             ุ
การสังเคราะห์ระบบ
       การสร้างแบบจำาลองระบบ และการทดสอบระบบใน
สถานการณ์จำาลอง
       การพัฒนาระบบ (Systems Development) เป็นการ
สร้างระบบขึ้นมาใหม่หรือเป็นการปรับปรุงระบบที่มีอยู่แล้วให้
ทำางานได้ดีขึ้น การพัฒนาระบบมีวิธีการหลายวิธี แต่หาก
ต้องการระบบทีมีคุณภาพจำาเป็น ต้องใช้วิธีการจัดระบบเป็นเครื่อง
                 ่
มือ
       การออกแบบระบบ (Systems Design) เป็นขั้นตอน
หนึ่งของการสังเคราะห์ระบบและการสร้างแบบจำาลองระบบที่
เกี่ยวข้องกับการนำาองค์ประกอบมาจัดเรียงลำาดับให้อยู่ในขั้นตอน
ที่เหมาะสม เพื่อจะให้ระบบทำางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
       1.2 พฤติกรรมการเรียนการสอน การเรียนรู้เป็นการ
เปลียนพฤติกรรมไปในทางที่เป็นประโยชน์การวางแผนและจัด
     ่
สภาพการณ์ให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมถึงเป็นเทคโนโลยีที่
ท้าทาย จึงเป็นจุดเริ่มต้นทีทำาให้นักจิตวิทยาเริ่มใช้ “เทคโนโลยี
                             ่
แห่งการศึกษา” (Technology of Education) ขึ้น การวิจัยใน
ขอบเขตนี้ มุ่งไปที่การศึกษาค้นคว้ารูปแบบพฤติกรรมการเรียน
(Learning Behavior) ที่เกี่ยวกับผู้เรียนและพฤติกรรมการสอน
(Teaching Behavior) ที่เกี่ยวกับครูบาอาจารย์ และการประยุกต์
รูปแบบการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมแต่ละประเภทก็ต้องใช้รูปแบบ
การสอนทีแตกต่างกัน เช่น ครู
           ่
       1.3 วิธีการ ครอบคลุม วิธีการศึกษาโดยทั่วไปและวิธีการ
เรียนการสอน
วิธีการเรียนการสอน (Instructional
Methods/Techniques) ประยุกต์แนวคิดและหลักการทางการ
เปลียนแปลงพฤติกรรมมาใช้เป็นเครื่องมือ สื่อหรือช่องทางในการ
     ่
ถ่ายทอดเนื้อหาสาระและประสบการณ์
       การวิจัยของนักเทคโนโลยีการศึกษาในแขนงนี้จึงมุ่งไปที่
การค้นหาวิธีการสอนแบบใหม่ ทังที่เป็นระบบการสอนแบบครบ
                                   ้
วงจรและ ที่เป็นเพียงเทคนิค และวิธีการสอนเฉพาะเรื่อง สำาหรับ
นำาไปใช้ในระบบการสอนที่มีผู้คิดขึ้นมาแล้ว เช่น วิธีการสอน
แบบกลุ่ม วิธีการสอนแบบโครงการ วิธีการสอนแบบเบญจขันธ์
การจำาลองสถานการณ์ รายกรณี ศึกษา เกม การพัฒนา
โครงการจากกรณีงาน (PCW-Project Casework Approach)
เป็นต้น
       1.4 การสื่อสาร ครอบคลุม การสื่อสารการศึกษาและการ
สื่อสารการสอน แต่นิยมใช้คำาว่า “การสื่อสารการศึกษา” เพื่อ
แทนทั้งสองกลุ่ม
       สื่อสารการศึกษา (Educational Media) เป็นขอบข่ายของ
เทคโนโลยีการศึกษาที่รู้จักกันมากโดยเฉพาะคำาว่า อุปกรณ์การ
สอน โสตทัศนูปกรณ์ ฯลฯ สื่อการศึกษา และสื่อการเรียนการ
สอนที่ถือเป็นเครื่องมือและเป็นองค์ประกอบสำาคัญของระบบการ
สอน และวิธีการสอนทุกรูปแบบที่ได้พัฒนาขึ้นแล้ว หรือที่จะต้อง
พัฒนาขึ้น สื่อมีหลายประเภท แต่สื่อที่ครูและนักเรียนรู้จักกันดี
คือ กระดานแบบเรียน/ตำารา และตัวครูเอง
       การวิจัยในขอบข่ายนี้ จึงมุงไปที่การพัฒนาประเภทและรูป
                                 ่
แบบสื่อการสอนใหม่และเปรียบเทียบผลกระทบของสื่อการสอน
ประเภทต่างๆ ทีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่อพฤติกรรมการ
                  ่
บริหารนักวิชาการและนักบริหาร
       1.5 สภาพแวดล้อมทางการศึกษา ครอบคลุมประเภท
และการจัดการ โดยประเภทอาจจำาแนกเป็นสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพ สภาพแวดล้อมทางจิตภาพ และสภาพแวดล้อมทาง
สังคม
       สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ แหล่งการเรียนรูใน     ้
ชุมชนบริเวณโรงเรียน สนาม อาคารเรียน ห้องสมุด ศูนย์วทย      ิ
บริการ ห้องปฏิบัติการ และห้องเรียน
       สภาพแวดล้อมทางจิตภาพ ได้แก่ บรรยากาศ ความอบอุ่น
ทางใจ ความไว้วางใจ ความกระตือรือร้น การให้เกียรติซึ่งกัน
และกัน ฯลฯ
สภาพแวดล้อมทางสังคม หมายถึง ขนบธรรมเนียม
ประเพณี กฎ ระเบียบ ความสัมพันธ์ที่กระทบสมาชิกในสังคม
        โดยการจัดการ เป็นการจัดสภาพแวดล้อมทางการศึกษา
ซึ่งเป็นการจัดภาวะที่อยูรอบตัวผู้เรียนและผู้สอนที่อาจเป็นหรือไม่
                          ่
เป็นองค์ประกอบของการเรียนการสอนโดยตรง แต่เกื้อหนุนให้
เกิดการเรียนรู้หรือเป็นแหล่งการเรียนรู้
        การวิจัยในขอบข่ายนี้ จึงเกี่ยวกับการศึกษาวิจยหารูปแบบ
                                                       ั
การจัดห้องเรียน ห้องฝึกอบรม การจัดแหล่งวิทยบริการ ห้อง
สมุดหรือศูนย์วิทยบริการ ห้องปฏิบัติการ พิพิธภัณฑ์และอุทยา
การศึกษาที่จะเอื้อต่อการเรียนรู้มากที่สุด หากไม่สามารถจัด
สภาพแวดล้อมจริง ก็ต้องจำาลองสถานการณ์สภาพแวดล้อม
จำาลองขึ้น เช่น การจัดบริษัทจำาลองสำาหรับนักศึกษาที่เรียนด้าน
ธุรกิจและการจัดการ การจัดห้องฝึกบินจำาลอง (Simulation)
เป็นต้น
        1.6 การจัดการ “การจัดการ” (Management)
ครอบคลุม การจัดการศึกษา และการจัดการเรียนการสอน โดย
มุ่งที่การจัดหาและใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
        โดยที่การจัดการศึกษา เป็นหน้าที่ของผู้บริหาร ภารกิจของ
นักเทคโนโลยีการศึกษาจึงเน้นการเรียนการสอน (Learning
Management) เกี่ยวข้องกับการจัดทรัพยากรคน คือ ครูกับ
นักเรียน และทรัพยากรในรูปอื่นคือ เวลา อาคาร สถานที่ และ
สิ่งอำานวยความสะดวกเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี และมาก
ที่สุดในเวลาที่น้อยที่สุด
        การวิจัยด้านการจัดการด้านการเรียนรู้จึงมุ่งที่การจัดการนำา
หลักสูตรมาใช้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำาหนด
ไว้ หลักสูตรที่ได้พัฒนามาอย่างดี และระบบการสอนที่มีคุณภาพ
หากขาดการจัดการที่ดีก็อาจด้อยประสิทธิภาพอย่างน่าเสียดาย


     1.7 การประเมิน การประเมินการศึกษาครอบคลุม การ
ประเมินที่ครบวงจร คือ การประเมินปัจจัยนำาเข้า การประเมิน
กระบวนการ และการประเมินผล ทังที่เป็นการประเมินในวงกว้าง
                                   ้
คือ การประเมินการศึกษา และในวงแคบ คือ การประเมินการ
เรียนการสอน
     การวิจัยในขอบข่ายนี้ จึงมุงที่จะได้รูปแบบการวัดและการ
                               ่
ประเมิน การวิเคราะห์และแปลผลการสรุป และการนำาผลมา
พยากรณ์กิจกรรมที่เกี่ยวกับการศึกษาและการเรียนการสอน งาน
วิจัยส่วนใหญ่ดำาเนินการโดยนักวัดและประเมินผล

2. ขอบข่ายในแนวนอนของการวิจัยทางเทคโนโลยีและ
สื่อสารการศึกษา
      ขอบข่ายในแนวนอนจำาแนกเป็นด้านบริหาร ด้านวิชาการ
และด้านบริการ
      ขอบข่ายทางด้านบริหาร เทคโนโลยีและสื่อสารการ
ศึกษาเป็นเครื่องมือในการจัดระบบการบริหารการกำาหนด
พฤติกรรมการบริหาร วิธีการบริหาร การสื่อสารในองค์กร การจัด
สภาพแวดล้อมด้านการบริหาร การจัดการ และการประเมินการ
บริหาร
      การวิจัยในขอบข่ายนี้ จึงมุงที่จะหารูปแบบการบริหารที่
                                  ่
เหมาะสมด้วยการหาระบบใหม่ 14 แบบพฤติกรรมการบริหาร วิธี
                                 รูป
การบริหารและจัดการ ฯลฯ เพื่อช่วยผู้บริการให้สามารถนำาผลการ
วิจัยไปใช้ประโยชน์
      ขอบข่ายทางด้านวิชาการ เทคโนโลยีและสื่อสารการ
ศึกษาเป็นเครื่องมือในการจัดระบบงานทางวิชาการ อาทิ การ
พัฒนาหลักสูตร การผลิตงานทางวิชาการ ฯลฯ ในการกำาหนด
พฤติกรรมครูและนักเรียน         ในการกำาหนดวิธีการเรียนการสอนใน
การสื่อสารการเรียนการสอน การจัดสภาพแวดล้อมด้านการ
เรียนการสอน การจัดการด้านการเรียนการสอน และการประเมิน
การเรียนการสอน
      การวิจัยในด้านนี้ จึงมุ่งในการจัดระบบหารูปแบบงาน
วิชาการ เช่น รูปแบบหลักสูตรและการสอน การกำาหนดวิธีสอน
การใช้สื่อการสอน การจัดสภาพแวดล้อม และการประเมินการ
เรียนการสอน เป็นต้น
      ขอบข่ายทางด้านบริการ เทคโนโลยีและสื่อสารการ
ศึกษาเป็นเครื่องมือในการจัดระบบงานบริหาร การกำาหนด
พฤติกรรมการบริการ วิธีการบริการ การสื่อสารในการให้บริการ
การจัดสภาพแวดล้อมด้านการบริการ การจัดการด้านการให้
บริการ และการประเมินการบริการ
      การวิจัยเกี่ยวกับการบริการ จึงมุงไปที่การหาข้อมูลที่จะนำา
                                       ่
มาเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ เช่น การจัดระบบและรูปแบบ วิธี
การ การจัดสภาพแวดล้อม และการประเมินการให้บริการครูและ
นักเรียน ในด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา เป็นต้น
ภาพที่ 2 ขอบข่ายตามแนวนอนของการวิจัยทาง
เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

3. ขอบข่ายในแนวลึกของการวิจัยทางเทคโนโลยีและ
สื่อสารการศึกษา ได้แก่ การใช้เทคโนโลยีและสื่อสารการ
ศึกษาใน (1) การ ศึกษาในระบบโรงเรียนซึ่งจำาแนกออกตาม
ระดับเป็นการใช้เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาในระดับปฐมวัย
ศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาและระดับอุดมศึกษา (2) การ
ศึกษานอกระบบโรงเรียน (3) การฝึกอบรม และ (4) การศึกษา
ทางไกล
ภาพที่ 3 ขอบข่ายตามแนวลึกของการวิจัยทางเทคโนโลยี
และสื่อสารการศึกษา
       การใช้เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาสำาหรับการศึกษาใน
ระบบโรงเรียน เป็นการใช้เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาตาม
ระดับชั้น ได้แก่ การจัดระบบการสอนและการใช้สื่อการสอนใน
ระดับปฐมวัยศึกษา พฤติกรรมครูและนักเรียนประถมศึกษา วิธี
การสอนวิชาเฉพาะ ในระดับมัธยมศึกษาและจัดสภาพแวดล้อม
การเรียนการสอนในระดับ อุดมศึกษา เป็นต้น นอกจากนี้ยังรวม
ถึงการนำาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษามาใช้ในการศึกษา
เฉพาะด้าน เช่น อาชีวศึกษา เกษตรศึกษา เทคนิคศึกษา ฯลฯ
การศึกษานอกระบบโรงเรียน มุ่งให้การศึกษาต่อเนื่องตลอดชีวิต
แก่ผู้ที่อยู่นอกระบบโรงเรียนเพราะออกจากโรงเรียนมาแล้วและมี
ความต้องการเพิ่มพูนความรู้ของตนให้สูงขึ้นเทคโนโลยีและ
สื่อสารการศึกษาจึงเป็นเครื่องมือสำาคัญที่จะช่วยในการจัดระบบ
และถ่ายทอดเนื้อหาสาระให้ประชาชนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายที่มี
จำานวนมากกว่าสามในสี่ของประชาชนทั้งประเทศ ทังนี้ยงรวมถึง
                                                  ้   ั
การนำาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษามีความรู้สำาคัญในการส่ง
เสริม (Extension) และการเผยแพร่ (Dissemination) ด้วยอีก
ขอบข่ายหนึ่ง คือ การใช้เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษามาใช้
ในการศึกษาทางไกล (Distance Education) ในนัยเดียวกันกับ
การศึกษาในและนอกระบบโรงเรียน
       การวิจัยเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาเกี่ยวกับขอบข่าย
ตามแนวลึก จึงเป็นการวิจยที่หวังผลการวิจัยมาใช้ในสถานการณ์
                           ั
ทีจำาเพาะเจาะจงมากกว่าการวิจยที่อิงขอบข่ายตามแนวตั้งและ
   ่                           ั
แนวนอน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วยkaimmikar123
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentthanapat yeekhaday
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ทับทิม เจริญตา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.comแบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.competer dontoom
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 

Mais procurados (20)

การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
4แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
ข้อสอบยกระดับผลสัมฤทธ์ คณิตศาสตร์ ม1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.comแบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 

Semelhante a ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1Anna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1Anna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational mediaAnna Wongpattanakit
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติTee Lek
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamon
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..krupotjanee
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"Wichit Chawaha
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techWichit Chawaha
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 

Semelhante a ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา (20)

Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
Sattakamon
SattakamonSattakamon
Sattakamon
 
Sattakamol mind mapping
Sattakamol mind mappingSattakamol mind mapping
Sattakamol mind mapping
 
Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
Sattakamon mind mapping
Sattakamon mind mappingSattakamon mind mapping
Sattakamon mind mapping
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
Chapter15630505256
Chapter15630505256Chapter15630505256
Chapter15630505256
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 

ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

  • 1. 7 ขอบข่ายทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ขอบข่ายการวิจยทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ั ประมวลออกเป็นขอบข่ายตามแนวตั้ง แนวนอน และแนวลึก เกิด เป็นมิติขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขึ้น ดังแสดงใน ภาพที่ 1 ภาพที่ 1 ขอบข่ายตามแนวตั้ง แนวนอน และแนวลึก ของ เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 1. ขอบข่ายตามแนวตั้งของการวิจัยทางเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา การจำาแนกขอบข่ายตามแนวตั้งของการวิจัยทางเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษากระทำาได้หลายทางที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย ทาง เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ขอบข่ายตามแนวตั้งครอบคลุม การวิจัยด้านการจัดระบบ ทางการศึกษา การวิจัยด้านพฤติกรรมการเรียนการสอน วิธีการ สอนสื่อสารการศึกษา สภาพแวดล้อมทางการศึกษา การจัดการ ด้านการเรียนการสอนและการประเมินการศึกษา 1.1 การจัดระบบ เป็นแขนงวิชาในสาขาวิชาเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษาที่อาจถือเป็นเครื่องมือสำาคัญของแขนงวิชา อื่น เพราะการดำาเนินงานและการแก้ปัญหาจำาเป็นต้องใช้การจัด ระบบการพัฒนาระบบ และการออกแบบระบบมาใช้ ขอบข่ายการ
  • 2. วิจัยในด้านนี้จึงมุงที่การจัดระบบ การพัฒนาระบบ และการ ่ ออกแบบระบบขั้นใหม่ การจัดระบบ (Systems Approach) เป็นการวางแผน การพัฒนาระบบใหม่หรือปรับปรุงระบบที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้น ด้วย การกำาหนดปรัชญา ปณิธาน จุดมุ่งหมาย องค์ประกอบ ภาระหน้าที่ ความสัมพันธ์/ปฏิสัมพันธ์ ขั้นตอน ปัจจัยเกื้อหนุนและแนวทาง การประเมินและควบคุม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำางานหรือแก้ ปัญหาการดำาเนินงาน การจัดระบบมีความสำาคัญในการกำาหนด แนวทางการดำาเนินงานทีมีคุณภาพ การจัดระบบมีขอบข่าย ่ ระดับ และองค์ประกอบระบบที่เด่นชัดและครอบคลุมการดำาเนิน งานทุกแง่มม โดยมีขั้นตอนหลักที่ครอบคลุม การวิเคราะห์ระบบ ุ การสังเคราะห์ระบบ การสร้างแบบจำาลองระบบ และการทดสอบระบบใน สถานการณ์จำาลอง การพัฒนาระบบ (Systems Development) เป็นการ สร้างระบบขึ้นมาใหม่หรือเป็นการปรับปรุงระบบที่มีอยู่แล้วให้ ทำางานได้ดีขึ้น การพัฒนาระบบมีวิธีการหลายวิธี แต่หาก ต้องการระบบทีมีคุณภาพจำาเป็น ต้องใช้วิธีการจัดระบบเป็นเครื่อง ่ มือ การออกแบบระบบ (Systems Design) เป็นขั้นตอน หนึ่งของการสังเคราะห์ระบบและการสร้างแบบจำาลองระบบที่ เกี่ยวข้องกับการนำาองค์ประกอบมาจัดเรียงลำาดับให้อยู่ในขั้นตอน ที่เหมาะสม เพื่อจะให้ระบบทำางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.2 พฤติกรรมการเรียนการสอน การเรียนรู้เป็นการ เปลียนพฤติกรรมไปในทางที่เป็นประโยชน์การวางแผนและจัด ่ สภาพการณ์ให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมถึงเป็นเทคโนโลยีที่ ท้าทาย จึงเป็นจุดเริ่มต้นทีทำาให้นักจิตวิทยาเริ่มใช้ “เทคโนโลยี ่ แห่งการศึกษา” (Technology of Education) ขึ้น การวิจัยใน ขอบเขตนี้ มุ่งไปที่การศึกษาค้นคว้ารูปแบบพฤติกรรมการเรียน (Learning Behavior) ที่เกี่ยวกับผู้เรียนและพฤติกรรมการสอน (Teaching Behavior) ที่เกี่ยวกับครูบาอาจารย์ และการประยุกต์ รูปแบบการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมแต่ละประเภทก็ต้องใช้รูปแบบ การสอนทีแตกต่างกัน เช่น ครู ่ 1.3 วิธีการ ครอบคลุม วิธีการศึกษาโดยทั่วไปและวิธีการ เรียนการสอน
  • 3. วิธีการเรียนการสอน (Instructional Methods/Techniques) ประยุกต์แนวคิดและหลักการทางการ เปลียนแปลงพฤติกรรมมาใช้เป็นเครื่องมือ สื่อหรือช่องทางในการ ่ ถ่ายทอดเนื้อหาสาระและประสบการณ์ การวิจัยของนักเทคโนโลยีการศึกษาในแขนงนี้จึงมุ่งไปที่ การค้นหาวิธีการสอนแบบใหม่ ทังที่เป็นระบบการสอนแบบครบ ้ วงจรและ ที่เป็นเพียงเทคนิค และวิธีการสอนเฉพาะเรื่อง สำาหรับ นำาไปใช้ในระบบการสอนที่มีผู้คิดขึ้นมาแล้ว เช่น วิธีการสอน แบบกลุ่ม วิธีการสอนแบบโครงการ วิธีการสอนแบบเบญจขันธ์ การจำาลองสถานการณ์ รายกรณี ศึกษา เกม การพัฒนา โครงการจากกรณีงาน (PCW-Project Casework Approach) เป็นต้น 1.4 การสื่อสาร ครอบคลุม การสื่อสารการศึกษาและการ สื่อสารการสอน แต่นิยมใช้คำาว่า “การสื่อสารการศึกษา” เพื่อ แทนทั้งสองกลุ่ม สื่อสารการศึกษา (Educational Media) เป็นขอบข่ายของ เทคโนโลยีการศึกษาที่รู้จักกันมากโดยเฉพาะคำาว่า อุปกรณ์การ สอน โสตทัศนูปกรณ์ ฯลฯ สื่อการศึกษา และสื่อการเรียนการ สอนที่ถือเป็นเครื่องมือและเป็นองค์ประกอบสำาคัญของระบบการ สอน และวิธีการสอนทุกรูปแบบที่ได้พัฒนาขึ้นแล้ว หรือที่จะต้อง พัฒนาขึ้น สื่อมีหลายประเภท แต่สื่อที่ครูและนักเรียนรู้จักกันดี คือ กระดานแบบเรียน/ตำารา และตัวครูเอง การวิจัยในขอบข่ายนี้ จึงมุงไปที่การพัฒนาประเภทและรูป ่ แบบสื่อการสอนใหม่และเปรียบเทียบผลกระทบของสื่อการสอน ประเภทต่างๆ ทีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่อพฤติกรรมการ ่ บริหารนักวิชาการและนักบริหาร 1.5 สภาพแวดล้อมทางการศึกษา ครอบคลุมประเภท และการจัดการ โดยประเภทอาจจำาแนกเป็นสภาพแวดล้อมทาง กายภาพ สภาพแวดล้อมทางจิตภาพ และสภาพแวดล้อมทาง สังคม สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ แหล่งการเรียนรูใน ้ ชุมชนบริเวณโรงเรียน สนาม อาคารเรียน ห้องสมุด ศูนย์วทย ิ บริการ ห้องปฏิบัติการ และห้องเรียน สภาพแวดล้อมทางจิตภาพ ได้แก่ บรรยากาศ ความอบอุ่น ทางใจ ความไว้วางใจ ความกระตือรือร้น การให้เกียรติซึ่งกัน และกัน ฯลฯ
  • 4. สภาพแวดล้อมทางสังคม หมายถึง ขนบธรรมเนียม ประเพณี กฎ ระเบียบ ความสัมพันธ์ที่กระทบสมาชิกในสังคม โดยการจัดการ เป็นการจัดสภาพแวดล้อมทางการศึกษา ซึ่งเป็นการจัดภาวะที่อยูรอบตัวผู้เรียนและผู้สอนที่อาจเป็นหรือไม่ ่ เป็นองค์ประกอบของการเรียนการสอนโดยตรง แต่เกื้อหนุนให้ เกิดการเรียนรู้หรือเป็นแหล่งการเรียนรู้ การวิจัยในขอบข่ายนี้ จึงเกี่ยวกับการศึกษาวิจยหารูปแบบ ั การจัดห้องเรียน ห้องฝึกอบรม การจัดแหล่งวิทยบริการ ห้อง สมุดหรือศูนย์วิทยบริการ ห้องปฏิบัติการ พิพิธภัณฑ์และอุทยา การศึกษาที่จะเอื้อต่อการเรียนรู้มากที่สุด หากไม่สามารถจัด สภาพแวดล้อมจริง ก็ต้องจำาลองสถานการณ์สภาพแวดล้อม จำาลองขึ้น เช่น การจัดบริษัทจำาลองสำาหรับนักศึกษาที่เรียนด้าน ธุรกิจและการจัดการ การจัดห้องฝึกบินจำาลอง (Simulation) เป็นต้น 1.6 การจัดการ “การจัดการ” (Management) ครอบคลุม การจัดการศึกษา และการจัดการเรียนการสอน โดย มุ่งที่การจัดหาและใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยที่การจัดการศึกษา เป็นหน้าที่ของผู้บริหาร ภารกิจของ นักเทคโนโลยีการศึกษาจึงเน้นการเรียนการสอน (Learning Management) เกี่ยวข้องกับการจัดทรัพยากรคน คือ ครูกับ นักเรียน และทรัพยากรในรูปอื่นคือ เวลา อาคาร สถานที่ และ สิ่งอำานวยความสะดวกเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี และมาก ที่สุดในเวลาที่น้อยที่สุด การวิจัยด้านการจัดการด้านการเรียนรู้จึงมุ่งที่การจัดการนำา หลักสูตรมาใช้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กำาหนด ไว้ หลักสูตรที่ได้พัฒนามาอย่างดี และระบบการสอนที่มีคุณภาพ หากขาดการจัดการที่ดีก็อาจด้อยประสิทธิภาพอย่างน่าเสียดาย 1.7 การประเมิน การประเมินการศึกษาครอบคลุม การ ประเมินที่ครบวงจร คือ การประเมินปัจจัยนำาเข้า การประเมิน กระบวนการ และการประเมินผล ทังที่เป็นการประเมินในวงกว้าง ้ คือ การประเมินการศึกษา และในวงแคบ คือ การประเมินการ เรียนการสอน การวิจัยในขอบข่ายนี้ จึงมุงที่จะได้รูปแบบการวัดและการ ่ ประเมิน การวิเคราะห์และแปลผลการสรุป และการนำาผลมา
  • 5. พยากรณ์กิจกรรมที่เกี่ยวกับการศึกษาและการเรียนการสอน งาน วิจัยส่วนใหญ่ดำาเนินการโดยนักวัดและประเมินผล 2. ขอบข่ายในแนวนอนของการวิจัยทางเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา ขอบข่ายในแนวนอนจำาแนกเป็นด้านบริหาร ด้านวิชาการ และด้านบริการ ขอบข่ายทางด้านบริหาร เทคโนโลยีและสื่อสารการ ศึกษาเป็นเครื่องมือในการจัดระบบการบริหารการกำาหนด พฤติกรรมการบริหาร วิธีการบริหาร การสื่อสารในองค์กร การจัด สภาพแวดล้อมด้านการบริหาร การจัดการ และการประเมินการ บริหาร การวิจัยในขอบข่ายนี้ จึงมุงที่จะหารูปแบบการบริหารที่ ่ เหมาะสมด้วยการหาระบบใหม่ 14 แบบพฤติกรรมการบริหาร วิธี รูป การบริหารและจัดการ ฯลฯ เพื่อช่วยผู้บริการให้สามารถนำาผลการ วิจัยไปใช้ประโยชน์ ขอบข่ายทางด้านวิชาการ เทคโนโลยีและสื่อสารการ ศึกษาเป็นเครื่องมือในการจัดระบบงานทางวิชาการ อาทิ การ พัฒนาหลักสูตร การผลิตงานทางวิชาการ ฯลฯ ในการกำาหนด พฤติกรรมครูและนักเรียน ในการกำาหนดวิธีการเรียนการสอนใน การสื่อสารการเรียนการสอน การจัดสภาพแวดล้อมด้านการ เรียนการสอน การจัดการด้านการเรียนการสอน และการประเมิน การเรียนการสอน การวิจัยในด้านนี้ จึงมุ่งในการจัดระบบหารูปแบบงาน วิชาการ เช่น รูปแบบหลักสูตรและการสอน การกำาหนดวิธีสอน การใช้สื่อการสอน การจัดสภาพแวดล้อม และการประเมินการ เรียนการสอน เป็นต้น ขอบข่ายทางด้านบริการ เทคโนโลยีและสื่อสารการ ศึกษาเป็นเครื่องมือในการจัดระบบงานบริหาร การกำาหนด พฤติกรรมการบริการ วิธีการบริการ การสื่อสารในการให้บริการ การจัดสภาพแวดล้อมด้านการบริการ การจัดการด้านการให้ บริการ และการประเมินการบริการ การวิจัยเกี่ยวกับการบริการ จึงมุงไปที่การหาข้อมูลที่จะนำา ่ มาเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ เช่น การจัดระบบและรูปแบบ วิธี การ การจัดสภาพแวดล้อม และการประเมินการให้บริการครูและ นักเรียน ในด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา เป็นต้น
  • 6. ภาพที่ 2 ขอบข่ายตามแนวนอนของการวิจัยทาง เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 3. ขอบข่ายในแนวลึกของการวิจัยทางเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา ได้แก่ การใช้เทคโนโลยีและสื่อสารการ ศึกษาใน (1) การ ศึกษาในระบบโรงเรียนซึ่งจำาแนกออกตาม ระดับเป็นการใช้เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาในระดับปฐมวัย ศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาและระดับอุดมศึกษา (2) การ ศึกษานอกระบบโรงเรียน (3) การฝึกอบรม และ (4) การศึกษา ทางไกล
  • 7. ภาพที่ 3 ขอบข่ายตามแนวลึกของการวิจัยทางเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา การใช้เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาสำาหรับการศึกษาใน ระบบโรงเรียน เป็นการใช้เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาตาม ระดับชั้น ได้แก่ การจัดระบบการสอนและการใช้สื่อการสอนใน ระดับปฐมวัยศึกษา พฤติกรรมครูและนักเรียนประถมศึกษา วิธี การสอนวิชาเฉพาะ ในระดับมัธยมศึกษาและจัดสภาพแวดล้อม การเรียนการสอนในระดับ อุดมศึกษา เป็นต้น นอกจากนี้ยังรวม ถึงการนำาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษามาใช้ในการศึกษา เฉพาะด้าน เช่น อาชีวศึกษา เกษตรศึกษา เทคนิคศึกษา ฯลฯ การศึกษานอกระบบโรงเรียน มุ่งให้การศึกษาต่อเนื่องตลอดชีวิต แก่ผู้ที่อยู่นอกระบบโรงเรียนเพราะออกจากโรงเรียนมาแล้วและมี ความต้องการเพิ่มพูนความรู้ของตนให้สูงขึ้นเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษาจึงเป็นเครื่องมือสำาคัญที่จะช่วยในการจัดระบบ และถ่ายทอดเนื้อหาสาระให้ประชาชนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายที่มี จำานวนมากกว่าสามในสี่ของประชาชนทั้งประเทศ ทังนี้ยงรวมถึง ้ ั การนำาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษามีความรู้สำาคัญในการส่ง เสริม (Extension) และการเผยแพร่ (Dissemination) ด้วยอีก ขอบข่ายหนึ่ง คือ การใช้เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษามาใช้ ในการศึกษาทางไกล (Distance Education) ในนัยเดียวกันกับ การศึกษาในและนอกระบบโรงเรียน การวิจัยเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาเกี่ยวกับขอบข่าย ตามแนวลึก จึงเป็นการวิจยที่หวังผลการวิจัยมาใช้ในสถานการณ์ ั ทีจำาเพาะเจาะจงมากกว่าการวิจยที่อิงขอบข่ายตามแนวตั้งและ ่ ั แนวนอน