SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 26
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
การจัดองค์กร
Organizing (Management Function)
เสนอ
อาจารย์ณสิทธิ์ นิ่มสกุล
✘ปัญหาการติดต่อสื่อสาร
✘ปัญหาการประสานงาน
✘ปัญหาด้านต้นทุนในการบริหาร
✘ปัญหาด้านขวัญและกาลังใจ
สภาพและความสาคัญของปัญหา
Key Word
• Management Function
• Organizing
คาสาคัญ
• หน้าที่ในการจัดการ
• การจัดองค์กร
ความหมายและคานิยามศัพท์
✘Management Function หน้าที่ในการจัดการ
สิ่งสาคัญที่นักบริหารควรทา ประกอบด้วย POLC เพื่อทาให้เกิดการทางาน
ที่มีประสิทธิภาพ
✘Organizing การจัดองค์กร
การจัดระเบียบโครงสร้างของการทางานภายในองค์กรให้เป็นระบบ
อยู่ในส่วนที่เหมาะสมในการทางาน
ความหมายของการจัดองค์กร
การจัดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและหน้าที่การงาน
โดยกาหนดเป็นแผนภูมิที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ
ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจถึงอานาจหน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละบุคคล เพื่อทาให้
เกิดการทางานที่มีประสิทธิภาพ สามารถบรรลุเป้าหมายได้
องค์ประกอบของการจัดองค์กร
1. การแบ่งงานกันทา (Division of work)
การแยกงานหรือรวมหน้าที่การงานที่มีลักษณะเดียวกัน หรือใกล้เคียงกัน
ไว้ด้วยกัน หรือแบ่งงานตามลักษณะเฉพาะของงาน
2. การจัดแผนกงาน (Departmentalization)
การจัดแผนกงานจะเป็นการจัดกลุ่มงานที่ได้แบ่งแยกออกให้เป็นหมวดหมู่ที่จะ
สามารถบริหารจัดการหรือดูแลได้อย่างเหมาะสม
3. การกระจายอานาจหน้าที่ (Distibution of authority)
การกระจายอานาจหน้าที่ จะทาให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถบริหารงานและตัดสินใจ
ได้อย่างเหมาะสมและแก้ปัญหาได้ทันกับสถานการณ์มากขึ้น
องค์ประกอบของการจัดองค์กร (ต่อ)
4. การประสานงาน (Co-ordination)
การประสานงานในแผนกและกลุ่มต่างๆ เพื่อให้เกิดการบรรลุเป้าหมายขององค์กร
ซึ่งมีกลไกที่ช่วยให้เกิดการประสานงาน ดังนี้
กฎระเบียบ มาตรฐานการทางาน และขั้นตอนการปฏิบัติงาน
สายการบังคับบัญชา
แผนงาน
การกาหนดผู้ทาหน้าที่ประสานงาน
คณะทางาน
ทีมงาน
จัดตั้งแผนงานเพื่อทากิจกรรมการประสานงาน
การออกแบบโครงสร้างภายในองค์กร
โครงสร้างขององค์กร คือ แบบแผนที่กาหนดขอบเขตของงานและ
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กรในรูปของอานาจหน้าที่
และสายการบังคับบัญชา
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. โครงสร้างองค์กรแบบราบ (Flat organizational structure)
2. โครงสร้างองค์กรแบบสูง (Tall organizational structure )
โครงสร้างองค์กรแบบราบ (Flat organizational structure)
เป็นโครงสร้างขององค์กรที่เริ่มก่อตั้งใหม่ หรือเป็นองค์กรขนาดเล็ก ที่มีตาแหน่ง
งานไม่สลับซับซ้อน
โครงสร้างองค์กรแบบสูง (Tall organizational structure)
เป็นโครงสร้างขององค์กรขนาดใหญ่ที่มีสายการบังคับบัญชาลดหลั่นกันลง
ไปตามลาดับชั้นอย่างสลับซับซ้อนมากมาย โครงสร้างขององค์กรยิ่งสูงขนาดของ
การควบคุมยิ่งแคบ
แบบราบ แบบสูง
สามารถแบ่งออกเป็น 3 ข้อใหญ่ ดังนี้
1.การสร้างโครงสร้างองค์กร หรือ แผนภูมิองค์กร
ประกอบด้วย
1.1 ช่วงการควบคุม (Span of Control)
หมายถึง จานวนบุคคลที่อยู่ภายใต้การควบคุมของบุคคล 1 คน ซึ่ง
สาหรับผู้บริหารระดับสูงสุดนั้นไม่ควรเกิน 4 คน แต่ผู้บริหารระดับล่าง
อาจจะเป็น 8 ถึง 12 คน
หลักการจัดองค์กร
1.2 ระดับชั้นขององค์กร (Organization Level)
หลักการจัดองค์กร (ต่อ)
ช่วงการควบคุมแบบกว้าง
หมายถึง การที่ผู้บริหารหนึ่งคนมีจานวนของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามาก
ในระดับบริหารเดียวกัน
ผู้บริหาร
 ข้อดี
- การสั่งการประสานงานที่รวดเร็ว
- ข้อมูลข่าวสารที่ชัดเจนไม่ถูกบิดเบือน
- ผู้บริหารจะบริหารด้วยความรับผิดชอบที่สูง
 ข้อเสีย
พนักงานที่มีความรู้ความสามารถไม่สามารถเลื่อนขึ้นสู่ตาแหน่งที่สูงได้
ทาให้อัตราการลาออกจากงานมีอยู่สูงในองค์กรประเภทนี้
ผู้บริหาร
ช่วงการควบคุมแบบแคบ
หมายถึง การที่ผู้บริหารมีจานวนของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาโดยตรงน้อย
 ข้อดี
- บุคคลที่มีความสามารถจะเลื่อนขึ้นสู่ตาแหน่งที่สูงขึ้นไปได้
 ข้อเสีย
- ข้อมูลข่าวสารมักถูกบิดเบือน เนื่องจากความสูงขององค์กรทาให้
การสั่งการและการรายงานผลต้องกระทาทุกระดับชั้น ทาให้เกิด
ความล่าช้าและผิดพลาดของข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งโครงสร้าง
องค์กรแบบสูงก่อให้เกิดต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น
1.2 ระดับชั้นขององค์กร (Organization Level)
หลักการจัดองค์กร (ต่อ)
1.3 การจาแนกกลุ่มของกิจกรรม (Subdividing Activities) ในการจัดองค์กร
จาเป็นที่จะต้องจาแนกหน่วยงานต่าง ๆ ออกเป็นกลุ่มก่อน โดยสามารถจาแนกได้
จาก
- หน้าที่ของงาน (Function)
การตลาด
การบริการ การขาย
หลักการจัดองค์กร (ต่อ)
- ทาเล (Location)
- ผลิตภัณฑ์ (Product)
การตลาด
ในประเทศ ต่างประเทศ
การตลาด
ตามวัตถุประสงค์ใน
การซื้อของผู้บริโภค
ตามลักษณะ
ทางกายภาพ
หลักการจัดองค์กร (ต่อ)
ตามอายุการใช้งาน
- กลุ่มของลูกค้า (Classes of Customers)
- กระบวนการ (Process) เช่น ภายในฝ่ายผลิตสามารถแบ่งกลุ่มเป็น
กระบวนการอบชุบ, กระบวนการฟอก, กระบวนการกลั่น เป็นต้น
- อุปกรณ์ (Equipment) เช่น ในทางสานักงานอาจจะแบ่งเป็นกลุ่ม
คอมพิวเตอร์, กลุ่มเครื่องพิมพ์ดีดไฟฟ้า เป็นต้น
การตลาด
ลูกค้าขายปลีกลูกค้าขายส่ง
หลักการจัดองค์กร (ต่อ)
หลักการจัดองค์กร (ต่อ)
2. ความรับผิดชอบและอานาจหน้าที่
ผู้ที่ได้รับมอบหมายถ้ามีความรับผิดชอบใด ๆ จะต้องสามารถมีอานาจหน้าที่ในการ
สั่งการควบคู่ไปด้วย เพื่อที่จะสามารถทางานให้บรรลุความรับผิดชอบที่ได้รับ
มอบหมายมา
3. การกาหนดความสามารถและลักษณะจาเป็น
ในแต่ละตาแหน่งงานควรกาหนดความสามารถหรือลักษณะของบุคคลที่จะมารับ
ตาแหน่งงานนั้น เพื่อที่จะสามารถจัดหาบุคคลแทนได้
การปรับโครงสร้างองค์กร (Reorganization)
หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่มีความแตกต่างกันสองแบบ คือ
1. การปรับโครงสร้างใหม่ ( Restructuring )
เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนโครงสร้าง ซึ่งทรัพยากรและกิจกรรมต่าง ๆ
จะถูกจัดกลุ่มและประสานกันใหม่
2. การกาหนดโครงสร้างใหม่ ( Reconfiguration )
เกี่ยวข้องกับการเพิ่ม การแบ่ง การโอนย้าย การรวม หรือการยุบ
หน่วยธุรกิจ โดยไม่ปรับเปลี่ยน โครงสร้างพื้นฐานของบริษัท
การปรับโครงสร้างองค์กรให้ถูกต้อง
ให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
1.) ปรับตามสถานการณ์
2.) เปลี่ยนตามจังหวะที่เหมาะสม
3.) ใช้จุดแข็งที่มีอยู่
4.) กาหนดว่าระบบอื่น ๆ ต้องมีการเปลี่ยนแปลง อย่างไรบ้าง
วิธีการนาการจัดองค์กรไปใช้
✘ พิจารณาแยกประเภทงาน
ก่อนอื่นผู้บริหารต้องแยกประเภทตรวจสอบดูว่ากิจการของตนนั้นมีอะไรบ้างที่
จะต้องทา เพื่อให้กิจการได้ผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์
✘ บรรยายลักษณะงาน
ระบบขอบเขตงานและมอบหมายงาน พร้อมทั้งกาหนดความรับชอบ และอานาจ
หน้าที่
✘จัดวางความสัมพันธ์
การจัดวางความสาพันธ์ จะทาให้ทราบว่า งานต้องรายงานต่อใคร เพื่อให้งาน
ส่วนต่างๆดาเนินงานต่อไปปราศจากความขัดแย้ง เพื่อให้ทางานร่วมกันอย่างมี
ระเบียบ เพื่อให้ทุกฝ่ายร่วมมือกันทางาน มุ่งไปสู่อันเดียวกัน
แบบฝึกหัด
1. การจัดองค์กรมีความหมายว่าอย่างไร?
2. องค์ประกอบของการจัดองค์กรประกอบด้วยอะไรบ้าง?
3. จงอธิบายโครงสร้างขององค์กรแบบสูง และแบบราบมาพอสังเขป?
4. จงอธิบายการปรับโครงสร้างใหม่กับการกาหนดโครงสร้างใหม่มาพอ
สังเขป?
Role Play
กรณีศึกษา บริษัท GM vs TOYOTA
48%
36%
ปี 25X9 ปี 25X0
สภาพตลาดในอเมริกา บริษัท GM
บริษัท General Moter (GM)
ปัญหาภายในองค์กร
✘มองความต้องการของลูกค้าไม่ชัดเจน
✘ใช้เวลานานในการตัดสินใจ
✘ต้นทุนในการบริหารสูง
ปัญหาภายนอกองค์กร
✘คู่แข่ง
✘เศรษฐกิจ
เปรียบเทียบโครงสร้างองค์กรบริษัท GM กับ TOYOTA
CEO
5 ระดับการบริหาร
คนงาน
CEO
14 ระดับการบริหาร
คนงาน
บริษัท TOYOTAบริษัท GM
สรุป
บริษัทของเราต้องมีการปรับโครงสร้างองค์กรใหม่
1. การลดขนาดขององค์กร
- การทาให้องค์กรมีขนาดเล็กลง/เหมาะสม
- การลดพนักงานเพื่อลดค่าใช้จ่าย/ความอยู่รอด
2. การยกเลิกระดับชั้นของผู้บริหาร
- การทาให้สายการบังคับบัญชาสั้นลง
- องค์กรจะมีลักษณะแบนราบมากขึ้น
3. การลดกฎระเบียบภายในองค์กร
- ยกเลิกกฎเกณฑ์ต่างๆ ทาให้งานคล่องตัว
- ลดการเป็นผู้อนุญาตหรือผู้อนุมัติแล้วเปลี่ยนเป็นการกากับดูแลแทน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวpurithem
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนSuppakuk Clash
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตRungnapa Rungnapa
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาดpronprom11
 
Fishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy ConservationFishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy ConservationDenpong Soodphakdee
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 

Mais procurados (20)

OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียว
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาด
 
Fishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy ConservationFishbone Diagram for Energy Conservation
Fishbone Diagram for Energy Conservation
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 

Semelhante a การจัดองค์กร organizing

บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)ประพันธ์ เวารัมย์
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structureKan Yuenyong
 
Hr Mis Nu MBA Logistics
Hr  Mis Nu  MBA  LogisticsHr  Mis Nu  MBA  Logistics
Hr Mis Nu MBA LogisticsAusda Sonngai
 
บทที่ 6 การจัดองค์การ
บทที่ 6 การจัดองค์การบทที่ 6 การจัดองค์การ
บทที่ 6 การจัดองค์การPrapaporn Boonplord
 
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flows
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flowsการพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flows
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flowsearthpetch
 
การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics
การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics
การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics maruay songtanin
 
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership maruay songtanin
 
ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์pomkritta
 

Semelhante a การจัดองค์กร organizing (20)

บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 
วุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคล
วุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคลวุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคล
วุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคล
 
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
Paper tci 3
Paper tci 3Paper tci 3
Paper tci 3
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
Hr jjjane part
Hr jjjane partHr jjjane part
Hr jjjane part
 
Organization structure
Organization structureOrganization structure
Organization structure
 
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
 
Hr Mis Nu MBA Logistics
Hr  Mis Nu  MBA  LogisticsHr  Mis Nu  MBA  Logistics
Hr Mis Nu MBA Logistics
 
Organization&Management part1 2
Organization&Management part1 2Organization&Management part1 2
Organization&Management part1 2
 
บทที่ 6 การจัดองค์การ
บทที่ 6 การจัดองค์การบทที่ 6 การจัดองค์การ
บทที่ 6 การจัดองค์การ
 
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
 
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flows
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flowsการพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flows
การพัฒนาระบบงาน Managing+Work+Flows
 
การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics
การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics
การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics
 
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
สี่มิติในการบริหารองค์กร Performance leadership
 
ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์
 
Chapter1 kc
Chapter1 kcChapter1 kc
Chapter1 kc
 

Mais de Aor's Sometime

เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีAor's Sometime
 
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ Aor's Sometime
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด Aor's Sometime
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดAor's Sometime
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมAor's Sometime
 

Mais de Aor's Sometime (6)

เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
 
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรม
 
5ส
5ส5ส
5ส
 

การจัดองค์กร organizing

Notas do Editor

  1. การแบ่งงานกันทำ (Division of work) การแยกงานหรือรวมหน้าที่การงานที่มีลักษณะเดียวกันหรือใกล้เคียงกันไว้ด้วยกัน หรือแบ่งงานตามลักษณะเฉพาะของงาน การจัดแผนกงาน (Departmentalization) การจัดแผนกงานจะเป็นการจัดกลุ่มงานที่ได้แบ่งแยกออกให้เป็นหมวดหมู่ที่จะสามารถบริหารจัดการหรือดูแลได้อย่างเหมาะสม การกระจายอำนาจหน้าที่ (Distibution of authority) การกระจายอำนาจหน้าที่จะทำให้ผู้ปฏิบัติงาน สามารถบริหารงานและตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมและแก้ปัญหาได้ทันกับสถานการณ์มากขึ้น การประสานงาน (Co-ordination) การประสานงานในแผนกและกลุ่มต่างๆ เพื่อให้เกิดการบรรลุเป้าหมายขององค์การ ซึ่งมีกลไกที่ช่วยให้เกิดการประสานงาน ดังนี้ กฎระเบียบ มาตรฐานการทำงาน และขั้นตอนการปฏิบัติงาน สายการบังคับบัญชา แผนงาน (Plans) การกำหนดผู้ทำหน้าที่ประสานงาน (Liaison Roles) คณะทำงาน (Task Forces) ทีมงาน (Teams) จัดตั้งแผนงานเพื่อทำกิจกรรมการประสานงาน (Integrating Departments)
  2. การแบ่งงานกันทำ (Division of work) การแยกงานหรือรวมหน้าที่การงานที่มีลักษณะเดียวกันหรือใกล้เคียงกันไว้ด้วยกัน หรือแบ่งงานตามลักษณะเฉพาะของงาน การจัดแผนกงาน (Departmentalization) การจัดแผนกงานจะเป็นการจัดกลุ่มงานที่ได้แบ่งแยกออกให้เป็นหมวดหมู่ที่จะสามารถบริหารจัดการหรือดูแลได้อย่างเหมาะสม การกระจายอำนาจหน้าที่ (Distibution of authority) การกระจายอำนาจหน้าที่จะทำให้ผู้ปฏิบัติงาน สามารถบริหารงานและตัดสินใจได้อย่างเหมาะสมและแก้ปัญหาได้ทันกับสถานการณ์มากขึ้น การประสานงาน (Co-ordination) การประสานงานในแผนกและกลุ่มต่างๆ เพื่อให้เกิดการบรรลุเป้าหมายขององค์การ ซึ่งมีกลไกที่ช่วยให้เกิดการประสานงาน ดังนี้ กฎระเบียบ มาตรฐานการทำงาน และขั้นตอนการปฏิบัติงาน สายการบังคับบัญชา แผนงาน (Plans) การกำหนดผู้ทำหน้าที่ประสานงาน (Liaison Roles) คณะทำงาน (Task Forces) ทีมงาน (Teams) จัดตั้งแผนงานเพื่อทำกิจกรรมการประสานงาน (Integrating Departments)
  3. 1.2 ระดับชั้นขององค์กร (Organization Level) จะมีความสัมพันธ์กับช่วงการควบคุม ช่วงควบคุมแบบกว้าง หมายถึง การที่ผู้บริหารหนึ่งคนมีจำนวนของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามากในระดับบริหารเดียวกัน ช่วงควบคุมแบบแคบ หมายถึง การที่ผู้บริหารมีจำนวนของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาโดยตรงน้อย ดังนั้น ถ้าเปรียบเทียบสององค์กรที่มีสมาชิกเท่ากัน การจัดองค์กรแบบแคบ จะทำให้มีสมาชิกองค์กรอยู่ในระดับบริหารมากกว่าการจัดแบบกว้าง ซึ่งก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายสูงกว่าแบบกว้าง เนื่องจากมีสมาชิกอยู่ในตำแหน่งบริหารมากกว่า และการมีหลายระดับอาจทำให้เกิดปัญหาในด้านการสื่อสาร เนื่องจากต้องมีการส่งผ่านข่าวสารหลายระดับ และจะใช้เวลาในการตัดสินใจนานกว่า ข้อดี คือ ผู้บริหารจะสามารถดูแลผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาได้ใกล้ชิด และไม่ต้องใช้ผู้บริหารที่มีความสามารถสูงมากนัก ในขณะที่การจัดองค์กรแบบกว้างจะช่วยเอื้อให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว แต่มีข้อเสียคือต้องใช้ผู้บริหารที่มีความสามารถสูง และอาจควบคุมผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาได้ไม่ทั่วถึง
  4. จากที่คุณสกุลรัตน์ได้พูดมา ดิฉันคิดว่าปัญหาภายในองค์กรของเรานะคะ เกิดจากโครงสร้างภายในองค์กร ที่มีช่วงการจัดองค์กรแบบแคบ ซึ่งจะทำให้มีสมาชิกองค์กรอยู่ในระดับบริหารค่อนข้างมาก ทำให้เกิดปัญหาในด้านการสื่อสารเนื่องจากต้องมีการส่งผ่านข่าวสารหลายระดับ นอกจากนี้ยังเกิดการล่าช้าในการตัดสินใจ อีกทั้งการมีสมาชิกอยู่ในตำแหน่งบริหารมากก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายสูง ทำให้บริษัทของเราตอบสนองต่อตลาดได้น้อยกว่าคู่แข่ง และมองความต้องการของลูกค้าไม่ชัดเจน