SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 42
Baixar para ler offline
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา 040105
อาจารย์มัลลิกา ผ่องแผ้ว
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ก่อนอื่นเรามารู้จักกับพื้นฐาน
ของภาษากันน่ะคะ
ความหมายของภาษา
คาว่า “ ภาษา” เป็นคาภาษาสันสฤต แปลตามรูปศัพท์หมายถึงคาพูดหรือ
ถ้อยคา ภาษาเป็นเครื่องมือของมนุษย์ที่ใช้ในการสื่อความหมายให้สามารถ
สื่อสารติดต่อทาความเข้าใจกันโดยมีระเบียบของคาและเสียงเป็นเครื่อง
กาหนด ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ให้ความหมาย
ของคาว่าภาษา คือ เสียงหรือกิริยาอาการที่ทาความเข้าใจกันได้ คาพูด
ถ้อยคาที่ใช้พูดจากัน
ความหมายของภาษา (ต่อ)
ภาษา เมื่อแปลตามรูปศัพท์หมายถึง คาพูดหรือถ้อยคา ภาษาเป็นเครื่องมือ
ของมนุษย์ที่ใช้ในการสื่อความหมายให้สามารถติดต่อสื่อสาร เข้าใจกันได้
โดยมีระเบียบของเสียงและเรื่องของคาเป็นเครื่องกาหนด
รายละเอียดเนื้อหาที่ต้องศึกษาในบทนี้
ความหมายของภาษาไทย
ภาษาในฐานะเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร
ความสาคัญของภาษา
องค์ประกอบของภาษา
ลักษณะสาคัญของภาษาไทย
ศิลปะการใช้ภาษาไทย
ความหมายของภาษาไทย
ภาษาไทย มีความหมายว่า เป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นของตนเองและมี
ความแตกต่างจากภาษาอื่นที่นามาใช้ในภาษาไทย การใช้ภาษาไทยได้อย่าง
ถูกต้อง จาเป็นต้องรู้จักภาษาไทยให้ดีเพื่อใช้ถ้อยคาได้อย่างถูกต้องตาม
ลักษณะภาษาไทย
ภาษาในฐานะเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร
ภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในชีวิตประจาวัน แบ่งได้ 2 ชนิดคือ
 วัจนภาษา
 อวัจนภาษา
วัจนภาษา
วัจนภาษา คือ ภาษาที่เป็นถ้อยคา ได้แก่ คาพูดหรือตัวอักษรที่กาหนด
ใช้ร่วมกันในสังคม ซึ่งหมายรวมทั้งเสียง และลายลักษณ์อักษร ภาษาถ้อยคา
เป็นภาษาที่มนุษย์สร้างขึ้นอย่างมีระบบ มีหลักเกณฑ์ทางภาษา หรือไวยากรณ์
ซึ่งคนในสังคมต้องเรียนรู้และใช้ภาษาในการฟัง พูด อ่าน เขียนและคิด
การใช้วัจนภาษาในการสื่อสารต้องคานึงถึงความชัดเจนถูกต้องตามหลัก
ภาษา และความเหมาะสมกับลักษณะการสื่อสาร ลักษณะงาน เป้าหมาย สื่อ
และผู้รับสาร
ภาษาในฐานะเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร
อวัจนภาษา
อวัจนภาษา คือ ภาษาที่ไม่ใช้ถ้อยคา ได้แก่ การแสดงกิริยาท่าทางของ
มนุษย์ การแสดงสีหน้า สายตา น้าเสียง การใช้มือ วัตถุ การใช้สัญญาณ
ต่างๆ เพื่อนามาสื่อความหมาย และ ทาความเข้าใจต่อกัน
ภาษาในฐานะเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร
ความสาคัญของภาษา
ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารของมนุษย์ มนุษย์ติดต่อกัน
ได้ เข้าใจกันได้ก็ด้วยอาศัยภาษาเป็นเครื่องช่วยที่ดีที่สุด
ความสาคัญของภาษา (ต่อ)
ภาษาศาสตร์มีระบบกฎเกณฑ์ ผู้ใช้ภาษาต้องรักษากฎเกณฑ์ในภาษา
ไว้ด้วยอย่างไรก็ตาม กฎเกณฑ์ในภาษานั้นไม่ตายตัวเหมือนกฎ
วิทยาศาสตร์ แต่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติของ
ภาษา เพราะเป็นสิ่งที่มนุษย์ตั้งขึ้น จึงเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัย
ตามความเห็นชอบของส่วนรวม
ความสาคัญของภาษา (ต่อ)
ภาษาเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของมนุษย์ และเป็นเครื่องแสดงให้
เห็นวัฒนธรรมส่วนอื่นๆ ของมนุษย์ด้วย เราจึงสามารถศึกษา
วัฒนธรรมตลอดจนเอกลักษณ์ของชนชาติต่างๆ ได้จากการศึกษา
ภาษาของชนชาตินั้นๆ
ความสาคัญของภาษา (ต่อ)
ภาษาเป็นศิลปะ มีความงดงามในกระบวนการใช้ภาษา กระบวนการใช้
ภาษานั้น มีระดับและลีลา ขึ้นอยู่กับปัจจัย ต่างๆ หลาย
ด้าน เช่น บุคคล กาลเทศะ ประเภทของเรื่อง ฯลฯ การที่จะเข้าใจ
ภาษา และใช้ภาษาได้ดีจะต้องมีความสนใจศึกษาสังเกตให้เข้าถึงรสของ
ภาษาด้วย
องค์ประกอบของภาษา
ภาษาทุกภาษาย่อมมีองค์ประกอบของภาษา โดยทั่วไปจะมี
องค์ประกอบ 4 ประการ คือ
เสียง
พยางค์และคา
ประโยค
ความหมาย
องค์ประกอบของภาษา (ต่อ)
 เสียง
นักภาษาศาสตร์จะให้ความสาคัญของเสียงพูดมากกว่าตัวเขียนที่เป็นลาย
ลักษณ์อักษร เพราะภาษาย่อมเกิดจากเสียงที่ใช้พูดกัน ส่วนภาษาเขียนเป็น
สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงพูด คาที่ใช้พูดจากันจะประกอบด้วยเสียงสระ เสียง
พยัญชนะและเสียงวรรณยุกต์ แต่บางภาษาก็ไม่มีเสียงวรรณยุกต์ เช่น บาลี
สันสกฤต เขมร อังกฤษ
องค์ประกอบของภาษา (ต่อ)
 พยางค์และคา
พยางค์เป็นกลุ่มเสียงที่เปล่งออกมาแต่ละครั้ง จะประกอบด้วย
เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ จะมีความหมายหรือ
ไม่มีความหมายก็ได้
พยางค์แต่ละพยางค์จะมีเสียงพยัญชนะต้น ซึ่งเป็นเสียงที่อยู่หน้าเสียงสระ
และเสียงวรรณยุกต์ บางพยางค์ก็อาจมีเสียงพยัญชนะสะกดประกอบอยู่ด้วย
เช่น
องค์ประกอบของภาษา (ต่อ)
 ประโยค
ประโยค เป็นการนาคามาเรียงกันตามลักษณะโครงสร้างของภาษาที่
กาหนดเป็นกฎเกณฑ์หรือระบบตามระบบทางไวยากรณ์ของแต่ละภาษา และ
ทาให้ทราบหน้าที่ของคา
องค์ประกอบของภาษา (ต่อ)
 ความหมาย
ความหมายของคามี 2 อย่าง คือ
(1) ความหมายตามตัวหรือความหมายนัยตรง เป็นความหมายตรงของคานั้นๆ
เป็นคาที่ถูกกาหนดและผู้ใช้ภาษามีความเข้าใจตรงกัน เช่น
“ กิน” หมายถึง นาอาหารเข้าปากเคี้ยวและกลืนลงไปในคอ
องค์ประกอบของภาษา (ต่อ)
(2) ความหมายในประหวัดหรือความหมายเชิงอุปมา เป็นความหมายเพิ่มจาก
ความหมายในตรง เช่น
“ กินใจ” หมายถึง รู้สึกแหนงใจ
“ กินแรง” หมายถึง เอาเปรียบผู้อื่นในการทางาน
ลักษณะสาคัญของภาษาไทย
ภาษาไทยมีวิวัฒนาการมาตามลาดับ ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์
มหาราช โดยพระโหราธิบดีได้แต่งตาราเรียนภาษาไทยเล่มแรก ชื่อ จินดามณี
ขึ้น ต่อมาในสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยกระทรวง
ธรรมการได้พิมพ์ตาราสยามไวยากรณ์เป็นแบบเรียน และเจ้าพระยาพระเสด็จ
สุเรนทราธิบดี ได้เรียบเรียงขึ้นใหม่ โดยย่อจากตาราสยามไวยากรณ์ จนถึง
พ.ศ.๒๔๖๑ พระยาอุปกิตศิลปะสาร ได้ใช้เค้าโครงของตาราสยามไวยากรณ์
แต่งตาราหลักภาษาไทยขึ้นใหม่ ซึ่งถือว่าเป็นตาราหลักภาษาไทยที่สมบูรณ์
และเป็นแบบฉบับหลักภาษาไทยที่ใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน
ลักษณะสาคัญของภาษาไทย (ต่อ)
โดยมีหลักการสังเกตลักษณะที่สาคัญของภาษาไทย ดังนี้
1. ภาษาไทยเป็นคาโดด (Isolating Language) คือ คาไทยแต่ละคาจะมี
ความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง ใช้ได้อย่างอิสระโดยไม่มีการเปลี่ยนรูปศัพท์ เช่น
พ่อ แม่ สูง ต่า
ลักษณะสาคัญของภาษาไทย (ต่อ)
2. คาไทยแท้ส่วนมากมีพยางค์เดียว คือ คาไทยแท้ส่วนใหญ่มีพยางค์เดียว มี
ความหมายเข้าใจได้ทันที เช่น โอ่ง ไห ดิน น้า ลม ไฟ เป็นต้น ส่วนคาไทยแท้ที่
มีหลายพยางค์มีสาเหตุมาจาก
2.1 การปรับปรุงศัพท์ ด้วยการลงอุปสรรคแบบไทย คือ การเพิ่มเสียง
หน้าศัพท์ เช่น
ชิด ---- ประชิด
ทา ---- กระทา
ลูกดุม ---- ลูกกระดุม
ลักษณะสาคัญของภาษาไทย (ต่อ)
2.2 การกลายเสียง เป็นการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ
ของภาษา เช่น เสียงกร่อน
หมากม่วง ---- มะม่วง
สายเอว ---- สะเอว
ต้นไคร้ ---- ตะไคร้
ลักษณะสาคัญของภาษาไทย (ต่อ)
3. คาไทยแท้มีตัวสะกดตรงตามมาตรา เช่น ตัวอย่างคาที่เกี่ยวกับการต่อสู้
ได้แก่
แม่กก ---- ชก ศอก กระแทก โขก ผลัก แม่กม ---- โถม ทิ่ม รุม ทุ่ม
แม่กด ---- กัด ฟัด รัด อัด กอด ฟาด อัด แม่เกย ---- เสย ต่อย
แม่กง ---- ถอง พุ่ง ดึง เหวี่ยง ทึ้ง แม่เกอว ---- เหนี่ยว น้าว
แม่กน ---- ชน ยัน โยน ดัน
แม่กบ ---- ตบ ทุบ งับ บีบ จับ กระทืบ ถีบ
ลักษณะสาคัญของภาษาไทย (ต่อ)
4. ภาษาไทยเปนภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต ซึ่งวรรณยุกตนี้จะทาใหคามีระดับ
เสียง และความหมายตางกัน เชน
คา คา คา นา น่า น้า
เขา เขา เขา เสือ เสื่อ เสื้อ
ลักษณะสาคัญของภาษาไทย (ต่อ)
5. มีการสรางคาเพื่อเพิ่มความหมายใหมากขึ้น การเพิ่มคาในภาษาไทยมี
หลายลักษณะ เชน การประสมคา คาซอน คาซ้า คาสมาส คาสนธิ ศัพท
บัญญัติ คาแผลง เปนตน
ลักษณะสาคัญของภาษาไทย (ต่อ)
6. การเรียงคาในประโยค การเรียงคาในประโยคของภาษาไทยนั้นสาคัญมาก
เพราะถาเรียงคาในประโยคสลับที่กันจะทาให้ความหมายเปลี่ยนไป เชน
- พอใหเงินผมใช
- พอใหใชเงินผม
- พอใหผมใชเงิน
- พอใหเงินใชผม
ลักษณะสาคัญของภาษาไทย (ต่อ)
7. คาขยายในภาษาไทย จะเรียงอยูหลังคาที่ถูกขยายเสมอ เชน
- แมไกสีแดง
- เรือลาใหญแลนชา
ยกเวน คาที่แสดงจานวนหรือปริมาณ อาจอยูหนา หรือ หลังก็ได เชน
คาขยายอยูหลัง คาขยายอยูหนา
หมูดาตัวหนึ่งอยูในเลาสีขาว ในเลาสีขาวมีหมูสองตัว
ลักษณะสาคัญของภาษาไทย (ต่อ)
8. คาไทยมีคาลักษณะนาม โดยมีหลักการใชดังนี้
8.1 ใชตามหลังคาวิเศษณบอกจานวนนับที่เปนตัวเลข เชน
- นักเรียน 10 คน
- แมว 2 ตัว
ลักษณะสาคัญของภาษาไทย (ต่อ)
8.2 ใชตามหลังคานามเพื่อบอกลักษณะคานามที่อยูขางหนา
เชน
- หนังสือเลมนั้นใครซื้อให
- นกฝูงนี้มาจากไซบีเรีย
ยกเวน การใชวา “เดียว” แทนจานวนนับ 1 หนวย ซึ่งจะอยูหลัง
ลักษณะนาม เชน
- ฉันเลี้ยงแมวไวตัวเดียว
- เขากินขาวจานเดียว
ลักษณะสาคัญของภาษาไทย (ต่อ)
9. ภาษาไทยมีระดับการใช แบงไดดังนี้
10.1 ระดับพิธีการ - ใชในพิธีการสาคัญตางๆ
10.2 ระดับทางการ - ใชในโอกาสที่เปนทางการ (ภาษาทางการ)
10.3 ระดับกึ่งทางการ - ใชในโอกาสที่เปนทางการ แตลดระดับโดยการ
ใชภาษาสุภาพและเปนกันเองมากขึ้น
10.4 ระดับสนทนา - ใชในโอกาสที่ไมเปนทางการ เชน
การพูดคุยทั่วไป
10.5 ระดับกันเอง - ใชในโอกาสที่ไมเปนทางการกับเพื่อนสนิท
สามารถใช ภาษาพูดหรือภาษาคะนอง
ศิลปะการใช้ภาษาไทยประกอบด้วย
 การออกเสียงคาได้อย่างถูกต้อง
 การใช้คาได้อย่างถูกต้อง
การใช้ประโยคถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
การหลีกเลี่ยงการใช้ภาษาพูดในภาษาเขียน
การใช้สานวนโวหารในการสื่อสาร
ศิลปะการใช้ภาษาไทยประกอบด้วย (ต่อ)
 การออกเสียงคาได้อย่างถูกต้อง
คนไทยส่วนใหญ่ออกเสียงคา ได้อย่างถูกต้อง คาที่มีปัญหาในการออกเสียง
ส่วนใหญ่มักเป็นคา ที่ยืม มาจากภาษาอื่น เช่น ภาษาสันสกฤต ภาษาจีน
ศิลปะการใช้ภาษาไทยประกอบด้วย (ต่อ)
การใช้คาได้อย่างถูกต้อง
คา แต่ละคา ย่อมมีความหมายแตกต่างกัน นอกจากความหมายโดยตรง
แล้วยังอาจมีความหมายแฝงด้วย อีกทั้งขอบเขตความหมายของคา ยังไม่ตาม
ตัว อาจกว้างหรืองแคบหรือเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา และได้จาแนก
ความหมายของคา ไว้หลายประการ ได้แก่ ความหมายกว้างแคบ ความหมาย
ตามตัวและความหมาย อุปมา ความหมายนัยตรงและความหมายนัยประหวัด
ความหมายคล้ายกัน ความหมายตรงข้ามกัน และคาหลายความหมาย
ศิลปะการใช้ภาษาไทยประกอบด้วย (ต่อ)
การใช้ประโยคถูกต้องตามหลักไวยากรณ์
เมื่อใช้คาได้อย่างถูกต้องแล้ว ลาดับต่อไปคือ การนาคาต่างๆ มา
เรียบเรียงเป็นประโยคให้ถูกต้องตามหลัก ไวยากรณ์ไทย การใช้ประโยคได้
อย่างถูกต้อง ย่อมทาให้การสื่อสารแต่ละครั้งบรรลุจุดมุ่งหมาย
การใช้ ประโยคไม่ถูกต้องเกิดจากสาเหตุหลายประการ ดังนี้
1. การเรียงประธาน กริยา กรรม ไม่เป็นไปตามลาดับ
2. คาเชื่อมประโยคอยู่ผิดที่
3. การซ้า บุพบท สันธาน หรือลักษณะนามผิด
4. การวางส่วนขยายไม่ชิดคา ที่ต้องการอธิบาย
ศิลปะการใช้ภาษาไทยประกอบด้วย (ต่อ)
การหลีกเลี่ยงการใช้ภาษาพูดในภาษาเขียน
แม้ว่าการใช้ภาษาพูดในภาษาเขียนจะมีจุดมุ่งหมายตรงกัน คือ เพื่อให้
การสื่อสารบรรลุจุดมุ่งหมาย แต่ก็มี องค์ประกอบ บทที่ใช้ในการสื่อสารต่างกัน
ทาให้ภาษาเขียนมีกฎเกณฑ์ในการใช้ภาษา ต่างจากภาษาพูด
ศิลปะการใช้ภาษาไทยประกอบด้วย (ต่อ)
การหลีกเลี่ยงการใช้ภาษาพูดในภาษาเขียน
ข้อแตกต่างระหว่างภาษาพูดและภาษาเขียนมีดังนี้
1. การพูดมีสถานการณ์และสภาพแวดล้อมช่วยให้เข้าใจได้ดียิ่งกว่าการเขียน
2. ภาษาพูดเป็นการสื่อสารเฉพาะขณะที่พูด
3. ในการพูดอาจใช้ภาษาเฉพาะกลุ่มได้
4. ในการพูดนั้นผู้ส่งสารและผู้รับสารมีความใกล้ชิดกัน
5. ในการพูด เราอาจพูดซ้าได้ เพื่อทวนเรื่องที่ยากให้เข้าใจ
6. ภาษาเขียนไม่ควรมีข้อผิดพลาด ควรเรียบเรียงอย่างระมัดระวังและ
เลือกสรรถ้อยคาอย่างสุภาพ
ศิลปะการใช้ภาษาไทยประกอบด้วย (ต่อ)
การใช้สานวนโวหารในการสื่อสาร
สานวนโวหารหมายถึง ถ้อยคา ที่เรียบเรียง ดังนั้น การใช้สานวนโวหาร จึง
หมายถึง การใช้ถ้อยคา ที่เรียบเรียงมาแล้วเป็นอย่างดี ในปัจจุบันนิยม ใช้
สานวนโวหารอยู่ 4 ประเภท ได้แก่ บรรยายโวหาร อธิบายโวหาร วิจารณ์
โวหาร และพรรณนาโวหาร ดังนี้
ศิลปะการใช้ภาษาไทยประกอบด้วย (ต่อ)
การใช้สานวนโวหารในการสื่อสาร
1. บรรยายโวหาร คือ โวหารที่ใช้ในการเล่าเรื่องหรือบรรยายเรื่องอย่าง
ละเอียดเน้นการดาเนินเรื่องไป ตามลาดับเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจอย่างละเอียด
2. อธิบายโวหาร คือ โวหารที่ใช้ในการไขความ ขยายความ หรือชี้แจง
เพื่อให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจในรายละเอียดต่างๆ อย่างกระจ่างชัดเจนแล้ว
ลึกซึ้ง
ศิลปะการใช้ภาษาไทยประกอบด้วย (ต่อ)
การใช้สานวนโวหารในการสื่อสาร
3. วิจารณ์โวหาร คือ โวหารที่ใช้แยกแยะส่วนประกอบต่างๆ ของเรื่องราว
สิ่งของ หรือเหตุการณ์ในแก่ มุมต่างๆ เพื่อแสดงให้เห็นข้อดี ข้อด้อย ความสาคัญ
และคุณค่าของสิ่งที่ต้องการวิจารณ์
4. พรรณนาโวหาร คือ โวหารที่ใช้แสดงความรู้สึกนึกคิดหรือภาพพจน์อย่าง
ละเอียดผู้มุ่งให้ผู้ได้รับสารเกิดจินตนาการคล้อยตามให้ได้ สิ่งที่มาพรรณนาโวหาร
ทักเป็นเนื้อหาที่กล่าวยกย่องเกียรติคุณ คุณความดีของ บุคคล ความงดงามของ
ธรรมชาติ
สรุปเนื้อหาบทเรียน
 ภาษาในฐานะเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ประกอบด้วย วัจนภาษา
และอวัจนภาษา วัจนภาษา และอวัจนภาษา เป็นอย่างไร และแตกต่างกัน
อย่างไร
 ความสาคัญของภาษาไทยประกอบด้วยอะไรบ้าง
 องค์ประกอบของภาษามีอะไรบ้าง
 ลักษณะสาคัญของภาษาไทยมีกี่ลักษณะ
 ศิลปะการใช้ภาษาไทยประกอบด้วยอะไรบ้าง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพยสำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย0856124557
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำLadawan Munchit
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาPpor Elf'ish
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานKu'kab Ratthakiat
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)Milky' __
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 

Mais procurados (20)

สำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพยสำนวนสุภาษิต คำพังเพย
สำนวนสุภาษิต คำพังเพย
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
แบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำแบบเรียนชนิดของคำ
แบบเรียนชนิดของคำ
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 

Destaque

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยLhin Za
 
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พrootssk_123456
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
Tense ทั้งหมด
Tense ทั้งหมดTense ทั้งหมด
Tense ทั้งหมดpitukpong
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน Utai Sukviwatsirikul
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ingภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ingอภิญญา คำเหลือ
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยค
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยค
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยคอภิญญา คำเหลือ
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อย
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อยภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อย
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อยอภิญญา คำเหลือ
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้อภิญญา คำเหลือ
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 

Destaque (16)

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
155061602 เทคนิคการทำข้อสอบ-ก-พ
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
Tense ทั้งหมด
Tense ทั้งหมดTense ทั้งหมด
Tense ทั้งหมด
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ingภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยา+Ing
 
แนวข้อสอบภาษาไทย
แนวข้อสอบภาษาไทยแนวข้อสอบภาษาไทย
แนวข้อสอบภาษาไทย
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยค
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยค
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน การแต่งประโยค
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อย
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อยภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อย
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อย
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน ลักษณะการใช้
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 

Semelhante a บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย

บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยguestd57bc7
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยpinyada
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยพัน พัน
 

Semelhante a บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย (20)

บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
นุกูล
นุกูลนุกูล
นุกูล
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 

Mais de Aj.Mallika Phongphaew

บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังAj.Mallika Phongphaew
 

Mais de Aj.Mallika Phongphaew (12)

บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุม
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปราย
 
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่มบทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย