SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 76
Baixar para ler offline
คู่มือ/เอกสารประกอบ
การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(LocalPerformanceAssessment:LPA):(สถ-อปท)
ประจาปี 2559
สาหรับทีมประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (สถ - อปท)
************************************
ด้าน 4 การบริการด้าน 4 การบริการสาธารณะสาธารณะ
1. ด้านถนน ทางเดิน และทางเท้า
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/
นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/
นส.สั่งการที่เกี่ยวข้อง)
1.1 การจัดทาแผนการตรวจสอบถนนในความรับผิดชอบของ อปท.
เกณฑ์การให้คะแนน :
 1. มีการจัดทาบัญชีทะเบียนประวัติถนนของ อปท.
2. มีการจัดทาแผนการตรวจสอบถนนประจาปี ที่ถูกต้อง
สอดคล้องกับบัญชีทะเบียนประวัติถนนของ อปท.
3.มีการดาเนินการตรวจสอบถนนครบถ้วน เป็นไปตามแผนการ
ตรวจสอบถนนประจาปีที่กาหนด
4. รายงานผลการตรวจสอบให้ผู้บริหารรับทราบผลการ
ตรวจสอบตามแผนตรวจสอบถนนประจาปี และสั่งการ
5
-บัญชีทะเบียนประวัติถนน
(ข้อมูลจานวนถนนทุก
สายที่อยู่ในความ
รับผิดชอบของ อปท.)
เพื่อทราบจานวนถนน
ทั้งหมดของอปท.
- แผนการตรวจสอบ
ถนนประจาปี โดย
จัดลาดับการตรวจสอบ
ตามความจาเป็น
- บันทึกขออนุมัติแผน
- บันทึกรายงานผลการ
ตรวจที่ปรากฏข้อสั่งการ
ของผู้บริหารลงนาม
รับทราบผลการ
ตรวจสอบ
- แผนที่ถนน ในกรณีที่
อปท. ยังไม่มีการ
ลงทะเบียนทางหลวง
ท้องถิ่น
- มาตรฐานถนน
ทางเดิน และทางเท้า
บทที่ ๒ การจัดทา
ทะเบียนถนน หน้าที่
๕-๖ และภาคผนวก
หน้าที่ ๑-๓
- แบบฟอร์มการเก็บ
ข้อมูลถนน ทางเดิน
ทางเท้าที่เสียหาย
หน้าที่ 16-17 1. มีการจัดทาบัญชีทะเบียนประวัติถนนของ อปท.
2. มีการจัดทาแผนการตรวจสอบถนนประจาปี
ที่ถูกต้อง สอดคล้องกับบัญชีทะเบียนประวัติถนนของ อปท.
3. มีการดาเนินการตรวจสอบถนนครบถ้วน แต่ดาเนินการ
ตรวจสอบไม่เป็นไปตามที่กาหนดในแผนการตรวจสอบถนนประจาปี
4. รายงานผลการตรวจสอบให้ผู้บริหารรับทราบผลการตรวจตาม
แผนการตรวจสอบถนนประจาปี
3
 1. มีการจัดทาบัญชีทะเบียนประวัติถนนของ อปท.
2. มีการจัดทาแผนการตรวจสอบถนนประจาปีที่ถูกต้อง
สอดคล้องกับบัญชีทะเบียนประวัติถนนของ อปท. หรือหลักฐานอื่น ๆ
3.มีการดาเนินการตรวจสอบถนนแต่ไม่ครบถ้วนตามแผนการ
ตรวจสอบถนนประจาปี
4. รายงานผลการตรวจสอบให้ผู้บริหารรับทราบผลการตรวจตาม
แผนการตรวจสอบถนนประจาปี
1
 ไม่มีแผนการตรวจสอบถนนประจาปี 0
คาอธิบาย
-บัญชีทะเบียนประวัติถนนอปท.จะต้องจัดทาบัญชีทะเบียนประวัติถนนและบันทึกข้อมูลถนนให้ครบทุกสายทุกประเภทของถนนในความ
รับผิดชอบของอปท.เพื่อทราบจานวนถนนทั้งหมดของอปท.ซึ่งอาจประกอบด้วยข้อมูลเช่นรหัสสายทางชื่อสายทางชั้นของถนนระยะทาง
ประเภทผิวจราจรความกว้างของผิวจราจรปีที่ก่อสร้างข้อมูลการลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่นผู้รับผิดชอบเป็นต้น
- แผนการตรวจสอบถนนสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม แต่จะต้องรายงานผู้บริหารทราบด้วย ควรประกอบด้วย ๑)
รายละเอียดของถนนสามารถใช้ข้อมูลจากบัญชีทะเบียนประวัติถนนได้ 2) ช่วงเวลาในการตรวจสอบ
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
- ตัวอย่าง –
บัญชีทะเบียนประวัติถนน
ชื่อ อปท. .....................................................
อาเภอ.............................. จังหวัด.................................
ลาดับที่
รหัสสาย
ทาง
ชื่อสายทาง
ชั้นทาง
ในเขตเมือง
หรือในเขต
ชุมชน
(ชั้น)
ชั้นทางนอก
เขตเมือง
หรือนอก
เขตชุมชน
(ชั้น)
ระยะทาง
(กม.)
ผิวจราจรกว้าง (ม.)
รัศมีเขต
ทางจาก
ศูนย์กลาง
ถนน
(ม.)
เขตทาง
กว้าง
(ม.)
ปีที่ก่อสร้าง
(พ.ศ.)
ลงทะเบียน
เมื่อ
วัน/เดือน/ปี
เจ้าหน้าที่
รับผิดชอบ
หมายเหตุ
คสล. ลาดยาง ลูกรัง ไหล่ทาง ทางเท้า
2
3
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/
นส.สั่งการที่เกี่ยวข้อง)
1.2 ร้อยละของการซ่อมแซมถนนในความ
รับผิดชอบของ อปท. ตามรายงานผลการ
ตรวจสอบถนน ประจาปี
เกณฑ์การให้คะแนน :
 ร้อยละ 80 ขึ้นไป
 ร้อยละ 70 – 79.9
 ร้อยละ 60 – 69.9
 น้อยกว่าร้อยละ 60
5
3
1
0
- บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจานวนถนน
ทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.) เพื่อ
ทราบจานวนถนนทั้งหมดของอปท.
- แผนการตรวจสอบถนน ประจาปี โดยจัด
ลาดับการตรวจสอบตามความจาเป็นที่ปรากฏ
ข้อสั่งการของผู้บริหารลงนามรับทราบผลการ
ตรวจสอบและสั่งการ
- ผลการซ่อมแซมถนนในความรับผิดชอบของ
อปท.
- ภาพถ่ายก่อนและหลังซ่อมแซม
-ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณการ
ซ่อมแซมถนน ประจาปี 2558
- มาตรฐานถนน
ทางเดิน และทางเท้า
บทที่ ๕ การ
ตรวจสอบและบารุง
รักษาถนน หน้าที่
๑๑๑ และหน้าที่
๑๑๕ รวมทั้ง
ภาคผนวก หน้าที่
๑๖-๑๗
คาอธิบาย
- การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการตรวจสอบ หรือได้รับแจ้งถึงความเสียหายของผิวถนนแล้ว ให้เจ้าหน้าที่รับผิดชอบดาเนินการ
บันทึกข้อมูลความเสียหาย ตามแบบฟอร์มฯ ของมาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเท้า ในภาคผนวก หน้าที่ ๑๖-๑๗ แล้ว
วิเคราะห์ จัดทาเป็นรายงานผลการตรวจสอบถนนประจาปี เพื่อจัดทาแผนงบประมาณซ่อมบารุงรักษาถนนต่อไป
- ในกรณีที่ อปท. ได้รับแจ้งความเสียหายของผิวถนนและได้ลงพื้นที่ตรวจสอบแล้วพบว่ามีความจาเป็นเร่งด่วนที่จะต้อง
ซ่อมแซมโดยด่วน โดยถนนดังกล่าวอาจไม่ได้อยู่ในแผนการตรวจสอบถนน ให้สามารถปรับแผนการตรวจสอบถนนได้ตาม
ความเหมาะสม โดยต้องเสนอให้ผู้บริหารรับทราบด้วย
- วิธีการคิดร้อยละ
จานวนถนนที่ซ่อมเสร็จX100
จานวนถนนที่ต้องซ่อมทั้งหมด
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ ยกเว้นกรณีที่ไม่มีถนนต้องซ่อมแซมจากการตรวจสอบถนน
ตามข้อ 1.1 และตรวจสอบแล้วไม่มีการซ่อมแซมถนนจริง (ไม่มีการเบิกจ่ายงบประมาณในการซ่อมแซมถนน) จึงสามารถตัด
ฐานการประเมินได้
4
- ตัวอย่าง -
ประวัติการซ่อมแซมบารุงรักษาถนน
รหัสสายทาง ........................................ ชื่อสายทาง ........................................
ระยะทาง ........................................ กม. วันที่บันทึกข้อมูล ...............................
รายการซ่อมแซมบารุงรักษาและรายการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
ปีงบประมาณ
กม. ที่ ...............
ถึง กม. ที่............
รายการ
งบประมาณ
(บาท)
หมายเหตุ
5
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/
นส. สั่งการที่เกี่ยวข้อง)
1.3 ร้อยละของถนนในความรับผิดชอบ
ของ อปท. ที่ส่งไปขอลงทะเบียนเป็นทาง
หลวงท้องถิ่น ถึงปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
(ส่งเป็นหนังสือพร้อมเอกสารหลักฐานที่
ครบถ้วนถูกต้องไปยังจังหวัด)
เกณฑ์การให้คะแนน :
 ร้อยละ 90 ขึ้นไป
 ร้อยละ 80 – 89.9
 ร้อยละ 70 – 79.9
 น้อยกว่าร้อยละ 70
5
3
1
0
-บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูล
จานวนถนนทุกสายที่อยู่ในความ
รับผิดชอบของ อปท.)
- หลักฐานการส่งไปลงทะเบียนเป็นทาง
หลวงท้องถิ่น (ทถ.1 , ทถ.3 , ทถ.4 ,
ทถ.5)
- หลักเกณฑ์และแนวทางการ
ขอลงทะเบียนทางหลวง
ท้องถิ่นให้ดาเนินการตาม
นส. สถ. ด่วนที่สุด ที่ มท
0890.3/ว 634 ลว.
31 มี.ค. 2553 เรื่อง การ
ปรับปรุงการกาหนดรหัส
ทางหลวงท้องถิ่น
คาอธิบาย
- ถนน หมายถึง ถนนทุกสายของ อปท. ทั้งที่ อปท. สร้างเองและที่ได้รับการถ่ายโอน ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.
จะต้องขอลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่นทั้งหมด
- ให้ อปท. ยื่นขอลงทะเบียนถนนเป็นทางหลวงท้องถิ่นทุกสาย รวมถึงถนนที่ไม่เป็นไปตามประกาศกรมทางหลวงชนบท เรื่อง
มาตรฐานและลักษณะของทางหลวงท้องถิ่น ทางหลวงชนบท จังหวัดจะเป็นผู้เสนอความเห็นต่อผู้ว่าราชการจังหวัดให้
ลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่นได้
- การลงทะเบียนไม่กาหนดระยะเวลาการลงทะเบียน อปท. สามารถดาเนินการได้ตลอดเวลา โดยจะต้องมีเอกสารหลักฐาน
ถูกต้องและครบถ้วน จานวน 2 ชุด ได้แก่
1. แบบขอลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่น (ทถ.1)
2.แผนที่แนวเขตทางหลวง
3. รายละเอียดเส้นทางที่ลงทะเบียน (ทถ.3)
4. บัญชีเอกสารแสดงสิทธิในที่ดินแนวเขตทางหลวง (ถ้ามี)
5. สาเนาหนังสือให้หรือสละการครอบครองสิทธิ์ในที่ดิน หรือหนังสืออุทิศที่ดิน (ทถ.4) เพื่อเป็นทางสาธารณประโยชน์
ของเจ้าของที่ดิน (ถ้ามี)
6. หนังสือรับรองแนวเขตทางเพื่อเป็นทางสาธารณประโยชน์ (ทถ.5) ที่นายก อปท. ลงนาม กรณีไม่มีเอกสาร 4 หรือ 5
- การคิดคานวณร้อยละให้คิดจากจานวนเส้นถนนที่ได้ส่งไปลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่น
-วิธีการคิดร้อยละ
จานวนถนนที่ส่งไปลงทะเบียน X100
จานวนของถนนทั้งหมดของ อปท.
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
6
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/
นส. สั่งการที่เกี่ยวข้อง)
1.4 ร้อยละของถนนในความรับผิดชอบ
ของ อปท. ที่ได้ลงทะเบียนเป็นทางหลวง
ท้องถิ่น ถึงปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
เกณฑ์การให้คะแนน :
 ร้อยละ 30 ขึ้นไป
 ร้อยละ 25 – 29.9
 ร้อยละ 20 – 24.9
 น้อยกว่าร้อยละ 20
5
3
1
0
-บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูล
จานวนถนนทุกสายที่อยู่ในความ
รับผิดชอบของ อปท.)
- หลักฐานการลงทะเบียนทางหลวง
ท้องถิ่น (ทถ.1 , ทถ.3 , ทถ.4 , ทถ.5)
ตรวจหลักฐานได้ที่ อปท.
- แบบการลงทะเบียนเป็นทางหลวง
ท้องถิ่น (แบบ ทถ.2) และสมุด
ลงทะเบียนคุมสายทางทางหลวงท้องถิ่น
(แบบ ทถ.6) ตรวจหลักฐานได้ที่ สถจ.
- หลักเกณฑ์และแนวทางการ
ขอลงทะเบียนทางหลวง
ท้องถิ่นให้ดาเนินการตาม
นส. สถ. ด่วนที่สุด ที่ มท
0890.3/ว 634 ลว.
31 มี.ค. 2553
เรื่อง การปรับปรุงการ
กาหนดรหัสทางหลวง
ท้องถิ่น
คาอธิบาย
- การคิดคานวณร้อยละให้คิดจากจานวนเส้นถนนที่ได้ลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่น
-วิธีการคิดร้อยละ
จานวนถนนที่ได้ลงทะเบียน X100
จานวนของถนนทั้งหมดของ อปท.
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
7
ผังขั้นตอนการลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น
(ตาม นส. สถ. ด่วนที่สุด ที่ มท 0890.3/ว 634 ลว. 31 มี.ค. 2553)
นายก อปท. มอบหมายวิศวกรโยธาหรือ
นายช่างโยธาของ อปท. ดาเนินการ
วิศวกรโยธาหรือนายช่างโยธาของ อปท.
ที่ได้รับมอบหมายจากนายกอปท.ตรวจสอบ
1. หลักฐาน ได้แก่
(1) แผนที่แนวเขตทางหลวง มาตราส่วน
1:4,000 หรือ 1:50,000 กรณี อปท.
ไม่มีสามารถขอได้ที่ สนง.ทชจ.
(2) รายละเอียดเส้นทางที่ลงทะเบียน (ทถ.3)
(3) บัญชีเอกสารแสดงสิทธิในที่ดินแนว
เขตทางหลวง (ถ้ามี)
(4) สาเนาหนังสือให้หรือสละการครอบ
ครองสิทธิ์ในที่ดิน หรือหนังสืออุทิศที่ดิน
(ทถ.4) เพื่อเป็นทางสาธารณประโยชน์
ของเจ้าของที่ดิน (ถ้ามี)
(5) หนังสือรับรองแนวเขตทางเพื่อเป็น
ทางสาธารณประโยชน์ (ทถ.5) ที่นายก
อปท. ลงนาม กรณีไม่มีเอกสาร (3)หรือ(4)
2. ตรวจสอบคุณลักษณะของถนนตาม
ประกาศกรมทางหลวงชนบท เรื่อง
มาตรฐานและลักษณะของทางหลวง
รวมทั้งกาหนดเขตทางหลวง ที่จอดรถ
ระยะแนวต้นไม้ และเสาพาดสาย เกี่ยวกับ
ทางหลวงท้องถิ่น พ.ศ. 2550
3. จัดทาแบบ ทถ.1 ให้นายก อปท. ลงนาม
ทถจ. เสนอ ผวจ.
แต่งตั้งทางหลวง
ชนบทจังหวัด
(ทชจ.) ตรวจสอบ
อปท.ยื่นเอกสารให้ ทถจ.
ทถจ. ส่งให้เอกสารให้
(ทชจ.) ที่ได้รับการแต่งตั้ง
ตรวจสอบ
ทชจ. ตรวจสอบ
ถูกต้อง
จัดทาแบบ ทถ.2
ให้ ทถจ.นาเสนอ
ผวจ. พิจารณา
ผวจ. ลงนาม
ในแบบ ทถ.2
ทถจ.ลงทะเบียนเป็น
ทางหลวงท้องถิ่น
แจ้งผลให้ อปท.ทราบ
ทถจ. จัดทาสมุดทะเบียนคุมทาง
หลวงท้องถิ่นแยกเป็นราย อปท.
ไม่ให้ปะปนกัน (ทถ.6)
ทถจ. นาข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
สแกนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์จัดเก็บ
เป็นไฟล์ข้อมูล
ไม่ถูกต้อง
ทชจ. ส่งกลับไป
ยัง อปท.
อปท.แก้ไข
อปท. ส่งกลับไป
ยัง ทชจ. โดยตรง
8
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/
นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/
นส.สั่งการที่เกี่ยวข้อง)
1.5 ร้อยละของความยาวถนน ลาดยาง/คอนกรีตต่อความ
ยาวของถนนทั้งหมดในความรับผิดชอบของ อปท.
(ณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558)
เกณฑ์การให้คะแนน :
อบจ./เทศบาล อบต.
 ร้อยละ 95 ขึ้นไป  ร้อยละ 80 ขึ้นไป
 ร้อยละ 90–94.9  ร้อยละ 75–79.9
 ร้อยละ 85–89.9  ร้อยละ 70–74.9
 น้อยกว่าร้อยละ 85  น้อยกว่าร้อยละ 70
5
3
1
0
- บัญชีทะเบียนประวัติ
ถนน
- รายงานประจาปี
เกี่ยวกับการก่อสร้าง
ถนนลาดยาง/คอนกรีต
- ภาพถ่าย
- นส. สถ. ด่วนที่สุด ที่ มท
0890.3/ว 634 ลว. 31
มี.ค. 2553
เรื่อง การปรับปรุงการ
กาหนดรหัสทางหลวง
ท้องถิ่น
คาอธิบาย
- อปท. จัดทาบัญชีทะเบียนคุมสายทางทางหลวงท้องถิ่น ตามหนังสือ สถ. ที่อ้างถึงให้สอดคล้องกับรายงานประจาปีเกี่ยวกับ
การก่อสร้างถนนลาดยาง/คอนกรีต
- นับรวมถนนที่ได้รับการถ่ายโอนด้วย
- ไม่รวมถนนที่อยู่ในพื้นที่ปุาสงวนแห่งชาติ อุทยานแห่งชาติ และพื้นที่เขตทหาร
- วิธีการคิดร้อยละ
ความยาวถนนลาดยาง/คอนกรีต ของอปท.X100
ความยาวของถนนทั้งหมดของ อปท.
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
9
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/
นส. สั่งการที่เกี่ยวข้อง)
2.1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีไฟฟูาใช้
เกณฑ์การให้คะแนน :
 ร้อยละ 100 5
- ข้อมูล กชช. 2 ค - นโยบายรัฐบาล เรื่อง
การสร้างความเท่าเทียม
และลดความเหลื่อมล้า
 ร้อยละ 95 – 99.9 3
 ร้อยละ 90 – 94.9 1
 น้อยกว่าร้อยละ 90 0
คาอธิบาย
- รวมถึงระบบไฟฟูาด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องกาเนิดไฟฟูาประเภทอื่น ๆ
- ไม่รวมพื้นที่ปุาสงวนแห่งชาติ อุทยานแห่งชาติ พื้นที่เขตทหาร
 จะต้องประเมินทุก อบต.และเทศบาลไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ ยกเว้น อบจ. ไม่ต้องประเมินข้อนี้
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/
นส. สั่งการที่เกี่ยวข้อง)
2.2 ร้อยละของถนนสายหลักที่มีการ
ติดตั้งไฟฟูาสาธารณะตามจุดเสี่ยงต่างๆ
และสามารถใช้งานได้
เกณฑ์การให้คะแนน :
 ติดตั้งครบทุกจุดเสี่ยง 5
- ข้อมูลถนนสายหลักของ อปท.
- แบบแปลนหรือแผนผังการติดตั้ง
ไฟฟูาสาธารณะหรือสุ่มดูข้อมูลตาม
จุดเสี่ยง
- หนังสือร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง
- ภาพถ่าย ติดตั้งได้ร้อยละ 90 -99.9 ของจุด
เสี่ยงทั้งหมด
3
 ติดตั้งได้ร้อยละ 80 -89.9 ของจุด
เสี่ยงทั้งหมด
1
 ติดตั้งได้น้อยกว่าร้อยละ 80 0
คาอธิบาย
- จุดเสี่ยง หมายถึง จุดที่อาจก่อให้เกิดอันตราย เช่น ทางโค้ง ทางแยก วงเวียน ฯลฯ
- ถนนสายหลัก หมายถึง ถนนสายหลักของท้องถิ่น เช่น ถนนที่ต่อเชื่อมกับทางหลวงแผ่นดิน ถนนในเขตชุมชน
หนาแน่น ถนนที่ใช้ในการเดินทางเชื่อมต่อจุดสาคัญๆ เป็นต้น
- ในการกาหนดถนนสายหลักและจุดเสี่ยงควรเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน เช่น การทาประชาคม
การแต่งตั้งคณะกรรมการกาหนดถนนสายหลักและจุดเสี่ยง เป็นต้น
- รวมถึงการติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบ
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
10
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/
นส. สั่งการที่เกี่ยวข้อง)
2.3 ร้อยละของถนนสายหลักที่อยู่ใน
ความรับผิดชอบของ อปท. ที่มีการติดตั้ง
ไฟฟูาสาธารณะตลอดสาย และสามารถ
ใช้งานได้
เกณฑ์การให้คะแนน :
 ร้อยละ 60 ขึ้นไป 5
- ข้อมูลถนนสายหลักของ อปท.
- แผนงาน/โครงการติดตั้งไฟฟูา
สาธารณะ
- แบบแปลน/แผนผังแสดงที่ตั้ง
ไฟฟูาสาธารณะ
- ภาพถ่าย
 ร้อยละ 45 – 59.9 3
 ร้อยละ 35 – 44.9 1
 น้อยกว่าร้อยละ 35 0
คาอธิบาย
ถนนสายหลัก หมายถึง ถนนสายหลักของท้องถิ่น เช่น ถนนที่ต่อเชื่อมกับทางหลวงแผ่นดิน ถนนในเขตชุมชนหนาแน่น
ถนนที่ใช้ในการเดินทางเชื่อมต่อจุดสาคัญๆ เป็นต้น
- สามารถดูรายละเอียดการติดตั้งไฟฟูาสาธารณะบนถนนสายหลักจากมาตรฐานไฟฟูาสาธารณะ
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
11
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/
นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./
ระเบียบ/นส. สั่งการ
ที่เกี่ยวข้อง)
2.4 การดูแลบารุงรักษา/ซ่อมแซมไฟฟูาสาธารณะ
และไฟฟูาตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบ
ของ อปท.
เกณฑ์การให้คะแนน :
 1. มีแผนการตรวจสอบไฟฟูาสาธารณะและ
ไฟฟูาตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ
อปท. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
2. ได้รับการอนุมัติแผนฯ จากผู้บริหารอปท.
3.ดาเนินการตรวจสอบตามแผน
4. รายงานให้ผู้บริหารรับทราบ/สั่งการ
5. มีการดาเนินการตามข้อสั่งการของผู้บริหาร
อปท.
 1. มีแผนการตรวจสอบไฟฟูาสาธารณะและ
ไฟฟูาตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ
อปท. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
2. ได้รับการอนุมัติแผนฯ จากผู้บริหารอปท.
3.ดาเนินการตรวจสอบตามแผน
 1. มีแผนการตรวจสอบไฟฟูาสาธารณะและ
ไฟฟูาตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ
อปท. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
2. ได้รับการอนุมัติแผนฯ จากผู้บริหาร อปท.
 ไม่มีแผนการตรวจสอบไฟฟูาสาธารณะและไฟฟูา
ตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
5
3
1
0
- แผนการตรวจสอบไฟฟูา
สาธารณะ และไฟฟูาตามจุด
เสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความ
รับผิดชอบของ อปท.
- บันทึกขออนุมัติแผนการ
ตรวจสอบไฟฟูาสาธารณะ และ
ไฟฟูาตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่
ในความรับผิดชอบของ อปท.
- รายงานผลการตรวจสอบ
ไฟฟูาสาธารณะ และไฟฟูา
ตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ใน
ความรับผิดชอบของ อปท.
-หลักฐานผลการดาเนินงานตาม
แผนการตรวจสอบไฟฟูา
สาธารณะ และไฟฟูาตามจุด
เสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความ
รับผิดชอบของ อปท.
- อปท. จัดซื้อจัดจ้าง
จากเอกชนดาเนินการ
-ฎีกาการเบิกจ่ายเงิน
งบประมาณประจาปี 2558
- แบบแจ้ง/หนังสือร้องเรียน
- มาตรฐานไฟฟูา
สาธารณะ บทที่ ๔
คาอธิบาย
- อปท. ควรจัดให้มีศูนย์รับแจ้งเหตุและให้บริการไฟฟูาสาธารณะ โดยจัดให้มีผู้อยู่เวรยามประจาสานักงานทาหน้าที่รับแจ้ง
เหตุไฟฟูาเสีย/ขัดข้องนอกเวลาราชการ (ตลอด ๒๔ ชั่วโมง) ได้หลายวิธี เช่น แจ้งเหตุโดยการเขียนหนังสือคาร้อง/หนังสือ
ร้องเรียน ทางโทรศัพท์ ทางเว็บไซต์ของ อปท. ทางวิทยุสื่อสารงานปูองกัน อปพร. เป็นต้น
- อปท. รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลการดูแลบารุงรักษา/ซ่อมแซม ไฟฟูาสาธารณะ และดาเนินการ ดังนี้
๑.จัดทาแผนตรวจสอบไฟฟูาสาธารณะฯ
๒.ขออนุมัติแผนการตรวจสอบจากผู้บริหาร
๓. รายงานผลการตรวจสอบและดาเนินการตามแผนต่อผู้บริหาร
4.ดาเนินการบารุงรักษา/ซ่อมแซมไฟฟูาสาธารณะ
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
12
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/
นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./
ระเบียบ/นส. สั่งการ
ที่เกี่ยวข้อง)
3.1 ร้อยละของถนนที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.
ที่มีทางระบายน้า ที่สามารถระบายน้าไม่ให้ท่วมขังถนนได้
เกณฑ์การให้คะแนน :
อบจ./เทศบาล อบต.
 ร้อยละ 90 ขึ้นไป  ร้อยละ 70 ขึ้นไป
 ร้อยละ 80–89.9  ร้อยละ 60–69.9
 ร้อยละ 70–79.9  ร้อยละ 50–59.9
 น้อยกว่าร้อยละ 70  น้อยกว่าร้อยละ 50
5
3
1
0
- แผนงาน/โครงการก่อสร้าง
ถนน และทางระบายน้า
- สอบถามจากผู้นาหมู่บ้าน/
ชุมชน
- ภาพถ่าย
คาอธิบาย
ดัชนีชี้วัดของการมีทางระบายน้า(เหตุบ่งชี้)
- เมื่อฝนตกเกิดน้าท่วมขังที่ชุมชนเกินกว่า ๓๐ นาที
- ความหนาแน่นชุมชน มีจานวนเกินกว่า ๑๐๐ หลังคาเรือน
- น้าท่วมขังซ้าซากทาให้ประชาชนเดือดร้อนหรือ ไม่ได้รับความสะดวก
- ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ลุ่มต่าหรือเป็นแอ่งกระทะ
- สถิติน้าฝนย้อนหลังของพื้นที่ชุมชนมีปริมาณสูง มีการร้องขอหรือการแจ้งเหตุจากประชาชน ฯลฯ
- ทางระบายน้า รวมถึงรางรูปตัววีหรือร่องน้า/ทางน้าธรรมชาติ ท่อลอด
- อปท. อาจมีการดาเนินการจัดทารายการโครงสร้างระบายน้า เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการปฏิบัติงาน
- วิธีการคิดร้อยละ
จานวนถนนของ อปท.ที่มีทางระบายน้า X 100
จานวนถนนของ อปท. ทั้งหมด
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
13
- ตัวอย่าง-
รายการโครงสร้างระบายน้า
รหัสสายทาง ........................................ ชื่อสายทาง ........................................
ระยะทาง ........................................ กม. วันที่บันทึกข้อมูล ...............................
ลาดับ
ที่
กม. ที่
สะพาน
กว้าง x ยาว
(ม.)
ท่อหลอดเหลี่ยม
(ม.)
ท่อ คสล. ชนิด
กลม (ม.)
รางระบายน้า /
ท่อระบายน้า
ข้างทาง (ม.)
หมายเหตุ
หมายเหตุ ความกว้างสะพานเป็นความกว้างผิวจราจรไม่รวมทางเท้า
14
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/
นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./
ระเบียบ/นส. สั่งการ
ที่เกี่ยวข้อง)
4.1 การตรวจสอบคุณภาพน้าอุปโภคบริโภคของ
อปท. ให้ครบทุกหมู่บ้าน/ชุมชน
เกณฑ์การให้คะแนน :
 อปท. จัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพน้าอุปโภค
บริโภค ภายใน 1 ปี โดยมีผลรายงานการตรวจสอบ
จากหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ในการตรวจสอบ
คุณภาพน้าและมีผลดาเนินการสืบเนื่องจากการ
ตรวจสอบ
 อปท. จัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพน้าอุปโภค
บริโภค ภายใน 3 ปี โดยมีผลรายงานการตรวจสอบ
จากหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ในการตรวจสอบ
คุณภาพน้าและมีผลดาเนินการสืบเนื่องจากการ
ตรวจสอบ
 อปท. จัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพน้าอุปโภค
บริโภค ภายใน 3 ปี โดยมีผลรายงานการตรวจสอบ
จากหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ในการตรวจสอบ
คุณภาพน้า
ไม่มีการตรวจสอบคุณภาพน้าอุปโภคบริโภค
5
3
1
0
- รายงานผลการตรวจสอบ
คุณภาพน้าที่ได้มาตรฐานน้า
อุปโภคบริโภค จากหน่วยงาน
ที่มีอานาจหน้าที่ในการ
ตรวจสอบคุณภาพน้า
- ผลดาเนินการสืบเนื่องจาก
การตรวจสอบ
- ภาพถ่าย
- มาตรฐานระบบน้า
สะอาด
บทที่ 2 มาตรฐาน
ตัวชี้วัดการจัดบริการ
ระบบน้าสะอาด
บทที่ 3 แนวทางปฏิบัติ
ในการจัดบริการระบบ
น้าสะอาด
บทที่ 4 การพัฒนา
มาตรฐานน้าสะอาด
ในอนาคต
- นส.สถ. ที่ มท
0891.2 / ว 1694
ลว.13 ส.ค. 2558
คาอธิบาย
- ผลดาเนินการสืบเนื่อง หมายถึง ประชาสัมพันธ์ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าให้ประชาชนทราบหรือดาเนินการแก้ไขน้าให้มี
คุณภาพ
- กรณีที่ อปท. ไม่ได้ดาเนินกิจการประปาเอง แต่เป็นการดาเนินการของการประปาส่วนภูมิภาค อปท. จะต้องมีการสุ่ม
เก็บตัวอย่างน้าและส่งไปตรวจสอบคุณภาพน้าอุปโภคบริโภคเองด้วย (ไม่ใช้ผลการตรวจสอบของการประปาส่วนภูมิภาค)
- การตรวจสอบคุณภาพน้าให้ตรวจครบทุกหมู่บ้านหรือชุมชนอย่างน้อยหมู่บ้านหรือชุมชนละ1 แห่งเป็นอย่างต่า ณ แหล่งผลิต/
แหล่งจ่ายน้าใน อปท. ทุกแห่งและหรือสุ่มตรวจที่ปลายทาง
- หน่วยงานที่ตรวจสอบคุณภาพน้า ภูมิภาค เช่น
1. สานักทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภาค 1 - 16
2.ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์
3. สถาบันการศึกษาที่มีห้อง ปฏิบัติการตรวจคุณภาพน้า
ส่วนกลาง เช่น
1. กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์
2. กรมอนามัย
3. กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เอกชน (ในกากับของรัฐ)
- บริษัทปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จากัด หน่วยงานในกากับของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โทร.0-2940-6881-3
 จะต้องประเมินทุก อบต.และเทศบาล ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ ยกเว้น อบจ. ไม่ต้องประเมินข้อนี้
15
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/
นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./
ระเบียบ/นส. สั่งการ
ที่เกี่ยวข้อง)
4.2 ร้อยละของครัวเรือนที่มีน้าประปาใช้และมี
ปริมาณเพียงพอต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง
เกณฑ์การให้คะแนน :
 ร้อยละ 90 ขึ้นไป
 ร้อยละ 80 – 89.9
 ร้อยละ 70 – 79.9
 น้อยกว่าร้อยละ 70
5
3
1
0
- ข้อมูล กชช. 2 ค
- สอบถามจากผู้นาหมู่บ้าน/
ชุมชน
- รายงานการยืนยัน/
ตรวจสอบจากผู้นาชุมชน/
กานัน/ผู้ใหญ่บ้าน
- นโยบายรัฐบาล เรื่อง
การสร้างความเท่าเทียม
และลดความเหลื่อมล้า
คาอธิบาย
- น้าประปา รวมถึง น้าประปาภูเขา หรือประปาหมู่บ้าน ฯลฯ
- ให้ อปท. ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น การประปาส่วนภูมิภาค ประปาของกรมอนามัย เป็นต้น ในการจัดทาฐานข้อมูล
ผู้ใช้น้าประปาในเขตพื้นที่ของตน
 จะต้องประเมินทุก อบต.และเทศบาล ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ ยกเว้น อบจ. ไม่ต้องประเมินข้อนี้
16
5. ด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชน
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./
ระเบียบ/นส. สั่งการ
ที่เกี่ยวข้อง)
5.1 จานวนกิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุน
เพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชน นอกเหนือจาก
กิจกรรมด้านกีฬาและการศึกษา (ทั้งที่ใช้และไม่ใช้
งบประมาณของ อปท. หรือใช้งบประมาณของ
หน่วยงานอื่น)
เกณฑ์การให้คะแนน :
 11 กิจกรรม ขึ้นไป
 8 – 10 กิจกรรม
 5 - 7 กิจกรรม
 น้อยกว่า 5 กิจกรรม
5
3
1
0
- แผนงาน/โครงการกิจกรรม แต่
ละประเภท
- ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณ
รายจ่ายฯ
-ภาพถ่ายกิจกรรม
-ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ประจาปี 2558
- หนังสือแจ้งขอความร่วมมือกรณี
ได้รับการประสานจากหน่วยงานอื่น
กรณีไม่ใช้งบประมาณของ อปท.
- มาตรฐานการพัฒนา
เด็กและเยาวชน
บทที่ 2 คุณลักษณะและ
ตัวชี้วัด ต่อปัญหาเด็ก
และเยาวชนไทย
บทที่ 3 กรอบมาตรฐาน
และตัวบ่งชี้สาคัญ
คาอธิบาย
- อปท. สามารถใช้งบประมาณในการดาเนินการเองหรือใช้งบประมาณ เพื่อสนับสนุนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนก็ได้
- ในการนับจานวนกิจกรรมสามารถนับรวมกิจกรรม ทั้งที่ อปท. จัดเองหรือขอให้หน่วยงานอื่นจัดให้หรือร่วมกับหน่วยงานอื่น
ในการจัดกิจกรรม
- โดยกิจกรรมที่จัดอาจใช้งบประมาณ หรือไม่ใช้งบประมาณในการจัดก็ได้
- การนับจานวนกิจกรรมให้นับ1โครงการ1กิจกรรมตามนส.สถ.ด่วนที่สุดที่ มท0892.2/ว930ลว.8พ.ค.2558
- สามารถนับรวมกิจกรรมที่ใช้งบประมาณของท้องถิ่นหรือใช้งบประมาณของหน่วยงานอื่นก็ได้ แต่ อปท. ต้องมีส่วนร่วมใน
การจัดกิจกรรม
- ตัวอย่างกิจกรรม เช่น การให้ความรู้ต่าง ๆ การรณรงค์ส่งเสริมประชาธิปไตย อบรมยาเสพติด ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้
ค่ายคุณธรรม ค่ายเยาวชนต้นกล้า หนูน้อยรักความสะอาด เป็นต้น
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
17
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./
ระเบียบ/นส. สั่งการ
ที่เกี่ยวข้อง)
5.2 จานวนความหลากหลายของประเภท
กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนเพื่อการพัฒนา
เด็กและเยาวชน นอกเหนือจากด้านกีฬาและ
การศึกษา (ทั้งที่ใช้งบประมาณ ของ อปท. หรือใช้
งบประมาณของหน่วยงานอื่น)
เกณฑ์การให้คะแนน :
 4 ประเภทกิจกรรมขึ้นไป
 3 ประเภทกิจกรรม
 2 ประเภทกิจกรรม
 น้อยกว่า 2 ประเภทกิจกรรม
5
3
1
0
- แผนงาน/โครงการกิจกรรม แต่
ละประเภท
- ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณ
รายจ่ายฯ
-ภาพถ่ายกิจกรรม
- ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ประจาปี 2558
- หนังสือแจ้งขอความร่วมมือกรณี
ได้รับการประสานจากหน่วยงานอื่น
กรณีไม่ใช้งบประมาณของ อปท.
- มาตรฐานการพัฒนา
เด็กและเยาวชน
บทที่ 2 คุณลักษณะและ
ตัวชี้วัด ต่อปัญหาเด็ก
และเยาวชนไทย
บทที่ 3 กรอบมาตรฐาน
และตัวบ่งชี้สาคัญ
คาอธิบาย
- จัดให้มีกิจกรรมที่มีความหลากหลายรูปแบบ เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน ในด้านต่างๆ ทั้งนี้ไม่รวมกิจกรรมด้านกีฬาและ
การศึกษา
- ในการนับจานวนกิจกรรมสามารถนับรวมกิจกรรม ทั้งที่ อปท.จัดเองหรือขอให้หน่วยงานอื่นจัดให้หรือร่วมกับหน่วยงานอื่นใน
การจัดกิจกรรม
- โดยกิจกรรมที่จัดอาจใช้งบประมาณ หรือไม่ใช้งบประมาณในการจัดก็ได้
- สามารถนับรวมกิจกรรม ที่ใช้งบประมาณของท้องถิ่นหรือใช้งบประมาณของหน่วยงานอื่นก็ได้ แต่ อปท. ต้องมีส่วนร่วมใน
การจัดกิจกรรม
- ตัวอย่างประเภทกิจกรรม เช่น การส่งเสริมการแสดงออก การรณรงค์ การให้ความรู้ ค่ายกิจกรรม เป็นต้น
- อปท. สามารถศึกษาตัวอย่างโครงการ/กิจกรรมและประเภทของโครงการ/กิจกรรม ได้จากมาตรฐานการพัฒนาเด็กและ
เยาวชนของ สถ.
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
18
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./
ระเบียบ/นส. สั่งการ
ที่เกี่ยวข้อง)
5.3 ร้อยละของการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อการ
พัฒนาเด็กและเยาวชนของ อปท. นอกเหนือ จาก
ด้านกีฬา และการศึกษา
เกณฑ์การให้คะแนน :
 ร้อยละ 5 ขึ้นไป
 ร้อยละ 4-4.9
 ร้อยละ 3-3.9
 น้อยกว่าร้อยละ 3
5
3
1
0
- ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายฯ
- ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ประจาปี 2558
คาอธิบาย
- เป็นการประเมินประสิทธิภาพของ อปท. ในการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน โดยวัดจากร้อยละของการใช้จ่าย
งบประมาณเพื่อการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนของ อปท. ดังกล่าว
- ไม่รวมเงินอุดหนุนทั่วไปกาหนดวัตถุประสงค์ ที่ อปท. ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
- ตรวจสอบจากเอกสารหลักฐานข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ เปรียบเทียบกับฎีกาเบิกจ่ายงบประมาณ
ประจาปี 2558 เพื่อให้ทราบถึงการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ในการพัฒนาเด็กและเยาวชน ทั้งนี้ไม่รวมด้านกีฬาและ
การศึกษา
- ดูวิธีการคิดร้อยละการใช้จ่ายงบประมาณท้ายเล่ม*
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
19
6. ด้านการส่งเสริมกีฬา
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./
ระเบียบ/นส. สั่งการ
ที่เกี่ยวข้อง)
6.1 ร้อยละของการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อการ
ส่งเสริมกีฬาของ อปท.
เกณฑ์การให้คะแนน :
 ร้อยละ 5 ขึ้นไป
 ร้อยละ 4-4.9
 ร้อยละ 3-3.9
 น้อยกว่าร้อยละ 3
5
3
1
0
- ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายฯ
- ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ประจาปี 2558
คาอธิบาย
- เป็นการประเมินประสิทธิภาพของ อปท. ในการส่งเสริมกีฬา โดยวัดจากร้อยละของการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อการส่งเสริม
กีฬาของ อปท. ซึ่งการใช้จ่ายงบประมาณดังกล่าว
- ไม่รวมเงินอุดหนุนทั่วไปกาหนดวัตถุประสงค์ ที่ อปท. ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
- ตรวจสอบจากเอกสาร หลักฐานข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ เปรียบเทียบกับฎีกาเบิกจ่ายงบประมาณ
ประจาปี 2558 เพื่อให้ทราบถึงการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ในการส่งเสริมกีฬา
- ดูวิธีการคิดร้อยละการใช้จ่ายงบประมาณท้ายเล่ม*
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
20
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./
ระเบียบ/นส. สั่งการ
ที่เกี่ยวข้อง)
6.2 จานวนลานกีฬา/สนามกีฬา ที่ อปท.
ดาเนินการจัดให้มี เพื่อให้ประชาชนได้ใช้ในการ
แข่งขันกีฬา หรือออกกาลังกาย (ทั้งที่ใช้และไม่ใช้
งบประมาณของ อปท. หรือใช้งบประมาณของ
หน่วยงานอื่น)
เกณฑ์การให้คะแนน :
 มีสนามกีฬากลางเอนกประสงค์ของ อปท.
และมีลานกีฬา/สนามกีฬาครบทุกหมู่บ้าน/ชุมชน
 มีสนามกีฬากลางเอนกประสงค์ของ อปท.
และมีลานกีฬา/สนามกีฬาอย่างน้อยร้อยละ 50
ของหมู่บ้าน/ชุมชน
 มีสนามกีฬากลางเอนกประสงค์ของ อปท.
หรือมีลานกีฬา/สนามกีฬาครบทุกหมู่บ้าน/ชุมชน
 ไม่มีสนามกีฬากลางเอนกประสงค์ของ อปท.
หรือมีลานกีฬา/สนามกีฬาไม่ครบทุกหมู่บ้าน/ชุมชน
5
3
1
0
- ข้อมูลลานกีฬา/สนามกีฬา
- ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายฯ
- ภาพถ่ายโครงการ
- มาตรฐานการส่งเสริม
กีฬา
บทที่ 3 แนวทางการจัด
มาตรฐานการส่งเสริมกีฬา
ของ อปท.
บทที่ 4 ตัวชี้วัดการ
ส่งเสริมกีฬาของ อปท.
บทที่ 5 แนวทางและ
ขั้นตอนปฏิบัติตาม
มาตรฐานการส่งเสริมกีฬา
คาอธิบาย
- สนามกีฬากลางเอนกประสงค์ หมายถึง สนามกีฬาหลักของ อปท. ที่จัดให้ประชาชนใช้ในการแข่งขันกีฬา หรือออก
กาลังกาย เช่น ใช้เล่นฟุตบอล บาสเก็ตบอล วอลเล่ย์บอล เซปักตะกร้อ เป็นต้น ซึ่งอาจเป็นสนามหญ้า สนามดิน คอนกรีต
หรือแอสฟัลต์ และเป็นสนามที่ก่อสร้างได้มาตรฐาน
- ลานกีฬา/สนามกีฬา หมายถึง สนามที่ อปท. จัดให้เด็ก เยาวชน และประชาชน ได้เล่นกีฬาหรือออกกาลังกายประเภท
หนึ่งประเภทใดอย่างถาวร (หรือเป็นลานโล่งกว้างตามปริมาณพื้นที่ที่จะจัดหาได้ สามารถใช้เพื่อการเล่นกีฬาหรือออกกาลัง
กายได้)
- ให้นับรวมสนามกีฬาของโรงเรียนในสังกัด อปท. ด้วย
- แต่ถ้าเป็นโรงเรียนที่ไม่ได้สังกัด อปท. แต่ อปท. ได้มีส่วนร่วมหรือสนับสนุน เช่น การพัฒนาปรับปรุงสนามกีฬา สามารถ
นับรวมได้
- ในกรณีที่มีการจัดให้มีลานกีฬา/สนามกีฬาในวัด หรือสถานที่อื่นๆ อปท. จะต้องมีส่วนร่วมหรือสนับสนุน
- โดยมีหลักฐานที่สามารถยืนยันได้
 จะต้องประเมินทุก อบต.และเทศบาล ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ ยกเว้น อบจ. ไม่ต้องประเมินข้อนี้
21
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./
ระเบียบ/นส. สั่งการ
ที่เกี่ยวข้อง)
6.3 ร้อยละของลานกีฬา/สนามกีฬาที่ประชาชน
สามารถใช้เล่นกีฬาและนันทนาการในเวลา
กลางคืน (สามารถใช้งานได้)
เกณฑ์การให้คะแนน :
 ร้อยละ 20 ขึ้นไป
 ร้อยละ 17 – 19.9
 ร้อยละ 14 – 16.9
 น้อยกว่าร้อยละ 14
5
3
1
0
- ข้อมูลลานกีฬา/สนามกีฬา
- ภาพถ่ายลานกีฬา/สนามกีฬาใน
เวลากลางคืน/กลางวัน
- สอบถามผู้นาหมู่บ้าน/ชุมชน
- ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายฯ
- ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ประจาปี 2558
- หนังสือยืนยันจากผู้นาชุมชน/
ประชาชน/กานัน/ผู้ใหญ่บ้าน
- มาตรฐานการส่งเสริม
กีฬา
บทที่ 3 แนวทางการจัด
มาตรฐานการส่งเสริมกีฬา
ของ อปท.
บทที่ 4 ตัวชี้วัดการ
ส่งเสริมกีฬาของ อปท.
บทที่ 5 แนวทางและ
ขั้นตอนปฏิบัติตาม
มาตรฐานการส่งเสริมกีฬา
คาอธิบาย
- เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนได้เล่นกีฬาและนันทนาการได้ในเวลากลางคืน โดย อปท. ควรจัดให้มีสิ่งอานวยความ
สะดวกตามความเหมาะสม และมีความปลอดภัย ในการเข้ามาใช้บริการลานกีฬา/สนามกีฬาของประชาชน และมีการ
บารุงรักษาให้สามารถใช้การได้ตลอดเวลา
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
22
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./
ระเบียบ/นส. สั่งการ
ที่เกี่ยวข้อง)
6.4 จานวนกิจกรรมหลักเพื่อการส่งเสริมกีฬา
ของ อปท.
1. มีการบริหารจัดการด้านการส่งเสริมกีฬา
ได้แก่
- มีการจัดตั้งคณะกรรมการด้านการส่งเสริม
กีฬา
-มีการตั้งข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณ
รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เพื่อ
การส่งเสริมกีฬาของ อปท. และมีการเบิกจ่าย
งบประมาณได้อย่างน้อยร้อยละ 80 ของ
ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติที่ตั้งไว้
- มีการสนับสนุนให้มีการจัดตั้งชมรม/สโมสร
การออกกาลังกายหรือการเล่นกีฬา ตามความ
สนใจของประชาชน
- มีการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ เพื่อให้คาแนะนาใน
การเล่นกีฬาและออกกาลังกาย
2. การจัดให้มีสถานที่สาหรับการเล่นกีฬา การ
ออกกาลังกาย กิจกรรมนันทนาการ ได้แก่
- การจัดให้มีสนามกีฬากลางอเนกประสงค์
ของ อปท. และมีลานกีฬา/สนามกีฬา
- การจัดให้มีบริการให้ลานกีฬาสนามกีฬาที่
ประชาชนสามารถใช้เล่นกีฬาและนันทนาการได้
ทั้งกลางวันและกลางคืน
- การจัดให้มีอาคารกีฬาในร่ม
- การจัดให้มีสนามกีฬากลางแจ้ง
- การบารุงรักษาสนามกีฬาประจาจังหวัด
- การจัดให้มีสวนสาธารณะ สวนสุขภาพ เพื่อ
การออกกาลังกาย
3. การจัดให้มีอุปกรณ์กีฬาและอุปกรณ์การ
ออกกาลังกาย ได้แก่
- จัดให้มีอุปกรณ์กีฬา/อุปกรณ์การออกกาลัง
กายที่ได้มาตรฐาน มีจานวนเพียงพอต่อความ
ต้องการ รวมถึงมีการจัดทาบัญชีอุปกรณ์กีฬา/
อุปกรณ์การออกกาลังกาย และมีสถานที่เก็บ
อุปกรณ์ดังกล่าว
- มีการจัดทาบัญชีการยืม-คืน/ขอใช้อุปกรณ์
กีฬาและอุปกรณ์การออกกาลังกาย
- ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายฯ
- ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ประจาปี 2558
- คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด้าน
การส่งเสริมกีฬา
- บัญชีรายชื่อชมรม/สโมสรการ
ออกกาลังกายหรือการเล่นกีฬา
- ข้อมูลลานกีฬา/สนามกีฬา
- ภาพถ่ายต่าง ๆ เช่น สนามกีฬา/
ลานกีฬา การเล่นกีฬา/การออก
กาลังกายในเวลากลางวันและ
กลางคืน การแข่งขันกีฬา เป็นต้น
- บัญชีอุปกรณ์กีฬา/อุปกรณ์การ
ออกกาลังกาย
มาตรฐานการส่งเสริม
กีฬา
23
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./
ระเบียบ/นส. สั่งการ
ที่เกี่ยวข้อง)
4. การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬา/
การออกกาลังกาย ได้แก่
- การจัดแข่งขันกีฬาระดับหมู่บ้าน/ชุมชน/
โรงเรียน
- การจัดแข่งขันกีฬาระดับอาเภอหรือระดับ
จังหวัด
- การจัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬา/การออก
กาลังกายประจาสัปดาห์
- การจัดกิจกรรมหรือสนับสนุนให้มีการจัด
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬา/ออกกาลังกาย
แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน
- การสนับสนุนให้มีกิจกรรมการตรวจสุขภาพ/
สมรรถภาพทางกาย และให้คาแนะนาในการเล่น
กีฬา
เกณฑ์การให้คะแนน :
 มีการดาเนินการ 3 – 4 กิจกรรมหลัก
มีการดาเนินการ2กิจกรรมหลัก
มีการดาเนินการ1กิจกรรมหลัก
 ไม่มีการดาเนินการ
5
3
1
0
คาอธิบาย
- การจัดให้มีสถานที่สาหรับการเล่นกีฬา การออกกาลังกาย หรือกิจกรรม นันทนาการ ควรจัดในลักษณะชนิดและประเภท
กีฬาที่หลากหลาย รวมถึงการพักผ่อนหย่อนใจ โดยสถานที่ดังกล่าวอาจดาเนินการเอง หรือได้รับการถ่ายโอน หรือร่วมกับ
หน่วยงานอื่นในการดาเนินการ
- การจัดแข่งกีฬา รวมถึง การแข่งขันกีฬาของประชาชนทั่วไป กีฬานักเรียน กีฬาของ อปท. ในระดับต่าง ๆ
- ในการดาเนินกิจกรรมย่อยต่าง ๆ ในแต่ละกิจกรรมหลัก อปท. สามารถพิจารณาดาเนินการได้ตามความเหมาะสม
อานาจหน้าที่ และศักยภาพของแต่ละ อปท.
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
24
7. ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/
นส.สั่งการที่เกี่ยวข้อง)
7.1 จานวนกิจกรรมที่ อปท. ดาเนินการ
เพื่อพัฒนาผู้สูงอายุ นอกเหนือจากการ
จ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ (ไม่ใช่กิจกรรม
พัฒนาผู้สูงอายุเฉพาะบุคคล)
เกณฑ์การให้คะแนน :
 7 กิจกรรม ขึ้นไป
 5 - 6 กิจกรรม
 3 - 4 กิจกรรม
 น้อยกว่า 3 กิจกรรม
5
3
1
0
- ฐานข้อมูลผู้สูงอายุ
- ภาพถ่ายกิจกรรม/โครงการ
- กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัด
อาจใช้จ่ายจากเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้
- ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ
- สาเนาโครงการ
- ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจาปี
2558
- หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่จัด
กิจกรรม
- มาตรฐานการ
ดาเนินงานด้านผู้สูงอายุ
บทที่ 4 ตัวชี้วัดขั้น
พื้นฐานและตัวชี้วัดขั้น
พัฒนา
คาอธิบาย
- เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ที่นอกเหนือจากการจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ และเป็นกิจกรรมที่
ทาให้กับผู้สูงอายุในภาพรวมของพื้นที่ มิใช่เป็นการพัฒนาผู้สูงอายุบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
- ในการนับจานวนกิจกรรมสามารถนับรวมกิจกรรม ทั้งที่ อปท. จัดเองหรือขอให้หน่วยงานอื่นจัดให้หรือร่วมกับหน่วยงานอื่น
ในการจัดกิจกรรม
- นับรวมทั้งกิจกรรมที่ใช้งบประมาณของ อปท. และไม่ใช้งบประมาณของ อปท. (อปท. เป็นผู้ดาเนิน การหรือมีส่วนร่วมใน
การดาเนินโครงการ)
- โดยกิจกรรมที่จัดอาจใช้งบประมาณ หรือไม่ใช้งบประมาณในการจัดก็ได้
- การนับจานวนกิจกรรมให้นับ1โครงการ1กิจกรรมตามนส.สถ.ด่วนที่สุดที่ มท0892.2/ว930ลว.8พ.ค.2558
- ตัวอย่างกิจกรรมเพื่อการพัฒนาผู้สูงอายุ
- ด้านการเตรียมความพร้อมของผู้สูงอายุ เช่น การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับคนทุกวัย การให้การศึกษา
สาหรับผู้สูงอายุ การส่งเสริมวินัยการออม การเข้าร่วมเป็นสมาชิกกองทุนการออมต่าง ๆ การจัดทาฐานข้อมูลผู้สูงอายุ เป็นต้น
- ด้านสุขภาพและการรักษาพยาบาล เช่น การออกกาลังกายในผู้สูงอายุ การบริการให้คาปรึกษา เกี่ยวกับสุขภาพและ
โรคภัยไข้เจ็บ การตรวจสุขภาพประจาปี การตรวจคัดกรองโรคต่าง ๆ การให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ผู้สูงอายุ การใช้ยาในผู้สูงอายุ การตรวจ/ให้ความรู้ในการรักษาช่องปากและฟัน รวมถึงการส่งเสริมการออกกาลังกายสาหรับ
ผู้สูงอายุ เป็นต้น
- ด้านการส่งเสริมรายได้ เช่น การส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุที่เหมาะสมกับสภาพร่างกาย การส่งเสริมการรวมกลุ่มของ
ผู้สูงอายุในรูปของกลุ่ม ชมรมหรือสมาคมผู้สูงอายุในการทากิจกรรมต่าง ๆ เป็นต้น
- ด้านนันทนาการ การสร้างรอยยิ้มให้กับผู้สูงอายุ เช่น การศึกษาดูงานนอกสถานที่ การแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน การจัด
การละเล่นต่าง ๆ การเล่นดนตรีพื้นบ้าน เป็นต้น
- ด้านศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การรดน้าดาหัวผู้สูงอายุในวันสงกรานต์ การบรรยาย
ธรรมะ การปฏิบัติธรรม การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นจากผู้สูงอายุสู่ลูกหลาน เป็นต้น
- ด้านการคุ้มครองทางสังคม เช่น การจัดสิ่งอานวยความสะดวกแก่ผู้สูงอายุ การส่งเสริมการรวมกลุ่ม/ชมรมของผู้สูงอายุ
การจัดตั้งศูนย์ Hot Line ให้ความรู้/แนะนา/ช่วยเหลือ แจ้งเหตุ ผู้สูงอายุที่ได้รับอันตราย ถูกทารุณกรรม หรือถูกทอดทิ้ง
เป็นต้น
- ด้านการยกเว้นค่าธรรมเนียมต่าง ๆ เช่น ค่าธรรมเนียมเข้าชมสถานที่พิพิธภัณฑ์ หอสมุด โบราณสถาน แหล่งท่องเที่ยว
ที่อยู่ในการดูแลของ อปท. เป็นต้น
 จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
25
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์
การให้
คะแนน
ดูหลักฐานจาก…
(คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/
นส.ฯลฯ)
อ้างอิงจาก...
(กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/นส.สั่งการที่เกี่ยวข้อง)
7.2 จานวนครั้งที่เทศบาล
และ อบต. สามารถดาเนิน
การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
ได้ครบถ้วนถูกต้องตาม
ประกาศเทศบาล/อบต.
เรื่อง บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิ
รับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
ของเทศบาล/อบต. ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2558
ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน
เกณฑ์การให้คะแนน :
 จ่ายได้ภายในวันที่ 10
ของทุกเดือนจานวน12ครั้ง
 จ่ายได้ภายในวันที่ 10
ของทุกเดือนจานวน11ครั้ง
 จ่ายได้ภายในวันที่ 10
ของทุกเดือนจานวน10ครั้ง
 จ่ายได้ภายในวันที่ 10
ของทุกเดือน ต่ากว่า 10 ครั้ง
5
3
1
0
- หลักฐานการจ่ายเงิน
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ภายใน
วันที่ 10 ของ
ทุกเดือน ตามระเบียบ
มท. ว่าด้วยหลักเกณฑ์
การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพ
ผู้สูงอายุของ อปท. พ.ศ.
2552
- ฎีกาการเบิกจ่ายเงินใน
แต่ละเดือน
- หลักฐานการโอนเข้า
บัญชีธนาคาร (กรณีโอน
เข้าบัญชีธนาคาร)
- หลักฐานการจ่ายเงิน/
รับเงิน (กรณีรับเป็นเงิน
สด)
- การบันทึกข้อมูลใน
ระบบสารสนเทศการ
จัดการฐานข้อมูลเบี้ยยัง
ชีพของ อปท.
- พ.ร.บ. ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
- ระเบียบ มท. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพ
ผู้สูงอายุของ อปท. พ.ศ. 2552
- นส. มท. ที่ มท 0891.3/ว2500 ลว. 20 ส.ค.
2553 เรื่อง แนวทางการปฏิบัติในการจ่ายเงินตาม
ระเบียบ มท. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพ
ผู้สูงอายุของ อปท. พ.ศ. 2552 และระเบียบ มท.
ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยความพิการให้คนพิการ
ของ อปท. พ.ศ. 2553
- นส. สถ. ด่วนที่สุด ที่ มท 0891.3/ว 2172 ลว. 11
ต.ค. 2556 เรื่อง แนวทางการรับลงทะเบียนผู้มีสิทธิรับ
เงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุและเบี้ยความพิการของ อปท.
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
- นส. สถ. ด่วนที่สุด ที่ มท 0891.3/ว 1786 ลว. 7 ต.ค.
2557 เรื่อง แจ้งบัญชีจัดสรรงบประมาณตามโครงการ
สร้างหลักประกันด้านรายได้แก่ผู้สูงอายุ และโครงการ
เสริมสร้างสวัสดิการทางสังคมให้แก่ผู้พิการหรือทุพพลภาพ
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
- มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 ต.ค. 2554
คาอธิบาย
- เป็นการประเมินประสิทธิภาพของ อปท. ในการดาเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้เป็นไปตามระเบียบ มท. ว่าด้วยหลักเกณฑ์
การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุของ อปท. พ.ศ. 2552 โดยในปี งบประมาณ พ.ศ. 2558 สถ. ได้มีการแจ้งแนวทางการรับ
ลงทะเบียนผู้มีสิทธิรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ และแจ้งการจัดสรรงบประมาณแก่ อปท. แล้ว
- อปท. จะต้องมีการดาเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่การรับลงทะเบียน จนถึงการดาเนินการจ่ายเงินเบี้ย
ยังชีพผู้สูงอายุ โดยอย่างน้อยควรจะมีกระบวนการดังต่อไปนี้
1. อปท. จัดพิมพ์หรือประสานการจัดพิมพ์ข้อมูลรายชื่อผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ จากสานักทะเบียนท้องถิ่นหรือสานัก
ทะเบียนอาเภอ เพื่อเป็นหลักฐานประกอบการตรวจสอบคุณสมบัติผู้สูงอายุ กรณีผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว การจาหน่ายรายชื่อ
ผู้เสียชีวิตออกจากทะเบียนราษฎร
2. มีการประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนเพื่อขอรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุที่ทั่วถึง ด้วยวิธีการที่เหมาะสมและหลากหลาย
โดยอาจตรวจสอบจากรูปถ่าย ข้อความประชาสัมพันธ์ สื่อที่ใช้ประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
3. มีการรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุรายใหม่ที่ยังไม่เคยลงทะเบียนมาก่อนรวมทั้งผู้สูงอายุที่ย้ายภูมิลาเนาเข้ามาอยู่ใน
พื้นที่ของ อปท. แต่ยังไม่ได้ยื่นคาขอลงทะเบียน ภายในเดือนพฤศจิกายน ของทุกปี โดยกาหนดวัน เวลา และสถานที่ ในการรับ
ลงทะเบียนที่เหมาะสม
4.มีการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ลงทะเบียน
5. มีการบันทึกข้อมูลผู้มีสิทธิได้รับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ที่มาลงทะเบียน ในระบบสารสนเทศการจัดการฐานข้อมูลเบี้ย
ยังชีพของ อปท. พร้อมทั้งปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องกับข้อเท็จจริงจานวนผู้มีสิทธิ โดยทีมประเมินฯ อาจตรวจสอบจากการ
บันทึกข้อมูลในระบบสารสนเทศฯ ของ อปท. เปรียบเทียบกับประกาศบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิ รับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุฯ
ที่ อปท. จัดส่งให้กับจังหวัด
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ
LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...Teacher Sophonnawit
 
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวคำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวJitiya Purksametanan
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)sawed kodnara
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณปิยนันท์ ราชธานี
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยNU
 
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุขโครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุขNontaporn Pilawut
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการKittiphat Chitsawang
 
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการอลงกรณ์ อารามกูล
 
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อ
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อแนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อ
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อประพันธ์ เวารัมย์
 
ตัวอย่างการออกแบบหน่วยการเรียนรู้
ตัวอย่างการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ตัวอย่างการออกแบบหน่วยการเรียนรู้
ตัวอย่างการออกแบบหน่วยการเรียนรู้narong kanchana
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐานสําหรับกําลังพลในกองทัพบกไทย.
ภาษาอังกฤษพื้นฐานสําหรับกําลังพลในกองทัพบกไทย.ภาษาอังกฤษพื้นฐานสําหรับกําลังพลในกองทัพบกไทย.
ภาษาอังกฤษพื้นฐานสําหรับกําลังพลในกองทัพบกไทย.Utai Sukviwatsirikul
 

Mais procurados (20)

คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
คู่มือประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี...
 
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวคำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
 
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณบรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
บรรยายการจัดทำแผน และ งบประมาณ
 
กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัยกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุขโครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
 
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
 
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการแบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
แบบฟอร์มบันทึกการรายงานผลการดำเนินโครงการ
 
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อ
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อแนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อ
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อ
 
แนวข้อสอบธุรการ
แนวข้อสอบธุรการแนวข้อสอบธุรการ
แนวข้อสอบธุรการ
 
ตัวอย่างการออกแบบหน่วยการเรียนรู้
ตัวอย่างการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ตัวอย่างการออกแบบหน่วยการเรียนรู้
ตัวอย่างการออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐานสําหรับกําลังพลในกองทัพบกไทย.
ภาษาอังกฤษพื้นฐานสําหรับกําลังพลในกองทัพบกไทย.ภาษาอังกฤษพื้นฐานสําหรับกําลังพลในกองทัพบกไทย.
ภาษาอังกฤษพื้นฐานสําหรับกําลังพลในกองทัพบกไทย.
 

Destaque

แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางกา...
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางกา...แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางกา...
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางกา...Tanny Chu
 
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภาLPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภาอลงกรณ์ อารามกูล
 
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการบันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการJurarat Chidsuan
 
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลังLPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลังอลงกรณ์ อารามกูล
 
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPoint
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPointแบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPoint
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPointWichit Chawaha
 
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใส
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใสเอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใส
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใสนายสมเพชร เชื้อหมอ
 
ข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนตำบล
ข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนตำบลข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนตำบล
ข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนตำบลประพันธ์ เวารัมย์
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานWiroj Suknongbueng
 
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5Ailada_oa
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638soawaphat
 
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)yuiops
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตpodjarin
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 

Destaque (17)

แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางกา...
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางกา...แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางกา...
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางกา...
 
LPA ด้าน 1 การบริหารจัดการ
LPA ด้าน 1 การบริหารจัดการLPA ด้าน 1 การบริหารจัดการ
LPA ด้าน 1 การบริหารจัดการ
 
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภาLPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
 
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการบันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
 
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลังLPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
 
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPoint
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPointแบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPoint
แบบสอบถามเกี่ยวกับความชำนาญ PowerPoint
 
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใส
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใสเอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใส
เอกสารประกอบทางการเงินโครงการเด็กไทยแก้มใส
 
ข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนตำบล
ข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนตำบลข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนตำบล
ข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนตำบล
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
 
4.p 73 -_p_95
4.p 73 -_p_954.p 73 -_p_95
4.p 73 -_p_95
 
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
สรุปค่ายแนะแนวเรียนต่อ ป.พ.สานสัมพันธ์ครั้งที่5
 
ภาษาไทย ป.4 แผน 1
ภาษาไทย ป.4  แผน 1ภาษาไทย ป.4  แผน 1
ภาษาไทย ป.4 แผน 1
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
 
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน (พี่ก้อย)
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 

Mais de อลงกรณ์ อารามกูล

พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3อลงกรณ์ อารามกูล
 
พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2
พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2
พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2อลงกรณ์ อารามกูล
 

Mais de อลงกรณ์ อารามกูล (20)

คมชัดลึก14 ต.ค.59
คมชัดลึก14 ต.ค.59คมชัดลึก14 ต.ค.59
คมชัดลึก14 ต.ค.59
 
ประวัติย่อของกาลเวลา
ประวัติย่อของกาลเวลาประวัติย่อของกาลเวลา
ประวัติย่อของกาลเวลา
 
ซักซ้อมแผนสี่ปี
ซักซ้อมแผนสี่ปีซักซ้อมแผนสี่ปี
ซักซ้อมแผนสี่ปี
 
รบ มท แผน ฉ2 2559
รบ มท แผน ฉ2 2559รบ มท แผน ฉ2 2559
รบ มท แผน ฉ2 2559
 
ซักซ้อมงบประมาณ 60
ซักซ้อมงบประมาณ 60ซักซ้อมงบประมาณ 60
ซักซ้อมงบประมาณ 60
 
อาหารจานเดียว สูตรเด็ด
อาหารจานเดียว สูตรเด็ดอาหารจานเดียว สูตรเด็ด
อาหารจานเดียว สูตรเด็ด
 
อาหารจานเดียว ต้นตำรับ
อาหารจานเดียว ต้นตำรับอาหารจานเดียว ต้นตำรับ
อาหารจานเดียว ต้นตำรับ
 
คู่มือ Cyber security สำหรับประชาชน
คู่มือ Cyber security สำหรับประชาชนคู่มือ Cyber security สำหรับประชาชน
คู่มือ Cyber security สำหรับประชาชน
 
กับข้าวสูตรเด็ด
กับข้าวสูตรเด็ดกับข้าวสูตรเด็ด
กับข้าวสูตรเด็ด
 
คิดเชิงคณิตศาสตร์
คิดเชิงคณิตศาสตร์คิดเชิงคณิตศาสตร์
คิดเชิงคณิตศาสตร์
 
Six thinking hats th
Six thinking hats thSix thinking hats th
Six thinking hats th
 
Maxim มีนาคม 2559
Maxim มีนาคม 2559Maxim มีนาคม 2559
Maxim มีนาคม 2559
 
ศูนย์ถ่ายทอด 47
ศูนย์ถ่ายทอด 47ศูนย์ถ่ายทอด 47
ศูนย์ถ่ายทอด 47
 
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 53
 
แนวทางประสานแผน 59
แนวทางประสานแผน 59แนวทางประสานแผน 59
แนวทางประสานแผน 59
 
Basic for-golf
Basic for-golfBasic for-golf
Basic for-golf
 
ญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นญี่ปุ่น
ญี่ปุ่น
 
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 3
 
พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2
พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2
พระราชบัญญัคิลิขสิทธิ์ ฉบับที่ 2
 
เปลี่ยนตัวเองใหม่ใน5นาที
เปลี่ยนตัวเองใหม่ใน5นาทีเปลี่ยนตัวเองใหม่ใน5นาที
เปลี่ยนตัวเองใหม่ใน5นาที
 

LPA ด้าน 4 การบริการสาธารณะ

  • 1. คู่มือ/เอกสารประกอบ การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(LocalPerformanceAssessment:LPA):(สถ-อปท) ประจาปี 2559 สาหรับทีมประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (สถ - อปท) ************************************ ด้าน 4 การบริการด้าน 4 การบริการสาธารณะสาธารณะ 1. ด้านถนน ทางเดิน และทางเท้า เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/ นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/ นส.สั่งการที่เกี่ยวข้อง) 1.1 การจัดทาแผนการตรวจสอบถนนในความรับผิดชอบของ อปท. เกณฑ์การให้คะแนน :  1. มีการจัดทาบัญชีทะเบียนประวัติถนนของ อปท. 2. มีการจัดทาแผนการตรวจสอบถนนประจาปี ที่ถูกต้อง สอดคล้องกับบัญชีทะเบียนประวัติถนนของ อปท. 3.มีการดาเนินการตรวจสอบถนนครบถ้วน เป็นไปตามแผนการ ตรวจสอบถนนประจาปีที่กาหนด 4. รายงานผลการตรวจสอบให้ผู้บริหารรับทราบผลการ ตรวจสอบตามแผนตรวจสอบถนนประจาปี และสั่งการ 5 -บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจานวนถนนทุก สายที่อยู่ในความ รับผิดชอบของ อปท.) เพื่อทราบจานวนถนน ทั้งหมดของอปท. - แผนการตรวจสอบ ถนนประจาปี โดย จัดลาดับการตรวจสอบ ตามความจาเป็น - บันทึกขออนุมัติแผน - บันทึกรายงานผลการ ตรวจที่ปรากฏข้อสั่งการ ของผู้บริหารลงนาม รับทราบผลการ ตรวจสอบ - แผนที่ถนน ในกรณีที่ อปท. ยังไม่มีการ ลงทะเบียนทางหลวง ท้องถิ่น - มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเท้า บทที่ ๒ การจัดทา ทะเบียนถนน หน้าที่ ๕-๖ และภาคผนวก หน้าที่ ๑-๓ - แบบฟอร์มการเก็บ ข้อมูลถนน ทางเดิน ทางเท้าที่เสียหาย หน้าที่ 16-17 1. มีการจัดทาบัญชีทะเบียนประวัติถนนของ อปท. 2. มีการจัดทาแผนการตรวจสอบถนนประจาปี ที่ถูกต้อง สอดคล้องกับบัญชีทะเบียนประวัติถนนของ อปท. 3. มีการดาเนินการตรวจสอบถนนครบถ้วน แต่ดาเนินการ ตรวจสอบไม่เป็นไปตามที่กาหนดในแผนการตรวจสอบถนนประจาปี 4. รายงานผลการตรวจสอบให้ผู้บริหารรับทราบผลการตรวจตาม แผนการตรวจสอบถนนประจาปี 3  1. มีการจัดทาบัญชีทะเบียนประวัติถนนของ อปท. 2. มีการจัดทาแผนการตรวจสอบถนนประจาปีที่ถูกต้อง สอดคล้องกับบัญชีทะเบียนประวัติถนนของ อปท. หรือหลักฐานอื่น ๆ 3.มีการดาเนินการตรวจสอบถนนแต่ไม่ครบถ้วนตามแผนการ ตรวจสอบถนนประจาปี 4. รายงานผลการตรวจสอบให้ผู้บริหารรับทราบผลการตรวจตาม แผนการตรวจสอบถนนประจาปี 1  ไม่มีแผนการตรวจสอบถนนประจาปี 0 คาอธิบาย -บัญชีทะเบียนประวัติถนนอปท.จะต้องจัดทาบัญชีทะเบียนประวัติถนนและบันทึกข้อมูลถนนให้ครบทุกสายทุกประเภทของถนนในความ รับผิดชอบของอปท.เพื่อทราบจานวนถนนทั้งหมดของอปท.ซึ่งอาจประกอบด้วยข้อมูลเช่นรหัสสายทางชื่อสายทางชั้นของถนนระยะทาง ประเภทผิวจราจรความกว้างของผิวจราจรปีที่ก่อสร้างข้อมูลการลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่นผู้รับผิดชอบเป็นต้น - แผนการตรวจสอบถนนสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม แต่จะต้องรายงานผู้บริหารทราบด้วย ควรประกอบด้วย ๑) รายละเอียดของถนนสามารถใช้ข้อมูลจากบัญชีทะเบียนประวัติถนนได้ 2) ช่วงเวลาในการตรวจสอบ  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
  • 2. - ตัวอย่าง – บัญชีทะเบียนประวัติถนน ชื่อ อปท. ..................................................... อาเภอ.............................. จังหวัด................................. ลาดับที่ รหัสสาย ทาง ชื่อสายทาง ชั้นทาง ในเขตเมือง หรือในเขต ชุมชน (ชั้น) ชั้นทางนอก เขตเมือง หรือนอก เขตชุมชน (ชั้น) ระยะทาง (กม.) ผิวจราจรกว้าง (ม.) รัศมีเขต ทางจาก ศูนย์กลาง ถนน (ม.) เขตทาง กว้าง (ม.) ปีที่ก่อสร้าง (พ.ศ.) ลงทะเบียน เมื่อ วัน/เดือน/ปี เจ้าหน้าที่ รับผิดชอบ หมายเหตุ คสล. ลาดยาง ลูกรัง ไหล่ทาง ทางเท้า 2
  • 3. 3 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/ นส.สั่งการที่เกี่ยวข้อง) 1.2 ร้อยละของการซ่อมแซมถนนในความ รับผิดชอบของ อปท. ตามรายงานผลการ ตรวจสอบถนน ประจาปี เกณฑ์การให้คะแนน :  ร้อยละ 80 ขึ้นไป  ร้อยละ 70 – 79.9  ร้อยละ 60 – 69.9  น้อยกว่าร้อยละ 60 5 3 1 0 - บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูลจานวนถนน ทุกสายที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท.) เพื่อ ทราบจานวนถนนทั้งหมดของอปท. - แผนการตรวจสอบถนน ประจาปี โดยจัด ลาดับการตรวจสอบตามความจาเป็นที่ปรากฏ ข้อสั่งการของผู้บริหารลงนามรับทราบผลการ ตรวจสอบและสั่งการ - ผลการซ่อมแซมถนนในความรับผิดชอบของ อปท. - ภาพถ่ายก่อนและหลังซ่อมแซม -ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณการ ซ่อมแซมถนน ประจาปี 2558 - มาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเท้า บทที่ ๕ การ ตรวจสอบและบารุง รักษาถนน หน้าที่ ๑๑๑ และหน้าที่ ๑๑๕ รวมทั้ง ภาคผนวก หน้าที่ ๑๖-๑๗ คาอธิบาย - การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการตรวจสอบ หรือได้รับแจ้งถึงความเสียหายของผิวถนนแล้ว ให้เจ้าหน้าที่รับผิดชอบดาเนินการ บันทึกข้อมูลความเสียหาย ตามแบบฟอร์มฯ ของมาตรฐานถนน ทางเดิน และทางเท้า ในภาคผนวก หน้าที่ ๑๖-๑๗ แล้ว วิเคราะห์ จัดทาเป็นรายงานผลการตรวจสอบถนนประจาปี เพื่อจัดทาแผนงบประมาณซ่อมบารุงรักษาถนนต่อไป - ในกรณีที่ อปท. ได้รับแจ้งความเสียหายของผิวถนนและได้ลงพื้นที่ตรวจสอบแล้วพบว่ามีความจาเป็นเร่งด่วนที่จะต้อง ซ่อมแซมโดยด่วน โดยถนนดังกล่าวอาจไม่ได้อยู่ในแผนการตรวจสอบถนน ให้สามารถปรับแผนการตรวจสอบถนนได้ตาม ความเหมาะสม โดยต้องเสนอให้ผู้บริหารรับทราบด้วย - วิธีการคิดร้อยละ จานวนถนนที่ซ่อมเสร็จX100 จานวนถนนที่ต้องซ่อมทั้งหมด  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ ยกเว้นกรณีที่ไม่มีถนนต้องซ่อมแซมจากการตรวจสอบถนน ตามข้อ 1.1 และตรวจสอบแล้วไม่มีการซ่อมแซมถนนจริง (ไม่มีการเบิกจ่ายงบประมาณในการซ่อมแซมถนน) จึงสามารถตัด ฐานการประเมินได้
  • 4. 4 - ตัวอย่าง - ประวัติการซ่อมแซมบารุงรักษาถนน รหัสสายทาง ........................................ ชื่อสายทาง ........................................ ระยะทาง ........................................ กม. วันที่บันทึกข้อมูล ............................... รายการซ่อมแซมบารุงรักษาและรายการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ปีงบประมาณ กม. ที่ ............... ถึง กม. ที่............ รายการ งบประมาณ (บาท) หมายเหตุ
  • 5. 5 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/ นส. สั่งการที่เกี่ยวข้อง) 1.3 ร้อยละของถนนในความรับผิดชอบ ของ อปท. ที่ส่งไปขอลงทะเบียนเป็นทาง หลวงท้องถิ่น ถึงปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 (ส่งเป็นหนังสือพร้อมเอกสารหลักฐานที่ ครบถ้วนถูกต้องไปยังจังหวัด) เกณฑ์การให้คะแนน :  ร้อยละ 90 ขึ้นไป  ร้อยละ 80 – 89.9  ร้อยละ 70 – 79.9  น้อยกว่าร้อยละ 70 5 3 1 0 -บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูล จานวนถนนทุกสายที่อยู่ในความ รับผิดชอบของ อปท.) - หลักฐานการส่งไปลงทะเบียนเป็นทาง หลวงท้องถิ่น (ทถ.1 , ทถ.3 , ทถ.4 , ทถ.5) - หลักเกณฑ์และแนวทางการ ขอลงทะเบียนทางหลวง ท้องถิ่นให้ดาเนินการตาม นส. สถ. ด่วนที่สุด ที่ มท 0890.3/ว 634 ลว. 31 มี.ค. 2553 เรื่อง การ ปรับปรุงการกาหนดรหัส ทางหลวงท้องถิ่น คาอธิบาย - ถนน หมายถึง ถนนทุกสายของ อปท. ทั้งที่ อปท. สร้างเองและที่ได้รับการถ่ายโอน ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท. จะต้องขอลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่นทั้งหมด - ให้ อปท. ยื่นขอลงทะเบียนถนนเป็นทางหลวงท้องถิ่นทุกสาย รวมถึงถนนที่ไม่เป็นไปตามประกาศกรมทางหลวงชนบท เรื่อง มาตรฐานและลักษณะของทางหลวงท้องถิ่น ทางหลวงชนบท จังหวัดจะเป็นผู้เสนอความเห็นต่อผู้ว่าราชการจังหวัดให้ ลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่นได้ - การลงทะเบียนไม่กาหนดระยะเวลาการลงทะเบียน อปท. สามารถดาเนินการได้ตลอดเวลา โดยจะต้องมีเอกสารหลักฐาน ถูกต้องและครบถ้วน จานวน 2 ชุด ได้แก่ 1. แบบขอลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่น (ทถ.1) 2.แผนที่แนวเขตทางหลวง 3. รายละเอียดเส้นทางที่ลงทะเบียน (ทถ.3) 4. บัญชีเอกสารแสดงสิทธิในที่ดินแนวเขตทางหลวง (ถ้ามี) 5. สาเนาหนังสือให้หรือสละการครอบครองสิทธิ์ในที่ดิน หรือหนังสืออุทิศที่ดิน (ทถ.4) เพื่อเป็นทางสาธารณประโยชน์ ของเจ้าของที่ดิน (ถ้ามี) 6. หนังสือรับรองแนวเขตทางเพื่อเป็นทางสาธารณประโยชน์ (ทถ.5) ที่นายก อปท. ลงนาม กรณีไม่มีเอกสาร 4 หรือ 5 - การคิดคานวณร้อยละให้คิดจากจานวนเส้นถนนที่ได้ส่งไปลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่น -วิธีการคิดร้อยละ จานวนถนนที่ส่งไปลงทะเบียน X100 จานวนของถนนทั้งหมดของ อปท.  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
  • 6. 6 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/ นส. สั่งการที่เกี่ยวข้อง) 1.4 ร้อยละของถนนในความรับผิดชอบ ของ อปท. ที่ได้ลงทะเบียนเป็นทางหลวง ท้องถิ่น ถึงปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เกณฑ์การให้คะแนน :  ร้อยละ 30 ขึ้นไป  ร้อยละ 25 – 29.9  ร้อยละ 20 – 24.9  น้อยกว่าร้อยละ 20 5 3 1 0 -บัญชีทะเบียนประวัติถนน (ข้อมูล จานวนถนนทุกสายที่อยู่ในความ รับผิดชอบของ อปท.) - หลักฐานการลงทะเบียนทางหลวง ท้องถิ่น (ทถ.1 , ทถ.3 , ทถ.4 , ทถ.5) ตรวจหลักฐานได้ที่ อปท. - แบบการลงทะเบียนเป็นทางหลวง ท้องถิ่น (แบบ ทถ.2) และสมุด ลงทะเบียนคุมสายทางทางหลวงท้องถิ่น (แบบ ทถ.6) ตรวจหลักฐานได้ที่ สถจ. - หลักเกณฑ์และแนวทางการ ขอลงทะเบียนทางหลวง ท้องถิ่นให้ดาเนินการตาม นส. สถ. ด่วนที่สุด ที่ มท 0890.3/ว 634 ลว. 31 มี.ค. 2553 เรื่อง การปรับปรุงการ กาหนดรหัสทางหลวง ท้องถิ่น คาอธิบาย - การคิดคานวณร้อยละให้คิดจากจานวนเส้นถนนที่ได้ลงทะเบียนเป็นทางหลวงท้องถิ่น -วิธีการคิดร้อยละ จานวนถนนที่ได้ลงทะเบียน X100 จานวนของถนนทั้งหมดของ อปท.  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
  • 7. 7 ผังขั้นตอนการลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น (ตาม นส. สถ. ด่วนที่สุด ที่ มท 0890.3/ว 634 ลว. 31 มี.ค. 2553) นายก อปท. มอบหมายวิศวกรโยธาหรือ นายช่างโยธาของ อปท. ดาเนินการ วิศวกรโยธาหรือนายช่างโยธาของ อปท. ที่ได้รับมอบหมายจากนายกอปท.ตรวจสอบ 1. หลักฐาน ได้แก่ (1) แผนที่แนวเขตทางหลวง มาตราส่วน 1:4,000 หรือ 1:50,000 กรณี อปท. ไม่มีสามารถขอได้ที่ สนง.ทชจ. (2) รายละเอียดเส้นทางที่ลงทะเบียน (ทถ.3) (3) บัญชีเอกสารแสดงสิทธิในที่ดินแนว เขตทางหลวง (ถ้ามี) (4) สาเนาหนังสือให้หรือสละการครอบ ครองสิทธิ์ในที่ดิน หรือหนังสืออุทิศที่ดิน (ทถ.4) เพื่อเป็นทางสาธารณประโยชน์ ของเจ้าของที่ดิน (ถ้ามี) (5) หนังสือรับรองแนวเขตทางเพื่อเป็น ทางสาธารณประโยชน์ (ทถ.5) ที่นายก อปท. ลงนาม กรณีไม่มีเอกสาร (3)หรือ(4) 2. ตรวจสอบคุณลักษณะของถนนตาม ประกาศกรมทางหลวงชนบท เรื่อง มาตรฐานและลักษณะของทางหลวง รวมทั้งกาหนดเขตทางหลวง ที่จอดรถ ระยะแนวต้นไม้ และเสาพาดสาย เกี่ยวกับ ทางหลวงท้องถิ่น พ.ศ. 2550 3. จัดทาแบบ ทถ.1 ให้นายก อปท. ลงนาม ทถจ. เสนอ ผวจ. แต่งตั้งทางหลวง ชนบทจังหวัด (ทชจ.) ตรวจสอบ อปท.ยื่นเอกสารให้ ทถจ. ทถจ. ส่งให้เอกสารให้ (ทชจ.) ที่ได้รับการแต่งตั้ง ตรวจสอบ ทชจ. ตรวจสอบ ถูกต้อง จัดทาแบบ ทถ.2 ให้ ทถจ.นาเสนอ ผวจ. พิจารณา ผวจ. ลงนาม ในแบบ ทถ.2 ทถจ.ลงทะเบียนเป็น ทางหลวงท้องถิ่น แจ้งผลให้ อปท.ทราบ ทถจ. จัดทาสมุดทะเบียนคุมทาง หลวงท้องถิ่นแยกเป็นราย อปท. ไม่ให้ปะปนกัน (ทถ.6) ทถจ. นาข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้อง สแกนเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์จัดเก็บ เป็นไฟล์ข้อมูล ไม่ถูกต้อง ทชจ. ส่งกลับไป ยัง อปท. อปท.แก้ไข อปท. ส่งกลับไป ยัง ทชจ. โดยตรง
  • 8. 8 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/ นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/ นส.สั่งการที่เกี่ยวข้อง) 1.5 ร้อยละของความยาวถนน ลาดยาง/คอนกรีตต่อความ ยาวของถนนทั้งหมดในความรับผิดชอบของ อปท. (ณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558) เกณฑ์การให้คะแนน : อบจ./เทศบาล อบต.  ร้อยละ 95 ขึ้นไป  ร้อยละ 80 ขึ้นไป  ร้อยละ 90–94.9  ร้อยละ 75–79.9  ร้อยละ 85–89.9  ร้อยละ 70–74.9  น้อยกว่าร้อยละ 85  น้อยกว่าร้อยละ 70 5 3 1 0 - บัญชีทะเบียนประวัติ ถนน - รายงานประจาปี เกี่ยวกับการก่อสร้าง ถนนลาดยาง/คอนกรีต - ภาพถ่าย - นส. สถ. ด่วนที่สุด ที่ มท 0890.3/ว 634 ลว. 31 มี.ค. 2553 เรื่อง การปรับปรุงการ กาหนดรหัสทางหลวง ท้องถิ่น คาอธิบาย - อปท. จัดทาบัญชีทะเบียนคุมสายทางทางหลวงท้องถิ่น ตามหนังสือ สถ. ที่อ้างถึงให้สอดคล้องกับรายงานประจาปีเกี่ยวกับ การก่อสร้างถนนลาดยาง/คอนกรีต - นับรวมถนนที่ได้รับการถ่ายโอนด้วย - ไม่รวมถนนที่อยู่ในพื้นที่ปุาสงวนแห่งชาติ อุทยานแห่งชาติ และพื้นที่เขตทหาร - วิธีการคิดร้อยละ ความยาวถนนลาดยาง/คอนกรีต ของอปท.X100 ความยาวของถนนทั้งหมดของ อปท.  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
  • 9. 9 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/ นส. สั่งการที่เกี่ยวข้อง) 2.1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีไฟฟูาใช้ เกณฑ์การให้คะแนน :  ร้อยละ 100 5 - ข้อมูล กชช. 2 ค - นโยบายรัฐบาล เรื่อง การสร้างความเท่าเทียม และลดความเหลื่อมล้า  ร้อยละ 95 – 99.9 3  ร้อยละ 90 – 94.9 1  น้อยกว่าร้อยละ 90 0 คาอธิบาย - รวมถึงระบบไฟฟูาด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องกาเนิดไฟฟูาประเภทอื่น ๆ - ไม่รวมพื้นที่ปุาสงวนแห่งชาติ อุทยานแห่งชาติ พื้นที่เขตทหาร  จะต้องประเมินทุก อบต.และเทศบาลไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ ยกเว้น อบจ. ไม่ต้องประเมินข้อนี้ เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/ นส. สั่งการที่เกี่ยวข้อง) 2.2 ร้อยละของถนนสายหลักที่มีการ ติดตั้งไฟฟูาสาธารณะตามจุดเสี่ยงต่างๆ และสามารถใช้งานได้ เกณฑ์การให้คะแนน :  ติดตั้งครบทุกจุดเสี่ยง 5 - ข้อมูลถนนสายหลักของ อปท. - แบบแปลนหรือแผนผังการติดตั้ง ไฟฟูาสาธารณะหรือสุ่มดูข้อมูลตาม จุดเสี่ยง - หนังสือร้องเรียนที่เกี่ยวข้อง - ภาพถ่าย ติดตั้งได้ร้อยละ 90 -99.9 ของจุด เสี่ยงทั้งหมด 3  ติดตั้งได้ร้อยละ 80 -89.9 ของจุด เสี่ยงทั้งหมด 1  ติดตั้งได้น้อยกว่าร้อยละ 80 0 คาอธิบาย - จุดเสี่ยง หมายถึง จุดที่อาจก่อให้เกิดอันตราย เช่น ทางโค้ง ทางแยก วงเวียน ฯลฯ - ถนนสายหลัก หมายถึง ถนนสายหลักของท้องถิ่น เช่น ถนนที่ต่อเชื่อมกับทางหลวงแผ่นดิน ถนนในเขตชุมชน หนาแน่น ถนนที่ใช้ในการเดินทางเชื่อมต่อจุดสาคัญๆ เป็นต้น - ในการกาหนดถนนสายหลักและจุดเสี่ยงควรเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน เช่น การทาประชาคม การแต่งตั้งคณะกรรมการกาหนดถนนสายหลักและจุดเสี่ยง เป็นต้น - รวมถึงการติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบ  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
  • 10. 10 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/ นส. สั่งการที่เกี่ยวข้อง) 2.3 ร้อยละของถนนสายหลักที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของ อปท. ที่มีการติดตั้ง ไฟฟูาสาธารณะตลอดสาย และสามารถ ใช้งานได้ เกณฑ์การให้คะแนน :  ร้อยละ 60 ขึ้นไป 5 - ข้อมูลถนนสายหลักของ อปท. - แผนงาน/โครงการติดตั้งไฟฟูา สาธารณะ - แบบแปลน/แผนผังแสดงที่ตั้ง ไฟฟูาสาธารณะ - ภาพถ่าย  ร้อยละ 45 – 59.9 3  ร้อยละ 35 – 44.9 1  น้อยกว่าร้อยละ 35 0 คาอธิบาย ถนนสายหลัก หมายถึง ถนนสายหลักของท้องถิ่น เช่น ถนนที่ต่อเชื่อมกับทางหลวงแผ่นดิน ถนนในเขตชุมชนหนาแน่น ถนนที่ใช้ในการเดินทางเชื่อมต่อจุดสาคัญๆ เป็นต้น - สามารถดูรายละเอียดการติดตั้งไฟฟูาสาธารณะบนถนนสายหลักจากมาตรฐานไฟฟูาสาธารณะ  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
  • 11. 11 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/ นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ ระเบียบ/นส. สั่งการ ที่เกี่ยวข้อง) 2.4 การดูแลบารุงรักษา/ซ่อมแซมไฟฟูาสาธารณะ และไฟฟูาตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของ อปท. เกณฑ์การให้คะแนน :  1. มีแผนการตรวจสอบไฟฟูาสาธารณะและ ไฟฟูาตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 2. ได้รับการอนุมัติแผนฯ จากผู้บริหารอปท. 3.ดาเนินการตรวจสอบตามแผน 4. รายงานให้ผู้บริหารรับทราบ/สั่งการ 5. มีการดาเนินการตามข้อสั่งการของผู้บริหาร อปท.  1. มีแผนการตรวจสอบไฟฟูาสาธารณะและ ไฟฟูาตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 2. ได้รับการอนุมัติแผนฯ จากผู้บริหารอปท. 3.ดาเนินการตรวจสอบตามแผน  1. มีแผนการตรวจสอบไฟฟูาสาธารณะและ ไฟฟูาตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 2. ได้รับการอนุมัติแผนฯ จากผู้บริหาร อปท.  ไม่มีแผนการตรวจสอบไฟฟูาสาธารณะและไฟฟูา ตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 5 3 1 0 - แผนการตรวจสอบไฟฟูา สาธารณะ และไฟฟูาตามจุด เสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความ รับผิดชอบของ อปท. - บันทึกขออนุมัติแผนการ ตรวจสอบไฟฟูาสาธารณะ และ ไฟฟูาตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ ในความรับผิดชอบของ อปท. - รายงานผลการตรวจสอบ ไฟฟูาสาธารณะ และไฟฟูา ตามจุดเสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของ อปท. -หลักฐานผลการดาเนินงานตาม แผนการตรวจสอบไฟฟูา สาธารณะ และไฟฟูาตามจุด เสี่ยงต่าง ๆ ที่อยู่ในความ รับผิดชอบของ อปท. - อปท. จัดซื้อจัดจ้าง จากเอกชนดาเนินการ -ฎีกาการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณประจาปี 2558 - แบบแจ้ง/หนังสือร้องเรียน - มาตรฐานไฟฟูา สาธารณะ บทที่ ๔ คาอธิบาย - อปท. ควรจัดให้มีศูนย์รับแจ้งเหตุและให้บริการไฟฟูาสาธารณะ โดยจัดให้มีผู้อยู่เวรยามประจาสานักงานทาหน้าที่รับแจ้ง เหตุไฟฟูาเสีย/ขัดข้องนอกเวลาราชการ (ตลอด ๒๔ ชั่วโมง) ได้หลายวิธี เช่น แจ้งเหตุโดยการเขียนหนังสือคาร้อง/หนังสือ ร้องเรียน ทางโทรศัพท์ ทางเว็บไซต์ของ อปท. ทางวิทยุสื่อสารงานปูองกัน อปพร. เป็นต้น - อปท. รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลการดูแลบารุงรักษา/ซ่อมแซม ไฟฟูาสาธารณะ และดาเนินการ ดังนี้ ๑.จัดทาแผนตรวจสอบไฟฟูาสาธารณะฯ ๒.ขออนุมัติแผนการตรวจสอบจากผู้บริหาร ๓. รายงานผลการตรวจสอบและดาเนินการตามแผนต่อผู้บริหาร 4.ดาเนินการบารุงรักษา/ซ่อมแซมไฟฟูาสาธารณะ  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
  • 12. 12 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/ นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ ระเบียบ/นส. สั่งการ ที่เกี่ยวข้อง) 3.1 ร้อยละของถนนที่อยู่ในความรับผิดชอบของ อปท. ที่มีทางระบายน้า ที่สามารถระบายน้าไม่ให้ท่วมขังถนนได้ เกณฑ์การให้คะแนน : อบจ./เทศบาล อบต.  ร้อยละ 90 ขึ้นไป  ร้อยละ 70 ขึ้นไป  ร้อยละ 80–89.9  ร้อยละ 60–69.9  ร้อยละ 70–79.9  ร้อยละ 50–59.9  น้อยกว่าร้อยละ 70  น้อยกว่าร้อยละ 50 5 3 1 0 - แผนงาน/โครงการก่อสร้าง ถนน และทางระบายน้า - สอบถามจากผู้นาหมู่บ้าน/ ชุมชน - ภาพถ่าย คาอธิบาย ดัชนีชี้วัดของการมีทางระบายน้า(เหตุบ่งชี้) - เมื่อฝนตกเกิดน้าท่วมขังที่ชุมชนเกินกว่า ๓๐ นาที - ความหนาแน่นชุมชน มีจานวนเกินกว่า ๑๐๐ หลังคาเรือน - น้าท่วมขังซ้าซากทาให้ประชาชนเดือดร้อนหรือ ไม่ได้รับความสะดวก - ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ลุ่มต่าหรือเป็นแอ่งกระทะ - สถิติน้าฝนย้อนหลังของพื้นที่ชุมชนมีปริมาณสูง มีการร้องขอหรือการแจ้งเหตุจากประชาชน ฯลฯ - ทางระบายน้า รวมถึงรางรูปตัววีหรือร่องน้า/ทางน้าธรรมชาติ ท่อลอด - อปท. อาจมีการดาเนินการจัดทารายการโครงสร้างระบายน้า เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการปฏิบัติงาน - วิธีการคิดร้อยละ จานวนถนนของ อปท.ที่มีทางระบายน้า X 100 จานวนถนนของ อปท. ทั้งหมด  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
  • 13. 13 - ตัวอย่าง- รายการโครงสร้างระบายน้า รหัสสายทาง ........................................ ชื่อสายทาง ........................................ ระยะทาง ........................................ กม. วันที่บันทึกข้อมูล ............................... ลาดับ ที่ กม. ที่ สะพาน กว้าง x ยาว (ม.) ท่อหลอดเหลี่ยม (ม.) ท่อ คสล. ชนิด กลม (ม.) รางระบายน้า / ท่อระบายน้า ข้างทาง (ม.) หมายเหตุ หมายเหตุ ความกว้างสะพานเป็นความกว้างผิวจราจรไม่รวมทางเท้า
  • 14. 14 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/ นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ ระเบียบ/นส. สั่งการ ที่เกี่ยวข้อง) 4.1 การตรวจสอบคุณภาพน้าอุปโภคบริโภคของ อปท. ให้ครบทุกหมู่บ้าน/ชุมชน เกณฑ์การให้คะแนน :  อปท. จัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพน้าอุปโภค บริโภค ภายใน 1 ปี โดยมีผลรายงานการตรวจสอบ จากหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ในการตรวจสอบ คุณภาพน้าและมีผลดาเนินการสืบเนื่องจากการ ตรวจสอบ  อปท. จัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพน้าอุปโภค บริโภค ภายใน 3 ปี โดยมีผลรายงานการตรวจสอบ จากหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ในการตรวจสอบ คุณภาพน้าและมีผลดาเนินการสืบเนื่องจากการ ตรวจสอบ  อปท. จัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพน้าอุปโภค บริโภค ภายใน 3 ปี โดยมีผลรายงานการตรวจสอบ จากหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ในการตรวจสอบ คุณภาพน้า ไม่มีการตรวจสอบคุณภาพน้าอุปโภคบริโภค 5 3 1 0 - รายงานผลการตรวจสอบ คุณภาพน้าที่ได้มาตรฐานน้า อุปโภคบริโภค จากหน่วยงาน ที่มีอานาจหน้าที่ในการ ตรวจสอบคุณภาพน้า - ผลดาเนินการสืบเนื่องจาก การตรวจสอบ - ภาพถ่าย - มาตรฐานระบบน้า สะอาด บทที่ 2 มาตรฐาน ตัวชี้วัดการจัดบริการ ระบบน้าสะอาด บทที่ 3 แนวทางปฏิบัติ ในการจัดบริการระบบ น้าสะอาด บทที่ 4 การพัฒนา มาตรฐานน้าสะอาด ในอนาคต - นส.สถ. ที่ มท 0891.2 / ว 1694 ลว.13 ส.ค. 2558 คาอธิบาย - ผลดาเนินการสืบเนื่อง หมายถึง ประชาสัมพันธ์ผลการตรวจสอบคุณภาพน้าให้ประชาชนทราบหรือดาเนินการแก้ไขน้าให้มี คุณภาพ - กรณีที่ อปท. ไม่ได้ดาเนินกิจการประปาเอง แต่เป็นการดาเนินการของการประปาส่วนภูมิภาค อปท. จะต้องมีการสุ่ม เก็บตัวอย่างน้าและส่งไปตรวจสอบคุณภาพน้าอุปโภคบริโภคเองด้วย (ไม่ใช้ผลการตรวจสอบของการประปาส่วนภูมิภาค) - การตรวจสอบคุณภาพน้าให้ตรวจครบทุกหมู่บ้านหรือชุมชนอย่างน้อยหมู่บ้านหรือชุมชนละ1 แห่งเป็นอย่างต่า ณ แหล่งผลิต/ แหล่งจ่ายน้าใน อปท. ทุกแห่งและหรือสุ่มตรวจที่ปลายทาง - หน่วยงานที่ตรวจสอบคุณภาพน้า ภูมิภาค เช่น 1. สานักทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภาค 1 - 16 2.ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 3. สถาบันการศึกษาที่มีห้อง ปฏิบัติการตรวจคุณภาพน้า ส่วนกลาง เช่น 1. กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ 2. กรมอนามัย 3. กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เอกชน (ในกากับของรัฐ) - บริษัทปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จากัด หน่วยงานในกากับของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โทร.0-2940-6881-3  จะต้องประเมินทุก อบต.และเทศบาล ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ ยกเว้น อบจ. ไม่ต้องประเมินข้อนี้
  • 15. 15 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/ นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ ระเบียบ/นส. สั่งการ ที่เกี่ยวข้อง) 4.2 ร้อยละของครัวเรือนที่มีน้าประปาใช้และมี ปริมาณเพียงพอต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง เกณฑ์การให้คะแนน :  ร้อยละ 90 ขึ้นไป  ร้อยละ 80 – 89.9  ร้อยละ 70 – 79.9  น้อยกว่าร้อยละ 70 5 3 1 0 - ข้อมูล กชช. 2 ค - สอบถามจากผู้นาหมู่บ้าน/ ชุมชน - รายงานการยืนยัน/ ตรวจสอบจากผู้นาชุมชน/ กานัน/ผู้ใหญ่บ้าน - นโยบายรัฐบาล เรื่อง การสร้างความเท่าเทียม และลดความเหลื่อมล้า คาอธิบาย - น้าประปา รวมถึง น้าประปาภูเขา หรือประปาหมู่บ้าน ฯลฯ - ให้ อปท. ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น การประปาส่วนภูมิภาค ประปาของกรมอนามัย เป็นต้น ในการจัดทาฐานข้อมูล ผู้ใช้น้าประปาในเขตพื้นที่ของตน  จะต้องประเมินทุก อบต.และเทศบาล ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ ยกเว้น อบจ. ไม่ต้องประเมินข้อนี้
  • 16. 16 5. ด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชน เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ ระเบียบ/นส. สั่งการ ที่เกี่ยวข้อง) 5.1 จานวนกิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุน เพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชน นอกเหนือจาก กิจกรรมด้านกีฬาและการศึกษา (ทั้งที่ใช้และไม่ใช้ งบประมาณของ อปท. หรือใช้งบประมาณของ หน่วยงานอื่น) เกณฑ์การให้คะแนน :  11 กิจกรรม ขึ้นไป  8 – 10 กิจกรรม  5 - 7 กิจกรรม  น้อยกว่า 5 กิจกรรม 5 3 1 0 - แผนงาน/โครงการกิจกรรม แต่ ละประเภท - ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณ รายจ่ายฯ -ภาพถ่ายกิจกรรม -ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประจาปี 2558 - หนังสือแจ้งขอความร่วมมือกรณี ได้รับการประสานจากหน่วยงานอื่น กรณีไม่ใช้งบประมาณของ อปท. - มาตรฐานการพัฒนา เด็กและเยาวชน บทที่ 2 คุณลักษณะและ ตัวชี้วัด ต่อปัญหาเด็ก และเยาวชนไทย บทที่ 3 กรอบมาตรฐาน และตัวบ่งชี้สาคัญ คาอธิบาย - อปท. สามารถใช้งบประมาณในการดาเนินการเองหรือใช้งบประมาณ เพื่อสนับสนุนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนก็ได้ - ในการนับจานวนกิจกรรมสามารถนับรวมกิจกรรม ทั้งที่ อปท. จัดเองหรือขอให้หน่วยงานอื่นจัดให้หรือร่วมกับหน่วยงานอื่น ในการจัดกิจกรรม - โดยกิจกรรมที่จัดอาจใช้งบประมาณ หรือไม่ใช้งบประมาณในการจัดก็ได้ - การนับจานวนกิจกรรมให้นับ1โครงการ1กิจกรรมตามนส.สถ.ด่วนที่สุดที่ มท0892.2/ว930ลว.8พ.ค.2558 - สามารถนับรวมกิจกรรมที่ใช้งบประมาณของท้องถิ่นหรือใช้งบประมาณของหน่วยงานอื่นก็ได้ แต่ อปท. ต้องมีส่วนร่วมใน การจัดกิจกรรม - ตัวอย่างกิจกรรม เช่น การให้ความรู้ต่าง ๆ การรณรงค์ส่งเสริมประชาธิปไตย อบรมยาเสพติด ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ ค่ายคุณธรรม ค่ายเยาวชนต้นกล้า หนูน้อยรักความสะอาด เป็นต้น  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
  • 17. 17 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ ระเบียบ/นส. สั่งการ ที่เกี่ยวข้อง) 5.2 จานวนความหลากหลายของประเภท กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนเพื่อการพัฒนา เด็กและเยาวชน นอกเหนือจากด้านกีฬาและ การศึกษา (ทั้งที่ใช้งบประมาณ ของ อปท. หรือใช้ งบประมาณของหน่วยงานอื่น) เกณฑ์การให้คะแนน :  4 ประเภทกิจกรรมขึ้นไป  3 ประเภทกิจกรรม  2 ประเภทกิจกรรม  น้อยกว่า 2 ประเภทกิจกรรม 5 3 1 0 - แผนงาน/โครงการกิจกรรม แต่ ละประเภท - ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณ รายจ่ายฯ -ภาพถ่ายกิจกรรม - ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประจาปี 2558 - หนังสือแจ้งขอความร่วมมือกรณี ได้รับการประสานจากหน่วยงานอื่น กรณีไม่ใช้งบประมาณของ อปท. - มาตรฐานการพัฒนา เด็กและเยาวชน บทที่ 2 คุณลักษณะและ ตัวชี้วัด ต่อปัญหาเด็ก และเยาวชนไทย บทที่ 3 กรอบมาตรฐาน และตัวบ่งชี้สาคัญ คาอธิบาย - จัดให้มีกิจกรรมที่มีความหลากหลายรูปแบบ เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน ในด้านต่างๆ ทั้งนี้ไม่รวมกิจกรรมด้านกีฬาและ การศึกษา - ในการนับจานวนกิจกรรมสามารถนับรวมกิจกรรม ทั้งที่ อปท.จัดเองหรือขอให้หน่วยงานอื่นจัดให้หรือร่วมกับหน่วยงานอื่นใน การจัดกิจกรรม - โดยกิจกรรมที่จัดอาจใช้งบประมาณ หรือไม่ใช้งบประมาณในการจัดก็ได้ - สามารถนับรวมกิจกรรม ที่ใช้งบประมาณของท้องถิ่นหรือใช้งบประมาณของหน่วยงานอื่นก็ได้ แต่ อปท. ต้องมีส่วนร่วมใน การจัดกิจกรรม - ตัวอย่างประเภทกิจกรรม เช่น การส่งเสริมการแสดงออก การรณรงค์ การให้ความรู้ ค่ายกิจกรรม เป็นต้น - อปท. สามารถศึกษาตัวอย่างโครงการ/กิจกรรมและประเภทของโครงการ/กิจกรรม ได้จากมาตรฐานการพัฒนาเด็กและ เยาวชนของ สถ.  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
  • 18. 18 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ ระเบียบ/นส. สั่งการ ที่เกี่ยวข้อง) 5.3 ร้อยละของการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อการ พัฒนาเด็กและเยาวชนของ อปท. นอกเหนือ จาก ด้านกีฬา และการศึกษา เกณฑ์การให้คะแนน :  ร้อยละ 5 ขึ้นไป  ร้อยละ 4-4.9  ร้อยละ 3-3.9  น้อยกว่าร้อยละ 3 5 3 1 0 - ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายฯ - ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประจาปี 2558 คาอธิบาย - เป็นการประเมินประสิทธิภาพของ อปท. ในการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน โดยวัดจากร้อยละของการใช้จ่าย งบประมาณเพื่อการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนของ อปท. ดังกล่าว - ไม่รวมเงินอุดหนุนทั่วไปกาหนดวัตถุประสงค์ ที่ อปท. ได้รับการจัดสรรงบประมาณ - ตรวจสอบจากเอกสารหลักฐานข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ เปรียบเทียบกับฎีกาเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปี 2558 เพื่อให้ทราบถึงการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ในการพัฒนาเด็กและเยาวชน ทั้งนี้ไม่รวมด้านกีฬาและ การศึกษา - ดูวิธีการคิดร้อยละการใช้จ่ายงบประมาณท้ายเล่ม*  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
  • 19. 19 6. ด้านการส่งเสริมกีฬา เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ ระเบียบ/นส. สั่งการ ที่เกี่ยวข้อง) 6.1 ร้อยละของการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อการ ส่งเสริมกีฬาของ อปท. เกณฑ์การให้คะแนน :  ร้อยละ 5 ขึ้นไป  ร้อยละ 4-4.9  ร้อยละ 3-3.9  น้อยกว่าร้อยละ 3 5 3 1 0 - ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายฯ - ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประจาปี 2558 คาอธิบาย - เป็นการประเมินประสิทธิภาพของ อปท. ในการส่งเสริมกีฬา โดยวัดจากร้อยละของการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อการส่งเสริม กีฬาของ อปท. ซึ่งการใช้จ่ายงบประมาณดังกล่าว - ไม่รวมเงินอุดหนุนทั่วไปกาหนดวัตถุประสงค์ ที่ อปท. ได้รับการจัดสรรงบประมาณ - ตรวจสอบจากเอกสาร หลักฐานข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ เปรียบเทียบกับฎีกาเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปี 2558 เพื่อให้ทราบถึงการใช้จ่ายงบประมาณที่ใช้ในการส่งเสริมกีฬา - ดูวิธีการคิดร้อยละการใช้จ่ายงบประมาณท้ายเล่ม*  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
  • 20. 20 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ ระเบียบ/นส. สั่งการ ที่เกี่ยวข้อง) 6.2 จานวนลานกีฬา/สนามกีฬา ที่ อปท. ดาเนินการจัดให้มี เพื่อให้ประชาชนได้ใช้ในการ แข่งขันกีฬา หรือออกกาลังกาย (ทั้งที่ใช้และไม่ใช้ งบประมาณของ อปท. หรือใช้งบประมาณของ หน่วยงานอื่น) เกณฑ์การให้คะแนน :  มีสนามกีฬากลางเอนกประสงค์ของ อปท. และมีลานกีฬา/สนามกีฬาครบทุกหมู่บ้าน/ชุมชน  มีสนามกีฬากลางเอนกประสงค์ของ อปท. และมีลานกีฬา/สนามกีฬาอย่างน้อยร้อยละ 50 ของหมู่บ้าน/ชุมชน  มีสนามกีฬากลางเอนกประสงค์ของ อปท. หรือมีลานกีฬา/สนามกีฬาครบทุกหมู่บ้าน/ชุมชน  ไม่มีสนามกีฬากลางเอนกประสงค์ของ อปท. หรือมีลานกีฬา/สนามกีฬาไม่ครบทุกหมู่บ้าน/ชุมชน 5 3 1 0 - ข้อมูลลานกีฬา/สนามกีฬา - ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายฯ - ภาพถ่ายโครงการ - มาตรฐานการส่งเสริม กีฬา บทที่ 3 แนวทางการจัด มาตรฐานการส่งเสริมกีฬา ของ อปท. บทที่ 4 ตัวชี้วัดการ ส่งเสริมกีฬาของ อปท. บทที่ 5 แนวทางและ ขั้นตอนปฏิบัติตาม มาตรฐานการส่งเสริมกีฬา คาอธิบาย - สนามกีฬากลางเอนกประสงค์ หมายถึง สนามกีฬาหลักของ อปท. ที่จัดให้ประชาชนใช้ในการแข่งขันกีฬา หรือออก กาลังกาย เช่น ใช้เล่นฟุตบอล บาสเก็ตบอล วอลเล่ย์บอล เซปักตะกร้อ เป็นต้น ซึ่งอาจเป็นสนามหญ้า สนามดิน คอนกรีต หรือแอสฟัลต์ และเป็นสนามที่ก่อสร้างได้มาตรฐาน - ลานกีฬา/สนามกีฬา หมายถึง สนามที่ อปท. จัดให้เด็ก เยาวชน และประชาชน ได้เล่นกีฬาหรือออกกาลังกายประเภท หนึ่งประเภทใดอย่างถาวร (หรือเป็นลานโล่งกว้างตามปริมาณพื้นที่ที่จะจัดหาได้ สามารถใช้เพื่อการเล่นกีฬาหรือออกกาลัง กายได้) - ให้นับรวมสนามกีฬาของโรงเรียนในสังกัด อปท. ด้วย - แต่ถ้าเป็นโรงเรียนที่ไม่ได้สังกัด อปท. แต่ อปท. ได้มีส่วนร่วมหรือสนับสนุน เช่น การพัฒนาปรับปรุงสนามกีฬา สามารถ นับรวมได้ - ในกรณีที่มีการจัดให้มีลานกีฬา/สนามกีฬาในวัด หรือสถานที่อื่นๆ อปท. จะต้องมีส่วนร่วมหรือสนับสนุน - โดยมีหลักฐานที่สามารถยืนยันได้  จะต้องประเมินทุก อบต.และเทศบาล ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้ ยกเว้น อบจ. ไม่ต้องประเมินข้อนี้
  • 21. 21 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ ระเบียบ/นส. สั่งการ ที่เกี่ยวข้อง) 6.3 ร้อยละของลานกีฬา/สนามกีฬาที่ประชาชน สามารถใช้เล่นกีฬาและนันทนาการในเวลา กลางคืน (สามารถใช้งานได้) เกณฑ์การให้คะแนน :  ร้อยละ 20 ขึ้นไป  ร้อยละ 17 – 19.9  ร้อยละ 14 – 16.9  น้อยกว่าร้อยละ 14 5 3 1 0 - ข้อมูลลานกีฬา/สนามกีฬา - ภาพถ่ายลานกีฬา/สนามกีฬาใน เวลากลางคืน/กลางวัน - สอบถามผู้นาหมู่บ้าน/ชุมชน - ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายฯ - ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประจาปี 2558 - หนังสือยืนยันจากผู้นาชุมชน/ ประชาชน/กานัน/ผู้ใหญ่บ้าน - มาตรฐานการส่งเสริม กีฬา บทที่ 3 แนวทางการจัด มาตรฐานการส่งเสริมกีฬา ของ อปท. บทที่ 4 ตัวชี้วัดการ ส่งเสริมกีฬาของ อปท. บทที่ 5 แนวทางและ ขั้นตอนปฏิบัติตาม มาตรฐานการส่งเสริมกีฬา คาอธิบาย - เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนได้เล่นกีฬาและนันทนาการได้ในเวลากลางคืน โดย อปท. ควรจัดให้มีสิ่งอานวยความ สะดวกตามความเหมาะสม และมีความปลอดภัย ในการเข้ามาใช้บริการลานกีฬา/สนามกีฬาของประชาชน และมีการ บารุงรักษาให้สามารถใช้การได้ตลอดเวลา  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
  • 22. 22 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ ระเบียบ/นส. สั่งการ ที่เกี่ยวข้อง) 6.4 จานวนกิจกรรมหลักเพื่อการส่งเสริมกีฬา ของ อปท. 1. มีการบริหารจัดการด้านการส่งเสริมกีฬา ได้แก่ - มีการจัดตั้งคณะกรรมการด้านการส่งเสริม กีฬา -มีการตั้งข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณ รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เพื่อ การส่งเสริมกีฬาของ อปท. และมีการเบิกจ่าย งบประมาณได้อย่างน้อยร้อยละ 80 ของ ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติที่ตั้งไว้ - มีการสนับสนุนให้มีการจัดตั้งชมรม/สโมสร การออกกาลังกายหรือการเล่นกีฬา ตามความ สนใจของประชาชน - มีการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ เพื่อให้คาแนะนาใน การเล่นกีฬาและออกกาลังกาย 2. การจัดให้มีสถานที่สาหรับการเล่นกีฬา การ ออกกาลังกาย กิจกรรมนันทนาการ ได้แก่ - การจัดให้มีสนามกีฬากลางอเนกประสงค์ ของ อปท. และมีลานกีฬา/สนามกีฬา - การจัดให้มีบริการให้ลานกีฬาสนามกีฬาที่ ประชาชนสามารถใช้เล่นกีฬาและนันทนาการได้ ทั้งกลางวันและกลางคืน - การจัดให้มีอาคารกีฬาในร่ม - การจัดให้มีสนามกีฬากลางแจ้ง - การบารุงรักษาสนามกีฬาประจาจังหวัด - การจัดให้มีสวนสาธารณะ สวนสุขภาพ เพื่อ การออกกาลังกาย 3. การจัดให้มีอุปกรณ์กีฬาและอุปกรณ์การ ออกกาลังกาย ได้แก่ - จัดให้มีอุปกรณ์กีฬา/อุปกรณ์การออกกาลัง กายที่ได้มาตรฐาน มีจานวนเพียงพอต่อความ ต้องการ รวมถึงมีการจัดทาบัญชีอุปกรณ์กีฬา/ อุปกรณ์การออกกาลังกาย และมีสถานที่เก็บ อุปกรณ์ดังกล่าว - มีการจัดทาบัญชีการยืม-คืน/ขอใช้อุปกรณ์ กีฬาและอุปกรณ์การออกกาลังกาย - ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายฯ - ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประจาปี 2558 - คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด้าน การส่งเสริมกีฬา - บัญชีรายชื่อชมรม/สโมสรการ ออกกาลังกายหรือการเล่นกีฬา - ข้อมูลลานกีฬา/สนามกีฬา - ภาพถ่ายต่าง ๆ เช่น สนามกีฬา/ ลานกีฬา การเล่นกีฬา/การออก กาลังกายในเวลากลางวันและ กลางคืน การแข่งขันกีฬา เป็นต้น - บัญชีอุปกรณ์กีฬา/อุปกรณ์การ ออกกาลังกาย มาตรฐานการส่งเสริม กีฬา
  • 23. 23 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ ระเบียบ/นส. สั่งการ ที่เกี่ยวข้อง) 4. การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬา/ การออกกาลังกาย ได้แก่ - การจัดแข่งขันกีฬาระดับหมู่บ้าน/ชุมชน/ โรงเรียน - การจัดแข่งขันกีฬาระดับอาเภอหรือระดับ จังหวัด - การจัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬา/การออก กาลังกายประจาสัปดาห์ - การจัดกิจกรรมหรือสนับสนุนให้มีการจัด กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬา/ออกกาลังกาย แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน - การสนับสนุนให้มีกิจกรรมการตรวจสุขภาพ/ สมรรถภาพทางกาย และให้คาแนะนาในการเล่น กีฬา เกณฑ์การให้คะแนน :  มีการดาเนินการ 3 – 4 กิจกรรมหลัก มีการดาเนินการ2กิจกรรมหลัก มีการดาเนินการ1กิจกรรมหลัก  ไม่มีการดาเนินการ 5 3 1 0 คาอธิบาย - การจัดให้มีสถานที่สาหรับการเล่นกีฬา การออกกาลังกาย หรือกิจกรรม นันทนาการ ควรจัดในลักษณะชนิดและประเภท กีฬาที่หลากหลาย รวมถึงการพักผ่อนหย่อนใจ โดยสถานที่ดังกล่าวอาจดาเนินการเอง หรือได้รับการถ่ายโอน หรือร่วมกับ หน่วยงานอื่นในการดาเนินการ - การจัดแข่งกีฬา รวมถึง การแข่งขันกีฬาของประชาชนทั่วไป กีฬานักเรียน กีฬาของ อปท. ในระดับต่าง ๆ - ในการดาเนินกิจกรรมย่อยต่าง ๆ ในแต่ละกิจกรรมหลัก อปท. สามารถพิจารณาดาเนินการได้ตามความเหมาะสม อานาจหน้าที่ และศักยภาพของแต่ละ อปท.  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
  • 24. 24 7. ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/ นส.สั่งการที่เกี่ยวข้อง) 7.1 จานวนกิจกรรมที่ อปท. ดาเนินการ เพื่อพัฒนาผู้สูงอายุ นอกเหนือจากการ จ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ (ไม่ใช่กิจกรรม พัฒนาผู้สูงอายุเฉพาะบุคคล) เกณฑ์การให้คะแนน :  7 กิจกรรม ขึ้นไป  5 - 6 กิจกรรม  3 - 4 กิจกรรม  น้อยกว่า 3 กิจกรรม 5 3 1 0 - ฐานข้อมูลผู้สูงอายุ - ภาพถ่ายกิจกรรม/โครงการ - กิจกรรมที่ อปท. จัดหรือสนับสนุนการจัด อาจใช้จ่ายจากเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรให้ - ข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายฯ - สาเนาโครงการ - ฎีกาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณประจาปี 2558 - หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่จัด กิจกรรม - มาตรฐานการ ดาเนินงานด้านผู้สูงอายุ บทที่ 4 ตัวชี้วัดขั้น พื้นฐานและตัวชี้วัดขั้น พัฒนา คาอธิบาย - เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ที่นอกเหนือจากการจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ และเป็นกิจกรรมที่ ทาให้กับผู้สูงอายุในภาพรวมของพื้นที่ มิใช่เป็นการพัฒนาผู้สูงอายุบุคคลใดบุคคลหนึ่ง - ในการนับจานวนกิจกรรมสามารถนับรวมกิจกรรม ทั้งที่ อปท. จัดเองหรือขอให้หน่วยงานอื่นจัดให้หรือร่วมกับหน่วยงานอื่น ในการจัดกิจกรรม - นับรวมทั้งกิจกรรมที่ใช้งบประมาณของ อปท. และไม่ใช้งบประมาณของ อปท. (อปท. เป็นผู้ดาเนิน การหรือมีส่วนร่วมใน การดาเนินโครงการ) - โดยกิจกรรมที่จัดอาจใช้งบประมาณ หรือไม่ใช้งบประมาณในการจัดก็ได้ - การนับจานวนกิจกรรมให้นับ1โครงการ1กิจกรรมตามนส.สถ.ด่วนที่สุดที่ มท0892.2/ว930ลว.8พ.ค.2558 - ตัวอย่างกิจกรรมเพื่อการพัฒนาผู้สูงอายุ - ด้านการเตรียมความพร้อมของผู้สูงอายุ เช่น การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับคนทุกวัย การให้การศึกษา สาหรับผู้สูงอายุ การส่งเสริมวินัยการออม การเข้าร่วมเป็นสมาชิกกองทุนการออมต่าง ๆ การจัดทาฐานข้อมูลผู้สูงอายุ เป็นต้น - ด้านสุขภาพและการรักษาพยาบาล เช่น การออกกาลังกายในผู้สูงอายุ การบริการให้คาปรึกษา เกี่ยวกับสุขภาพและ โรคภัยไข้เจ็บ การตรวจสุขภาพประจาปี การตรวจคัดกรองโรคต่าง ๆ การให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพ ผู้สูงอายุ การใช้ยาในผู้สูงอายุ การตรวจ/ให้ความรู้ในการรักษาช่องปากและฟัน รวมถึงการส่งเสริมการออกกาลังกายสาหรับ ผู้สูงอายุ เป็นต้น - ด้านการส่งเสริมรายได้ เช่น การส่งเสริมอาชีพแก่ผู้สูงอายุที่เหมาะสมกับสภาพร่างกาย การส่งเสริมการรวมกลุ่มของ ผู้สูงอายุในรูปของกลุ่ม ชมรมหรือสมาคมผู้สูงอายุในการทากิจกรรมต่าง ๆ เป็นต้น - ด้านนันทนาการ การสร้างรอยยิ้มให้กับผู้สูงอายุ เช่น การศึกษาดูงานนอกสถานที่ การแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน การจัด การละเล่นต่าง ๆ การเล่นดนตรีพื้นบ้าน เป็นต้น - ด้านศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การรดน้าดาหัวผู้สูงอายุในวันสงกรานต์ การบรรยาย ธรรมะ การปฏิบัติธรรม การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นจากผู้สูงอายุสู่ลูกหลาน เป็นต้น - ด้านการคุ้มครองทางสังคม เช่น การจัดสิ่งอานวยความสะดวกแก่ผู้สูงอายุ การส่งเสริมการรวมกลุ่ม/ชมรมของผู้สูงอายุ การจัดตั้งศูนย์ Hot Line ให้ความรู้/แนะนา/ช่วยเหลือ แจ้งเหตุ ผู้สูงอายุที่ได้รับอันตราย ถูกทารุณกรรม หรือถูกทอดทิ้ง เป็นต้น - ด้านการยกเว้นค่าธรรมเนียมต่าง ๆ เช่น ค่าธรรมเนียมเข้าชมสถานที่พิพิธภัณฑ์ หอสมุด โบราณสถาน แหล่งท่องเที่ยว ที่อยู่ในการดูแลของ อปท. เป็นต้น  จะต้องประเมินทุก อปท. ไม่สามารถตัดฐานการประเมินได้
  • 25. 25 เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ การให้ คะแนน ดูหลักฐานจาก… (คาสั่ง/รายงาน/เอกสาร/ นส.ฯลฯ) อ้างอิงจาก... (กฎหมาย/พ.ร.บ./ระเบียบ/นส.สั่งการที่เกี่ยวข้อง) 7.2 จานวนครั้งที่เทศบาล และ อบต. สามารถดาเนิน การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ได้ครบถ้วนถูกต้องตาม ประกาศเทศบาล/อบต. เรื่อง บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิ รับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ของเทศบาล/อบต. ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2558 ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน เกณฑ์การให้คะแนน :  จ่ายได้ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือนจานวน12ครั้ง  จ่ายได้ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือนจานวน11ครั้ง  จ่ายได้ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือนจานวน10ครั้ง  จ่ายได้ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน ต่ากว่า 10 ครั้ง 5 3 1 0 - หลักฐานการจ่ายเงิน เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ภายใน วันที่ 10 ของ ทุกเดือน ตามระเบียบ มท. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพ ผู้สูงอายุของ อปท. พ.ศ. 2552 - ฎีกาการเบิกจ่ายเงินใน แต่ละเดือน - หลักฐานการโอนเข้า บัญชีธนาคาร (กรณีโอน เข้าบัญชีธนาคาร) - หลักฐานการจ่ายเงิน/ รับเงิน (กรณีรับเป็นเงิน สด) - การบันทึกข้อมูลใน ระบบสารสนเทศการ จัดการฐานข้อมูลเบี้ยยัง ชีพของ อปท. - พ.ร.บ. ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 - ระเบียบ มท. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพ ผู้สูงอายุของ อปท. พ.ศ. 2552 - นส. มท. ที่ มท 0891.3/ว2500 ลว. 20 ส.ค. 2553 เรื่อง แนวทางการปฏิบัติในการจ่ายเงินตาม ระเบียบ มท. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพ ผู้สูงอายุของ อปท. พ.ศ. 2552 และระเบียบ มท. ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยความพิการให้คนพิการ ของ อปท. พ.ศ. 2553 - นส. สถ. ด่วนที่สุด ที่ มท 0891.3/ว 2172 ลว. 11 ต.ค. 2556 เรื่อง แนวทางการรับลงทะเบียนผู้มีสิทธิรับ เงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุและเบี้ยความพิการของ อปท. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - นส. สถ. ด่วนที่สุด ที่ มท 0891.3/ว 1786 ลว. 7 ต.ค. 2557 เรื่อง แจ้งบัญชีจัดสรรงบประมาณตามโครงการ สร้างหลักประกันด้านรายได้แก่ผู้สูงอายุ และโครงการ เสริมสร้างสวัสดิการทางสังคมให้แก่ผู้พิการหรือทุพพลภาพ งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 ต.ค. 2554 คาอธิบาย - เป็นการประเมินประสิทธิภาพของ อปท. ในการดาเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุให้เป็นไปตามระเบียบ มท. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุของ อปท. พ.ศ. 2552 โดยในปี งบประมาณ พ.ศ. 2558 สถ. ได้มีการแจ้งแนวทางการรับ ลงทะเบียนผู้มีสิทธิรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ และแจ้งการจัดสรรงบประมาณแก่ อปท. แล้ว - อปท. จะต้องมีการดาเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่การรับลงทะเบียน จนถึงการดาเนินการจ่ายเงินเบี้ย ยังชีพผู้สูงอายุ โดยอย่างน้อยควรจะมีกระบวนการดังต่อไปนี้ 1. อปท. จัดพิมพ์หรือประสานการจัดพิมพ์ข้อมูลรายชื่อผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ จากสานักทะเบียนท้องถิ่นหรือสานัก ทะเบียนอาเภอ เพื่อเป็นหลักฐานประกอบการตรวจสอบคุณสมบัติผู้สูงอายุ กรณีผู้สูงอายุที่เสียชีวิตแล้ว การจาหน่ายรายชื่อ ผู้เสียชีวิตออกจากทะเบียนราษฎร 2. มีการประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนเพื่อขอรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุที่ทั่วถึง ด้วยวิธีการที่เหมาะสมและหลากหลาย โดยอาจตรวจสอบจากรูปถ่าย ข้อความประชาสัมพันธ์ สื่อที่ใช้ประชาสัมพันธ์ เป็นต้น 3. มีการรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุรายใหม่ที่ยังไม่เคยลงทะเบียนมาก่อนรวมทั้งผู้สูงอายุที่ย้ายภูมิลาเนาเข้ามาอยู่ใน พื้นที่ของ อปท. แต่ยังไม่ได้ยื่นคาขอลงทะเบียน ภายในเดือนพฤศจิกายน ของทุกปี โดยกาหนดวัน เวลา และสถานที่ ในการรับ ลงทะเบียนที่เหมาะสม 4.มีการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ลงทะเบียน 5. มีการบันทึกข้อมูลผู้มีสิทธิได้รับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ที่มาลงทะเบียน ในระบบสารสนเทศการจัดการฐานข้อมูลเบี้ย ยังชีพของ อปท. พร้อมทั้งปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องกับข้อเท็จจริงจานวนผู้มีสิทธิ โดยทีมประเมินฯ อาจตรวจสอบจากการ บันทึกข้อมูลในระบบสารสนเทศฯ ของ อปท. เปรียบเทียบกับประกาศบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิ รับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุฯ ที่ อปท. จัดส่งให้กับจังหวัด