SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 29
Baixar para ler offline
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                      หนวยการเรียนรูที่ 2 สถานการณเสี่ยงทางเพศ เวลา 4 ชั่วโมง

ทักษะ/กระบวนการ
       1. นักเรียนมีทกษะในการปฏิบัตตนเพื่อหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธโดยไมคาดคิด
                      ั             ิ
จากการใชวิจารณญาณของตนเอง
        2. นักเรียนมีทกษะในการเตือนเพื่อนและผูใกลชิดที่มีพฤติกรรมเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ
                        ั
โดยการวิเคราะหปญหาและผลกระทบที่ตามมาอยางชัดเจน

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
            
       1. มีทักษะการเตือนเพื่อนและผูใกลชิดทีมีพฤติกรรมเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ
                                              ่
       2. รูแนวทางการปองกันตนเองในสถานการณเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ

จุดประสงคการเรียนรู
       1. รูแนวทางการปองกันตนเองในสถานการณเสี่ยงทางเพศ
       2. คนหาวิธีการเตือนเพื่อนและผูใกลชิดที่มีพฤติกรรมเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ
       3. ตัดสินใจเลือกการปฏิบัติไดอยางถูกตอง

คุณลักษณะที่พึงประสงค
       1. การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ
       2. การชวยเหลือเพื่อน
       3. ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย

สาระการเรียนรู
       1. ทักษะการเตือนเพื่อนและผูใกลชิดที่มพฤติกรรมเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ
                                              ี
       2. การปฏิบัติตนเพื่อหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธโดยไมคาดคิด

วิธีดําเนินกิจกรรม
ชั่วโมงที่ 1
          1. ครูสนทนากับนักเรียน ตามกรณีตวอยาง เรื่อง “ม.3 แทงลูก” โดยใหนกเรียน
                                             ั                                    ั
              แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ พรอมทั้งกระตุนนักเรียนใหชวยกันคนหาคําตอบ
              ถึงปญหา ที่เกิดขึ้นจากกรณีตวอยาง และบอกผลกระทบที่จะเกิดตามมา
                                          ั



ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                    ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




           2. ครูใหนักเรียนเขากลุมเดิมพรอมทั้งแจกกรณีตัวอยาง เรือง “ม. 3 แทงลูก” ใหนกเรียน
                                                                     ่                      ั
               ศึกษาอยางละเอียด โดยรวมพิจารณาพฤติกรรมของปญหาจากการศึกษากรณีตวอยาง     ั
               โดยระบุปญหา , สาเหตุ , ของการเกิดปญหา แลวบันทึกขอมูลลงในใบกิจกรรมที่ 1
                เรื่องกรณีตัวอยาง “ ม.3 แทงลูก ” ขอที่ 1
           3. ครูนําใบความรูที่ 1 เรื่อง หลักการปฏิเสธและการเตือนเพื่อน ใหนกเรียนศึกษา
                                                                               ั
               พรอมทั้งรวมกันวางแผน ปองกันปญหาโดยใชทกษะการปฏิเสธ ลงในใบกิจกรรมที่ 1
                                                             ั
               เรื่อง กรณีตัวอยาง “ ม.3 แทงลูก ” ขอที่ 2
            4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงวิธการใชทักษะการปฏิเสธเพื่อปองกันปญหามิให
                                                    ี
               เกิดดังเชนกรณีตวอยาง
                                 ั

ชั่วโมงที่ 2
          1. ครูนํานักเรียนสนทนาและสอบถามถึงเหตุการณที่อยูรอบตัวนักเรียนวามีความเสี่ยง
             อยางไรบาง เชน การอยูบานคนเดียว การเดินทางคนเดียว นักเรียนมีวิธีการปองกัน
             ตนเองอยางไร
          2. นักเรียนเขากลุมเดิมของตนเอง โดยครูแจก กรณีตวอยางเรื่อง “ จุกจิ๊กนัก…ไมนารัก
                                                               ั
             เลย ” ใหนักเรียนศึกษาพรอมทั้งปฏิบัติใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กรณีตัวอยาง “ จุกจิ๊ก
             นัก…ไมนารักเลย ” โดยสงเสริมใหนักเรียนใชหลักการปฏิเสธใหมากที่สุด
          3. นักเรียนชวยกันวิเคราะหจดลําดับทางเลือก และ ประเมินขอดี ขอเสียของทางเลือก
                                       ั
              แตละขอ และเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด พรอมทั้งใหเหตุผล
          4. นักเรียนในกลุมเตรียมนําเสนอผลงานกลุม
          5. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปถึง แนวทางการหลีกเลี่ยงสถานการณเสี่ยงทางเพศ
              จากการศึกษากรณีตัวอยาง เรื่อง “ จุกจิ๊กนัก…ไมนารักเลย ” ที่เหมาะสมที่สุด
                                                  
              พรอมทั้งใหเหตุผล

ชั่วโมงที่ 3
      1. ครูนํานักเรียนสนทนาถึงผลการสรุปแนวทางการหลีกเลี่ยงสถานการณเสี่ยงทางเพศ
            จากชั่วโมงที่ผานมา
      2. นักเรียนเขากลุมเดิม ครูแจกกรณีตวอยาง เรื่อง “ ฟนดะ ” ใหนักเรียนศึกษา พรอมทั้ง
                                            ั
            ปฏิบัติใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง กรณีตวอยาง “ ฟนดะ ” โดยสงเสริมใหนักเรียนใช
                                               ั
            หลักการปฏิเสธใหมากที่สุด


ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                   ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                           สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




       3. นักเรียนชวยกันวิเคราะหพฤติกรรมจาการศึกษากรณีตัวอยาง พรอมทั้งแสดงความคิดเห็น
          ถึงพฤติกรรมนั้น
       4. นักเรียนในกลุมเตรียมนําเสนอผลงานของกลุม
       5. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปถึง แนวทางการเตือนเพื่อนมิใหสรางสถานการณเสียงทางเพศ
                                                                                     ่
          จากการศึกษากรณีตวอยาง เรื่อง “ ฟนดะ ” ที่เหมาะสมที่สุดพรอมทั้งใหเหตุผล
                              ั

ชั่วโมงที่ 4
      1. ครูและนักเรียนสนทนาเกียวกับทักษะการเตือนเพื่อนและการปองกันตนเองมิใหตก
                                      ่
            อยูในสถานการณที่เสียงตอการมีเพศสัมพันธ
                                   ่
      2. ครูแนะนําวิธีการเขียนแผนผังความคิดแบบผังแมงมุม ( Web Diagram )
      3. นักเรียนเขากลุมเดิม รวมกันวิเคราะหองคประกอบตางๆของการเกิดสถานการณที่เสียง
                                                                                           ่
            ทางเพศ และทักษะในการปฏิเสธและการเตือนเพื่อนปองกันการเกิดปญหาที่ดีที่สุด
            พรอมทั้งนําเสนอเปนแผนผังความคิดลงในใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องแผนผังความคิดของ
            สถานการณเสี่ยงทางเพศ
      4. นักเรียนและครูรวมกันสรุปถึงวิธีการปฏิเสธและการเตือนเพื่อนที่เปนแนวทางในการ
            แกไขปญหาทีดีที่สุดหรือทางออกที่ดีที่สุดเพื่อปองกันตนเองเมื่อตกอยูในสถานการณ
                           ่                                                    
            ที่เสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ พรอมทั้งแนะนํา E-book เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ
            ใหนกเรียนไดศึกษาเพิ่มเติม
                    ั

สื่อการเรียนรู
                    1. กรณีตัวอยางเรื่อง ม.3 แทงลูก
                    2. กรณีตัวอยางเรื่อง จุกจิ๊กนัก….ไมนารักเลย
                    3. กรณีตัวอยางเรื่อง ฟนดะ
                    4. ใบความรูที่ 1 เรื่อง หลักการปฏิเสธและการเตือนเพื่อน
                    5. ใบกิจกรรมที่ 1 กรณีตัวอยาง “ ม.3 แทงลูก ”
                    6. ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตวอยาง เรื่อง จุกจิ๊กนัก….ไมนารักเลย
                                               ั
                    7. ใบกิจกรรมที่ 3 กรณีตวอยางเรื่อง ฟนดะ
                                                 ั
                    8. ใบกิจกรรมที่ 4 แผนผังความคิดของสถานการณเสี่ยงทางเพศ
                    9. หนังสืออิเล็คทรอนิคส (e-book ) เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ



ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                     ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




แหลงคนควาเพิ่มเติม

                       1.   ไทยยูท http://www.thaiyouths.org
                       2.   วาว คูล ดอท คอม คอม http://www.wow-cool.com
                       3.   ทีนแพ็ท http://www.teenpath.net
                       4.   บริการใหคําปรึกษาเกียวกับทองไมพรอม ตั้งครรภไมพงประสงค
                                                 ่                              ึ
                            มูลนิธิหญิง โทรศัพท 02-434-5149 วันจันทร – ศุกร 09.00.17.00 น.
                            มูลนิธิเพื่อนหญิง โทรศัพท 02-513-2708 วันจันทร – ศุกร 09.00.17.00 น.
                            สายดวนวัยรุน โทรศัพท 02-275-6993-4 , 02-692-1828 วันจันทร – ศุกร
                            09.00.17.00 น.
การวัดผลประเมินผล
           1. วิธีการวัดผลประเมินผล
                    1.1. ตรวจใบกิจกรรม
                    1.2. สังเกตพฤติกรรมดานคุณลักษณะทีพึงประสงค
                                                      ่
                    1.3 ประเมินการนําเสนอผลงานกลุม
           2. เครื่องมือการวัดผลประเมินผล
                     2.1 แบบบันทึกคะแนนกิจกรรม
                    2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมดานคุณลักษณะที่พึงประสงค
                    2.3 แบบประเมินการนําเสนอผลงานกลุม

           3. เกณฑการวัดผลประเมินผล
                  3.1 ใบกิจกรรมที่ 1 กรณีตวอยาง “ ม.3 แทงลูก ”
                                           ั
                          3.1.1 ความสามารถในการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
                                   ระดับ 1. รวบรวมขอมูล ไมเปนระบบ ระบุปญหาไมชัดเจน
                                         2. รวบรวมขอมูล เปนระบบ ระบุปญหาชัดเจน
                                         3. ระบุปญหา บอกสาเหตุปญหา รวบรวมขอมูลมาสราง
                                                                    
                                             ทางเลือก
                                         4. ระบุปญหา บอกสาเหตุปญหา สรางทางเลือก
                                                                      
                                             เชื่อมโยงความสัมพันธเชิงเหตุเชิงผล และตัดสินใจ
                          3.1.2 คานิยม
ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                       ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                               สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                              ระดับ 1. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติโดยไมคํานึงถึงผลกระทบ
                                                    2. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติโดยคํานึงถึงผลกระทบ
                                                       มีทางเลือกที่ หลากหลาย
                                                    3. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติอยางมีเหตุมีผล
                                                    4. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติในสวนดี สงผลตอสังคม

                       3.2 ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตวอยาง เรื่อง จุกจิ๊กนัก….ไมนารักเลย
                                               ั

                                  3.2.1 ความสามารถในการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
                                           ระดับ 1. รวบรวมขอมูล ไมเปนระบบ ระบุปญหาไมชัดเจน
                                                 2. รวบรวมขอมูล เปนระบบ ระบุปญหาชัดเจน
                                                 3. ระบุปญหา บอกสาเหตุปญหา รวบรวมขอมูลมาสราง
                                                                            
                                                    ทางเลือก
                                                 4. ระบุปญหา บอกสาเหตุปญหา สรางทางเลือก
                                                                              
                                                    เชื่อมโยงความสัมพันธเชิงเหตุเชิงผล และตัดสินใจ
                                  3.2.2 คานิยม
                                           ระดับ 1. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติโดยไมคํานึงถึงผลกระทบ
                                                 2. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติโดยคํานึงถึงผลกระทบ
                                                    มีทางเลือกที่หลากหลาย
                                                 3. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติอยางมีเหตุมีผล
                                                 4. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติในสวนดี สงผลตอสังคม

                       3.3 ใบกิจกรรมที่ 3 กรณีตวอยางเรื่อง ฟนดะ
                                               ั

                                  3.3.1 ความสามารถในการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
                                          ระดับ 1. ขอมูล ไมเปนระบบ ระบุเหตุผลไมชัดเจน
                                                2. ขอมูล เปนระบบ ระบุเหตุผลอยางงาย
                                                3. แสดงเหตุผลชัดเจน หลากหลาย
                                                4. แสดงเหตุผลชัดเจน เชื่อมโยงเหตุ , ผลอยางกลมกลืน


                                 3.3.2 คานิยม

ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                           ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                      ระดับ 1. แนะนําเพื่อนใหคํานึงถึงประโยชนสวนตนดวยวิธีการ
                                                 ที่หลากหลาย
                                              2. แนะนําเพื่อนใหคํานึงถึงประโยชนของหมูคณะ
                                                 อยางมีเหตุผล
                                              3. แนะนําเพื่อนใหคํานึงถึงประโยชนของสวนรวม
                                                อยางมีเหตุผล
                                              4. แนะนําเพื่อนใหคํานึงถึงประโยชนของสวนรวม
                                                อยางมีเหตุผล เปนระบบ
                     3.4 ใบกิจกรรมที่ 4 แผนผังความคิดของสถานการณเสี่ยงทางเพศ
                              3.4.1 ความรูความเขาใจในเนื้อหา
                                      ระดับ 1. แยกแยะเนือหาไมครบถวน ไมเชื่อมโยงตอเนื่องกัน
                                                              ้
                                              2. แยกแยะเนือหาไดครบถวน มีความเชื่อมโยงกัน
                                                            ้
                                              3. อธิบายขอมูลความรูที่เกียวของไดอยางเปนระบบ
                                                                             ่
                                                 มีผลตอเนื่องกัน
                                              4. อธิบายขอมูลความรูที่เกียวของไดอยางเปนระบบ
                                                                           ่
                                                 มีผลตอเนื่องกัน และเชือมโยงกับชีวิตจริง
                                                                         ่

                      3.5 คุณลักษณะที่พึงประสงค

                            3.5.1 การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ
                                     ระดับ 1. การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบอยูในเกณฑควร
                                                   ปรับปรุง
                                                2. การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบอยูในเกณฑพอใช
                                                3. การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบอยูในเกณฑดี
                                                4. การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบอยูในเกณฑดีมาก
                            3.5.2 การชวยเหลือเพื่อน
                                        ระดับ 1. การชวยเหลือเพื่อนอยูในเกณฑควรปรับปรุง
                                                2. การชวยเหลือเพื่อนอยูในเกณฑพอใช
                                                3. การชวยเหลือเพื่อนอยูในเกณฑดี
                                                4. การชวยเหลือเพื่อนอยูในเกณฑดีมาก
                            3.5.3 ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย

ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                    ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                      ระดับ             1. ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย
                                                           อยูในเกณฑควรปรับปรุง
                                                        2. ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย
                                                           อยูในเกณฑพอใช
                                                        3. ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย
                                                           อยูในเกณฑดี
                                                        4. ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย
                                                           อยูในเกณฑดีมาก

                       3.6 การนําเสนอผลงานกลุม

                            3.6.1 ความพรอมในการนําเสนอ
                                   ระดับ 1. ความพรอมในการนําเสนออยูในเกณฑควรปรับปรุง
                                         2. ความพรอมในการนําเสนออยูในเกณฑพอใช
                                         3. ความพรอมในการนําเสนออยูในเกณฑดี
                                         4. ความพรอมในการนําเสนออยูในเกณฑดีมาก
                            3.6.2 ความนาสนใจในการนําเสนอ
                                   ระดับ 1. ความนาสนใจในการนําเสนออยูในเกณฑควรปรับปรุง
                                         2. ความนาสนใจในการนําเสนออยูในเกณฑพอใช
                                         3. ความนาสนใจในการนําเสนออยูในเกณฑดี
                                         4. ความนาสนใจในการนําเสนออยูในเกณฑดีมาก
                            3.6.3 ความสมบูรณ ถูกตองของผลงาน
                                  ระดับ 1. ความสมบูรณ ถูกตองอยูในเกณฑควรปรับปรุง
                                         2. ความสมบูรณ ถูกตองอยูในเกณฑพอใช
                                         3. ความสมบูรณ ถูกตองอยูในเกณฑดี
                                         4. ความสมบูรณ ถูกตองอยูในเกณฑดมาก
                                                                             ี




ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                             ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                                   ใบกิจกรรมที่ 1
                                  เรื่อง กรณีตัวอยาง “ ม.3 แทงลูก ”
                                 ชื่อกลุม................................................
         สมาชิกกลุม 1..................................................................................
                          2..................................................................................
                          3.................................................................................
คําชี้แจง ใหนักเรียนศึกษากรณีตัวอยาง “ ม.3 แทงลูก ” แลวระดมความคิดเห็นดังนี้
ขอที่ 1
                วิเคราะหพฤติกรรมของปญหาที่เกิดขึ้นจากกรณีตัวอยาง
                คนหาพฤติกรรมเสริมที่กอใหเกิดปญหาจากกรณีตัวอยาง “ ม 3. แทงลูก ”

                  พฤติกรรมของปญหา                                      พฤติกรรมเสริมที่กอใหเกิดปญหา




            สรุปผลการวิเคราะหพฤติกรรมที่กอใหเกิดปญหาดังกรณีตัวอยาง




ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                                    ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




          บอกสาเหตุของปญหาที่เกิดขึ้นจากกรณีตัวอยางและใหนกเรียนสรางทางเลือก
                                                             ั
ในการปฏิบัตตนตามสาเหตุนั้นๆ
           ิ
                                                ทางเลือกในการปฏิบัตตน
                                                                   ิ
     สาเหตุของปญหา
                                         ดานดี                       ดานไมดี




                    นักเรียนจัดลําดับจากสาเหตุใหญไปหาสาเหตุยอย ……………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
                    ถานักเรียนตกอยูในสถานการณดังกรณีตัวอยางนักเรียนจะตัดสินใจเลือกปฏิบัตตน คือ                                               ิ
  ...........................................................................................................................................................
 ............................................................................................................................................................
                    เหตุผลในการเลือกเพราะ
 ...........................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
ขอที่ 2
            นักเรียนศึกษาใบความรู เรื่อง ทักษะการปฏิเสธและการเตือนเพื่อน เพื่อวางแผน
ปองกันปญหาจากกรณีตัวอยาง เรื่อง “ ม.3 แทงลูก ” โดยบอกถึงวิธีการกลาวปฏิเสธและผลกระทบ
ที่จะเกิดตามมาทั้งผลดีและผลเสีย

                                                                                                 ผลกระทบ
             คํากลาวปฏิเสธ
                                                                           ผลดี                                                ผลเสีย




ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                                                            ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                                                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




     คํากลาวปฏิเสธที่ควรเลือกปฏิบัติ ……………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………




ทัศนีย ไชยเจริญ                                                        ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                                            กรณีตัวอยาง
                                                        เรื่อง ม.3 แทงลูก


                                           ม.3 แทงลูก สลดใจหนาเสาธง
                                           ครู – เพื่อนหามสงโรงพยาบาล
                                               พอช็อก ทอง 3 เดือน

         สลดเด็กนักเรียนหญิงม.3 เกิดแทงลูกขณะยืนเขาแถวเคารพธงชาติ เปดเทอมวันแรก
บนกับเพื่อนวาปวดทอง ระหวางปลอยแถวเดินกลับหองไดไมกกาว จูเลือดเปนลิ่มไหลเปรอะเต็ม
                                                             ี่
ไปหมด ครูตองชวยนําสงโรงพยาบาล แพทยตรวจพบเด็กตั้งทองได 2 – 3 เดือน และปวยเปน
               
โรคไทรอยด ทําใหครรภเปนพิษเกิดจากการตกเลือด พอรูขางถึงช็อก ยอมรับเลี้ยงลูกแบบตามใจ
แถมรูวาคบหากับเพื่อนชายตางสถาบัน แตนึกไมถึงจะเกิดเรื่องแบบนี้ขน ดาน ผูอํานวยการ
                                                                      ึ้
โรงเรียนระบุเด็กทองชวงปดเทอม
         เรื่องราวสะทอนสังคม เด็กหญิงตั้งทองแลวเกิดตกเลือดขณะยืนเขาแถวหนาเสาธง
รับเปดเทอมวันแรกรายนี้ เปดเผยเมื่อเวลา 08.30น. วันที่ 16 พ.ค. ผูสื่อขาวไดรับแจงจากเจาหนาที่
โรงพยาบาลบางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา วามีเด็กหญิงตกเลือดมารักษา หลังทราบเรื่องจึงรีบ
เดินทางไปตรวจสอบ ทราบชื่อเด็กหญิงจอย (นามสมมติ) อายุ 14 ป เรียนอยูชนม.3 โรงเรียน
                                                                              ั้
มัธยมแหงหนึงใน อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา สภาพเด็กมีอาการออนเพลีย แพทยตรวจ
                 ่
รักษาจนอาการปลอดภัยแลว และใหนอนรักษาตัวดูอาการที่โรงพยาบาล
         สอบถามเพื่อนนักเรียนไดความวา กอนเกิดเหตุทางโรงเรียนเปดเทอมเปนวันแรก หลังปด
ยาวมากวา 3 เดือน โดยเด็กหญิงจอย เดินทางมาโรงเรียนตามปกติตั้งแตเชา และไปยืนเขาแถว
เคารพธงชาติหนาเสาธง ระหวางที่ครูปลอยเดินแถวเขาหองเรียนไดไมกี่กาว ด.ญ.จอยบนปวดทอง
ตั้งแตตอนเขาแถวแลว จูๆก็มีเลือดไหลทะลักออกมาเปนลิ่มๆ เปรอะขาและพื้นเต็มไปหมด สราง
ความตกตะลึกใหกับเพื่อนๆ และครูที่ยืนคุมนักเรียนอยู จึงชวยกันนําสงโรงพยาบาล ปรากฎวาหลัง
แพทยตรวจอาการพบวา เด็กหญิงจอยตั้งทองไดประมาณ 2-3 เดือน และมีอาการตกเลือด
จนแทงลูก



ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                             ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




          ดานนายชัย (นามสมมติ) อายุ 42 ป พอของเด็กหญิงจอย กลาววา หลังทราบขาวรูสึก
ตกใจแทบช็อกและเสียใจทีเ่ กิดเรื่องแบบนี้ สําหรับทางบานก็พอมีฐานะและคอนขางเลี้ยงลูกแบบ
ตามใจ ชวงปดเทอมรูวาลูกสาวคบหากับเพื่อนชาย ซึ่งเปนเด็กนักเรียนพาณิชยแหงหนึ่งในอําเภอ
พระนครศรีอยุธยา แตไมคิดวาจะเกินเลยถึงขนาดนี้ สวนเรื่องคดีขณะนี้ตองรอใหลกสาวอาการ
                                                                                   ู
ดีขึ้นเสียกอน จากนั้นจึงคอยปรึกษากับญาติๆวาจะเอาอยางไร
          สวนนายสมพิศ ศุภพงษ ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยาเขต 2
                                    
กลาวถึงเรื่องดังกลาววา ทราบเรื่องราวที่เกิดขึ้นแลว คงตองยอมรับวาสังคมปจจุบันมันเปนอยางนี้
ตองเขาใจเด็กยุคใหม มีโอกาสผิดพลาดไดมาก จึงตองใหโอกาสกับเด็กไดเรียนจนจบ หากเด็กมี
จิตใจสงบและพรอม รวมทั้งไมอายเพื่อนก็ใหกลับไปเรียนที่เกาได แตหากตองการยายไปเรียนที่
ใหมกจะจัดหาให พรอมกันนี้ไดติดตามเยียวยาสภาพจิตใจกันตอไป 1
       ็




1
    หนังสือพิมพ ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2550
ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                   ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                           สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                          ใบความรูที่ 1
                             เรื่อง หลักการปฏิเสธและการเตือนเพื่อน
         ทุกคนมีสิทธิที่จะปฏิเสธการชวนไปทําในสิ่งที่ตนเองไมอยากทํา โดยเฉพาะอยางยิง
                                                                                   ่
การชวนไปทําในสิ่งที่ไมปลอดภัย การติดโรค การใชยาเสพติด หรือ ไปมีพฤติกรรมทางเพศ
ที่ไมเหมาะสม
ประโยคปฏิเสธที่ดีควรมีลักษณะอยางนี้
      1. การอางความรูสึกประกอบแทนการใชเหตุผลอยางเดียว เพราะการใชเหตุผลอยางเดียว
                         
          มักถูกโตแยงดวยเหตุผลอื่น แตความรูสึกเปนเรื่องที่โตแยงไดยาก
      2. ปฏิเสธอยางชัดเจนทั้งทาทาง คําพูด และน้ําเสียง
      3. การถามความคิดเห็น เปนการรักษาน้ําใจผูชวน ถาคูสนทนายอมรับคําปฏิเสธ ควรพูด
          คําวา “ ขอบคุณคะ (ครับ) ”
ตัวอยางคําพูดปฏิเสธ
สถานการณ เพื่อนตางเพศชวนเขาไปในหองพักสวนตัว
ประโยคคําพูด “ เราไมอยากเขาไป มันดูไมดี ขอตัวนะ เธอคงเขาใจ ”

                        ลักษณะ                                          ตัวอยาง
     1.    อางความรูสึกประกอบเหตุผล                   1.   มันดูไมดี
     2.    ปฏิเสธ                                       2.   เราไมอยากเขาไป
     3.    ถามความเห็น                                  3.   เธอคงเขาใจ
     4.    เมื่อถูกตื้อปฏิเสธซ้ําแลวรีบออกไปจาก        4.   ขอตัวนะ
           เหตุการณ


การหาทางออกเมื่อถูกเซาซี้
        เมื่อถูกเซาซี้ สบประมาท ไมควรหวั่นไหวหรือใจออนตอคําพูด ควรหาทางออกดังนี้
        1. ปฏิเสธซ้ํา แลวรีบเดินหนีจากพฤติกรรม เชน พูดวา “ ขอตัวนะ ” “ บอกวา
 ขอตัวนะ ”
        2. ผัดผอน คือ การพูดขอเลื่อนเวลาออกไปเพื่อใหผูชวนลมเลิกความตั้งใจ เชน พูดวา
“ ไววนหลังคอยวากัน ” “ คราวหนาคอยวากัน ” แลวรีบเดินหนีจากเหตุการณ
      ั


ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                    ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




         3. ตอรอง คือ การชวนไปทํากิจกรรมที่ไมเสี่ยง เชน “ ไปกินขาวบานเราดีกวา
 แมเราทํากับขาวอรอยนะ”
         การหาทางออกอาจเลือกวิธีเดียว หรือ หลายวิธีกได สิ่งที่สําคัญ คือ ตองรีบออกจาก
                                                      ็
เหตุการณใหเร็วที่สุด โดยไมยอมหยุดใหเซาซี้ หรือสบประมาทไปเรือยๆ เพราะอาจทําให
                                                                  ่
ใจออนได

ปญหาที่วัยรุนปฏิเสธไมสําเร็จ
           วัยรุนสวนใหญปฏิเสธเพื่อนไมได สาเหตุมาจากเกรงใจ กลัวเพื่อนโกรธ ใจไมมั่นคง
อยากทํา ทนคําพูดเซาซี้สบประมาทของเพือนไมได ถาวัยรุนปฏิเสธไมสําเร็จก็จะทําใหตนเองตอง
                                            ่
เขาไปเกียวของกับพฤติกรรมเสี่ยง หรือไดรับอันตรายอยางหลีกเลียงไมได
         ่                                                     ่

หลักสําคัญที่ชวยใหปฏิเสธไดสําเร็จ
        1. ตองมีจิตใจมั่นคง แนวแน วาจะตองปฏิเสธจริงๆ เพราะเปนเรื่องทีมีความเสี่ยง
                                                                           ่
หรือมีผลเสียตอชีวิต
        2. พูดปฏิเสธดวยน้ําเสียงและทาทางที่จริงจัง แตสุภาพไมหักหาญน้ําใจเพื่อน
        3. เมื่อปฏิเสธจบแลว ตองรีบเดินออกไปจากเหตุการณนนทันทีโดยไมรีรอ เพื่อปองกัน
                                                              ั้
การเซาซี้หรือสบประมาทที่อาจทําใหเราใจออน
        4. เมื่อพูดสบประมาท ไมควรไหวหวั่นหรือโตตอบ ใหรีบเดินหนีออกไปทันที

ตัวอยางประโยคปฏิเสธ

         สถานการณทควรปฏิเสธ
                    ี่                                                 ตัวอยางประโยคปฏิเสธ
1. เพื่อนชายชวนดื่มเหลา                                “เราไมชอบ กลัวจะเมา ไมดมนะ นายคงไมวา”
                                                                                    ื่
                                                        “ ไมอยากดื่ม เหม็น ขอไมดื่มนะ นายคงไมวา ”
2. เพื่อนตางเพศชวนไปคางคืน                            “ เราไมชอบไปคางคืนที่อื่น พอแมเราไมอนุญาต
ตางจังหวัด                                             เราไมไปนะ เธอคงเขาใจ ”
3. เพื่อนชวนเที่ยวเธค                                   “ เราไมชอบไปที่อยางนั้น เขาไปแลวอึดอัด ไมไปนะ
                                                        เธอคงไมวา ”




ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                             ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




ทักษะการเตือนเพื่อน

         การใชทักษะการเตือนเพื่อนและผูใกลชิดที่มีพฤติกรรมเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ เชน
ควรแนะนําใหเพื่อนมีเหตุผลในการกระทําที่ถูกตอง กลาปฏิเสธในเรื่องที่ควรปฏิเสธ และรูจัก
การเลือกใชคําพูดในการปฏิเสธ ควรแนะนําใหรูจักผลเสียที่จะเกิดขึนถาหากมีเพศสัมพันธ
                                                                 ้
ในวัยเรียนและโรคที่ติดตอทางเพศ การเตือนตองใชคําพูดที่สุภาพและเหมาะสมดวย 1




1
    แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพศศึกษา ชวงชั้นที่ 3 ชันมัธยมศึกษาปที่ 1-3
                                                           ้
    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รวมกับ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
    สนับสนุนโดยกองทุนโลก
ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                                ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                        สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                                   ใบกิจกรรมที่ 2
                        เรื่อง กรณีตัวอยาง “ จุกจิ๊กนัก…ไมนารักเลย ”
                                 ชื่อกลุม................................................
         สมาชิกกลุม 1..................................................................................
                          2..................................................................................
                          3.................................................................................
คําชี้แจง ใหนักเรียนศึกษากรณีตัวอยาง “ จุกจิ๊กนัก…ไมนารักเลย ” แลวชวยกันระดมความคิดเห็น
ตามประเด็นตอไปนี้ และบันทึกผลในใบกิจกรรมนี้
         1. ถาเกิดเหตุการณเชนนี้กับนักเรียน นักเรียนจะทําอยางไร เพราะเหตุใด

            สมาชิกคนที่                                 ทางเลือก                         เหตุผล




   2. นักเรียนคิดวาโจเปนคนอยางไร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
   3. นักเรียนชวยกันวิเคราะห จัดลําดับความสําคัญของทางเลือก และชวยกันประเมินขอดี
       ขอเสีย พรอมทั้งชวยกันเลือกทางเลือกที่ดที่สุด 1 ขอ พรอมทั้งใหเหตุผลที่เลือก
                                                ี
               ลําดับความสําคัญของทางเลือก
                      1) …………………………………………………
                      2) …………………………………………………
                      3) …………………………………………………
                      4) …………………………………………………




ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                          ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                        ประเมินขอดี – ขอเสียของทางเลือกในแตละขอ
               ทางเลือก                         ขอดี                                  ขอเสีย




                            นักเรียนตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดมา 1 ขอ พรอมใหเหตุผล

ขอที่เลือก …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..

เหตุผลที่เลือก……………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………




ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                        ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                                          กรณีตัวอยาง
                                               เรื่อง จุกจิ๊กนัก…ไมนารักเลย




                               โจกับแจงเปนเพื่อนรวมชั้นเรียน สนิทสนมกันมาก โจมีใจ
                       ชอบแจงโดยทีแจงไมรูตัว โจชวนแจงไปดูหนังสือที่หองสมุด แจงคิดวา
                                     ่
                       หองสมุดเปนสถานที่สาธารณะคงจะไมนาเกลียดที่จะไปดูหนังสือดวยกัน
                       เมื่อไปถึงหองสมุด โจพยายามเลือกที่นั่งในจุดที่ลับตาคนและถือโอกาส
                       แตะเนื้อตองตัวแจง




                              ในสถานการณเชนนั้น แจงควรทําอยางไรดี ?                     1




1
    แนวทางการจัดกิจกรรมเสริมสรางเจตคติและพฤติกรรมที่เหมาะสมในการปองกันเอดส
    กลุมสงเสริมการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1
ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                                 ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                                  ใบกิจกรรมที่ 3
                                   เรื่อง กรณีตัวอยาง “ ฟนดะ ”
                                ชื่อกลุม................................................
         สมาชิกกลุม 1..................................................................................
                         2..................................................................................
                         3.................................................................................
คําชี้แจง ใหนักเรียนศึกษากรณีตัวอยาง “ ฟนดะ ” แลวชวยกันระดมความคิดเห็นตามประเด็น
ตอไปนี้ และบันทึกผลในใบกิจกรรมนี้
         1. ถา นักเรียนเปนพงศ นักเรียนคิดอยางไร มีเหตุผลอยางไร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..
         2. ถานักเรียนเปนเพื่อนของพงศ นักเรียนมีวิธีในการเตือนเพื่อนอยางไรบาง เกี่ยวกับ
            พฤติกรรมที่เพื่อนเลาใหฟง โดยยกตัวอยางคําพูดในการเตือนเพื่อน และใหเหตุผล
            ประกอบ

                                                                 แสดงเหตุผล
     คําพูดในการเตือนเพื่อน
                                                        ผลดี                            ผลเสีย




      3. นักเรียนบอกถึงประโยชนที่จะไดรับจากการเตือนเพื่อนใหมีพฤติกรรมที่พึงประสงค
ประโยชนตอตนเอง
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..
ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                         ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




ประโยชนตอเพื่อน
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..
ประโยชนตอสังคม
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..




ทัศนีย ไชยเจริญ                                                        ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                                        กรณีตัวอยาง
                                                        เรื่อง ฟนดะ



                               พงศ ชายหนุมรูปหลอ เสนหแรง แฟนเยอะ จีบสาวใดไดเรื่องทุกที
                                           
                       ไมตองใชเวลานานอยางคนอืน และมักจะมาเลาใหเพื่อนฝูงฟงวาไดฟนเกือบ
                                                 ่                                     
                       ทุกรายไมเคยตองรับผิดชอบ แถมยังเปลียนคูนอนบอยๆ
                                                           ่




                                     ถานักเรียนเปนเพื่อนพงศ
                       นักเรียนมีความคิดเห็นอยางไรกับพฤติกรรมของพงศ ?                 1




1
     แนวทางการจัดกิจกรรมเสริมสรางเจตคติและพฤติกรรมที่เหมาะสมในการปองกันเอดส
    กลุมสงเสริมการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1
ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                       ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                               สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                                  ใบกิจกรรมที่ 4
                       เรื่อง แผนผังความคิดของสถานการณเสี่ยงทางเพศ
                                ชื่อกลุม................................................
           สมาชิกกลุม 1..................................................................................
                         2..................................................................................
                         3.................................................................................

คําชี้แจง นักเรียนแยกแยะองคประกอบทีกอใหเกิดสถานการณเสียงทางเพศและวิธการปองกัน
                                    ่                     ่             ี
ตนเองและผูอนมิใหตกอยูในสถานการณเสี่ยงทางเพศเปนแผนผังความคิด ของกลุมตนเอง
              ื่        
ตามวิธีการเขียนแผนผังความคิดแบบผังแมงมุม ( Web Diagram )




ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                                             ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                           แบบบันทึกคะแนนกิจกรรม
                                        ตามเกณฑการใหคะแนน ( Rubrics )
                                    หนวยที่ 2 เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ
                                   ใบกิจกรรมที่ 1 กรณีตัวอยาง “ ม.3 แทงลูก ”

คําชี้แจง ใสเครื่องหมาย               ลงในชองตัวเลขคะแนนของแตละรายการประเมิน

                                           ความสามารถในการ
                                            คิดโดยใชปญหา             คานิยม             รวม         เกณฑ
 ที่       ชื่อ - นามสกุล
                                                เปนฐาน                                                ตัดสิน
                                           1 2 3 4              1      2    3       4        8
 1
 2
 3
 4
 5
 6
 7
 8


เกณฑการตัดสิน                    1-       2    คะแนน        หมายถึง        ปรับปรุง
                                  3-       4    คะแนน        หมายถึง        พอใช
                                  5-       6   คะแนน         หมายถึง        ดี
                                  7-       8   คะแนน         หมายถึง        ดีมาก




                                ลงชื่อ………………………………...ครูประจําวิชา


ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                           ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                        แบบบันทึกคะแนนกิจกรรม
                                  ตามเกณฑการใหคะแนน ( Rubrics )
                                หนวยที่ 2 เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ
                         ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอยาง เรื่อง จุกจิ๊กนัก….ไมนารักเลย

คําชี้แจง ใสเครื่องหมาย               ลงในชองตัวเลขคะแนนของแตละรายการประเมิน

                                           ความสามารถในการ
                                            คิดโดยใชปญหา             คานิยม             รวม         เกณฑ
 ที่       ชื่อ - นามสกุล
                                                เปนฐาน                                                ตัดสิน
                                           1 2 3 4              1      2    3       4        8
 1
 2
 3
 4
 5
 6
 7
 8


เกณฑการตัดสิน                    1-       2    คะแนน        หมายถึง        ปรับปรุง
                                  3-       4    คะแนน        หมายถึง        พอใช
                                  5-       6   คะแนน         หมายถึง        ดี
                                  7-       8   คะแนน         หมายถึง        ดีมาก




                                ลงชื่อ………………………………...ครูประจําวิชา



ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                           ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                           แบบบันทึกคะแนนกิจกรรม
                                       ตามเกณฑการใหคะแนน ( Rubrics )
                                     หนวยที่ 2 เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ
                                     ใบกิจกรรมที่ 3 กรณีตัวอยางเรื่อง ฟนดะ

คําชี้แจง ใสเครื่องหมาย               ลงในชองตัวเลขคะแนนของแตละรายการประเมิน

                                           ความสามารถในการ
                                            คิดโดยใชปญหา             คานิยม             รวม         เกณฑ
 ที่       ชื่อ - นามสกุล
                                                เปนฐาน                                                ตัดสิน
                                           1 2 3 4              1      2    3       4        8
 1
 2
 3
 4
 5
 6
 7
 8


เกณฑการตัดสิน                    1-       2    คะแนน        หมายถึง        ปรับปรุง
                                  3-       4    คะแนน        หมายถึง        พอใช
                                  5-       6   คะแนน         หมายถึง        ดี
                                  7-       8   คะแนน         หมายถึง        ดีมาก




                                ลงชื่อ………………………………...ครูประจําวิชา



ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                           ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                        แบบบันทึกคะแนนกิจกรรม
                                   ตามเกณฑการใหคะแนน ( Rubrics )
                                หนวยที่ 2 เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ
                         ใบกิจกรรมที่ 4 แผนผังความคิดของสถานการณเสียงทางเพศ
                                                                      ่

คําชี้แจง ใสเครื่องหมาย              ลงในชองตัวเลขคะแนนของแตละรายการประเมิน


                                                     ความรูความเขาใจในเนื้อหา
   ที่         ชื่อ - นามสกุล                                                                  เกณฑตัดสิน
                                                   1         2          3            4
   1
   2
   3
   4
   5
   6
   7
   8


           เกณฑการตัดสิน                     1         คะแนน         หมายถึง            ปรับปรุง
                                              2         คะแนน         หมายถึง            พอใช
                                              3         คะแนน         หมายถึง            ดี
                                              4         คะแนน         หมายถึง            ดีมาก




                                            ลงชื่อ………………………………...ครูประจําวิชา




ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                            ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                แบบสังเกตพฤติกรรมดานคุณลักษณะที่พึงประสงค
                                   หนวยที่ 2 เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ

คําชี้แจง ใสเครื่องหมาย               ลงในชองตัวเลขคะแนนของแตละรายการประเมิน

  ที่                                       การปฏิบัติ    การ    ความรับผิดชอบ
                                             ตนตาม     ชวยเหลือ ตองานที่ไดรบ รวม เกณฑ
                                                                              ั
              ชื่อ - นามสกุล
                                            กฎระเบียบ    เพื่อน    มอบหมาย      คะแนน ตัดสิน
                                           1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
  1
  2
  3
  4
  5
  6
  7
  8


เกณฑการตัดสิน                   1 - 3 คะแนน             หมายถึง      ปรับปรุง
                                 4 - 6 คะแนน             หมายถึง      พอใช
                                 7 - 9 คะแนน             หมายถึง      ดี
                                10 - 12 คะแนน            หมายถึง      ดีมาก




                                ลงชื่อ………………………………...ครูประจําวิชา




ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                     ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน
เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3




                                       แบบประเมินการนําเสนอผลงานกลุม
                                     หนวยที่ 2 เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ

                                           ชื่อกลุม………………………………

คําชี้แจง ประเมินการนําเสนอผลงานกลุมของนักเรียนทีออกมานําเสนอ
                                                  ่

                                                                                     ระดับ
   ที่                            รายการประเมิน
                                                                     1           2           3           4
   1      ความพรอมในการนําเสนอ
   2      ความนาสนใจในการนําเสนอ
   3      ความสมบูรณ ถูกตองของผลงาน
                          รวมคะแนน


ขอสังเกตอื่น ๆ

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

           เกณฑการตัดสิน                     1         คะแนน    หมายถึง             ปรับปรุง
                                              2         คะแนน    หมายถึง             พอใช
                                              3         คะแนน    หมายถึง             ดี
                                              4         คะแนน    หมายถึง             ดีมาก



                                ลงชื่อ………………………………...ครูประจําวิชา




ทัศนีย ไชยเจริญ                                                                         ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1                                 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนKritsadin Khemtong
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนsmellangel
 
แนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษา
แนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษาแนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษา
แนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการtassanee chaicharoen
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...
ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...
ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...Thanapol Seesuk
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาsuchinmam
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4supap6259
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้อารมณ์และความเครียด
กำหนดการจัดการเรียนรู้อารมณ์และความเครียดกำหนดการจัดการเรียนรู้อารมณ์และความเครียด
กำหนดการจัดการเรียนรู้อารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการ
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการการวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการ
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการtassanee chaicharoen
 

Mais procurados (20)

หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
แนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษา
แนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษาแนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษา
แนวทางการเขียนแผนผังความคิด เรื่องเพศศึกษา
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพแผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...
ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...
ชื่อเรื่อง การบริหารสมองสนองศักยภาพการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ สำห...
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอารมณ์และความเครียด
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้อารมณ์และความเครียด
กำหนดการจัดการเรียนรู้อารมณ์และความเครียดกำหนดการจัดการเรียนรู้อารมณ์และความเครียด
กำหนดการจัดการเรียนรู้อารมณ์และความเครียด
 
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการ
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการการวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการ
การวิเคราะห์สาระการเรียนรู้รูปแบบบูรณาการ
 

Destaque

ผลงานนักเรียนเรื่องสัมพันธภาพ
ผลงานนักเรียนเรื่องสัมพันธภาพผลงานนักเรียนเรื่องสัมพันธภาพ
ผลงานนักเรียนเรื่องสัมพันธภาพtassanee chaicharoen
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษา
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษาการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษา
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 2 สุข
ใบงานที่  2 สุขใบงานที่  2 สุข
ใบงานที่ 2 สุขtassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 1 สุข
ใบงานที่  1 สุขใบงานที่  1 สุข
ใบงานที่ 1 สุขtassanee chaicharoen
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาและรายคาบ โรงเรียนนนทรีวิทยา
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาและรายคาบ โรงเรียนนนทรีวิทยารูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาและรายคาบ โรงเรียนนนทรีวิทยา
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาและรายคาบ โรงเรียนนนทรีวิทยาKobwit Piriyawat
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3sarawut chaicharoen
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2sarawut chaicharoen
 
การจัดการอารมณ์และความเครียด
การจัดการอารมณ์และความเครียดการจัดการอารมณ์และความเครียด
การจัดการอารมณ์และความเครียดsarawut chaicharoen
 
การฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดการฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดsarawut chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 

Destaque (13)

ผลงานนักเรียนเรื่องสัมพันธภาพ
ผลงานนักเรียนเรื่องสัมพันธภาพผลงานนักเรียนเรื่องสัมพันธภาพ
ผลงานนักเรียนเรื่องสัมพันธภาพ
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษา
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษาการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษา
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษา
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษา
 
ใบงานที่ 2 สุข
ใบงานที่  2 สุขใบงานที่  2 สุข
ใบงานที่ 2 สุข
 
ใบงานที่ 1 สุข
ใบงานที่  1 สุขใบงานที่  1 สุข
ใบงานที่ 1 สุข
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาและรายคาบ โรงเรียนนนทรีวิทยา
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาและรายคาบ โรงเรียนนนทรีวิทยารูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาและรายคาบ โรงเรียนนนทรีวิทยา
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาและรายคาบ โรงเรียนนนทรีวิทยา
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
 
การจัดการอารมณ์และความเครียด
การจัดการอารมณ์และความเครียดการจัดการอารมณ์และความเครียด
การจัดการอารมณ์และความเครียด
 
การฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดการฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
การฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สุข ม.2
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

Semelhante a แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2

แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดguestbf0238
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดguestf57acc
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดtassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดguest9deb61
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1tassanee chaicharoen
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ขแผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ขkrutitirut
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวKaembum Soraya
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1superglag
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3tassanee chaicharoen
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรkruuni
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้าKruthai Kidsdee
 

Semelhante a แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2 (20)

แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติดแผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องสารเสพติด
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
 
ทักษะการบอกความต้องการ
ทักษะการบอกความต้องการทักษะการบอกความต้องการ
ทักษะการบอกความต้องการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ขแผนการจัดประสบการณ์   พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
แผนการจัดประสบการณ์ พระคุณแม่ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 4 ข
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
กำหนดการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
 
ทักษะการขอความช่วยเหลือ
ทักษะการขอความช่วยเหลือทักษะการขอความช่วยเหลือ
ทักษะการขอความช่วยเหลือ
 

Mais de tassanee chaicharoen

แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2tassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนtassanee chaicharoen
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรtassanee chaicharoen
 
โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์tassanee chaicharoen
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้tassanee chaicharoen
 

Mais de tassanee chaicharoen (20)

แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ โภชนาการกับสุขภาพ
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ โภชาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
แผนการเรียนรู้ที่ 4_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
แผนการเรียนรู้ที่ 3_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
แผนการเรียนรู้ที่ 2_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
แผนการเรียนรู้ที่ 1_2
 
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิตแผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สุขภาพชีวิต
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเราแผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ครอบครัวของเรา
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
 
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
บทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียนบทความการอ่าน  คิดวิเคราะห์  และเขียน
บทความการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
โภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพรโภชนาการสุภาพร
โภชนาการสุภาพร
 
โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์โภชนาการพัชรินทร์
โภชนาการพัชรินทร์
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
ใบงานที่ 2 นวัตกรรมทางสุขภาพ
 
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหาใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
ใบงานที่1 ออกแบบการแก้ไขปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้แบบทดสอบความรู้
แบบทดสอบความรู้
 

แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2

  • 1. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 หนวยการเรียนรูที่ 2 สถานการณเสี่ยงทางเพศ เวลา 4 ชั่วโมง ทักษะ/กระบวนการ 1. นักเรียนมีทกษะในการปฏิบัตตนเพื่อหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธโดยไมคาดคิด ั ิ จากการใชวิจารณญาณของตนเอง 2. นักเรียนมีทกษะในการเตือนเพื่อนและผูใกลชิดที่มีพฤติกรรมเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ ั โดยการวิเคราะหปญหาและผลกระทบที่ตามมาอยางชัดเจน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง  1. มีทักษะการเตือนเพื่อนและผูใกลชิดทีมีพฤติกรรมเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ ่ 2. รูแนวทางการปองกันตนเองในสถานการณเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ จุดประสงคการเรียนรู 1. รูแนวทางการปองกันตนเองในสถานการณเสี่ยงทางเพศ 2. คนหาวิธีการเตือนเพื่อนและผูใกลชิดที่มีพฤติกรรมเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ 3. ตัดสินใจเลือกการปฏิบัติไดอยางถูกตอง คุณลักษณะที่พึงประสงค 1. การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ 2. การชวยเหลือเพื่อน 3. ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย สาระการเรียนรู 1. ทักษะการเตือนเพื่อนและผูใกลชิดที่มพฤติกรรมเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ ี 2. การปฏิบัติตนเพื่อหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธโดยไมคาดคิด วิธีดําเนินกิจกรรม ชั่วโมงที่ 1 1. ครูสนทนากับนักเรียน ตามกรณีตวอยาง เรื่อง “ม.3 แทงลูก” โดยใหนกเรียน ั ั แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ พรอมทั้งกระตุนนักเรียนใหชวยกันคนหาคําตอบ ถึงปญหา ที่เกิดขึ้นจากกรณีตวอยาง และบอกผลกระทบที่จะเกิดตามมา ั ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 2. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 2. ครูใหนักเรียนเขากลุมเดิมพรอมทั้งแจกกรณีตัวอยาง เรือง “ม. 3 แทงลูก” ใหนกเรียน ่ ั ศึกษาอยางละเอียด โดยรวมพิจารณาพฤติกรรมของปญหาจากการศึกษากรณีตวอยาง ั โดยระบุปญหา , สาเหตุ , ของการเกิดปญหา แลวบันทึกขอมูลลงในใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องกรณีตัวอยาง “ ม.3 แทงลูก ” ขอที่ 1 3. ครูนําใบความรูที่ 1 เรื่อง หลักการปฏิเสธและการเตือนเพื่อน ใหนกเรียนศึกษา ั พรอมทั้งรวมกันวางแผน ปองกันปญหาโดยใชทกษะการปฏิเสธ ลงในใบกิจกรรมที่ 1 ั เรื่อง กรณีตัวอยาง “ ม.3 แทงลูก ” ขอที่ 2 4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงวิธการใชทักษะการปฏิเสธเพื่อปองกันปญหามิให ี เกิดดังเชนกรณีตวอยาง ั ชั่วโมงที่ 2 1. ครูนํานักเรียนสนทนาและสอบถามถึงเหตุการณที่อยูรอบตัวนักเรียนวามีความเสี่ยง อยางไรบาง เชน การอยูบานคนเดียว การเดินทางคนเดียว นักเรียนมีวิธีการปองกัน ตนเองอยางไร 2. นักเรียนเขากลุมเดิมของตนเอง โดยครูแจก กรณีตวอยางเรื่อง “ จุกจิ๊กนัก…ไมนารัก  ั เลย ” ใหนักเรียนศึกษาพรอมทั้งปฏิบัติใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กรณีตัวอยาง “ จุกจิ๊ก นัก…ไมนารักเลย ” โดยสงเสริมใหนักเรียนใชหลักการปฏิเสธใหมากที่สุด 3. นักเรียนชวยกันวิเคราะหจดลําดับทางเลือก และ ประเมินขอดี ขอเสียของทางเลือก ั แตละขอ และเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด พรอมทั้งใหเหตุผล 4. นักเรียนในกลุมเตรียมนําเสนอผลงานกลุม 5. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปถึง แนวทางการหลีกเลี่ยงสถานการณเสี่ยงทางเพศ จากการศึกษากรณีตัวอยาง เรื่อง “ จุกจิ๊กนัก…ไมนารักเลย ” ที่เหมาะสมที่สุด  พรอมทั้งใหเหตุผล ชั่วโมงที่ 3 1. ครูนํานักเรียนสนทนาถึงผลการสรุปแนวทางการหลีกเลี่ยงสถานการณเสี่ยงทางเพศ จากชั่วโมงที่ผานมา 2. นักเรียนเขากลุมเดิม ครูแจกกรณีตวอยาง เรื่อง “ ฟนดะ ” ใหนักเรียนศึกษา พรอมทั้ง  ั ปฏิบัติใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง กรณีตวอยาง “ ฟนดะ ” โดยสงเสริมใหนักเรียนใช ั หลักการปฏิเสธใหมากที่สุด ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 3. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 3. นักเรียนชวยกันวิเคราะหพฤติกรรมจาการศึกษากรณีตัวอยาง พรอมทั้งแสดงความคิดเห็น ถึงพฤติกรรมนั้น 4. นักเรียนในกลุมเตรียมนําเสนอผลงานของกลุม 5. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปถึง แนวทางการเตือนเพื่อนมิใหสรางสถานการณเสียงทางเพศ ่ จากการศึกษากรณีตวอยาง เรื่อง “ ฟนดะ ” ที่เหมาะสมที่สุดพรอมทั้งใหเหตุผล ั ชั่วโมงที่ 4 1. ครูและนักเรียนสนทนาเกียวกับทักษะการเตือนเพื่อนและการปองกันตนเองมิใหตก ่ อยูในสถานการณที่เสียงตอการมีเพศสัมพันธ ่ 2. ครูแนะนําวิธีการเขียนแผนผังความคิดแบบผังแมงมุม ( Web Diagram ) 3. นักเรียนเขากลุมเดิม รวมกันวิเคราะหองคประกอบตางๆของการเกิดสถานการณที่เสียง  ่ ทางเพศ และทักษะในการปฏิเสธและการเตือนเพื่อนปองกันการเกิดปญหาที่ดีที่สุด พรอมทั้งนําเสนอเปนแผนผังความคิดลงในใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องแผนผังความคิดของ สถานการณเสี่ยงทางเพศ 4. นักเรียนและครูรวมกันสรุปถึงวิธีการปฏิเสธและการเตือนเพื่อนที่เปนแนวทางในการ แกไขปญหาทีดีที่สุดหรือทางออกที่ดีที่สุดเพื่อปองกันตนเองเมื่อตกอยูในสถานการณ ่  ที่เสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ พรอมทั้งแนะนํา E-book เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ ใหนกเรียนไดศึกษาเพิ่มเติม ั สื่อการเรียนรู 1. กรณีตัวอยางเรื่อง ม.3 แทงลูก 2. กรณีตัวอยางเรื่อง จุกจิ๊กนัก….ไมนารักเลย 3. กรณีตัวอยางเรื่อง ฟนดะ 4. ใบความรูที่ 1 เรื่อง หลักการปฏิเสธและการเตือนเพื่อน 5. ใบกิจกรรมที่ 1 กรณีตัวอยาง “ ม.3 แทงลูก ” 6. ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตวอยาง เรื่อง จุกจิ๊กนัก….ไมนารักเลย ั 7. ใบกิจกรรมที่ 3 กรณีตวอยางเรื่อง ฟนดะ ั 8. ใบกิจกรรมที่ 4 แผนผังความคิดของสถานการณเสี่ยงทางเพศ 9. หนังสืออิเล็คทรอนิคส (e-book ) เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 4. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 แหลงคนควาเพิ่มเติม 1. ไทยยูท http://www.thaiyouths.org 2. วาว คูล ดอท คอม คอม http://www.wow-cool.com 3. ทีนแพ็ท http://www.teenpath.net 4. บริการใหคําปรึกษาเกียวกับทองไมพรอม ตั้งครรภไมพงประสงค ่ ึ มูลนิธิหญิง โทรศัพท 02-434-5149 วันจันทร – ศุกร 09.00.17.00 น. มูลนิธิเพื่อนหญิง โทรศัพท 02-513-2708 วันจันทร – ศุกร 09.00.17.00 น. สายดวนวัยรุน โทรศัพท 02-275-6993-4 , 02-692-1828 วันจันทร – ศุกร 09.00.17.00 น. การวัดผลประเมินผล 1. วิธีการวัดผลประเมินผล 1.1. ตรวจใบกิจกรรม 1.2. สังเกตพฤติกรรมดานคุณลักษณะทีพึงประสงค ่ 1.3 ประเมินการนําเสนอผลงานกลุม 2. เครื่องมือการวัดผลประเมินผล 2.1 แบบบันทึกคะแนนกิจกรรม 2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมดานคุณลักษณะที่พึงประสงค 2.3 แบบประเมินการนําเสนอผลงานกลุม 3. เกณฑการวัดผลประเมินผล 3.1 ใบกิจกรรมที่ 1 กรณีตวอยาง “ ม.3 แทงลูก ” ั 3.1.1 ความสามารถในการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน ระดับ 1. รวบรวมขอมูล ไมเปนระบบ ระบุปญหาไมชัดเจน 2. รวบรวมขอมูล เปนระบบ ระบุปญหาชัดเจน 3. ระบุปญหา บอกสาเหตุปญหา รวบรวมขอมูลมาสราง  ทางเลือก 4. ระบุปญหา บอกสาเหตุปญหา สรางทางเลือก  เชื่อมโยงความสัมพันธเชิงเหตุเชิงผล และตัดสินใจ 3.1.2 คานิยม ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 5. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ระดับ 1. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติโดยไมคํานึงถึงผลกระทบ 2. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติโดยคํานึงถึงผลกระทบ มีทางเลือกที่ หลากหลาย 3. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติอยางมีเหตุมีผล 4. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติในสวนดี สงผลตอสังคม 3.2 ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตวอยาง เรื่อง จุกจิ๊กนัก….ไมนารักเลย ั 3.2.1 ความสามารถในการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน ระดับ 1. รวบรวมขอมูล ไมเปนระบบ ระบุปญหาไมชัดเจน 2. รวบรวมขอมูล เปนระบบ ระบุปญหาชัดเจน 3. ระบุปญหา บอกสาเหตุปญหา รวบรวมขอมูลมาสราง  ทางเลือก 4. ระบุปญหา บอกสาเหตุปญหา สรางทางเลือก  เชื่อมโยงความสัมพันธเชิงเหตุเชิงผล และตัดสินใจ 3.2.2 คานิยม ระดับ 1. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติโดยไมคํานึงถึงผลกระทบ 2. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติโดยคํานึงถึงผลกระทบ มีทางเลือกที่หลากหลาย 3. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติอยางมีเหตุมีผล 4. ตัดสินใจเลือกปฏิบัติในสวนดี สงผลตอสังคม 3.3 ใบกิจกรรมที่ 3 กรณีตวอยางเรื่อง ฟนดะ ั 3.3.1 ความสามารถในการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน ระดับ 1. ขอมูล ไมเปนระบบ ระบุเหตุผลไมชัดเจน 2. ขอมูล เปนระบบ ระบุเหตุผลอยางงาย 3. แสดงเหตุผลชัดเจน หลากหลาย 4. แสดงเหตุผลชัดเจน เชื่อมโยงเหตุ , ผลอยางกลมกลืน 3.3.2 คานิยม ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 6. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ระดับ 1. แนะนําเพื่อนใหคํานึงถึงประโยชนสวนตนดวยวิธีการ ที่หลากหลาย 2. แนะนําเพื่อนใหคํานึงถึงประโยชนของหมูคณะ อยางมีเหตุผล 3. แนะนําเพื่อนใหคํานึงถึงประโยชนของสวนรวม อยางมีเหตุผล 4. แนะนําเพื่อนใหคํานึงถึงประโยชนของสวนรวม อยางมีเหตุผล เปนระบบ 3.4 ใบกิจกรรมที่ 4 แผนผังความคิดของสถานการณเสี่ยงทางเพศ 3.4.1 ความรูความเขาใจในเนื้อหา ระดับ 1. แยกแยะเนือหาไมครบถวน ไมเชื่อมโยงตอเนื่องกัน ้ 2. แยกแยะเนือหาไดครบถวน มีความเชื่อมโยงกัน ้ 3. อธิบายขอมูลความรูที่เกียวของไดอยางเปนระบบ ่ มีผลตอเนื่องกัน 4. อธิบายขอมูลความรูที่เกียวของไดอยางเปนระบบ ่ มีผลตอเนื่องกัน และเชือมโยงกับชีวิตจริง ่ 3.5 คุณลักษณะที่พึงประสงค 3.5.1 การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ ระดับ 1. การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบอยูในเกณฑควร ปรับปรุง 2. การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบอยูในเกณฑพอใช 3. การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบอยูในเกณฑดี 4. การปฏิบัติตนตามกฎระเบียบอยูในเกณฑดีมาก 3.5.2 การชวยเหลือเพื่อน ระดับ 1. การชวยเหลือเพื่อนอยูในเกณฑควรปรับปรุง 2. การชวยเหลือเพื่อนอยูในเกณฑพอใช 3. การชวยเหลือเพื่อนอยูในเกณฑดี 4. การชวยเหลือเพื่อนอยูในเกณฑดีมาก 3.5.3 ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 7. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ระดับ 1. ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย อยูในเกณฑควรปรับปรุง 2. ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย อยูในเกณฑพอใช 3. ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย อยูในเกณฑดี 4. ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย อยูในเกณฑดีมาก 3.6 การนําเสนอผลงานกลุม 3.6.1 ความพรอมในการนําเสนอ ระดับ 1. ความพรอมในการนําเสนออยูในเกณฑควรปรับปรุง 2. ความพรอมในการนําเสนออยูในเกณฑพอใช 3. ความพรอมในการนําเสนออยูในเกณฑดี 4. ความพรอมในการนําเสนออยูในเกณฑดีมาก 3.6.2 ความนาสนใจในการนําเสนอ ระดับ 1. ความนาสนใจในการนําเสนออยูในเกณฑควรปรับปรุง 2. ความนาสนใจในการนําเสนออยูในเกณฑพอใช 3. ความนาสนใจในการนําเสนออยูในเกณฑดี 4. ความนาสนใจในการนําเสนออยูในเกณฑดีมาก 3.6.3 ความสมบูรณ ถูกตองของผลงาน ระดับ 1. ความสมบูรณ ถูกตองอยูในเกณฑควรปรับปรุง 2. ความสมบูรณ ถูกตองอยูในเกณฑพอใช 3. ความสมบูรณ ถูกตองอยูในเกณฑดี 4. ความสมบูรณ ถูกตองอยูในเกณฑดมาก ี ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 8. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง กรณีตัวอยาง “ ม.3 แทงลูก ” ชื่อกลุม................................................ สมาชิกกลุม 1.................................................................................. 2.................................................................................. 3................................................................................. คําชี้แจง ใหนักเรียนศึกษากรณีตัวอยาง “ ม.3 แทงลูก ” แลวระดมความคิดเห็นดังนี้ ขอที่ 1 วิเคราะหพฤติกรรมของปญหาที่เกิดขึ้นจากกรณีตัวอยาง คนหาพฤติกรรมเสริมที่กอใหเกิดปญหาจากกรณีตัวอยาง “ ม 3. แทงลูก ” พฤติกรรมของปญหา พฤติกรรมเสริมที่กอใหเกิดปญหา สรุปผลการวิเคราะหพฤติกรรมที่กอใหเกิดปญหาดังกรณีตัวอยาง ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 9. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 บอกสาเหตุของปญหาที่เกิดขึ้นจากกรณีตัวอยางและใหนกเรียนสรางทางเลือก ั ในการปฏิบัตตนตามสาเหตุนั้นๆ ิ ทางเลือกในการปฏิบัตตน ิ สาเหตุของปญหา ดานดี ดานไมดี นักเรียนจัดลําดับจากสาเหตุใหญไปหาสาเหตุยอย …………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ถานักเรียนตกอยูในสถานการณดังกรณีตัวอยางนักเรียนจะตัดสินใจเลือกปฏิบัตตน คือ ิ ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ เหตุผลในการเลือกเพราะ ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ขอที่ 2 นักเรียนศึกษาใบความรู เรื่อง ทักษะการปฏิเสธและการเตือนเพื่อน เพื่อวางแผน ปองกันปญหาจากกรณีตัวอยาง เรื่อง “ ม.3 แทงลูก ” โดยบอกถึงวิธีการกลาวปฏิเสธและผลกระทบ ที่จะเกิดตามมาทั้งผลดีและผลเสีย ผลกระทบ คํากลาวปฏิเสธ ผลดี ผลเสีย ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 10. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 คํากลาวปฏิเสธที่ควรเลือกปฏิบัติ …………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 11. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กรณีตัวอยาง เรื่อง ม.3 แทงลูก ม.3 แทงลูก สลดใจหนาเสาธง ครู – เพื่อนหามสงโรงพยาบาล พอช็อก ทอง 3 เดือน สลดเด็กนักเรียนหญิงม.3 เกิดแทงลูกขณะยืนเขาแถวเคารพธงชาติ เปดเทอมวันแรก บนกับเพื่อนวาปวดทอง ระหวางปลอยแถวเดินกลับหองไดไมกกาว จูเลือดเปนลิ่มไหลเปรอะเต็ม ี่ ไปหมด ครูตองชวยนําสงโรงพยาบาล แพทยตรวจพบเด็กตั้งทองได 2 – 3 เดือน และปวยเปน  โรคไทรอยด ทําใหครรภเปนพิษเกิดจากการตกเลือด พอรูขางถึงช็อก ยอมรับเลี้ยงลูกแบบตามใจ แถมรูวาคบหากับเพื่อนชายตางสถาบัน แตนึกไมถึงจะเกิดเรื่องแบบนี้ขน ดาน ผูอํานวยการ ึ้ โรงเรียนระบุเด็กทองชวงปดเทอม เรื่องราวสะทอนสังคม เด็กหญิงตั้งทองแลวเกิดตกเลือดขณะยืนเขาแถวหนาเสาธง รับเปดเทอมวันแรกรายนี้ เปดเผยเมื่อเวลา 08.30น. วันที่ 16 พ.ค. ผูสื่อขาวไดรับแจงจากเจาหนาที่ โรงพยาบาลบางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา วามีเด็กหญิงตกเลือดมารักษา หลังทราบเรื่องจึงรีบ เดินทางไปตรวจสอบ ทราบชื่อเด็กหญิงจอย (นามสมมติ) อายุ 14 ป เรียนอยูชนม.3 โรงเรียน ั้ มัธยมแหงหนึงใน อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา สภาพเด็กมีอาการออนเพลีย แพทยตรวจ ่ รักษาจนอาการปลอดภัยแลว และใหนอนรักษาตัวดูอาการที่โรงพยาบาล สอบถามเพื่อนนักเรียนไดความวา กอนเกิดเหตุทางโรงเรียนเปดเทอมเปนวันแรก หลังปด ยาวมากวา 3 เดือน โดยเด็กหญิงจอย เดินทางมาโรงเรียนตามปกติตั้งแตเชา และไปยืนเขาแถว เคารพธงชาติหนาเสาธง ระหวางที่ครูปลอยเดินแถวเขาหองเรียนไดไมกี่กาว ด.ญ.จอยบนปวดทอง ตั้งแตตอนเขาแถวแลว จูๆก็มีเลือดไหลทะลักออกมาเปนลิ่มๆ เปรอะขาและพื้นเต็มไปหมด สราง ความตกตะลึกใหกับเพื่อนๆ และครูที่ยืนคุมนักเรียนอยู จึงชวยกันนําสงโรงพยาบาล ปรากฎวาหลัง แพทยตรวจอาการพบวา เด็กหญิงจอยตั้งทองไดประมาณ 2-3 เดือน และมีอาการตกเลือด จนแทงลูก ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 12. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ดานนายชัย (นามสมมติ) อายุ 42 ป พอของเด็กหญิงจอย กลาววา หลังทราบขาวรูสึก ตกใจแทบช็อกและเสียใจทีเ่ กิดเรื่องแบบนี้ สําหรับทางบานก็พอมีฐานะและคอนขางเลี้ยงลูกแบบ ตามใจ ชวงปดเทอมรูวาลูกสาวคบหากับเพื่อนชาย ซึ่งเปนเด็กนักเรียนพาณิชยแหงหนึ่งในอําเภอ พระนครศรีอยุธยา แตไมคิดวาจะเกินเลยถึงขนาดนี้ สวนเรื่องคดีขณะนี้ตองรอใหลกสาวอาการ ู ดีขึ้นเสียกอน จากนั้นจึงคอยปรึกษากับญาติๆวาจะเอาอยางไร สวนนายสมพิศ ศุภพงษ ผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยาเขต 2  กลาวถึงเรื่องดังกลาววา ทราบเรื่องราวที่เกิดขึ้นแลว คงตองยอมรับวาสังคมปจจุบันมันเปนอยางนี้ ตองเขาใจเด็กยุคใหม มีโอกาสผิดพลาดไดมาก จึงตองใหโอกาสกับเด็กไดเรียนจนจบ หากเด็กมี จิตใจสงบและพรอม รวมทั้งไมอายเพื่อนก็ใหกลับไปเรียนที่เกาได แตหากตองการยายไปเรียนที่ ใหมกจะจัดหาให พรอมกันนี้ไดติดตามเยียวยาสภาพจิตใจกันตอไป 1 ็ 1 หนังสือพิมพ ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 13. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ใบความรูที่ 1 เรื่อง หลักการปฏิเสธและการเตือนเพื่อน ทุกคนมีสิทธิที่จะปฏิเสธการชวนไปทําในสิ่งที่ตนเองไมอยากทํา โดยเฉพาะอยางยิง ่ การชวนไปทําในสิ่งที่ไมปลอดภัย การติดโรค การใชยาเสพติด หรือ ไปมีพฤติกรรมทางเพศ ที่ไมเหมาะสม ประโยคปฏิเสธที่ดีควรมีลักษณะอยางนี้ 1. การอางความรูสึกประกอบแทนการใชเหตุผลอยางเดียว เพราะการใชเหตุผลอยางเดียว  มักถูกโตแยงดวยเหตุผลอื่น แตความรูสึกเปนเรื่องที่โตแยงไดยาก 2. ปฏิเสธอยางชัดเจนทั้งทาทาง คําพูด และน้ําเสียง 3. การถามความคิดเห็น เปนการรักษาน้ําใจผูชวน ถาคูสนทนายอมรับคําปฏิเสธ ควรพูด คําวา “ ขอบคุณคะ (ครับ) ” ตัวอยางคําพูดปฏิเสธ สถานการณ เพื่อนตางเพศชวนเขาไปในหองพักสวนตัว ประโยคคําพูด “ เราไมอยากเขาไป มันดูไมดี ขอตัวนะ เธอคงเขาใจ ” ลักษณะ ตัวอยาง 1. อางความรูสึกประกอบเหตุผล 1. มันดูไมดี 2. ปฏิเสธ 2. เราไมอยากเขาไป 3. ถามความเห็น 3. เธอคงเขาใจ 4. เมื่อถูกตื้อปฏิเสธซ้ําแลวรีบออกไปจาก 4. ขอตัวนะ เหตุการณ การหาทางออกเมื่อถูกเซาซี้ เมื่อถูกเซาซี้ สบประมาท ไมควรหวั่นไหวหรือใจออนตอคําพูด ควรหาทางออกดังนี้ 1. ปฏิเสธซ้ํา แลวรีบเดินหนีจากพฤติกรรม เชน พูดวา “ ขอตัวนะ ” “ บอกวา ขอตัวนะ ” 2. ผัดผอน คือ การพูดขอเลื่อนเวลาออกไปเพื่อใหผูชวนลมเลิกความตั้งใจ เชน พูดวา “ ไววนหลังคอยวากัน ” “ คราวหนาคอยวากัน ” แลวรีบเดินหนีจากเหตุการณ ั ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 14. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 3. ตอรอง คือ การชวนไปทํากิจกรรมที่ไมเสี่ยง เชน “ ไปกินขาวบานเราดีกวา แมเราทํากับขาวอรอยนะ” การหาทางออกอาจเลือกวิธีเดียว หรือ หลายวิธีกได สิ่งที่สําคัญ คือ ตองรีบออกจาก ็ เหตุการณใหเร็วที่สุด โดยไมยอมหยุดใหเซาซี้ หรือสบประมาทไปเรือยๆ เพราะอาจทําให ่ ใจออนได ปญหาที่วัยรุนปฏิเสธไมสําเร็จ วัยรุนสวนใหญปฏิเสธเพื่อนไมได สาเหตุมาจากเกรงใจ กลัวเพื่อนโกรธ ใจไมมั่นคง อยากทํา ทนคําพูดเซาซี้สบประมาทของเพือนไมได ถาวัยรุนปฏิเสธไมสําเร็จก็จะทําใหตนเองตอง ่ เขาไปเกียวของกับพฤติกรรมเสี่ยง หรือไดรับอันตรายอยางหลีกเลียงไมได ่ ่ หลักสําคัญที่ชวยใหปฏิเสธไดสําเร็จ 1. ตองมีจิตใจมั่นคง แนวแน วาจะตองปฏิเสธจริงๆ เพราะเปนเรื่องทีมีความเสี่ยง ่ หรือมีผลเสียตอชีวิต 2. พูดปฏิเสธดวยน้ําเสียงและทาทางที่จริงจัง แตสุภาพไมหักหาญน้ําใจเพื่อน 3. เมื่อปฏิเสธจบแลว ตองรีบเดินออกไปจากเหตุการณนนทันทีโดยไมรีรอ เพื่อปองกัน ั้ การเซาซี้หรือสบประมาทที่อาจทําใหเราใจออน 4. เมื่อพูดสบประมาท ไมควรไหวหวั่นหรือโตตอบ ใหรีบเดินหนีออกไปทันที ตัวอยางประโยคปฏิเสธ สถานการณทควรปฏิเสธ ี่ ตัวอยางประโยคปฏิเสธ 1. เพื่อนชายชวนดื่มเหลา “เราไมชอบ กลัวจะเมา ไมดมนะ นายคงไมวา” ื่ “ ไมอยากดื่ม เหม็น ขอไมดื่มนะ นายคงไมวา ” 2. เพื่อนตางเพศชวนไปคางคืน “ เราไมชอบไปคางคืนที่อื่น พอแมเราไมอนุญาต ตางจังหวัด เราไมไปนะ เธอคงเขาใจ ” 3. เพื่อนชวนเที่ยวเธค “ เราไมชอบไปที่อยางนั้น เขาไปแลวอึดอัด ไมไปนะ เธอคงไมวา ” ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 15. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ทักษะการเตือนเพื่อน การใชทักษะการเตือนเพื่อนและผูใกลชิดที่มีพฤติกรรมเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธ เชน ควรแนะนําใหเพื่อนมีเหตุผลในการกระทําที่ถูกตอง กลาปฏิเสธในเรื่องที่ควรปฏิเสธ และรูจัก การเลือกใชคําพูดในการปฏิเสธ ควรแนะนําใหรูจักผลเสียที่จะเกิดขึนถาหากมีเพศสัมพันธ ้ ในวัยเรียนและโรคที่ติดตอทางเพศ การเตือนตองใชคําพูดที่สุภาพและเหมาะสมดวย 1 1 แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพศศึกษา ชวงชั้นที่ 3 ชันมัธยมศึกษาปที่ 1-3 ้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รวมกับ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนโดยกองทุนโลก ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 16. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กรณีตัวอยาง “ จุกจิ๊กนัก…ไมนารักเลย ” ชื่อกลุม................................................ สมาชิกกลุม 1.................................................................................. 2.................................................................................. 3................................................................................. คําชี้แจง ใหนักเรียนศึกษากรณีตัวอยาง “ จุกจิ๊กนัก…ไมนารักเลย ” แลวชวยกันระดมความคิดเห็น ตามประเด็นตอไปนี้ และบันทึกผลในใบกิจกรรมนี้ 1. ถาเกิดเหตุการณเชนนี้กับนักเรียน นักเรียนจะทําอยางไร เพราะเหตุใด สมาชิกคนที่ ทางเลือก เหตุผล 2. นักเรียนคิดวาโจเปนคนอยางไร ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 3. นักเรียนชวยกันวิเคราะห จัดลําดับความสําคัญของทางเลือก และชวยกันประเมินขอดี ขอเสีย พรอมทั้งชวยกันเลือกทางเลือกที่ดที่สุด 1 ขอ พรอมทั้งใหเหตุผลที่เลือก ี ลําดับความสําคัญของทางเลือก 1) ………………………………………………… 2) ………………………………………………… 3) ………………………………………………… 4) ………………………………………………… ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 17. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ประเมินขอดี – ขอเสียของทางเลือกในแตละขอ ทางเลือก ขอดี ขอเสีย นักเรียนตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดมา 1 ขอ พรอมใหเหตุผล ขอที่เลือก ………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………….. เหตุผลที่เลือก………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 18. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กรณีตัวอยาง เรื่อง จุกจิ๊กนัก…ไมนารักเลย โจกับแจงเปนเพื่อนรวมชั้นเรียน สนิทสนมกันมาก โจมีใจ ชอบแจงโดยทีแจงไมรูตัว โจชวนแจงไปดูหนังสือที่หองสมุด แจงคิดวา ่ หองสมุดเปนสถานที่สาธารณะคงจะไมนาเกลียดที่จะไปดูหนังสือดวยกัน เมื่อไปถึงหองสมุด โจพยายามเลือกที่นั่งในจุดที่ลับตาคนและถือโอกาส แตะเนื้อตองตัวแจง ในสถานการณเชนนั้น แจงควรทําอยางไรดี ? 1 1 แนวทางการจัดกิจกรรมเสริมสรางเจตคติและพฤติกรรมที่เหมาะสมในการปองกันเอดส กลุมสงเสริมการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 19. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง กรณีตัวอยาง “ ฟนดะ ” ชื่อกลุม................................................ สมาชิกกลุม 1.................................................................................. 2.................................................................................. 3................................................................................. คําชี้แจง ใหนักเรียนศึกษากรณีตัวอยาง “ ฟนดะ ” แลวชวยกันระดมความคิดเห็นตามประเด็น ตอไปนี้ และบันทึกผลในใบกิจกรรมนี้ 1. ถา นักเรียนเปนพงศ นักเรียนคิดอยางไร มีเหตุผลอยางไร ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………….. 2. ถานักเรียนเปนเพื่อนของพงศ นักเรียนมีวิธีในการเตือนเพื่อนอยางไรบาง เกี่ยวกับ พฤติกรรมที่เพื่อนเลาใหฟง โดยยกตัวอยางคําพูดในการเตือนเพื่อน และใหเหตุผล ประกอบ แสดงเหตุผล คําพูดในการเตือนเพื่อน ผลดี ผลเสีย 3. นักเรียนบอกถึงประโยชนที่จะไดรับจากการเตือนเพื่อนใหมีพฤติกรรมที่พึงประสงค ประโยชนตอตนเอง ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………….. ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 20. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ประโยชนตอเพื่อน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………….. ประโยชนตอสังคม ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………….. ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 21. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กรณีตัวอยาง เรื่อง ฟนดะ พงศ ชายหนุมรูปหลอ เสนหแรง แฟนเยอะ จีบสาวใดไดเรื่องทุกที  ไมตองใชเวลานานอยางคนอืน และมักจะมาเลาใหเพื่อนฝูงฟงวาไดฟนเกือบ ่  ทุกรายไมเคยตองรับผิดชอบ แถมยังเปลียนคูนอนบอยๆ ่ ถานักเรียนเปนเพื่อนพงศ นักเรียนมีความคิดเห็นอยางไรกับพฤติกรรมของพงศ ? 1 1 แนวทางการจัดกิจกรรมเสริมสรางเจตคติและพฤติกรรมที่เหมาะสมในการปองกันเอดส กลุมสงเสริมการจัดการศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 22. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่อง แผนผังความคิดของสถานการณเสี่ยงทางเพศ ชื่อกลุม................................................ สมาชิกกลุม 1.................................................................................. 2.................................................................................. 3................................................................................. คําชี้แจง นักเรียนแยกแยะองคประกอบทีกอใหเกิดสถานการณเสียงทางเพศและวิธการปองกัน ่ ่ ี ตนเองและผูอนมิใหตกอยูในสถานการณเสี่ยงทางเพศเปนแผนผังความคิด ของกลุมตนเอง ื่  ตามวิธีการเขียนแผนผังความคิดแบบผังแมงมุม ( Web Diagram ) ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 23. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 แบบบันทึกคะแนนกิจกรรม ตามเกณฑการใหคะแนน ( Rubrics ) หนวยที่ 2 เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ ใบกิจกรรมที่ 1 กรณีตัวอยาง “ ม.3 แทงลูก ” คําชี้แจง ใสเครื่องหมาย ลงในชองตัวเลขคะแนนของแตละรายการประเมิน ความสามารถในการ คิดโดยใชปญหา คานิยม รวม เกณฑ ที่ ชื่อ - นามสกุล เปนฐาน ตัดสิน 1 2 3 4 1 2 3 4 8 1 2 3 4 5 6 7 8 เกณฑการตัดสิน 1- 2 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง 3- 4 คะแนน หมายถึง พอใช 5- 6 คะแนน หมายถึง ดี 7- 8 คะแนน หมายถึง ดีมาก ลงชื่อ………………………………...ครูประจําวิชา ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 24. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 แบบบันทึกคะแนนกิจกรรม ตามเกณฑการใหคะแนน ( Rubrics ) หนวยที่ 2 เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ ใบกิจกรรมที่ 2 กรณีตัวอยาง เรื่อง จุกจิ๊กนัก….ไมนารักเลย คําชี้แจง ใสเครื่องหมาย ลงในชองตัวเลขคะแนนของแตละรายการประเมิน ความสามารถในการ คิดโดยใชปญหา คานิยม รวม เกณฑ ที่ ชื่อ - นามสกุล เปนฐาน ตัดสิน 1 2 3 4 1 2 3 4 8 1 2 3 4 5 6 7 8 เกณฑการตัดสิน 1- 2 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง 3- 4 คะแนน หมายถึง พอใช 5- 6 คะแนน หมายถึง ดี 7- 8 คะแนน หมายถึง ดีมาก ลงชื่อ………………………………...ครูประจําวิชา ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 25. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 แบบบันทึกคะแนนกิจกรรม ตามเกณฑการใหคะแนน ( Rubrics ) หนวยที่ 2 เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ ใบกิจกรรมที่ 3 กรณีตัวอยางเรื่อง ฟนดะ คําชี้แจง ใสเครื่องหมาย ลงในชองตัวเลขคะแนนของแตละรายการประเมิน ความสามารถในการ คิดโดยใชปญหา คานิยม รวม เกณฑ ที่ ชื่อ - นามสกุล เปนฐาน ตัดสิน 1 2 3 4 1 2 3 4 8 1 2 3 4 5 6 7 8 เกณฑการตัดสิน 1- 2 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง 3- 4 คะแนน หมายถึง พอใช 5- 6 คะแนน หมายถึง ดี 7- 8 คะแนน หมายถึง ดีมาก ลงชื่อ………………………………...ครูประจําวิชา ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 26. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 แบบบันทึกคะแนนกิจกรรม ตามเกณฑการใหคะแนน ( Rubrics ) หนวยที่ 2 เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ ใบกิจกรรมที่ 4 แผนผังความคิดของสถานการณเสียงทางเพศ ่ คําชี้แจง ใสเครื่องหมาย ลงในชองตัวเลขคะแนนของแตละรายการประเมิน ความรูความเขาใจในเนื้อหา ที่ ชื่อ - นามสกุล เกณฑตัดสิน 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 8 เกณฑการตัดสิน 1 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง 2 คะแนน หมายถึง พอใช 3 คะแนน หมายถึง ดี 4 คะแนน หมายถึง ดีมาก ลงชื่อ………………………………...ครูประจําวิชา ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 27. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 แบบสังเกตพฤติกรรมดานคุณลักษณะที่พึงประสงค หนวยที่ 2 เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ คําชี้แจง ใสเครื่องหมาย ลงในชองตัวเลขคะแนนของแตละรายการประเมิน ที่ การปฏิบัติ การ ความรับผิดชอบ ตนตาม ชวยเหลือ ตองานที่ไดรบ รวม เกณฑ ั ชื่อ - นามสกุล กฎระเบียบ เพื่อน มอบหมาย คะแนน ตัดสิน 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 8 เกณฑการตัดสิน 1 - 3 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง 4 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช 7 - 9 คะแนน หมายถึง ดี 10 - 12 คะแนน หมายถึง ดีมาก ลงชื่อ………………………………...ครูประจําวิชา ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 28. การเรียนรูเพื่อสงเสริมทักษะการคิดโดยใชปญหาเปนฐาน เรื่องเพศศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 แบบประเมินการนําเสนอผลงานกลุม หนวยที่ 2 เรื่อง สถานการณเสี่ยงทางเพศ ชื่อกลุม……………………………… คําชี้แจง ประเมินการนําเสนอผลงานกลุมของนักเรียนทีออกมานําเสนอ ่ ระดับ ที่ รายการประเมิน 1 2 3 4 1 ความพรอมในการนําเสนอ 2 ความนาสนใจในการนําเสนอ 3 ความสมบูรณ ถูกตองของผลงาน รวมคะแนน ขอสังเกตอื่น ๆ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… เกณฑการตัดสิน 1 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง 2 คะแนน หมายถึง พอใช 3 คะแนน หมายถึง ดี 4 คะแนน หมายถึง ดีมาก ลงชื่อ………………………………...ครูประจําวิชา ทัศนีย ไชยเจริญ ครู โรงเรียนวัดพวงนิมิต สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแกว เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน