SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 51
Baixar para ler offline
หลักสูตรรายวิชาวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โดย
นางเอเดียน คุณาสิทธิ์
ตาแหน่งครูชานาญการพิเศษ
โรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
ข
คานา
หลักสูตรโรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง รายวิชาวิทยาศาสตร์ ว21101,21102 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ให้ครอบคลุมเนื้อหาและตัวชี้วัด มุ่งหวังให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้น
การเชื่อมโยงความรู้กับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ผู้เรียนมีทักษะสาคัญในการค้นคว้า
และสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย
ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติการทดลอง การ
สารวจตรวจสอบอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น
ขอขอบคุณผู้บริหารและคณะครูโรงเรียนบ้านกาเกาะระโยงทุกท่านที่ได้ให้คาแนะนาและ
ช่วยเหลือในการปฏิบัติงานประสบความสาเร็จด้วยดี ขอขอบคุณทุกท่าน มา ณ โอกาสนี้
เอเดียน คุณาสิทธิ์
ค
สารบัญ
หน้า
คานา................................................................................................................................................ก
สารบัญ............................................................................................................................................ข
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์....................................................ค
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางและสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น .................................................1
คาอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที1 ภาคเรียนที่ 1 .................................................41
โครงสร้างรายวิชา..........................................................................................................................43
ตัวชี้วัดรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.........................................................................47
คาอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที1 ภาคเรียนที่ 2 .................................................41
โครงสร้างรายวิชา..........................................................................................................................43
ตัวชี้วัดรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.........................................................................47
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวชี้วัดในรายวิชา...................................................................................
หน่วยการเรียนรู้.................................................................................................................................
ภาคเรียนที่ 1......................................................................................................................................
หน่วยที่ 1 หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช (30 ชั่วโมง)....................................
หน่วยที่ 2 สารในชีวิตประจาวัน (30 ชั่วโมง).........................................................................
ภาคเรียนที่ 2......................................................................................................................................
หน่วยที่ 3 การเคลื่อนที่และตาแหน่งของวัตถุ (15 ชั่วโมง)..................................................
หน่วยที่ 4 พลังงานความร้อน (15 ชั่วโมง)............................................................................
หน่วยที่ 5 บรรยากาศ (30 ชั่วโมง).........................................................................................
การวัดผลประเมินผลรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1........................................................
บรรณานุกรม.....................................................................................................................................
ภาคผนวก..........................................................................................................................................
41
คาอธิบายรายวิชา
ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
สังเกตและอธิบายรูปร่าง ลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
หลายเซลล์ สังเกตและเปรียบเทียบส่วน ประกอบสาคัญของ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ทดลองและ
อธิบายหน้าที่ของส่วน ประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ทดลองและอธิบาย
กระบวนการสารผ่านเซลล์ โดยการแพร่และออสโมซิส ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จาเป็นต่อ
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และอธิบายว่าแสง คลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า เป็น
ปัจจัยที่จาเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืช อธิบายความสาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงน้าของพืช สังเกตและ
อธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบลาเลียงน้าและอาหารของพืช ทดลองและอธิบายโครงสร้างของ
ดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและ
การสืบพันธุ์ แบบไม่อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์ ทดลอง
และอธิบายการตอบ สนองของพืช ต่อแสง น้า และการสัมผัส อธิบายหลักการและผลของการใช้
เทคโนโลยี ชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ เพิ่มผลผลิตของพืชและนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ทดลองและจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์และอธิบาย
สมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้แบบจาลองการ
จัดเรียงอนุภาคของสาร ทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดเบส ของสารละลาย ตรวจสอบค่า
pH ของสารละลายและนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์
ทดลองและอธิบายวิธีเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็นร้อยละ และอภิปรายการนา
ความรู้เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์ ทดลองและอธิบายการเปลี่ยน-แปลงสมบัติ มวลและ
พลังงาน ของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะ และเกิดการละลาย ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อ
การเปลี่ยนสถานะ และการละลายของสาร
ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้า
เรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุ่ม และเชื่อถือได้สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวาง
แผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิง
42
คุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม รวบรวมข้อมูลจัด
กระทาข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับ
ข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของ ข้อมูลจากการสารวจ
ตรวจสอบสร้างแบบจาลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสารวจตรวจสอบสร้าง
คาถามที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนาความรู้ที่ได้ไปใช้ ในสถานการณ์
ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
บันทึกและอธิบายผลการสังเกตการสารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้
ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบ เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยาน
ใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด
กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
รหัสตัวชี้วัด
ว ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๗, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙, ม.๑/๑๐, ม.๑/๑๑, ม.๑/
๑๒, ม.๑/๑๓,
ว ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔.
ว ๓.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓.
ว ๘.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๗, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙
รวมทั้งหมด ๒๙ ตัวชี้วัด
ค
เค้าโครงการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว21101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียน 11 ปีการศึกษา 2557
...................................................................................................................................................
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช (25 ชั่วโมง /35 คะแนน)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.1 โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ (5ชม. /8 เก็บ 5 สอบ 3)
ว1.1 ม.1/1 สังเกตและอธิบายรูปร่าง ลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของ
สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (เก็บ 1 สอบ 1)
ว1.1 ม.1/2 สังเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบสาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ (เก็บ 2
สอบ 1)
ว1.1 ม.1/3 ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์(เก็บ 2 สอบ 1)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.2 การแพร่และการออสโมซิส (2 ชั่วโมง /7 เก็บ 5 สอบ 2)
ว1.1 ม.1/4 ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผ่านเซลล์ โดยการแพร่และออสโมซิส
(เก็บ 5 สอบ 2)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.3 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง(4/8 เก็บ 5 สอบ 3)
ว1.1 ม.1/5 ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
และอธิบายว่าแสง คลอโรฟิลล์ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ น้า เป็นปัจจัยที่จาเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง
(เก็บ 2 สอบ 1)
ว1.1 ม.1/6 ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (เก็บ 2 สอบ 1)
ว1.1 ม.1/7 อธิบายความสาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม (เก็บ 1 สอบ 1)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.4 การลาเลียงในพืช(3/8 เก็บ 6 สอบ 2)
ว1.1 ม.1/8 ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงน้าของพืช
(เก็บ 3 สอบ 1)
ว1.1 ม.1/9 สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบลาเลียงน้าและอาหารของพืช (เก็บ 3
สอบ 1)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.5 การสืบพันธุ์ของพืช(3/7 เก็บ 5 สอบ 2)
ว1.1ม.1/10ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช(เก็บ3สอบ1)
ว1.1 ม.1/11 อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่
อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์(เก็บ 2 สอบ 1)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.6 การตอบสนองต่อสิ่งเร้า(3/6 เก็บ 5 สอบ 1)
ว1.1ม.1/12 ทดลองและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสงน้าและการสัมผัส (เก็บ5สอบ1)
ง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.7 เทคโนโลยีชีวภาพ(3/6 เก็บ 5 สอบ 1)
ว1.1 ม.1/13 อธิบายหลักการและผลของการใช้เทคโนโลยี ชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุง
พันธุ์ เพิ่มผลผลิตของพืชและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์(เก็บ 4 สอบ 2)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สารในชีวิตประจาวัน (25 ชั่วโมง/35 คะแนน)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2.1 การจาแนกสาร(3/5 เก็บ 3 สอบ 2)
ว3.1 ม.1/1 ทดลองและจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์ และ
อธิบายสมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม(เก็บ 3 สอบ 2)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2.2 สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม(3/7 เก็บ 4 สอบ 3)
ว3.1 ม.1/1 ทดลองและจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์และ
อธิบายสมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม (เก็บ 4 สอบ 3)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2.3 สารแขวนลอย คอลลอยด์ (3/7 เก็บ 5 สอบ 2)
ว3.1 ม.1/1 ทดลองและจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็น
เกณฑ์และอธิบายสมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม(เก็บ 5 สอบ 2)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2.4 สารละลาย(7 /14 เก็บ 10 สอบ 4)
ว3.1 ม.1/1 ทดลองและจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็น
เกณฑ์ และอธิบายสมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม (เก็บ 3 สอบ 1)
ว3.2 ม.1/1 ทดลองและอธิบายวิธีเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็นร้อยละ
และอภิปรายการนาความรู้เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์ (เก็บ 2 สอบ 1)
ว3.2 ม.1/2 ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวลและพลังงานของสาร
เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย(เก็บ 3 สอบ 1)
ว3.2 ม.1/3 ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ และการละลาย
ของสาร (เก็บ 2 สอบ 1)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2.5 สมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร(7/7 เก็บ 5 สอบ 2)
ว3.1 ม.1/2 อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาค
ของสาร (เก็บ 5 สอบ 2)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2.6 สมบัติของกรด-เบส(3/10 เก็บ 8 สอบ 2)
ว3.1 ม.1/3 ทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรด เบส ของสารละลาย (เก็บ 4 สอบ 1)
ว3.1 ม.1/4 ตรวจสอบค่า pH ของสารละลายและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ (เก็บ 4 สอบ 1)
(สาหรับตัวชี้วัด ว8.1 ม.1-3/1-9 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บูรณาการในทุกตัวชี้วัด)
จ
ผลการประเมินรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว21101 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
ของ .........................................................................................ชั้น ม.1/..... เลขที่ ............
กิจกรรมหน่วยที่ 1
มาตรฐาน/
ตัวชี้วัด
คะแนนรวมระหว่างปี 70 คะแนน สอบ
คะแนน
ลงชื่อครู
ตอนที่ 1(10) ตอนที่ 2 (10) รวม (20)
1. กล้อง ว1.1ม.1/1
ว1.1 ม.1/2
2. เซลล์ ว.11 ม.1/3
3. การแพร่ ว.11 ม.1/4
4. สังเคราะห์แสง ว.11 ม.1/5
ว.11 ม.1/6
ว.11 ม.1/7
5. ลาเลียงสาร ว.11 ม.1/8
ว.11 ม.1/9
6. สืบพันธุ์ ว.11 ม.1/10
ว.11 ม.1/11
7. สิ่งเร้า ว.11 ม.1/12
8. เทคโนฯชีวภาพ ว.11 ม.1/13
กิจกรรมหน่วยที่ 2
(สารในชีวิตประจาวัน)
กิจกรรม
ที่ 1(10)
กิจกรรม
ที่ 2(10)
รวม
(20)
2.1 การจาแนกสาร ว3.1 ม.1/1
2.2 สารเนื้อเดียว /
ผสม
ว3.1 ม.1/1
2.3 แขวนลอย
คอลลอยด์
ว3.1 ม.1/1
2.4 สารละลาย ว3.1 ม.1/1
ว3.2 ม.1/1
ว3.2ม.1/2
ว3.2 ม.1/3
2.5 การเปลี่ยนสถานะ ว3.1 ม.1/2
2.6 กรด เบส
กรด เบส
ว3.1ม.1/3
ว3.1 ม.1/4
รวมทั้งสิ้น
20 ต.ชว. + 9 ม.8.1 = 29 ตชว.
43
โครงสร้างรายวิชา
ว21111 วิทยาศาสตร์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต
ลาดับ
ที่
ชื่อหน่วย
การเรียนรู้
มาตรฐาน
การเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
น้าหนักคะแนน
ระหว่าง
เรียน
ปลาย
ภาค
1 หน่วยของ
สิ่งมีชีวิตและการ
ดารงชีวิตของพืช
1.1 การใช้กล้อง
จุลทรรศน์
1.2โครงสร้าง
และหน้าที่ของ
เซลล์
ว1.1
ม.1/1-13,
ว8.1
ม.1-3/1-9
ว1.1
ม.1/1-3
เซลล์ หมายถึงหน่วยที่เล็กที่สุด ของสิ่งมีชีวิต
ประกอบด้วยส่วนประกอบที่สาคัญคือ นิวเคลียส
ไซโทพลาซึม เยื่อหุ้มเซลล์ แวคิวโอล ซึ่งพบได้
ทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ส่วนผนังเซลล์และ
คลอโรพลาสต์พบเฉพาะในเซลล์พืช ซึ่งส่วน
ประกอบที่สาคัญดังกล่าวจะมีหน้าที่แตกต่างกัน
30
5
35
5
15
3
1.3 การแพร่และ
การออสโมซิส
ว1.1 ม.1/4 การแพร่เป็นการเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มี
ความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นต่า
การออสโมซิสเป็นการเคลื่อนที่ของน้าผ่านเข้า
และออกจากเซลล์ จากบริเวณที่มีความเข้มข้น
ของสารละลายต่า
4 5 2
1.4 กระบวนการ
สังเคราะห์ด้วย
แสง
ว1.1
ม.1/5-7
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงมีความสาคัญ
ต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในด้านอาหาร การ
หมุนเวียนแก๊สออกซิเจนและแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ โดยแสง คลอโรฟิลล์ แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ และน้าเป็นปัจจัยที่จาเป็น
ต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และ
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ
น้าตาล น้า และออกวิเจน
5 5 3
44
ลาดับ
ที่
ชื่อหน่วย
การเรียนรู้
มาตรฐาน
การเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
น้าหนักคะแนน
ระหว่าง
เรียน
ปลาย
ภาค
1.5 การลาเลียง
ในพืช
ว1.1
ม.1/8-9
เนื้อเยื่อลาเลียงน้า ทาหน้าที่ในการลาเลียงน้า
และธาตุอาหารจากรากสู่ใบ ส่วนเนื้อเยื่อลาเลียง
อาหาร ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารจากใบไปสู่ส่วน
ต่างๆของพืช โดยกระบวนการคายน้านับว่าเป็น
กระบวนการที่สาคัญที่มีส่วนช่วยในการลาเลียง
น้าของพืช
4 6 2
1.6 การสืบพันธุ์
ของพืช
ว1.1
ม.1/11-11
การสืบพันธุ์ของพืชแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและการสืบพันธุ์แบบ
ไม่อาศัยเพศ
4 5 2
1.7 การตอบ
สนองต่อสิ่งเร้า
ว1.1
ม.1/12
พืชตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกโดยสังเกตได้
จากการเคลื่อนไหวของส่วนประกอบของพืชที่มี
ต่อแสง น้า และการสัมผัส
4 5 1
1.8
เทคโนโลยีชีวภาพ
ว1.1
ม.1/13
เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นการใช้เทคโนโลยีเพื่อทา
ให้สิ่งมีชีวิตหรือองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตมี
สมบัติตามต้องการ เช่น การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
พันธุวิศวกรรม เป็นต้น
4 4 2
45
ลาดับ
ที่
ชื่อหน่วย
การเรียนรู้
มาตรฐาน
การเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
น้าหนักคะแนน
ระหว่าง
เรียน
ปลาย
ภาค
2 สารใน
ชีวิตประจาวัน
2.1 การจาแนก
สาร
ว3.1
ม.1/1-4,
ว3.2
ม.1/1-3,
ว8.1
ม.1-3/1-9
ว3.1 ม.1/1 สารในชีวิตประจาวันสามารถจัดจาแนกได้
ออกเป็นกลุ่มๆขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการจาแนก
ใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์จาแนกได้เป็นสารเนื้อเดียว
และสารเนื้อผสม หากใช้อนุภาคของสารเป็น
เกณฑ์จาแนกได้เป็นสารแขวนลอย คอลลอยด์
และสารละลาย ซึ่งสารแต่ละกลุ่มจะมีสมบัติ
ต่างกัน
30
3
35
3
15
2
2.2 สารเนื้อเดียว
สารเนื้อผสม
ว3.1 ม.1/1 สารเนื้อเดียว หมายถึง สารที่สังเกตด้วยตาเปล่า
แล้วเห็นว่ามีเนื้อสารกลมกลืนเสมือนกับมีเพียง
ชนิดเดียวแยกเป็นสารบริสุทธิ์และสารไม่บริสุทธิ์
ส่วนสารที่สังเกตแล้วเห็นว่ามีลักษณะไม่
กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกันเรียกว่า สารเนื้อผสม
3 4 3
2.3 สาร
แขวนลอย
คอลลอยด์
ว3.1 ม.1/1 สารแขวนลอย เป็นสารเนื้อผสมที่มองเห็น
อนุภาคของสารชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดลอย
กระจายปนอยู่ในสารอีกชนิดหนึ่งซึ่งเป็นตัวกลาง
ส่วนคอลลอยด์จะเป็นสารเนื้อเดียวที่มีลักษณะมัว
หรือขุ่นไม่ตกตะกอน
3 5 2
2.4 สารละลาย ว3.1 ม.1/1,
ว3.2
ม.1/1-3
สารละลายเป็นสารเนื้อเดียวที่มีสารหลายชนิด
ละลายปนอยู่ประกอบด้วยตัวทาละลายและตัวถูก
ละลาย ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนสถานะและ
การละลายของสารคือ อุณหภูมิและความดัน
7 10 4
46
ลาดับ
ที่
ชื่อหน่วย
การเรียนรู้
มาตรฐาน
การเรียนรู้/
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
น้าหนักคะแนน
ระหว่าง
เรียน
ปลาย
ภาค
2.5 สมบัติและ
การเปลี่ยนสถานะ
ของสาร
ว3.1 ม.1/2 สี รูปร่าง ขนาด ความแข็ง ความหนาแน่น จุด
เดือด จุดหลอมเหลว เป็นสมบัติทางกายภาพ
ความเป็นกรด- เบส ความสามารถในการรวมตัว
กับสารอื่นๆ การแยกสลายและการเผาไหม้เป็น
สมบัติทางเคมี สารที่อยู่ในสถานะต่างกันจะมี
การจัดเรียงอนุภาค ระยะห่างระหว่างอนุภาค และ
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคแตกต่างกัน
7 5 2
2.6 สมบัติของ
กรด-เบส
ว3.1
ม.1/3-4
สารละลายที่มีน้าเป็นตัวทาละลายอาจจะมี
สมบัติเป็นกรด กลาง และเบส ซึ่งสามารถ
ทดสอบได้ด้วยกระดาษลิตมัสหรืออินดิเคเตอร์
ซึ่งสามารถระบุความเป็นกรด-เบสได้ด้วย
เครื่องมือวัดค่า pH สาหรับผลิตภัณฑ์ที่ใช้ใน
ชีวิตประจาวันอาจมีความเป็นกรด-เบสแตกต่าง
กันจึงควรเลือกใช้ให้ถูกต้องปลอดภัยต่อตนเอง
และสิ่งแวดล้อม
7 8 2
รวมตลอดภาคเรียนที่ 1 60 70 30
4
การออกแบบหน่วยการเรียนการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช เวลา 25 ชั่วโมง
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. ความคิดรวบยอด (ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง)
ผู้เรียนศึกษาวิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการขยายประสาทสัมผัส
ทางตา ส่วนประกอบของกล้องที่สาคัญคือเลนส์นูน มี 2 ส่วน คือ เลนส์ใกล้ตามและเลนส์ใกล้วัตถุ
การหากาลังขยายของเลนส์นากาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา คูณกับกาลังของเลนส์ใกล้วัตถุ
ศึกษาทดลองเข้าใจว่า เซลล์เป็นหน่วยประกอบพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด โครงสร้าง
ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีความแตกต่างกัน เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบที่เหมือนกัน
คือ เยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งทาหน้าที่ห่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซึม เป็นที่สะสมอาหารและของเสียภายใน
เซลล์ และนิวเคลียสเป็นที่อยู่ของสารพันธุกรรมภายในเซลล์ ในเซลล์พืชจะมีส่วนประกอบเพิ่มอีก
คือผนังเซลล์ซึ่งทาให้พืชแข็งแรงและคงรูปอยู่ได้และคลอโรพลาสต์ ทาหน้าที่ในการสร้างอาหาร
ของพืช กิจกรรมทุกอย่างภายในเซลล์จะทาหน้าที่สัมพันธ์กันทาให้สิ่งมีชีวิตสามารถดารงชีวิตอยู่ได้
ศึกษาทดลองและสามารถอธิบายได้ว่า การแพร่ (Diffusions) เป็นปรากฏการณ์เคลื่อนที่
ของอนุภาคของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของอนุภาคของสารมากไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้น
ของอนุภาคของสารน้อยจนอนุภาคของสารทั้ง 2 บริเวณมีความเข้มข้นเท่ากัน และการออสโมซิส
(Osmosis) เป็นการแพร่ของโมเลกุลของน้าจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้าน้อยกว่าโดยผ่านเยื่อ
เลือกผ่าน (Semi permeable membrane)
ทาการศึกษาทดลองและสรุปเกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งเป็นกระบวนการ
สร้างอาหารของพืชโดยมีคลอโรฟิลล์ทาหน้าที่ดูดพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์แล้วเปลี่ยนวัตถุดิบ
คือ น้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ให้เป็นน้าตาลกลูโคสและเก็บสะสมไว้ในรูปของแป้ ง ผลผลิต
ที่ได้คือน้าและแก๊ส พืชดูดน้าและแร่ธาตุที่บริเวณขนราก โดยเนื้อเยื่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ เรียกว่า
ไซเลม (Xylem) และเนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร เรียกว่า โฟลเอม (Phloem) การลาเลียงน้าและแร่ธาตุ
มีทิศทาง การลาเลียงขึ้น การคายน้าของพืชส่วนใหญ่เกิดที่บริเวณปากใบ ซึ่งอยู่ระหว่างเซลล์คุม 2
เซลล์ ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้าได้แก่ แสงสว่าง อุณหภูมิ ความชื้น ลม ความอุดมสมบูรณ์ของ
น้าในดิน ความกดดันของบรรยากาศ ลักษณะและโครงสร้างของใบ
พืชมีการลาเลียงอาหาร คือ แป้ งและน้าตาลไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช โดยท่อลาเลียงอาหาร
โดยวิธีการแพร่และพืชได้เปลี่ยนอาหารส่วนหนึ่งให้เป็นพลังงานเพื่อใช้ในกิจกรรมการดารงชีวิต
และอาหารส่วนหนึ่งจะถูกนาไปสร้างเนื้อเยื่อในส่วนต่างๆของพืช เพื่อให้พืชเจริญเติบโต
5
การเจริญเติบโตของพืชมีกระบวนการเพิ่มจานวนของเซลล์ การขยายขนาดของเซลล์และ
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์เพื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่าง รากและยอดเป็นส่วนที่งอกออกมาจาก
เมล็ด ต้นพืชที่กาลังงอกได้อาหารจากใบเลี้ยง เมื่อใบสีเขียวจึงได้อาหารจากกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสง
ดอกไม้ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้เกสรตัวเมีย
ถ้าใช้ส่วนประกอบเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น ดอกครบส่วนและดอกไม่ครบส่วน ถ้าแบ่งโดยใช้เกสร
ตัวผู้และเกสรตัวเมียเป็นเกณฑ์ จะแบ่งออกเป็น ดอกสมบูรณ์เพศและดอกไม่สมบูรณ์เพศ
การสืบพันธุ์ของพืชมี 2 ประเภท คือ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศกับการสืบพันธุ์แบบไม่
อาศัยเพศ ซึ่งการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เป็นการผสมระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมีย
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช เช่น การขยายพันธุ์โดยใช้ส่วนต่าง ๆ การตอนกิ่ง การติดตา
การทาบกิ่ง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
พืชมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพื่อประโยชน์ในการเจริญเติบโต เพื่อหลีกเลี่ยงจากอันตราย
โดยพืชจะแสดงออกด้วยการเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ มีแบบแผนชัดเจน ซึ่งการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ของพืช แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าเนื่องจากการเจริญเติบโต และการ
เปลี่ยนแปลงปริมาณน้าภายในเซลล์
เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นการนาเอาสิ่งมีชีวิตมาทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยใช้ความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเฉพาะความรู้ทางด้านพันธุวิศวกรรม เพื่อนามาใช้ประโยชน์ใน
การเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธุ์ให้มีคุณภาพมากขึ้น เทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
คือ การนาส่วนหนึ่งของพืช เช่น ปลายยอด ปลายราก ตา มาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์
พันธุวิศวกรรมเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสารพันธุกรรมโดย การ
เคลื่อนย้ายยีนสายพันธุ์หนึ่งไปสู่สิ่งมีชีวิตอีกสายพันธุ์หนึ่งเพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีลักษณะและ
คุณสมบัติตามสิ่งที่ต้องการ
การเพิ่มผลผลิตด้วยวิธีการทางชีวภาพ เป็นการเพิ่มผลผลิตของพืชเพื่อให้พืชมีคุณภาพดี
โดยการรักษาสภาพดิน การเพิ่มธาตุอาหารให้แก่พืชโดยการใส่ปุ๋ ยพรวนดิน การป้ องกันและกาจัด
ศัตรูพืช และการใช้สารในการควบคุมการเจริญเติบโตของพืชแต่ละวิธีมีกระบวนการปฏิบัติเพื่อ
รักษาสภาพแวดล้อมควบคู่กันไป เช่น การปลูกพืชคลุมดิน การใช้ปุ๋ ยชีวภาพ การกาจัดศัตรูพืช
ด้วยวิธีชีววิธี
6
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ว 1.1 ม.1/1 สังเกตและอธิบายรูปร่างลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของ
สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
ว 1.1 ม.1/2 สังเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบสาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ว 1.1 ม.1/3 ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ว 1.1 ม.1/4 ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผ่านเซลล์โดยการแพร่และออสโมซิส
ว 1.1 ม.1/5 ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชและ
อธิบายว่าแสงคลอโรฟิลล์แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า เป็นปัจจัยที่จาเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์
ด้วยแสง
ว 1.1 ม.1/6 ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ว 1.1 ม.1/7อธิบายความสาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดล้อม
ว 1.1 ม.1/8 ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงน้าของพืช
ว 1.1 ม.1/9 สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบลาเลียงน้าและอาหารของพืช
ว 1.1 ม.1/10 ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช
ว 1.1 ม.1/11 อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่
อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์
ว 1.1 ม.1/12 ทดลองและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสงน้าและการสัมผัส
ว 1.1 ม.1/13 อธิบายหลักการและผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์
ปรับปรุงพันธุ์ เพิ่มผลผลิตของพืชและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
3. สาระการเรียนรู้
ด้านความรู้
1) การศึกษาเซลล์ โครงสร้าง และหน้าที่ของเซลล์
2) กระบวนการแพร่และการออสโมซิส
3) กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ของพืช
4) การลาเลียงสารในพืช
5) การเจริญเติบโตของพืช
6) การสืบพันธุ์ของพืช
7) การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
8) เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืช
7
ทักษะการคิด/กระบวนการที่ต้องการเน้น
- วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การสังเกตและกาหนดปัญหา การตั้งสมมุติฐาน
การทดลอง การรวบรวมข้อมูลและการสรุปผล
- ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ
- การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดแก้ปัญหา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการพัฒนา
1) ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
2) ความตรงต่อเวลา
3) ความซื่อสัตย์
4) มีความสามัคคีในการทางาน
4. ชิ้นงาน/ภาระงานการแสดงออกและการประเมิน
ชิ้นงาน/การแสดงออก
1) ฝึกทักษะการใช้กล้องจุลทรรศน์บอกและเขียนส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์และ
อธิบายวิธีใช้และคานวณหากาลังขยายของเลนส์นากาลังขยายของเลนส์ใกล้ตาและเลนส์ใกล้วัตถุได้
2) ให้นักเรียนศึกษา ทดลอง อธิบาย เขียนแผนภาพ และอธิบาย รูปร่างลักษณะของเซลล์
พืชและเซลล์สัตว์ อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้
3) ให้นักเรียนศึกษา ทดลองและสามารถอธิบายเกี่ยวกับการแพร่ (Diffusions) และ
การออสโมซิส (Osmosis) และสรุปเป็นแผนผังความคิดหรือผังมโนทัศน์ได้
4) ทาการศึกษาทดลองและสรุปเกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชและสรุป
ความรู้เป็นผังมโนทัศน์
5) ศึกษา ทดลองเกี่ยวกับการ ดูดน้าและแร่ธาตุของพืช ที่บริเวณขนราก โดยเนื้อเยื่อ
ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ เรียกว่า ไซเลม (Xylem) และเนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร เรียกว่า โฟลเอม
(Phloem) ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้าและสรุปองค์ความรู้เป็นผังมโนทัศน์
6) ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับ การเจริญเติบโตของพืช ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบเติบโต
ของพืชและการดารงชีวิตของพืช และสรุปองค์ความรู้เป็นผังมโนทัศน์
7) สังเกตและศึกษาเกี่ยวกับส่วนประกอบของดอกไม้จาแนกประเภทของดอกไม้โดยใช้
ส่วนประกอบเป็นเกณฑ์ และใช้เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียเป็นเกณฑ์ เขียนแผนภาพแสดง
ส่วนประกอบและสรุปองค์ความรู้เป็นผังมโนทัศน์
8
8) ศึกษา จาแนก เขียนแผนภาพ และอธิบาย การสืบพันธุ์ของพืชว่ามี 2 แบบ คือ การ
สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศกับการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ และสรุปองค์ความรู้เป็นผังมโนทัศน์
9) ศึกษา และอธิบายการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
คือ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าเนื่องจากการเจริญเติบโต และการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้าภายในเซลล์
และสรุปองค์ความรู้เป็นผังมโนทัศน์
10) ศึกษาและอธิบาย เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช โดยเฉพาะความรู้ทางด้าน
พันธุวิศวกรรม เพื่อนามาใช้ประโยชน์ในการเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธุ์ให้มีคุณภาพมากขึ้น
เทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พันธุวิศวกรรม การเพิ่มผลผลิตด้วยวิธีการทาง
ชีวภาพ และสรุปองค์ความรู้เป็นผังมโนทัศน์
การประเมิน
ชิ้นงาน คาอธิบายคุณภาพงาน (Holistic Rubric)
1. การเขียนแผนภาพลักษณะ
และส่วนประกอบของกล้อง
จุลทรรศน์ ลักษณะของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของ
เซลล์
เกณฑ์การให้คะแนนการปฏิบัติกิจกรรมและการบันทึกผลการ
ทดลอง
1. ได้ทดลองเองและวาดภาพที่สังเกตได้ทุกถูกต้องทุกรายการ วาด
ได้สวยงามมาก = 2 คะแนน
2. ได้ทดลองเองและวาดภาพที่สังเกตได้ทุกถูกต้องวาดได้สวยงาม
= 1 คะแนน
3. ไม่ได้ทดลอง และไม่ได้วาดภาพ หรือวาดแต่ไม่สมบูรณ์
= 0 คะแนน
2. การประเมินผลการสรุป
องค์ความรู้และการเขียน
แผนผังมโนทัศน์ (Mind
mapping)
1. สรุปองค์ความรู้โดยระบุได้ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดและบอกได้
ถูกต้องมีการตกแต่งชิ้นงานได้สวยงามมาก และมีความคิด
สร้างสรรค์ดีมาก = 5 คะแนน
2. สรุปองค์ความรู้โดยระบุได้ครอบคลุมเนื้อหาผิด 1 - 2 รายการ มี
การตกแต่งชิ้นงานได้มีความคิดสร้างสรรค์ดี = 4 คะแนน
3. สรุปองค์ความรู้โดยระบุได้ครอบคลุมเนื้อหาผิด 3 - 4 รายการ
ไม่ได้ตกแต่งชิ้นงาน ขาดความคิดสร้างสรรค์ = 3 คะแนน
4. สรุปองค์ความรู้ไม่ได้มีที่ผิดมากว่า 5 - 6 รายการต้องช่วยเหลือ
มาก = 2 คะแนน
5. สรุปองค์ความรู้ไม่ได้มีที่ผิดมากว่า 6 รายการต้องช่วยเหลือมาก
= 1 คะแนน
9
5. กิจกรรมการเรียนรู้ที่สาคัญ
สัปดาห์
ที่
จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
1 1. ระบุชื่อเครื่องมือที่ใช้
ในการขยายขอบเขต
ประสาทสัมผัสทางตาได้
2. ระบุส่วนประกอบ
ของกล้องจุลทรรศน์ได้
3. อธิบายวิธีการใช้และ
บารุงรักษากล้อง
จุลทรรศน์ได้
4. คานวณหากาลังขยาย
ของกล้องจุลทรรศน์ได้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง สิ่งมีชีวิตและ
การดารงชีวิต
1.1 กล้องจุลทรรศน์
-ประเภทกล้อง
จุลทรรศน์
-ส่วนประกอบของ
กล้องจุลทรรศน์
-วิธีการใช้และ
บารุงรักษากล้อง
จุลทรรศน์
-การหากาลังขยาย
กล้องจุลทรรศน์และ
การเตรียมสไลด์
1. ศึกษาส่วนประกอบของ
กล้องจุลทรรศน์ อธิบาย
วิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์
2. เขียนแผนภาพแสดง
ส่วนประกอบของกล้อง
จุลทรรศน์
3. คานวณหากาลังขยายของ
กล้องจุลทรรศน์
4. เขียนผังมโนทัศน์เพื่อ
สรุปเกี่ยวกับการใช้กล้อง
จุลทรรศน์
(25)
2
1 - 2 1. อธิบายความหมายของ
เซลล์ได้
2. เขียนแผนภาพแสดง
ลักษณะและรูปร่างของ
เซลล์ได้
3. บอกความแตกต่างและ
จาแนกชนิดของเซลล์ได้
4. เขียนแผนภาพแสดง
ส่วนประกอบที่สาคัญ
ของเซลล์พืชและเซลล์
สัตว์ได้
1.2 เซลล์ โครงสร้าง
และหน้าที่ของเซลล์
- ประเภทของเซลล์
- ส่วนประกอบเซลล์
-ลักษณะของเซลล์
พืชและเซลล์สัตว์
-การเตรียมสไลด์
เพื่อศึกษาลักษณะ
ของเซลล์
1. เตรียมสไลด์เพื่อศึกษา
ลักษณะและรูปร่างของเซลล์
พืช เช่น หัวหอมว่าน
กาบหอย สาหร่ายหาง
กระรอก และเซลล์สัตว์เช่น
เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม แล้ว
เขียนแผนภาพแสดง
ส่วนประกอบของเซลล์
2. ให้ศึกษาและอธิบาย
โครงสร้างหน้าที่ของเซลล์
แล้วสรุปองค์ความรู้เป็นผัง
มโนทัศน์
1
10
ครั้งที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
5. อธิบายรูปร่างลักษณะ
ของส่วนประกอบที่
สาคัญของเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์ได้
6. อธิบายหน้าที่ของ
ส่วนประกอบที่สาคัญ
ของเซลล์พืชและเซลล์
สัตว์ได้
7. เขียนแผนผังมโนทัศน์
สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับ
การศึกษาเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของ
เซลล์
2 1. อธิบายความหมายของ
การแพร่ได้
2. เขียนแผนภาพแสดง
กระบวนการแพร่ได้
3. ยกตัวอย่าง
กระบวนการแพร่ใน
ชีวิตประจาวันได้
1.3 การแพร่
- ปัจจัยที่มีผลต่อ
การแพร่ของสาร
- การลาเลียงของ
สารผ่านเข้าออกจาก
เซลล์
- ตัวอย่างการแพร่
ของสารที่เกิดขึ้นใน
ชีวิตประจาวันได้
1. ศึกษาทดลองและสรุป
การเกิดการแพร่ของ
ด่างทับทิมในน้าชนิดต่าง ๆ
2
11
ครั้ง
ที่
จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
3 1.อธิบายความหมายของ
กระบวนการออสโมซิสได้
2.เขียนแผนภาพแสดง
กระบวนการออสโมซิสได้
3.ยกตัวอย่างกระบวนการ
ออสโมซิสได้
4. ออกแบบและทาการ
ทดลองเกี่ยวกับการแพร่
และออสโมซิสของเซลล์
เมื่ออยู่ในสารละลายที่มี
ความเข้มข้นต่างกันได้
5. เขียนแผนผังความคิด
กระบวนการแพร่และ
ออสโมซิสได้
1.4 การออสโมซีส
- ตัวอย่าง
การออสโมซีส
ของสาร
- ปัจจัยที่มีผลต่อการ
ออสโมซิส
- การลาเลียงของสาร
ผ่านเข้าออกจาก
เซลล์
- องค์ความรู้เรื่อง
การแพร่และ
การออสโมซิส
1. ศึกษาทดลอง เขียน
แผนภาพและอธิบายการ
ออสโมซีส
2. สรุปองค์ความรู้เป็นเรื่อง
การแพร่และการออสโมซีส
เป็นผังมโนทัศน์
1
3-4 1. อธิบายปัจจัยบาง
ประการที่จาเป็นใน
กระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงได้
2. บอกความสาคัญของ
คลอโรฟิลล์ น้า แสงใน
กระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืชได้
3. ระบุสิ่งที่เกิดขึ้นจาก
กระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงได้
4. ออกแบบการทดลองที่
เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสงได้
1.5 การสังเคราะห์
ด้วยแสง
- ปัจจัยที่มีผลต่อการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืช
- ผลผลิตที่เกิดจาก
การสังเคราะห์ด้วย
แสงของพืช
- ปฏิบัติกิจกรรม
เรื่อง คลอโรฟิลล์กับ
การสร้างอาหารของ
พืช
1. ศึกษา ทดลองและสรุป
เกี่ยวกับ คลอโรฟิลล์เป็น
ปัจจัยที่จาเป็นในการ
สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
2. เขียนและอธิบายสมการ
การสังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืช
3. เขียนสรุปองค์ความรู้เป็น
ผังมโนทัศน์เกี่ยวกับปัจจัย
และผลผลิตในการสังเคราะห์
แสงของพืช
2
12
ครั้ง
ที่
จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
4 1. ระบุได้ว่าแสงจาเป็นใน
กระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืชได้
2. ออกแบบการทดลอง
เพื่อทดสอบว่าแสงจาเป็น
ในกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงของพืชได้
3. อธิบายความสาคัญของ
กระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงที่มีต่อสิ่งมีชีวิตได้
4. อธิบายความสาคัญของ
กระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงที่มีต่อ
สิ่งแวดล้อมได้
1.6 กระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืช
- การสังเคราะห์ด้วย
แสงของพืช
- ปัจจัยที่มีผลต่อการ
สังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืช
- ผลผลิตที่เกิดจาก
การสังเคราะห์ด้วย
แสงของพืช
1. ศึกษา ทดลอง และสรุป
เกี่ยวกับ แสงมีความสาคัญต่อ
กระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสงของพืช
2. เขียนและอธิบายสมการ
การสังเคราะห์ด้วยแสง
ของพืช
3. เขียนสรุปองค์ความรู้เป็น
ผังมโนทัศน์เกี่ยวกับปัจจัย
และผลผลิตในการสังเคราะห์
แสงของพืช
1
4-5 1. บอกโครงสร้างของการ
ลาเลียงน้าและอาหารใน
พืชได้
2. ระบุปัจจัยที่เกี่ยวข้องใน
การลาเลียงน้าของพืชได้
3. ออกแบบการทดลอง
การลาเลียงน้าของพืชได้
4. สรุปเกี่ยวกับการลาเลียง
อาหารและทิศทางการ
ลาเลียงอาหารของพืชได้
5. ทาการทดลองและ
อธิบายบริเวณของรากที่
ทาหน้าที่ในการดูดน้าและ
แร่ธาตุได้
1.7 การลาเลียงสาร
ในพืช
- โครงสร้างของพืชที่
ทาหน้าที่ในการ
ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ
ของพืช
- ลักษณะการลาเลียง
อาหารในท่อลาเลียง
อาหารในพืช
- ประโยชน์ของการ
ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ
1. ศึกษา ทดลอง และทา
กิจกรรมเกี่ยวกับการลาเลียง
น้าและอาหารในพืช ลักษณะ
และปัจจัยที่มีผลต่อการลาเลียง
น้าและอาหารในพืช
2. เขียนแผนภาพ และสรุป
องค์ความรู้เป็นผังมโนทัศน์
เกี่ยวกับท่อลาลียงน้าและท่อ
ลาเลียงอาหารในพืช
2
13
ครั้ง
ที่
จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
5 1. อธิบายส่วนประกอบ
ของเมล็ดถั่วได้
2. ทดลองและสรุปปัจจัย
ที่จาเป็นในการงอกของ
เมล็ดถั่วได้
3. สามารถเขียนกราฟ
แสดงการเจริญเติบโตของ
ต้นถั่วได้
1.8 การงอกของ
เมล็ดพืช
1. ส่วนประกอบและ
โครงสร้างของเมล็ด
พืช
2. ปัจจัยที่จาเป็นใน
การงอกของเมล็ดพืช
1. สังเกต ทดลองและสรุป
เกี่ยวกับ ส่วนประกอบของ
เมล็ดถั่ว ปัจจัยที่จาเป็นใน
การงอกของเมล็ดถั่ว
2. ศึกษาค้นคว้า ทดลอง
และสรุปปัจจัยที่มีผลต่อการ
เจริญเติบโตของพืช
3. เขียนกราฟแสดงการ
เจริญเติบโตของพืชได้
4. สรุปองค์ความรู้เป็นผัง
มโนทัศน์เกี่ยวกับการ
เจริญเติบโตของพืช
1
6 1. บอกส่วนประกอบของ
ต้นอ่อนของพืชได้
2. ระบุเกณฑ์การแบ่ง
เมล็ดของพืชโดยใช้
เอนโดสเปิร์มได้
1.9 การเจริญเติบโต
ของพืช
- ความหมายและ
กระบวนการ
เจริญเติบโตของพืช
- เกณฑ์การวัดการ
เจริญเติบโตของพืช
1. ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง
เปรียบเทียบและสรุป
ลักษณะและส่วนประกอบ
ของต้นอ่อนพืชเกณฑ์การ
แบ่งเมล็ดพืชโดยใช้
เอนโดสเปิร์ม(Endosperm)
2
14
ครั้ง
ที่
จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
6-7 1. อธิบายปัจจัยสาคัญที่
จาเป็นในการเจริญเติบโต
ของพืชได้
2. ระบุธาตุอาหารหลักที่
พืชต้องการและอาการ
ของพืชที่ขาดแร่ธาตุ
1.10 ปัจจัยที่จาเป็น
ในการเจริญเติบโต
ของพืช
- ปัจจัยสาคัญที่
จาเป็นในการ
เจริญเติบโตพืช
- ธาตุอาหารหลักที่
พืชต้องการและ
อาการของพืชที่ขาด
1. ศึกษา ทดลอง และสรุป
ปัจจัยที่จาเป็นในการ
เจริญเติบโตของเมล็ดพืช
2. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับ
การเจริญเติบโตของเมล็ดพืช
โดยใช้ผังมโนทัศน์
2
7 1. จาแนกประเภทของ
ดอกไม้ได้
2. ศึกษาและระบุ
ส่วนประกอบของพืชดอก
พร้อมทั้งอธิบายหน้าที่
ของส่วนประกอบต่าง ๆ
ของดอกไม้ได้
3. อธิบายประเภทของ
ดอกไม้ชนิดต่าง ๆ พร้อม
ทั้งยกตัวอย่างได้
1.11 การสืบพันธุ์
ของพืชดอก
- โครงสร้างและ
ส่วนประกอบของ
ดอกไม้
- ประเภทของ
ดอกไม้
1. ศึกษา เปรียบเทียบและ
สรุปลักษณะ ส่วนประกอบ
และหน้าที่ของส่วนประกอบ
ของดอกไม้
2. จาแนกประเภทของ
ดอกไม้ตามลักษณะและ
ส่วนประกอบของพืชดอก
3. วาดภาพ และอธิบาย
โครงสร้างของดอกไม้
1
8 1. อธิบายวิธีการสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศของพืชได้
2. อธิบายวิธีการสืบพันธุ์
แบบไม่อาศัยเพศของพืชได้
3 ทดลองและอธิบายการ
งอกของละอองเรณูได้
4. ทดลองและอธิบายการ
การปฏิสนธิของพืชดอก
ได้
1.12 การสืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศและ
ไม่อาศัยเพสของพืช
- การสืบพันธุ์ของ
พืชดอก
- การปฏิสนธิ
- การสืบพันธุ์แบบ
ไม่อาศัยเพศ
1. ศึกษาทดลองและอธิบาย
เกี่ยวกับการสืบพันธุ์แบบ
อาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ
ของพืชดอก
2. ทดลองและสรุปเกี่ยวกับ
การปฏิสนธิของพืชดอกได้
3. เขียนผังมโนทัศน์เพื่อสรุป
องค์ความรู้
2
15
ครั้ง
ที่
จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
6. ระบุชนิดของผลไม้และ
เปรียบเทียบความแตกต่าง
ของผลไม้ชนิดต่าง ๆ ได้
7. เขียนแผนผังความคิด
สรุประบบการสืบพันธุ์
ของพืชได้
8-9 1. ออกแบบการทดลอง
เกี่ยวกับการตอบสนองต่อ
สิ่งเร้าของพืชได้
2. จาแนกประเภทและ
ยกตัวอย่างการตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้าของพืชที่
เนื่องจากการเจริญเติบโต
เนื่องจากการเปลี่ยนแปลง
ปริมาณน้าภายในเซลล์ได้
3. อธิบายการตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้าของพืชที่
เกี่ยวข้องกับการ
สังเคราะห์ด้วยแสงได้
4. บอกประโยชน์ของการ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าของ
พืชได้
5. เขียนผังมโนทัศน์
เกี่ยวกับการตอบสนองต่อ
สิ่งเร้าได้
1.13 การตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้าของพืช
- การตอบสนองต่อ
แสงของพืช
- การตอบสนองต่อ
แรงโน้มถ่วงของพืช
1. ศึกษา ทดลอง และอธิบาย
เกี่ยวกับการตอบสนองต่อ
สิ่งเร้าของพืช
2. จาแนกประเภท
ยกตัวอย่างและอธิบายการ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ
5. เขียนผังมโนทัศน์สรุป
ความรู้เกี่ยวกับการตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้าของพืช
1
16
ครั้ง
ที่
จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
9 1. ออกแบบการทดลอง
เกี่ยวกับการตอบสนองต่อ
แรงโน้มถ่วงของพืชได้
2. อธิบายลักษณะการ
ตอบสนองของพืชที่มีต่อ
แรงโน้มถ่วงที่เป็นสิ่งเร้าได้
3. เขียนผังมโนทัศน์เพื่อ
สรุปความคิดรวบยอด
เรื่อง การตอบสนองต่อ
สิ่งเร้าของพืช
1.14 การตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้าของพืช
- การตอบสนองต่อ
แสงของพืช
- การตอบสนองต่อ
แรงโน้มถ่วงของพืช
1. ศึกษา ทดลองและทา
กิจกรรมเกี่ยวกับการ
ตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วง
ของพืช
3. เขียนผังมโนทัศน์เพื่อสรุป
ความคิดรวบยอดเรื่อง การ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
และอธิบายได้
2
9-10 1. อธิบายความหมายของ
เทคโนโลยีชีวภาพได้
2. อธิบายและยกตัวอย่าง
การคัดเลือกพันธุ์และผสม
พันธุ์เพื่อให้ได้พืชที่มี
ลักษณะตามต้องการ
3. บอกหลักการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อได้
4. อธิบายความหมายของ
พันธุวิศวกรรม
5. อธิบายและยกตัวอย่าง
พืชจาลองพันธุ์ได้
1.15 เทคโนโลยี
ชีวภาพและการเพิ่ม
ผลผลิตพืช
- เทคโนโลยีชีวภาพ
- การเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ
- พันธุวิศวกรรม
- การคัดเลือกพันธุ์
และการผสมพันธุ์พืช
การเพิ่มผลผลิตของ
พืชด้วยวิธีการทาง
ชีวภาพ
1. ศึกษา ทดลองและ
อภิปราย เกี่ยวกับเทคโนโลยี
ชีวภาพและการเพิ่มผลผลิต
พืช
2. เขียนผังมโนทัศน์เพื่อสรุป
ความคิดรวบยอดเรื่อง
เทคโนโลยี ชีวภาพและการ
เพิ่มผลผลิตพืช
1
17
ครั้ง
ที่
จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
10 1. อธิบายเกี่ยวกับการ
รักษาสภาพดินให้มี
สภาพดีได้
2. บอกหลักการใช้ปุ๋ ยได้
3. ยกตัวอย่างวิธีการ
ป้ องกันและกาจัดศัตรูพืชได้
4. ยกตัวอย่างการใช้
ประโยชน์จาก
เทคโนโลยีชีวภาพในด้าน
เกษตรกรรมได้
5. ยกตัวอย่างการใช้
ประโยชน์จาก
เทคโนโลยีชีวภาพในด้าน
อุตสาหกรรมอาหารได้
6. ยกตัวอย่างการใช้
ประโยชน์จาก
เทคโนโลยีชีวภาพในด้าน
การแพทย์ด้านพลังงาน
และอุตสาหกรรม
1.16 การเพิ่มผลผลิต
ด้วยวิธีการทาง
ชีวภาพ
- การเพิ่มผลผลิต
ของพืชเพื่อให้พืชมี
คุณภาพดีโดยการ
รักษาสภาพดิน
- การเพิ่มธาตุอาหาร
ให้แก่พืชโดยการใส่
ปุ๋ ยพรวนดิน
การป้ องกันและ
กาจัดศัตรูพืช และ
การใช้สารในการ
ควบคุมการ
เจริญเติบโตของพืช
1. ศึกษาและอธิบายวิธีการ
เพิ่มผลิตด้วยวิธีการทาง
ชีวภาพ
2. เขียนผังมโนทัศน์เพื่อสรุป
ความคิดรวบยอดเรื่องการ
เพิ่มผลผลิตด้วยวิธีการทาง
ชีวภาพ
2
18
ครั้ง
ที่
จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง)
10-
11
1. บอกลักษณะและชนิด
ของสารได้
2. จาแนกสารตามสมบัติ
ของสารได้
3. เขียนผังมโนทัศน์เพื่อ
จาแนกชนิดและลักษณะ
ของสารได้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
สารใน
ชีวิตประจาวัน
2.1 สารและสมบัติ
ของสาร
2.2 การจาแนก
ประเภทของสาร
2.3 การแยกสาร
2.4 การเปลี่ยนแปลง
ของสาร
2.5 ความปลอดภัย
ในการใช้สาร
1. ศึกษา ทดลองและทา
กิจกรรมเพื่อทดสอบสมบัติ
ของสาร
2. วิเคราะห์และจาแนก
ประเภทของสารใน
ชีวิตประจาวัน
3. สรุปสมบัติของสารโดยใช้
ผังมโนทัศน์
3
47
ตัวชี้วัด รายวิชาวิทยาศาสตร์ ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช (30 ชั่วโมง /35 คะแนน)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.1 โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ (5 /8 เก็บ 5 สอบ 3)
ว1.1 ม.1/1 สังเกตและอธิบายรูปร่าง ลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของ
สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (เก็บ 1 สอบ 1)
ว1.1 ม.1/2 สังเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบสาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ (เก็บ 2
สอบ 1)
ว1.1 ม.1/3 ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์(เก็บ 2 สอบ 1)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.2 การแพร่และการออสโมซิส (4 /7 เก็บ 5 สอบ 2)
ว1.1 ม.1/4 ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผ่านเซลล์ โดยการแพร่และออสโมซิส
(เก็บ 5 สอบ 2)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.3 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง(5/8 เก็บ 5 สอบ 3)
ว1.1 ม.1/5 ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
และอธิบายว่าแสง คลอโรฟิลล์ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ น้า เป็นปัจจัยที่จาเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง
(เก็บ 2 สอบ 1)
ว1.1 ม.1/6 ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (เก็บ 2 สอบ 1)
ว1.1 ม.1/7 อธิบายความสาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม (เก็บ 1 สอบ 1)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.4 การลาเลียงในพืช(4/8 เก็บ 6 สอบ 2)
ว1.1 ม.1/8 ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงน้าของพืช
(เก็บ 3 สอบ 1)
ว1.1 ม.1/9 สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบลาเลียงน้าและอาหารของพืช (เก็บ 3
สอบ 1)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.5 การสืบพันธุ์ของพืช(4/7 เก็บ 5 สอบ 2)
ว1.1ม.1/10ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช(เก็บ3สอบ1)
ว1.1 ม.1/11 อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่
อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์(เก็บ 2 สอบ 1)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.6 การตอบสนองต่อสิ่งเร้า(4/6 เก็บ 5 สอบ 1)
ว1.1ม.1/12 ทดลองและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสงน้าและการสัมผัส (เก็บ5สอบ1)
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่Benjapron Seesukong
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...Prachoom Rangkasikorn
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีJanejira Meezong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 

Mais procurados (20)

ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู่
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 

Semelhante a 1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์

บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพวSircom Smarnbua
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...Kruple Ratchanon
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงครูเย็นจิตร บุญศรี
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรมเค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรมsomdetpittayakom school
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรAor_1234
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 

Semelhante a 1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์ (20)

บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรมเค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
เค้าโครงพัฒนานวัตกรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 

1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์

  • 2. ข คานา หลักสูตรโรงเรียนบ้านกาเกาะระโยง รายวิชาวิทยาศาสตร์ ว21101,21102 กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ให้ครอบคลุมเนื้อหาและตัวชี้วัด มุ่งหวังให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้น การเชื่อมโยงความรู้กับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ผู้เรียนมีทักษะสาคัญในการค้นคว้า และสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติการทดลอง การ สารวจตรวจสอบอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น ขอขอบคุณผู้บริหารและคณะครูโรงเรียนบ้านกาเกาะระโยงทุกท่านที่ได้ให้คาแนะนาและ ช่วยเหลือในการปฏิบัติงานประสบความสาเร็จด้วยดี ขอขอบคุณทุกท่าน มา ณ โอกาสนี้ เอเดียน คุณาสิทธิ์
  • 3. ค สารบัญ หน้า คานา................................................................................................................................................ก สารบัญ............................................................................................................................................ข สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์....................................................ค ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางและสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น .................................................1 คาอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที1 ภาคเรียนที่ 1 .................................................41 โครงสร้างรายวิชา..........................................................................................................................43 ตัวชี้วัดรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.........................................................................47 คาอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที1 ภาคเรียนที่ 2 .................................................41 โครงสร้างรายวิชา..........................................................................................................................43 ตัวชี้วัดรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.........................................................................47 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวชี้วัดในรายวิชา................................................................................... หน่วยการเรียนรู้................................................................................................................................. ภาคเรียนที่ 1...................................................................................................................................... หน่วยที่ 1 หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช (30 ชั่วโมง).................................... หน่วยที่ 2 สารในชีวิตประจาวัน (30 ชั่วโมง)......................................................................... ภาคเรียนที่ 2...................................................................................................................................... หน่วยที่ 3 การเคลื่อนที่และตาแหน่งของวัตถุ (15 ชั่วโมง).................................................. หน่วยที่ 4 พลังงานความร้อน (15 ชั่วโมง)............................................................................ หน่วยที่ 5 บรรยากาศ (30 ชั่วโมง)......................................................................................... การวัดผลประเมินผลรายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1........................................................ บรรณานุกรม..................................................................................................................................... ภาคผนวก..........................................................................................................................................
  • 4. 41 คาอธิบายรายวิชา ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต สังเกตและอธิบายรูปร่าง ลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของสิ่งมีชีวิต หลายเซลล์ สังเกตและเปรียบเทียบส่วน ประกอบสาคัญของ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ทดลองและ อธิบายหน้าที่ของส่วน ประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ทดลองและอธิบาย กระบวนการสารผ่านเซลล์ โดยการแพร่และออสโมซิส ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จาเป็นต่อ การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และอธิบายว่าแสง คลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า เป็น ปัจจัยที่จาเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืช อธิบายความสาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงน้าของพืช สังเกตและ อธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบลาเลียงน้าและอาหารของพืช ทดลองและอธิบายโครงสร้างของ ดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและ การสืบพันธุ์ แบบไม่อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์ ทดลอง และอธิบายการตอบ สนองของพืช ต่อแสง น้า และการสัมผัส อธิบายหลักการและผลของการใช้ เทคโนโลยี ชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ เพิ่มผลผลิตของพืชและนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ทดลองและจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์และอธิบาย สมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้แบบจาลองการ จัดเรียงอนุภาคของสาร ทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดเบส ของสารละลาย ตรวจสอบค่า pH ของสารละลายและนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ทดลองและอธิบายวิธีเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็นร้อยละ และอภิปรายการนา ความรู้เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์ ทดลองและอธิบายการเปลี่ยน-แปลงสมบัติ มวลและ พลังงาน ของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะ และเกิดการละลาย ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อ การเปลี่ยนสถานะ และการละลายของสาร ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้า เรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุ่ม และเชื่อถือได้สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวาง แผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิง
  • 5. 42 คุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม รวบรวมข้อมูลจัด กระทาข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับ ข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของ ข้อมูลจากการสารวจ ตรวจสอบสร้างแบบจาลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสารวจตรวจสอบสร้าง คาถามที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนาความรู้ที่ได้ไปใช้ ในสถานการณ์ ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ บันทึกและอธิบายผลการสังเกตการสารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบ เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยาน ใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ รหัสตัวชี้วัด ว ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๗, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙, ม.๑/๑๐, ม.๑/๑๑, ม.๑/ ๑๒, ม.๑/๑๓, ว ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔. ว ๓.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓. ว ๘.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๗, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙ รวมทั้งหมด ๒๙ ตัวชี้วัด
  • 6. ค เค้าโครงการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียน 11 ปีการศึกษา 2557 ................................................................................................................................................... หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช (25 ชั่วโมง /35 คะแนน) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.1 โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ (5ชม. /8 เก็บ 5 สอบ 3) ว1.1 ม.1/1 สังเกตและอธิบายรูปร่าง ลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (เก็บ 1 สอบ 1) ว1.1 ม.1/2 สังเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบสาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ (เก็บ 2 สอบ 1) ว1.1 ม.1/3 ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและ เซลล์สัตว์(เก็บ 2 สอบ 1) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.2 การแพร่และการออสโมซิส (2 ชั่วโมง /7 เก็บ 5 สอบ 2) ว1.1 ม.1/4 ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผ่านเซลล์ โดยการแพร่และออสโมซิส (เก็บ 5 สอบ 2) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.3 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง(4/8 เก็บ 5 สอบ 3) ว1.1 ม.1/5 ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และอธิบายว่าแสง คลอโรฟิลล์ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ น้า เป็นปัจจัยที่จาเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง (เก็บ 2 สอบ 1) ว1.1 ม.1/6 ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (เก็บ 2 สอบ 1) ว1.1 ม.1/7 อธิบายความสาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม (เก็บ 1 สอบ 1) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.4 การลาเลียงในพืช(3/8 เก็บ 6 สอบ 2) ว1.1 ม.1/8 ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงน้าของพืช (เก็บ 3 สอบ 1) ว1.1 ม.1/9 สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบลาเลียงน้าและอาหารของพืช (เก็บ 3 สอบ 1) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.5 การสืบพันธุ์ของพืช(3/7 เก็บ 5 สอบ 2) ว1.1ม.1/10ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช(เก็บ3สอบ1) ว1.1 ม.1/11 อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่ อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์(เก็บ 2 สอบ 1) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.6 การตอบสนองต่อสิ่งเร้า(3/6 เก็บ 5 สอบ 1) ว1.1ม.1/12 ทดลองและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสงน้าและการสัมผัส (เก็บ5สอบ1)
  • 7. ง หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.7 เทคโนโลยีชีวภาพ(3/6 เก็บ 5 สอบ 1) ว1.1 ม.1/13 อธิบายหลักการและผลของการใช้เทคโนโลยี ชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุง พันธุ์ เพิ่มผลผลิตของพืชและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์(เก็บ 4 สอบ 2) หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สารในชีวิตประจาวัน (25 ชั่วโมง/35 คะแนน) หน่วยการเรียนรู้ที่ 2.1 การจาแนกสาร(3/5 เก็บ 3 สอบ 2) ว3.1 ม.1/1 ทดลองและจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์ และ อธิบายสมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม(เก็บ 3 สอบ 2) หน่วยการเรียนรู้ที่ 2.2 สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม(3/7 เก็บ 4 สอบ 3) ว3.1 ม.1/1 ทดลองและจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์และ อธิบายสมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม (เก็บ 4 สอบ 3) หน่วยการเรียนรู้ที่ 2.3 สารแขวนลอย คอลลอยด์ (3/7 เก็บ 5 สอบ 2) ว3.1 ม.1/1 ทดลองและจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็น เกณฑ์และอธิบายสมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม(เก็บ 5 สอบ 2) หน่วยการเรียนรู้ที่ 2.4 สารละลาย(7 /14 เก็บ 10 สอบ 4) ว3.1 ม.1/1 ทดลองและจาแนกสารเป็นกลุ่มโดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเป็น เกณฑ์ และอธิบายสมบัติของสารในแต่ละกลุ่ม (เก็บ 3 สอบ 1) ว3.2 ม.1/1 ทดลองและอธิบายวิธีเตรียมสารละลายที่มีความเข้มข้นเป็นร้อยละ และอภิปรายการนาความรู้เกี่ยวกับสารละลายไปใช้ประโยชน์ (เก็บ 2 สอบ 1) ว3.2 ม.1/2 ทดลองและอธิบายการเปลี่ยนแปลงสมบัติ มวลและพลังงานของสาร เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการละลาย(เก็บ 3 สอบ 1) ว3.2 ม.1/3 ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนสถานะ และการละลาย ของสาร (เก็บ 2 สอบ 1) หน่วยการเรียนรู้ที่ 2.5 สมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร(7/7 เก็บ 5 สอบ 2) ว3.1 ม.1/2 อธิบายสมบัติและการเปลี่ยนสถานะของสาร โดยใช้แบบจาลองการจัดเรียงอนุภาค ของสาร (เก็บ 5 สอบ 2) หน่วยการเรียนรู้ที่ 2.6 สมบัติของกรด-เบส(3/10 เก็บ 8 สอบ 2) ว3.1 ม.1/3 ทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรด เบส ของสารละลาย (เก็บ 4 สอบ 1) ว3.1 ม.1/4 ตรวจสอบค่า pH ของสารละลายและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ (เก็บ 4 สอบ 1) (สาหรับตัวชี้วัด ว8.1 ม.1-3/1-9 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บูรณาการในทุกตัวชี้วัด)
  • 8. จ ผลการประเมินรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว21101 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ของ .........................................................................................ชั้น ม.1/..... เลขที่ ............ กิจกรรมหน่วยที่ 1 มาตรฐาน/ ตัวชี้วัด คะแนนรวมระหว่างปี 70 คะแนน สอบ คะแนน ลงชื่อครู ตอนที่ 1(10) ตอนที่ 2 (10) รวม (20) 1. กล้อง ว1.1ม.1/1 ว1.1 ม.1/2 2. เซลล์ ว.11 ม.1/3 3. การแพร่ ว.11 ม.1/4 4. สังเคราะห์แสง ว.11 ม.1/5 ว.11 ม.1/6 ว.11 ม.1/7 5. ลาเลียงสาร ว.11 ม.1/8 ว.11 ม.1/9 6. สืบพันธุ์ ว.11 ม.1/10 ว.11 ม.1/11 7. สิ่งเร้า ว.11 ม.1/12 8. เทคโนฯชีวภาพ ว.11 ม.1/13 กิจกรรมหน่วยที่ 2 (สารในชีวิตประจาวัน) กิจกรรม ที่ 1(10) กิจกรรม ที่ 2(10) รวม (20) 2.1 การจาแนกสาร ว3.1 ม.1/1 2.2 สารเนื้อเดียว / ผสม ว3.1 ม.1/1 2.3 แขวนลอย คอลลอยด์ ว3.1 ม.1/1 2.4 สารละลาย ว3.1 ม.1/1 ว3.2 ม.1/1 ว3.2ม.1/2 ว3.2 ม.1/3 2.5 การเปลี่ยนสถานะ ว3.1 ม.1/2 2.6 กรด เบส กรด เบส ว3.1ม.1/3 ว3.1 ม.1/4 รวมทั้งสิ้น 20 ต.ชว. + 9 ม.8.1 = 29 ตชว.
  • 9. 43 โครงสร้างรายวิชา ว21111 วิทยาศาสตร์ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จานวน 1.5 หน่วยกิต ลาดับ ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐาน การเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนักคะแนน ระหว่าง เรียน ปลาย ภาค 1 หน่วยของ สิ่งมีชีวิตและการ ดารงชีวิตของพืช 1.1 การใช้กล้อง จุลทรรศน์ 1.2โครงสร้าง และหน้าที่ของ เซลล์ ว1.1 ม.1/1-13, ว8.1 ม.1-3/1-9 ว1.1 ม.1/1-3 เซลล์ หมายถึงหน่วยที่เล็กที่สุด ของสิ่งมีชีวิต ประกอบด้วยส่วนประกอบที่สาคัญคือ นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อหุ้มเซลล์ แวคิวโอล ซึ่งพบได้ ทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ส่วนผนังเซลล์และ คลอโรพลาสต์พบเฉพาะในเซลล์พืช ซึ่งส่วน ประกอบที่สาคัญดังกล่าวจะมีหน้าที่แตกต่างกัน 30 5 35 5 15 3 1.3 การแพร่และ การออสโมซิส ว1.1 ม.1/4 การแพร่เป็นการเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มี ความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นต่า การออสโมซิสเป็นการเคลื่อนที่ของน้าผ่านเข้า และออกจากเซลล์ จากบริเวณที่มีความเข้มข้น ของสารละลายต่า 4 5 2 1.4 กระบวนการ สังเคราะห์ด้วย แสง ว1.1 ม.1/5-7 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงมีความสาคัญ ต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในด้านอาหาร การ หมุนเวียนแก๊สออกซิเจนและแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ โดยแสง คลอโรฟิลล์ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ และน้าเป็นปัจจัยที่จาเป็น ต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง และ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ น้าตาล น้า และออกวิเจน 5 5 3
  • 10. 44 ลาดับ ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐาน การเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนักคะแนน ระหว่าง เรียน ปลาย ภาค 1.5 การลาเลียง ในพืช ว1.1 ม.1/8-9 เนื้อเยื่อลาเลียงน้า ทาหน้าที่ในการลาเลียงน้า และธาตุอาหารจากรากสู่ใบ ส่วนเนื้อเยื่อลาเลียง อาหาร ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารจากใบไปสู่ส่วน ต่างๆของพืช โดยกระบวนการคายน้านับว่าเป็น กระบวนการที่สาคัญที่มีส่วนช่วยในการลาเลียง น้าของพืช 4 6 2 1.6 การสืบพันธุ์ ของพืช ว1.1 ม.1/11-11 การสืบพันธุ์ของพืชแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและการสืบพันธุ์แบบ ไม่อาศัยเพศ 4 5 2 1.7 การตอบ สนองต่อสิ่งเร้า ว1.1 ม.1/12 พืชตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกโดยสังเกตได้ จากการเคลื่อนไหวของส่วนประกอบของพืชที่มี ต่อแสง น้า และการสัมผัส 4 5 1 1.8 เทคโนโลยีชีวภาพ ว1.1 ม.1/13 เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นการใช้เทคโนโลยีเพื่อทา ให้สิ่งมีชีวิตหรือองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตมี สมบัติตามต้องการ เช่น การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พันธุวิศวกรรม เป็นต้น 4 4 2
  • 11. 45 ลาดับ ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐาน การเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนักคะแนน ระหว่าง เรียน ปลาย ภาค 2 สารใน ชีวิตประจาวัน 2.1 การจาแนก สาร ว3.1 ม.1/1-4, ว3.2 ม.1/1-3, ว8.1 ม.1-3/1-9 ว3.1 ม.1/1 สารในชีวิตประจาวันสามารถจัดจาแนกได้ ออกเป็นกลุ่มๆขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ในการจาแนก ใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์จาแนกได้เป็นสารเนื้อเดียว และสารเนื้อผสม หากใช้อนุภาคของสารเป็น เกณฑ์จาแนกได้เป็นสารแขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลาย ซึ่งสารแต่ละกลุ่มจะมีสมบัติ ต่างกัน 30 3 35 3 15 2 2.2 สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม ว3.1 ม.1/1 สารเนื้อเดียว หมายถึง สารที่สังเกตด้วยตาเปล่า แล้วเห็นว่ามีเนื้อสารกลมกลืนเสมือนกับมีเพียง ชนิดเดียวแยกเป็นสารบริสุทธิ์และสารไม่บริสุทธิ์ ส่วนสารที่สังเกตแล้วเห็นว่ามีลักษณะไม่ กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกันเรียกว่า สารเนื้อผสม 3 4 3 2.3 สาร แขวนลอย คอลลอยด์ ว3.1 ม.1/1 สารแขวนลอย เป็นสารเนื้อผสมที่มองเห็น อนุภาคของสารชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดลอย กระจายปนอยู่ในสารอีกชนิดหนึ่งซึ่งเป็นตัวกลาง ส่วนคอลลอยด์จะเป็นสารเนื้อเดียวที่มีลักษณะมัว หรือขุ่นไม่ตกตะกอน 3 5 2 2.4 สารละลาย ว3.1 ม.1/1, ว3.2 ม.1/1-3 สารละลายเป็นสารเนื้อเดียวที่มีสารหลายชนิด ละลายปนอยู่ประกอบด้วยตัวทาละลายและตัวถูก ละลาย ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนสถานะและ การละลายของสารคือ อุณหภูมิและความดัน 7 10 4
  • 12. 46 ลาดับ ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐาน การเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้าหนักคะแนน ระหว่าง เรียน ปลาย ภาค 2.5 สมบัติและ การเปลี่ยนสถานะ ของสาร ว3.1 ม.1/2 สี รูปร่าง ขนาด ความแข็ง ความหนาแน่น จุด เดือด จุดหลอมเหลว เป็นสมบัติทางกายภาพ ความเป็นกรด- เบส ความสามารถในการรวมตัว กับสารอื่นๆ การแยกสลายและการเผาไหม้เป็น สมบัติทางเคมี สารที่อยู่ในสถานะต่างกันจะมี การจัดเรียงอนุภาค ระยะห่างระหว่างอนุภาค และ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคแตกต่างกัน 7 5 2 2.6 สมบัติของ กรด-เบส ว3.1 ม.1/3-4 สารละลายที่มีน้าเป็นตัวทาละลายอาจจะมี สมบัติเป็นกรด กลาง และเบส ซึ่งสามารถ ทดสอบได้ด้วยกระดาษลิตมัสหรืออินดิเคเตอร์ ซึ่งสามารถระบุความเป็นกรด-เบสได้ด้วย เครื่องมือวัดค่า pH สาหรับผลิตภัณฑ์ที่ใช้ใน ชีวิตประจาวันอาจมีความเป็นกรด-เบสแตกต่าง กันจึงควรเลือกใช้ให้ถูกต้องปลอดภัยต่อตนเอง และสิ่งแวดล้อม 7 8 2 รวมตลอดภาคเรียนที่ 1 60 70 30
  • 13. 4 การออกแบบหน่วยการเรียนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยที่ 1 ชื่อหน่วย หน่วยของชีวิตและชีวิตพืช เวลา 25 ชั่วโมง --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. ความคิดรวบยอด (ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง) ผู้เรียนศึกษาวิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการขยายประสาทสัมผัส ทางตา ส่วนประกอบของกล้องที่สาคัญคือเลนส์นูน มี 2 ส่วน คือ เลนส์ใกล้ตามและเลนส์ใกล้วัตถุ การหากาลังขยายของเลนส์นากาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา คูณกับกาลังของเลนส์ใกล้วัตถุ ศึกษาทดลองเข้าใจว่า เซลล์เป็นหน่วยประกอบพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด โครงสร้าง ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีความแตกต่างกัน เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบที่เหมือนกัน คือ เยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งทาหน้าที่ห่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซึม เป็นที่สะสมอาหารและของเสียภายใน เซลล์ และนิวเคลียสเป็นที่อยู่ของสารพันธุกรรมภายในเซลล์ ในเซลล์พืชจะมีส่วนประกอบเพิ่มอีก คือผนังเซลล์ซึ่งทาให้พืชแข็งแรงและคงรูปอยู่ได้และคลอโรพลาสต์ ทาหน้าที่ในการสร้างอาหาร ของพืช กิจกรรมทุกอย่างภายในเซลล์จะทาหน้าที่สัมพันธ์กันทาให้สิ่งมีชีวิตสามารถดารงชีวิตอยู่ได้ ศึกษาทดลองและสามารถอธิบายได้ว่า การแพร่ (Diffusions) เป็นปรากฏการณ์เคลื่อนที่ ของอนุภาคของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของอนุภาคของสารมากไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้น ของอนุภาคของสารน้อยจนอนุภาคของสารทั้ง 2 บริเวณมีความเข้มข้นเท่ากัน และการออสโมซิส (Osmosis) เป็นการแพร่ของโมเลกุลของน้าจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้าน้อยกว่าโดยผ่านเยื่อ เลือกผ่าน (Semi permeable membrane) ทาการศึกษาทดลองและสรุปเกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งเป็นกระบวนการ สร้างอาหารของพืชโดยมีคลอโรฟิลล์ทาหน้าที่ดูดพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์แล้วเปลี่ยนวัตถุดิบ คือ น้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ให้เป็นน้าตาลกลูโคสและเก็บสะสมไว้ในรูปของแป้ ง ผลผลิต ที่ได้คือน้าและแก๊ส พืชดูดน้าและแร่ธาตุที่บริเวณขนราก โดยเนื้อเยื่อลาเลียงน้าและแร่ธาตุ เรียกว่า ไซเลม (Xylem) และเนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร เรียกว่า โฟลเอม (Phloem) การลาเลียงน้าและแร่ธาตุ มีทิศทาง การลาเลียงขึ้น การคายน้าของพืชส่วนใหญ่เกิดที่บริเวณปากใบ ซึ่งอยู่ระหว่างเซลล์คุม 2 เซลล์ ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้าได้แก่ แสงสว่าง อุณหภูมิ ความชื้น ลม ความอุดมสมบูรณ์ของ น้าในดิน ความกดดันของบรรยากาศ ลักษณะและโครงสร้างของใบ พืชมีการลาเลียงอาหาร คือ แป้ งและน้าตาลไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช โดยท่อลาเลียงอาหาร โดยวิธีการแพร่และพืชได้เปลี่ยนอาหารส่วนหนึ่งให้เป็นพลังงานเพื่อใช้ในกิจกรรมการดารงชีวิต และอาหารส่วนหนึ่งจะถูกนาไปสร้างเนื้อเยื่อในส่วนต่างๆของพืช เพื่อให้พืชเจริญเติบโต
  • 14. 5 การเจริญเติบโตของพืชมีกระบวนการเพิ่มจานวนของเซลล์ การขยายขนาดของเซลล์และ การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์เพื่อทาหน้าที่เฉพาะอย่าง รากและยอดเป็นส่วนที่งอกออกมาจาก เมล็ด ต้นพืชที่กาลังงอกได้อาหารจากใบเลี้ยง เมื่อใบสีเขียวจึงได้อาหารจากกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสง ดอกไม้ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้เกสรตัวเมีย ถ้าใช้ส่วนประกอบเป็นเกณฑ์ แบ่งออกเป็น ดอกครบส่วนและดอกไม่ครบส่วน ถ้าแบ่งโดยใช้เกสร ตัวผู้และเกสรตัวเมียเป็นเกณฑ์ จะแบ่งออกเป็น ดอกสมบูรณ์เพศและดอกไม่สมบูรณ์เพศ การสืบพันธุ์ของพืชมี 2 ประเภท คือ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศกับการสืบพันธุ์แบบไม่ อาศัยเพศ ซึ่งการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เป็นการผสมระหว่างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมีย การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช เช่น การขยายพันธุ์โดยใช้ส่วนต่าง ๆ การตอนกิ่ง การติดตา การทาบกิ่ง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ พืชมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพื่อประโยชน์ในการเจริญเติบโต เพื่อหลีกเลี่ยงจากอันตราย โดยพืชจะแสดงออกด้วยการเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ มีแบบแผนชัดเจน ซึ่งการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ของพืช แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าเนื่องจากการเจริญเติบโต และการ เปลี่ยนแปลงปริมาณน้าภายในเซลล์ เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นการนาเอาสิ่งมีชีวิตมาทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยใช้ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเฉพาะความรู้ทางด้านพันธุวิศวกรรม เพื่อนามาใช้ประโยชน์ใน การเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธุ์ให้มีคุณภาพมากขึ้น เทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ คือ การนาส่วนหนึ่งของพืช เช่น ปลายยอด ปลายราก ตา มาเลี้ยงในอาหารสังเคราะห์ พันธุวิศวกรรมเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสารพันธุกรรมโดย การ เคลื่อนย้ายยีนสายพันธุ์หนึ่งไปสู่สิ่งมีชีวิตอีกสายพันธุ์หนึ่งเพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตใหม่ที่มีลักษณะและ คุณสมบัติตามสิ่งที่ต้องการ การเพิ่มผลผลิตด้วยวิธีการทางชีวภาพ เป็นการเพิ่มผลผลิตของพืชเพื่อให้พืชมีคุณภาพดี โดยการรักษาสภาพดิน การเพิ่มธาตุอาหารให้แก่พืชโดยการใส่ปุ๋ ยพรวนดิน การป้ องกันและกาจัด ศัตรูพืช และการใช้สารในการควบคุมการเจริญเติบโตของพืชแต่ละวิธีมีกระบวนการปฏิบัติเพื่อ รักษาสภาพแวดล้อมควบคู่กันไป เช่น การปลูกพืชคลุมดิน การใช้ปุ๋ ยชีวภาพ การกาจัดศัตรูพืช ด้วยวิธีชีววิธี
  • 15. 6 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ว 1.1 ม.1/1 สังเกตและอธิบายรูปร่างลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ ว 1.1 ม.1/2 สังเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบสาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ว 1.1 ม.1/3 ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ว 1.1 ม.1/4 ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผ่านเซลล์โดยการแพร่และออสโมซิส ว 1.1 ม.1/5 ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชและ อธิบายว่าแสงคลอโรฟิลล์แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้า เป็นปัจจัยที่จาเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ ด้วยแสง ว 1.1 ม.1/6 ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ว 1.1 ม.1/7อธิบายความสาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ว 1.1 ม.1/8 ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงน้าของพืช ว 1.1 ม.1/9 สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบลาเลียงน้าและอาหารของพืช ว 1.1 ม.1/10 ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช ว 1.1 ม.1/11 อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่ อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์ ว 1.1 ม.1/12 ทดลองและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสงน้าและการสัมผัส ว 1.1 ม.1/13 อธิบายหลักการและผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ เพิ่มผลผลิตของพืชและนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 3. สาระการเรียนรู้ ด้านความรู้ 1) การศึกษาเซลล์ โครงสร้าง และหน้าที่ของเซลล์ 2) กระบวนการแพร่และการออสโมซิส 3) กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ของพืช 4) การลาเลียงสารในพืช 5) การเจริญเติบโตของพืช 6) การสืบพันธุ์ของพืช 7) การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช 8) เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืช
  • 16. 7 ทักษะการคิด/กระบวนการที่ต้องการเน้น - วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การสังเกตและกาหนดปัญหา การตั้งสมมุติฐาน การทดลอง การรวบรวมข้อมูลและการสรุปผล - ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ - การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดแก้ปัญหา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการพัฒนา 1) ความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 2) ความตรงต่อเวลา 3) ความซื่อสัตย์ 4) มีความสามัคคีในการทางาน 4. ชิ้นงาน/ภาระงานการแสดงออกและการประเมิน ชิ้นงาน/การแสดงออก 1) ฝึกทักษะการใช้กล้องจุลทรรศน์บอกและเขียนส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์และ อธิบายวิธีใช้และคานวณหากาลังขยายของเลนส์นากาลังขยายของเลนส์ใกล้ตาและเลนส์ใกล้วัตถุได้ 2) ให้นักเรียนศึกษา ทดลอง อธิบาย เขียนแผนภาพ และอธิบาย รูปร่างลักษณะของเซลล์ พืชและเซลล์สัตว์ อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ 3) ให้นักเรียนศึกษา ทดลองและสามารถอธิบายเกี่ยวกับการแพร่ (Diffusions) และ การออสโมซิส (Osmosis) และสรุปเป็นแผนผังความคิดหรือผังมโนทัศน์ได้ 4) ทาการศึกษาทดลองและสรุปเกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชและสรุป ความรู้เป็นผังมโนทัศน์ 5) ศึกษา ทดลองเกี่ยวกับการ ดูดน้าและแร่ธาตุของพืช ที่บริเวณขนราก โดยเนื้อเยื่อ ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ เรียกว่า ไซเลม (Xylem) และเนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร เรียกว่า โฟลเอม (Phloem) ปัจจัยที่มีผลต่อการคายน้าและสรุปองค์ความรู้เป็นผังมโนทัศน์ 6) ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับ การเจริญเติบโตของพืช ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบเติบโต ของพืชและการดารงชีวิตของพืช และสรุปองค์ความรู้เป็นผังมโนทัศน์ 7) สังเกตและศึกษาเกี่ยวกับส่วนประกอบของดอกไม้จาแนกประเภทของดอกไม้โดยใช้ ส่วนประกอบเป็นเกณฑ์ และใช้เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียเป็นเกณฑ์ เขียนแผนภาพแสดง ส่วนประกอบและสรุปองค์ความรู้เป็นผังมโนทัศน์
  • 17. 8 8) ศึกษา จาแนก เขียนแผนภาพ และอธิบาย การสืบพันธุ์ของพืชว่ามี 2 แบบ คือ การ สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศกับการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ และสรุปองค์ความรู้เป็นผังมโนทัศน์ 9) ศึกษา และอธิบายการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าเนื่องจากการเจริญเติบโต และการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้าภายในเซลล์ และสรุปองค์ความรู้เป็นผังมโนทัศน์ 10) ศึกษาและอธิบาย เทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับพืช โดยเฉพาะความรู้ทางด้าน พันธุวิศวกรรม เพื่อนามาใช้ประโยชน์ในการเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธุ์ให้มีคุณภาพมากขึ้น เทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พันธุวิศวกรรม การเพิ่มผลผลิตด้วยวิธีการทาง ชีวภาพ และสรุปองค์ความรู้เป็นผังมโนทัศน์ การประเมิน ชิ้นงาน คาอธิบายคุณภาพงาน (Holistic Rubric) 1. การเขียนแผนภาพลักษณะ และส่วนประกอบของกล้อง จุลทรรศน์ ลักษณะของเซลล์ โครงสร้างและหน้าที่ของ เซลล์ เกณฑ์การให้คะแนนการปฏิบัติกิจกรรมและการบันทึกผลการ ทดลอง 1. ได้ทดลองเองและวาดภาพที่สังเกตได้ทุกถูกต้องทุกรายการ วาด ได้สวยงามมาก = 2 คะแนน 2. ได้ทดลองเองและวาดภาพที่สังเกตได้ทุกถูกต้องวาดได้สวยงาม = 1 คะแนน 3. ไม่ได้ทดลอง และไม่ได้วาดภาพ หรือวาดแต่ไม่สมบูรณ์ = 0 คะแนน 2. การประเมินผลการสรุป องค์ความรู้และการเขียน แผนผังมโนทัศน์ (Mind mapping) 1. สรุปองค์ความรู้โดยระบุได้ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดและบอกได้ ถูกต้องมีการตกแต่งชิ้นงานได้สวยงามมาก และมีความคิด สร้างสรรค์ดีมาก = 5 คะแนน 2. สรุปองค์ความรู้โดยระบุได้ครอบคลุมเนื้อหาผิด 1 - 2 รายการ มี การตกแต่งชิ้นงานได้มีความคิดสร้างสรรค์ดี = 4 คะแนน 3. สรุปองค์ความรู้โดยระบุได้ครอบคลุมเนื้อหาผิด 3 - 4 รายการ ไม่ได้ตกแต่งชิ้นงาน ขาดความคิดสร้างสรรค์ = 3 คะแนน 4. สรุปองค์ความรู้ไม่ได้มีที่ผิดมากว่า 5 - 6 รายการต้องช่วยเหลือ มาก = 2 คะแนน 5. สรุปองค์ความรู้ไม่ได้มีที่ผิดมากว่า 6 รายการต้องช่วยเหลือมาก = 1 คะแนน
  • 18. 9 5. กิจกรรมการเรียนรู้ที่สาคัญ สัปดาห์ ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) 1 1. ระบุชื่อเครื่องมือที่ใช้ ในการขยายขอบเขต ประสาทสัมผัสทางตาได้ 2. ระบุส่วนประกอบ ของกล้องจุลทรรศน์ได้ 3. อธิบายวิธีการใช้และ บารุงรักษากล้อง จุลทรรศน์ได้ 4. คานวณหากาลังขยาย ของกล้องจุลทรรศน์ได้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สิ่งมีชีวิตและ การดารงชีวิต 1.1 กล้องจุลทรรศน์ -ประเภทกล้อง จุลทรรศน์ -ส่วนประกอบของ กล้องจุลทรรศน์ -วิธีการใช้และ บารุงรักษากล้อง จุลทรรศน์ -การหากาลังขยาย กล้องจุลทรรศน์และ การเตรียมสไลด์ 1. ศึกษาส่วนประกอบของ กล้องจุลทรรศน์ อธิบาย วิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ 2. เขียนแผนภาพแสดง ส่วนประกอบของกล้อง จุลทรรศน์ 3. คานวณหากาลังขยายของ กล้องจุลทรรศน์ 4. เขียนผังมโนทัศน์เพื่อ สรุปเกี่ยวกับการใช้กล้อง จุลทรรศน์ (25) 2 1 - 2 1. อธิบายความหมายของ เซลล์ได้ 2. เขียนแผนภาพแสดง ลักษณะและรูปร่างของ เซลล์ได้ 3. บอกความแตกต่างและ จาแนกชนิดของเซลล์ได้ 4. เขียนแผนภาพแสดง ส่วนประกอบที่สาคัญ ของเซลล์พืชและเซลล์ สัตว์ได้ 1.2 เซลล์ โครงสร้าง และหน้าที่ของเซลล์ - ประเภทของเซลล์ - ส่วนประกอบเซลล์ -ลักษณะของเซลล์ พืชและเซลล์สัตว์ -การเตรียมสไลด์ เพื่อศึกษาลักษณะ ของเซลล์ 1. เตรียมสไลด์เพื่อศึกษา ลักษณะและรูปร่างของเซลล์ พืช เช่น หัวหอมว่าน กาบหอย สาหร่ายหาง กระรอก และเซลล์สัตว์เช่น เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม แล้ว เขียนแผนภาพแสดง ส่วนประกอบของเซลล์ 2. ให้ศึกษาและอธิบาย โครงสร้างหน้าที่ของเซลล์ แล้วสรุปองค์ความรู้เป็นผัง มโนทัศน์ 1
  • 19. 10 ครั้งที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) 5. อธิบายรูปร่างลักษณะ ของส่วนประกอบที่ สาคัญของเซลล์พืชและ เซลล์สัตว์ได้ 6. อธิบายหน้าที่ของ ส่วนประกอบที่สาคัญ ของเซลล์พืชและเซลล์ สัตว์ได้ 7. เขียนแผนผังมโนทัศน์ สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับ การศึกษาเซลล์ โครงสร้างและหน้าที่ของ เซลล์ 2 1. อธิบายความหมายของ การแพร่ได้ 2. เขียนแผนภาพแสดง กระบวนการแพร่ได้ 3. ยกตัวอย่าง กระบวนการแพร่ใน ชีวิตประจาวันได้ 1.3 การแพร่ - ปัจจัยที่มีผลต่อ การแพร่ของสาร - การลาเลียงของ สารผ่านเข้าออกจาก เซลล์ - ตัวอย่างการแพร่ ของสารที่เกิดขึ้นใน ชีวิตประจาวันได้ 1. ศึกษาทดลองและสรุป การเกิดการแพร่ของ ด่างทับทิมในน้าชนิดต่าง ๆ 2
  • 20. 11 ครั้ง ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) 3 1.อธิบายความหมายของ กระบวนการออสโมซิสได้ 2.เขียนแผนภาพแสดง กระบวนการออสโมซิสได้ 3.ยกตัวอย่างกระบวนการ ออสโมซิสได้ 4. ออกแบบและทาการ ทดลองเกี่ยวกับการแพร่ และออสโมซิสของเซลล์ เมื่ออยู่ในสารละลายที่มี ความเข้มข้นต่างกันได้ 5. เขียนแผนผังความคิด กระบวนการแพร่และ ออสโมซิสได้ 1.4 การออสโมซีส - ตัวอย่าง การออสโมซีส ของสาร - ปัจจัยที่มีผลต่อการ ออสโมซิส - การลาเลียงของสาร ผ่านเข้าออกจาก เซลล์ - องค์ความรู้เรื่อง การแพร่และ การออสโมซิส 1. ศึกษาทดลอง เขียน แผนภาพและอธิบายการ ออสโมซีส 2. สรุปองค์ความรู้เป็นเรื่อง การแพร่และการออสโมซีส เป็นผังมโนทัศน์ 1 3-4 1. อธิบายปัจจัยบาง ประการที่จาเป็นใน กระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงได้ 2. บอกความสาคัญของ คลอโรฟิลล์ น้า แสงใน กระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืชได้ 3. ระบุสิ่งที่เกิดขึ้นจาก กระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงได้ 4. ออกแบบการทดลองที่ เกี่ยวข้องกับกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสงได้ 1.5 การสังเคราะห์ ด้วยแสง - ปัจจัยที่มีผลต่อการ สังเคราะห์ด้วยแสง ของพืช - ผลผลิตที่เกิดจาก การสังเคราะห์ด้วย แสงของพืช - ปฏิบัติกิจกรรม เรื่อง คลอโรฟิลล์กับ การสร้างอาหารของ พืช 1. ศึกษา ทดลองและสรุป เกี่ยวกับ คลอโรฟิลล์เป็น ปัจจัยที่จาเป็นในการ สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช 2. เขียนและอธิบายสมการ การสังเคราะห์ด้วยแสง ของพืช 3. เขียนสรุปองค์ความรู้เป็น ผังมโนทัศน์เกี่ยวกับปัจจัย และผลผลิตในการสังเคราะห์ แสงของพืช 2
  • 21. 12 ครั้ง ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) 4 1. ระบุได้ว่าแสงจาเป็นใน กระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืชได้ 2. ออกแบบการทดลอง เพื่อทดสอบว่าแสงจาเป็น ในกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืชได้ 3. อธิบายความสาคัญของ กระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงที่มีต่อสิ่งมีชีวิตได้ 4. อธิบายความสาคัญของ กระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงที่มีต่อ สิ่งแวดล้อมได้ 1.6 กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง ของพืช - การสังเคราะห์ด้วย แสงของพืช - ปัจจัยที่มีผลต่อการ สังเคราะห์ด้วยแสง ของพืช - ผลผลิตที่เกิดจาก การสังเคราะห์ด้วย แสงของพืช 1. ศึกษา ทดลอง และสรุป เกี่ยวกับ แสงมีความสาคัญต่อ กระบวนการสังเคราะห์ด้วย แสงของพืช 2. เขียนและอธิบายสมการ การสังเคราะห์ด้วยแสง ของพืช 3. เขียนสรุปองค์ความรู้เป็น ผังมโนทัศน์เกี่ยวกับปัจจัย และผลผลิตในการสังเคราะห์ แสงของพืช 1 4-5 1. บอกโครงสร้างของการ ลาเลียงน้าและอาหารใน พืชได้ 2. ระบุปัจจัยที่เกี่ยวข้องใน การลาเลียงน้าของพืชได้ 3. ออกแบบการทดลอง การลาเลียงน้าของพืชได้ 4. สรุปเกี่ยวกับการลาเลียง อาหารและทิศทางการ ลาเลียงอาหารของพืชได้ 5. ทาการทดลองและ อธิบายบริเวณของรากที่ ทาหน้าที่ในการดูดน้าและ แร่ธาตุได้ 1.7 การลาเลียงสาร ในพืช - โครงสร้างของพืชที่ ทาหน้าที่ในการ ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ ของพืช - ลักษณะการลาเลียง อาหารในท่อลาเลียง อาหารในพืช - ประโยชน์ของการ ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ 1. ศึกษา ทดลอง และทา กิจกรรมเกี่ยวกับการลาเลียง น้าและอาหารในพืช ลักษณะ และปัจจัยที่มีผลต่อการลาเลียง น้าและอาหารในพืช 2. เขียนแผนภาพ และสรุป องค์ความรู้เป็นผังมโนทัศน์ เกี่ยวกับท่อลาลียงน้าและท่อ ลาเลียงอาหารในพืช 2
  • 22. 13 ครั้ง ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) 5 1. อธิบายส่วนประกอบ ของเมล็ดถั่วได้ 2. ทดลองและสรุปปัจจัย ที่จาเป็นในการงอกของ เมล็ดถั่วได้ 3. สามารถเขียนกราฟ แสดงการเจริญเติบโตของ ต้นถั่วได้ 1.8 การงอกของ เมล็ดพืช 1. ส่วนประกอบและ โครงสร้างของเมล็ด พืช 2. ปัจจัยที่จาเป็นใน การงอกของเมล็ดพืช 1. สังเกต ทดลองและสรุป เกี่ยวกับ ส่วนประกอบของ เมล็ดถั่ว ปัจจัยที่จาเป็นใน การงอกของเมล็ดถั่ว 2. ศึกษาค้นคว้า ทดลอง และสรุปปัจจัยที่มีผลต่อการ เจริญเติบโตของพืช 3. เขียนกราฟแสดงการ เจริญเติบโตของพืชได้ 4. สรุปองค์ความรู้เป็นผัง มโนทัศน์เกี่ยวกับการ เจริญเติบโตของพืช 1 6 1. บอกส่วนประกอบของ ต้นอ่อนของพืชได้ 2. ระบุเกณฑ์การแบ่ง เมล็ดของพืชโดยใช้ เอนโดสเปิร์มได้ 1.9 การเจริญเติบโต ของพืช - ความหมายและ กระบวนการ เจริญเติบโตของพืช - เกณฑ์การวัดการ เจริญเติบโตของพืช 1. ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง เปรียบเทียบและสรุป ลักษณะและส่วนประกอบ ของต้นอ่อนพืชเกณฑ์การ แบ่งเมล็ดพืชโดยใช้ เอนโดสเปิร์ม(Endosperm) 2
  • 23. 14 ครั้ง ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) 6-7 1. อธิบายปัจจัยสาคัญที่ จาเป็นในการเจริญเติบโต ของพืชได้ 2. ระบุธาตุอาหารหลักที่ พืชต้องการและอาการ ของพืชที่ขาดแร่ธาตุ 1.10 ปัจจัยที่จาเป็น ในการเจริญเติบโต ของพืช - ปัจจัยสาคัญที่ จาเป็นในการ เจริญเติบโตพืช - ธาตุอาหารหลักที่ พืชต้องการและ อาการของพืชที่ขาด 1. ศึกษา ทดลอง และสรุป ปัจจัยที่จาเป็นในการ เจริญเติบโตของเมล็ดพืช 2. สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับ การเจริญเติบโตของเมล็ดพืช โดยใช้ผังมโนทัศน์ 2 7 1. จาแนกประเภทของ ดอกไม้ได้ 2. ศึกษาและระบุ ส่วนประกอบของพืชดอก พร้อมทั้งอธิบายหน้าที่ ของส่วนประกอบต่าง ๆ ของดอกไม้ได้ 3. อธิบายประเภทของ ดอกไม้ชนิดต่าง ๆ พร้อม ทั้งยกตัวอย่างได้ 1.11 การสืบพันธุ์ ของพืชดอก - โครงสร้างและ ส่วนประกอบของ ดอกไม้ - ประเภทของ ดอกไม้ 1. ศึกษา เปรียบเทียบและ สรุปลักษณะ ส่วนประกอบ และหน้าที่ของส่วนประกอบ ของดอกไม้ 2. จาแนกประเภทของ ดอกไม้ตามลักษณะและ ส่วนประกอบของพืชดอก 3. วาดภาพ และอธิบาย โครงสร้างของดอกไม้ 1 8 1. อธิบายวิธีการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศของพืชได้ 2. อธิบายวิธีการสืบพันธุ์ แบบไม่อาศัยเพศของพืชได้ 3 ทดลองและอธิบายการ งอกของละอองเรณูได้ 4. ทดลองและอธิบายการ การปฏิสนธิของพืชดอก ได้ 1.12 การสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศและ ไม่อาศัยเพสของพืช - การสืบพันธุ์ของ พืชดอก - การปฏิสนธิ - การสืบพันธุ์แบบ ไม่อาศัยเพศ 1. ศึกษาทดลองและอธิบาย เกี่ยวกับการสืบพันธุ์แบบ อาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ ของพืชดอก 2. ทดลองและสรุปเกี่ยวกับ การปฏิสนธิของพืชดอกได้ 3. เขียนผังมโนทัศน์เพื่อสรุป องค์ความรู้ 2
  • 24. 15 ครั้ง ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) 6. ระบุชนิดของผลไม้และ เปรียบเทียบความแตกต่าง ของผลไม้ชนิดต่าง ๆ ได้ 7. เขียนแผนผังความคิด สรุประบบการสืบพันธุ์ ของพืชได้ 8-9 1. ออกแบบการทดลอง เกี่ยวกับการตอบสนองต่อ สิ่งเร้าของพืชได้ 2. จาแนกประเภทและ ยกตัวอย่างการตอบสนอง ต่อสิ่งเร้าของพืชที่ เนื่องจากการเจริญเติบโต เนื่องจากการเปลี่ยนแปลง ปริมาณน้าภายในเซลล์ได้ 3. อธิบายการตอบสนอง ต่อสิ่งเร้าของพืชที่ เกี่ยวข้องกับการ สังเคราะห์ด้วยแสงได้ 4. บอกประโยชน์ของการ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าของ พืชได้ 5. เขียนผังมโนทัศน์ เกี่ยวกับการตอบสนองต่อ สิ่งเร้าได้ 1.13 การตอบสนอง ต่อสิ่งเร้าของพืช - การตอบสนองต่อ แสงของพืช - การตอบสนองต่อ แรงโน้มถ่วงของพืช 1. ศึกษา ทดลอง และอธิบาย เกี่ยวกับการตอบสนองต่อ สิ่งเร้าของพืช 2. จาแนกประเภท ยกตัวอย่างและอธิบายการ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ 5. เขียนผังมโนทัศน์สรุป ความรู้เกี่ยวกับการตอบสนอง ต่อสิ่งเร้าของพืช 1
  • 25. 16 ครั้ง ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) 9 1. ออกแบบการทดลอง เกี่ยวกับการตอบสนองต่อ แรงโน้มถ่วงของพืชได้ 2. อธิบายลักษณะการ ตอบสนองของพืชที่มีต่อ แรงโน้มถ่วงที่เป็นสิ่งเร้าได้ 3. เขียนผังมโนทัศน์เพื่อ สรุปความคิดรวบยอด เรื่อง การตอบสนองต่อ สิ่งเร้าของพืช 1.14 การตอบสนอง ต่อสิ่งเร้าของพืช - การตอบสนองต่อ แสงของพืช - การตอบสนองต่อ แรงโน้มถ่วงของพืช 1. ศึกษา ทดลองและทา กิจกรรมเกี่ยวกับการ ตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วง ของพืช 3. เขียนผังมโนทัศน์เพื่อสรุป ความคิดรวบยอดเรื่อง การ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช และอธิบายได้ 2 9-10 1. อธิบายความหมายของ เทคโนโลยีชีวภาพได้ 2. อธิบายและยกตัวอย่าง การคัดเลือกพันธุ์และผสม พันธุ์เพื่อให้ได้พืชที่มี ลักษณะตามต้องการ 3. บอกหลักการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อได้ 4. อธิบายความหมายของ พันธุวิศวกรรม 5. อธิบายและยกตัวอย่าง พืชจาลองพันธุ์ได้ 1.15 เทคโนโลยี ชีวภาพและการเพิ่ม ผลผลิตพืช - เทคโนโลยีชีวภาพ - การเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อ - พันธุวิศวกรรม - การคัดเลือกพันธุ์ และการผสมพันธุ์พืช การเพิ่มผลผลิตของ พืชด้วยวิธีการทาง ชีวภาพ 1. ศึกษา ทดลองและ อภิปราย เกี่ยวกับเทคโนโลยี ชีวภาพและการเพิ่มผลผลิต พืช 2. เขียนผังมโนทัศน์เพื่อสรุป ความคิดรวบยอดเรื่อง เทคโนโลยี ชีวภาพและการ เพิ่มผลผลิตพืช 1
  • 26. 17 ครั้ง ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) 10 1. อธิบายเกี่ยวกับการ รักษาสภาพดินให้มี สภาพดีได้ 2. บอกหลักการใช้ปุ๋ ยได้ 3. ยกตัวอย่างวิธีการ ป้ องกันและกาจัดศัตรูพืชได้ 4. ยกตัวอย่างการใช้ ประโยชน์จาก เทคโนโลยีชีวภาพในด้าน เกษตรกรรมได้ 5. ยกตัวอย่างการใช้ ประโยชน์จาก เทคโนโลยีชีวภาพในด้าน อุตสาหกรรมอาหารได้ 6. ยกตัวอย่างการใช้ ประโยชน์จาก เทคโนโลยีชีวภาพในด้าน การแพทย์ด้านพลังงาน และอุตสาหกรรม 1.16 การเพิ่มผลผลิต ด้วยวิธีการทาง ชีวภาพ - การเพิ่มผลผลิต ของพืชเพื่อให้พืชมี คุณภาพดีโดยการ รักษาสภาพดิน - การเพิ่มธาตุอาหาร ให้แก่พืชโดยการใส่ ปุ๋ ยพรวนดิน การป้ องกันและ กาจัดศัตรูพืช และ การใช้สารในการ ควบคุมการ เจริญเติบโตของพืช 1. ศึกษาและอธิบายวิธีการ เพิ่มผลิตด้วยวิธีการทาง ชีวภาพ 2. เขียนผังมโนทัศน์เพื่อสรุป ความคิดรวบยอดเรื่องการ เพิ่มผลผลิตด้วยวิธีการทาง ชีวภาพ 2
  • 27. 18 ครั้ง ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมสาคัญ เวลา (ชั่วโมง) 10- 11 1. บอกลักษณะและชนิด ของสารได้ 2. จาแนกสารตามสมบัติ ของสารได้ 3. เขียนผังมโนทัศน์เพื่อ จาแนกชนิดและลักษณะ ของสารได้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 สารใน ชีวิตประจาวัน 2.1 สารและสมบัติ ของสาร 2.2 การจาแนก ประเภทของสาร 2.3 การแยกสาร 2.4 การเปลี่ยนแปลง ของสาร 2.5 ความปลอดภัย ในการใช้สาร 1. ศึกษา ทดลองและทา กิจกรรมเพื่อทดสอบสมบัติ ของสาร 2. วิเคราะห์และจาแนก ประเภทของสารใน ชีวิตประจาวัน 3. สรุปสมบัติของสารโดยใช้ ผังมโนทัศน์ 3
  • 28. 47 ตัวชี้วัด รายวิชาวิทยาศาสตร์ ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยของสิ่งมีชีวิตและการดารงชีวิตของพืช (30 ชั่วโมง /35 คะแนน) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.1 โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ (5 /8 เก็บ 5 สอบ 3) ว1.1 ม.1/1 สังเกตและอธิบายรูปร่าง ลักษณะของเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (เก็บ 1 สอบ 1) ว1.1 ม.1/2 สังเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบสาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ (เก็บ 2 สอบ 1) ว1.1 ม.1/3 ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์พืชและ เซลล์สัตว์(เก็บ 2 สอบ 1) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.2 การแพร่และการออสโมซิส (4 /7 เก็บ 5 สอบ 2) ว1.1 ม.1/4 ทดลองและอธิบายกระบวนการสารผ่านเซลล์ โดยการแพร่และออสโมซิส (เก็บ 5 สอบ 2) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.3 กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง(5/8 เก็บ 5 สอบ 3) ว1.1 ม.1/5 ทดลองหาปัจจัยบางประการที่จาเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และอธิบายว่าแสง คลอโรฟิลล์ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ น้า เป็นปัจจัยที่จาเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง (เก็บ 2 สอบ 1) ว1.1 ม.1/6 ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (เก็บ 2 สอบ 1) ว1.1 ม.1/7 อธิบายความสาคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม (เก็บ 1 สอบ 1) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.4 การลาเลียงในพืช(4/8 เก็บ 6 สอบ 2) ว1.1 ม.1/8 ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลาเลียงน้าของพืช (เก็บ 3 สอบ 1) ว1.1 ม.1/9 สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบลาเลียงน้าและอาหารของพืช (เก็บ 3 สอบ 1) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.5 การสืบพันธุ์ของพืช(4/7 เก็บ 5 สอบ 2) ว1.1ม.1/10ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช(เก็บ3สอบ1) ว1.1 ม.1/11 อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่ อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์(เก็บ 2 สอบ 1) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.6 การตอบสนองต่อสิ่งเร้า(4/6 เก็บ 5 สอบ 1) ว1.1ม.1/12 ทดลองและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อแสงน้าและการสัมผัส (เก็บ5สอบ1)