SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 27
Baixar para ler offline
แนวทางการจัดการเรียนการเรียนรู ้

ทฤษฎีความรู ้
(Theory of Knowledge
: TOK)
19




ทฤษฎีความรู ้
(Theory of Knowledge : TOK)

ธรรมชาติวชา (Nature of the Subject)
                       ิ
           ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge :TOK) หรื อรู ้จกกับในอีกชื่อ
                                                                         ั
                                                             ่
หนึ่งว่า ญาณวิทยา ( Epistemology ) เป็ นสาระที่วาด้วยการแสวงหาความรู ้
เพิ่มเติมอย่างลึกซึ้ งในสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนรู ้ (knowing) ว่าด้วยการค้นคว้าและ
แสวงหาความรู้ เพื่อพิสูจน์ประเด็นความรู้ ข้อค้นพบหรื อสมมติฐานของ
ความรู ้ที่ผเู ้ รี ยนได้รับรู ้ และเป็ นที่ยอมรับ ว่าด้วยการส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนรู ้จก
                                                                                          ั
ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของความรู ้ ว่าด้วยการจัด
ประสบการณ์ให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้กระบวนการรับรู้ในลักษณะที่เป็ นวัฒนธรรม
ของการรับรู้และการรับรู้ที่ใช้ความรู้สึก และว่าด้วยการปลูกฝังการสร้าง
ความเข้าใจที่เป็ นสากลให้แก่ผเู้ รี ยน

วัตถุประสงค์ (Objectives)
การจัดการเรี ยนการสอนสาระทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK )
มีวตถุประสงค์ เพื่อให้ผเู้ รี ยนสามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์
    ั
ตั้งสมมติฐานและการหาคาตอบเกี่ยวกับสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนรู ้ (Knowing) สามารถตั้ง
คาถามให้ คาอธิบาย แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ รู ้จกหาทางออกในการแก้ปัญหา
                                                   ั
ได้อย่างกระจ่างชัด สามารถเชื่ อมโยงความรู้ เปรียบเทียบวิธีการแสวงหา
ความรู ้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆ และวิธีการรับความรู ้ (Ways of Knowing )
จานวน 4 วิถีทาง ได้แก่วธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้ (Sense
                           ิ




1
Perception) สร้างความรู้จากการใช้ภาษา (Language) สร้างความรู้จากการให้
เหตุผล (Reason) และการสร้างความรู ้จากสิ่ งที่เป็ นอารมณ์ (Emotion)
           วิธการรับรู ้ความรู ้ (Ways of Knowing)
              ี
           การเรี ยนรู้สาระทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge TOK)
           มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกค้นคว้าหาความรู ้ โดยผ่านวิธีการรับความรู ้
                                      ั
           4 ประการ ได้แก่ การรับรู ้ความรู ้ดวยความรู ้สึก การสัมผัสรับรู้
                                                    ้
20




(Sense Perception) ด้วยภาษา (Language) ด้วยอารมณ์ (Emotion) และ
ด้วยการให้เหตุผล (Reason)

                            ึ
การรับความรู ้ด ้วยความรู ้สก (Sense Perception)
          การรับรู้ ความรู้ ด้วยความรู้ สึกจากการ
สั มผัสรับรู้ (Sense Perception) หมายถึง
ปฏิกิริยาทางกายของมนุษย์ท่ีเกิดขึ้นจากสิ่ งกระตุน  ้
ต่างๆ รอบๆตัวเรา ความรู ้สึกภายนอกที่เกิดจาก
การสัมผัส ได้ แก่ รู ป รส กลิน เสี ยง สั มผัส เช่น ได้ยน ชิมรสชาด การสัมผัส
                                ่                       ิ
ได้กลิ่นและมองเห็น และเกิดความรู ้สึกจากภายใน ได้แก่ หิ ว เจ็บปวด และสิ่ ง
เร้าต่างๆ ปั จจุบนการเรี ยนการสอนเกี่ยวกับการรับรู ้โดยใช้ความรู ้สึกจาก
                    ั
การสัมผัสรับรู้ ( Sense perception ) มีการเรี ยนการสอนในสาขาจิตวิทยา
(ทฏษฎีการรับรู้ : Gestalt theory of psychology ) เป็ นการเรี ยนเกี่ยวกับ
กระบวนการรับรู้ โดยพูดถึงอวัยวะที่ทาหน้าที่รับรู้ความรู้สึกถูกกระตุนด้วย้
ข้อมูลที่เป็ นความรู้สึก สมองจะแปลข้อมูลที่เป็ นความรู้สึกเป็ นการสัมผัสรู้
ที่เป็ นความรู้สึก( Sensation ) ได้แก่ เสี ยง รสชาด อุณหภูมิ ความกดอากาศ
กลิ่น และ การมองเห็น ดังนั้น การได้กลิ่นอาหาร เราสามารถรับรู ้ได้วาเป็ น  ่
                                                      ่
ขนมประเภทใด สิ่ งที่เห็นมีรูปลักษณ์ เราก็รับรู ้ได้วาเป็ น “นก ผีเสื้ อ คน
                      ่                                     ่
ฯลฯ ” สัมผัสรู ้วาเป็ นของเหลวร้อน เราสามารถรับรู ้ได้วาเป็ นน้ าร้อน เป็ น
ต้น ดังนั้น ในการจัดการเรี ยนการสอน ให้ผเู ้ รี ยนได้รู้จกการรับความรู ้ดวย
                                                          ั                 ้
ความรู ้สึก ดังตัวอย่าง
21




ตัวอย่างที่ 1 ( ใช้เพลงเป็ นสื่ อในการจัดการเรี ยนรู ้ ) มีแนวทาง ดังนี้


1. ครู ให้ผเู ้ รี ยนศึกษาเนื้อเพลง
ใดเพลงหนึ่งที่เป็ นการแสดง                       ่ ั
                                      เพลง เล่าสูกนฟั ง
                                                 ฉันยังจาเสมอที่เธอเคยบอกกับฉัน คิดแล้วยังตื้นตันเกินอธิ บาย
ความรู ้สึก ในที่น้ ียกตัวอย่างเพลง
                                      นึกถึงคาๆนั้นทุกวันที่ห่างกันไป เหมือนมันเป็ นโยงใยที่ส่งถึงกัน
“ เล่าสู่ กนฟัง เพลง “ สายฝน ”
            ั
                                            ่
                                      ไม่วาเราจะโชคดี หรื อบางทีที่ร้องไห้ ต่างคนสนใจจะฟัง
ทั้งที่เป็ นภาษาไทยและเป็ น
                                      เพราะว่าในชีวตเรื่ องจริ งมันต่างจากฝัน ฝันไม่เคยมีวนที่เจ็บช้ าใจ
                                                              ิ                                ั
ภาษาอังกฤษ
                                                  ่
                                      มีผคนอยูรอบกาย เหมือนไม่มีไม่เห็นใคร แต่ใจๆฉันยังมีเธอ
                                         ู้
2. ครู ผสอนให้ผเู้ รี ยนศึกษา
              ู้
                                      คืนที่ไร้แสงไฟ วันที่ใจมัวหม่น ขอเพียงใครสักคนห่วงใยกัน
ความหมายและความรู้สึกที่
                                                                                  ั ั ่ ั
                                      วันที่เสี ยน้ าตา วันที่ฟ้าเปลี่ยนผัน เธอก็ยงมีฉนอยูท้ งคน
ผูประพันธ์ถ่ายทอดผ่านเพลง
  ้
                                            *** ฝนที่ตกทางโน้น หนาวถึงคนทางนี้ ยังอยากได้ยนทุกเรื่ องราว
                                                                                                       ิ
                                      ยังนอนดึกอยูใช่ไหม เธอผอมไปหรื อเปล่า อย่าลืมเล่าสู่ กนฟัง
                                                          ่                                          ั
                                      คืนที่ไร้แสงไฟ วันที่ใจมัวหม่น ขอเพียงใครสักคนห่วงใยกัน
                                                                                   ั ั ่ ั
                                      วันที่เสี ยน้ าตา วันที่ฟ้าเปลี่ยนผัน เธอก็ยงมีฉนอยูท้ งคน
                                                                  ่
                                      (เพราะ) ฝนที่ตก (อยู) ทางโน้น หนาวถึงคนทางนี้
                                      ยังอยากได้ยนทุกเรื่ องราว
                                                      ิ
                                      เธอลาบากอะไรไหม เธอสู ้ไหวหรื อเปล่า อย่าลืมเล่าสู่ กนฟัง  ั
                                                                ่
                                      (เพราะ)ฝนที่ตก (อยู) ทางโน้น หนาวถึงคนทางนี้
                                      ยังอยากได้ยนทุกเรื่ องราว
                                                        ิ
                                      เธอลาบากอะไรไหม เธอสู ้ไหวหรื อเปล่า อย่าลืมเล่าสู่ กนฟัง    ั
                                      เธอยังขาดอะไรไหม เธอสู ้ไหวหรื อเปล่า
                                      อย่าลืมเล่าสู่ กนฟัง เธอยังมีฉนอยูท้ งคน
                                                            ั          ั ่ ั
22




เพลง สายฝน
        เมื่อลมฝนบนฟ้ ามาลิ่ว                                  Rain winds sweep across the plain.
        ต้นไม้พลิ้วลู่กิ่งใบ                                   Thunder rumbles on high.
        เหมือนจะเอนรากคลอนถอนไป                                Lightening flashes; Bows the grain.
        แต่เหล่าไม้ยงกลับงาม
                      ิ่                                       Birds in fright nestward fly.
        พระพรหมท่านบันดาลให้ฝนหลัง     ่                       But the rain pours down in blessing;
        เพื่อประทังชีวตมิทราม
                         ิ                                     Filled with cheer our hearts expand.
        น้ าทิพย์สาดเป็ นสายพรายพลิ้วทิวงาม                    As the woods with notes of pleasure ring,
        ทัวเขตคามชุ่มธารา
            ่                                                  Sunlight streams o'er the land.
        สาดเป็ นสายพรายพลิ้วทิวทุ่ง                            Bright the rainbow comes in view.
        แดดทอหรุ ้งอร่ ามตา                                    All the world's cool and clean.
        รุ ้งเลื่อมลายพร่ างพรายนภา                            Angels' tears the flowers renew.
        ยามเมื่อฝนมาแต่ไกล                                     Nature glistens in green.
        พระพรหมช่วยอานวยให้ชื่นฉ่ า                            Rain beads sparkle in your hair, love.
        เพื่อจะนาดับความร้อนใจ                                 Rainbows glitter when you smile.
        น้ าฝนหลังลงมาจากฟ้ าแดนไกล
                    ่                                          Thus we soon forget the clouds above,
        พืชพรรณไม้ชื่นยืนยง                                    Beauty so does beguile.

       ได้แก่ การได้ยน รสชาติ สัมผัส กลิ่นและสิ่ งที่เห็นและผูเ้ รี ยนอ้างอิงความรู ้ท่ีได้จากการรับรู ้ความรู ้
                         ิ
ด้วยความรู้สึก เพื่อวิเคราะห์ประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปั ญหาของการค้นคว้าหาความรู ้เพิ่มเติม เช่น
23




ตัวอย่างที่ 3 ใชภาพชวตเป็ นสอการเรียนการสอน
                ้   ี ิ     ื่


คาถาม ให้ ผ้ ูเรียนได้ ตอบคาถาม            ( ภาพของ    Jules BASTIEN, Lepage Party : Les enfants pecheurs

ในลักษณะดังต่ อไปนี้
1.จงระบุสิ่งที่ท่านเห็นในภาพ
2.จงบอกความรู ้สึกของท่านจาก
การที่ได้เห็นสิ่ งต่างๆที่ปรากฏอยู่
ในภาพ




ตัวอย่างที่ 3 การใชภาพสตว์เป็ นสอการเรียนการสอน
                   ้   ั        ื่
        ในโลกรอบๆตัวเรา มี “สัตว์ “ ที เ่ ป็ นสิ่ งมี ชีวิตที สามารถรับรู้ดวยความรู้สึก เช่น ปลาโลมาและค้างคาว
                                                              ่              ้
มี ระบบโซนาร์ เป็ นเครื ่องนาทาง นกพิราบมี ระบบแม่เหล็กนาทางกลับบ้าน หมาป่ ามี ระบบการสัมผัสกลิ่ นได้ดี
นกอิ นทรี ย์มีความสามารถในการมองเห็นดี เยี ยม สิ่ งเหล่านี เ้ ป็ นสิ่ งที อยู่รอบตัวเรา ซึ่ งผูเ้ รี ยนควรได้เรี ยนรู้
                                               ่                           ่
ในการจัดการเรี ยนการสอน ครู สามารถจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู้ได้ในลักษณะ ดังตัวอย่าง

1.ครูใช้ รูปภาพเป็ นสื่อในการเรียนการสอน          ใช้ ล้ นสัมผัสของงู การรับรู้โดยคลื่นเสียงของปลาวาฬ ระบบคีโมของตัว
                                                         ิ
2.ให้ ผ้ ูเรียนศึกษาภาพ (เป็ นงานเดี่ยวหรือ       หนอน เป็ นต้ น )
งานกลุ่ม ) และค้ นหาความรู้สกที่สตว์ท้ง 2
                                ึ ั ั             3.ครูให้ ผ้ ูเรียนจินตนาการและเขียนความรู้สกของสัตว์ท้งสอง ใช้ เวลา
                                                                                               ึ        ั
ตัว แสดงออกโดยครูช้ ีนาให้ ผ้ ูเรียนใช้ ความรู้   10–15 นาที่ และให้ ทุกคนอ่านสิ่งที่ตนเองเขียนหน้ าชั้นเรียน
ที่เรียนจากชีววิทยา ( ระบบการสัมผัสของ
ปลา ระบบการรับรู้เสียงของค้ างคาว การ
24




                   ้ ั           ื่
ตัวอย่างที่ 4 การใชสญลักษณ์เป็ นสอการเรียนการสอน
ในการจัดการเรี ยนการสอน ครู ใช้สัญลักษณ์เป็ นสื่ อ
โดยให้ผเู้ รี ยนใช้กระบวนการ “ตีความ”
(Interpretation) โดยให้ผเู้ รี ยน ทา
กิจกรรม ดังนี้
     1. ดูภาพที่กาหนดให้ และบอก
         ความเข้าใจของตนเอง
     2. อธิ บายความหมายของสิ่ งที่ผเู ้ รี ยน
         เห็นและเข้าใจ




          2          การรับรู ้ความรู ้ทางภาษา               (Language)
                    เป็ นการรับรู ้ความรู ้จากการสื่ อสารด้วยภาษา ได้โดยสัญญลักษณ์ต่างๆ ( Symbols) สัญญาณ
                    (Signs) ภาษากาย ( Body language) ภาษาพูด ( Language) ซึ่ งภาษาประเภทต่าง ๆ
                    สามารถเป็ นเครื่ องมือที่นาไปสู่ ความคิดและภาษาสามารถสะท้อนเรื่ องราวของตนเองได้
         การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ครู ผสอน สามารถดาเนินการได้ ดังนี้
                                                ู้
                                                   1.ใช้สัญลักษณ์ (symbols) และป้ ายสัญญาณเครื่ องหมาย
                                                     ( Signs ) เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอน
25




2.ให้ผเู ้ รี ยนบอกความหมายของสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนเห็นและรับรู ้




                         ้
                    ใชคาหรือประโยค เป็ นสอในการเรียนการสอนื่
                     ครู หาตัวอย่างประโยคที่ใช้คาที่เขียนเหมือนกันและมีความหมายแตกต่างกัน เช่น
                             - เขาเป็ นคนมี อารมณ์ ขน
                                                    ั
                             - ขันเชื อกให้แน่น
           -                   กรุณาตักน้าให้สามขัน
           -                   เขาขันอาสาในการทางานทุกครั้ง
                   ภาษาอังกฤษ
                        -    I saw a dove on a tree. (นกเขา )
                        -    He dove into the water. (ดาน้ า)
                   ครู ให้ผเู้ รี ยนศึกษาประโยคและอธิบายความหมายที่ผเู้ รี ยนเข้าใจ

                        ้ ั
                   ใชสญลักษณ์ทเกียวข ้องกับศาสนา ความเชอ
                                           ี่ ่                               ื่
                   และวัฒนธรรมประเพณีทเป็ นทีรู ้จักทั่วโลกเป็ น
                                                      ี่     ่
                     ื่
                   สอการเรียนการสอน
                   ครู ให้ผเู้ รี ยนบอกความหมายของสัญลักษณ์ความเชื่อและวัฒนธรรมประเพณี ต่างๆ
26




  ้                     ื่
ใชธงของประเทศต่างๆเป็ นสอการเรียนการสอน




  1. ครู ให้ผเู ้ รี ยนบอกความหมายของธงของประเทศต่างๆ
  2. ครู ให้คนคว้าหาเหตุผล “ทาไมต้องโบกธง ฯลฯ เป็ นต้น
                ้

  ้      ั               ่ื
ใชรูปแบบสญลักษณ์อนๆเป็ นสอการเรียนการสอน เช่น
                 ื่
27




      นอกจากนี้ ครู ผสอนสามารถนา ภาษากาย (Body language ) ภาพถ่าย ภาพการ์ ตูนที่แสดงเหตุ
                     ู้




       3
ภาษาในวรรณกรรม เป็ นต้นมาเป็ นสื่ อในการเรี ยนการสอน

                  การรับรู ้ความรู ้ด ้วยอารมณ์ (Emotion)
                  การรับรู้ความรู้ ดวยอารมณ์ (Emotion) เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับความฉลาดทางอารมณ์
                                    ้
                  (Emotional intelligence) เป็ นการเรี ยนรู้โดยการค้นคว้าหาความรู ้ท้ งจากที่เป็ นอารมณ์ของ
                                                                                       ั
                  ตนเอง (Intrapersonal intelligence) และทั้งที่เป็ นอารมณ์ของผูอื่น (Interpersonal intelligence)
                                                                                    ้
        การรับรู้ดวยอารมณ์ (emotion) จะต้องเชื่อมโยงกับการรับรู ้ทางความรู ้สึกจากการสัมผัสรับรู้ (Sense
                   ้
        Perception) การรับรู้ความรู้ทางภาษา (Language) และการรับรู้ความรู้โดยให้เหตุผล (reason)
ดังนั้น ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนเป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับสมองและการเรี ยนรู ้
        ผูสอนสามารถใช้สื่อการเรี ยนการสอน ดังนี้
          ้
        1. ใช้ภาพที่เกี่ยวกับภาษากาย ( body language ) เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอน ท่าทาง ( gestures ) ที่
        เชื่อมโยงกับอารมณ์ เช่น ใช้ภาพการ์ ตูน และให้ผเู ้ รี ยนบอกอารมณ์ของตัวละครในเรื่ อง เป็ นต้น
                            ภาพยนตร์การ์ตน เรือง Full house
                                                 ู        ่
28




f   ouse
29




2. ใช้สถานการณ์จาลอง ( simulation ) เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอน โดยให้นกเรี ยนแสดงท่าทางที่บอกอารมณ์ และ
                                                                     ั
ให้เพื่อนๆ สังเกตอาการนั้นๆและแสดงความคิดเห็น เป็ นต้น
3. ใช้ขอความหรื อเนื้อเรื่ อง ( text ) บทสนทนา ( dialogue ) และบทประพันธ์ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอนต่างๆ
             ้
เกี่ยวกับอารมณ์ ความเชื่อ ที่สะท้อนอารมณ์ของผูประพันธ์และตัวละครในเรื่ อง เป็ นสื่ อการเรี ยนสอน แล้วให้
                                                   ้
ผูเ้ รี ยนศึกษา วิเคราะห์และตีความอารมณ์ของผูเ้ ขียนหรื อตัวละคร
30




        4
                  การรับรู ้ทางความรู ้โดยเหตุผล (Reason)
                  เป็ นการรับรู้ความรู้โดยเหตุผล (reason) เป็ นการใช้ขอมูลรายละเอียด
                                                                        ้
                  (information) ในลักษณะโน้มน้าว (induce) สื บสาวเหตุผล (deduce) สรุ ป
        ความ (infer) ลงความเห็นเป็ นหลักการ (generalize) ระบุลกษณะเฉพาะ (Specify)
                                                                   ั
        ยืนยันลักษณะความเหมือน (recognize similarities ) และจากนั้นเป็ นการตัดสิ น
        (judge) และโต้แย้ง สนับสนุนและคัดค้านอย่างเต็มที่เกี่ยวกับสิ่ งที่เป็ นจริ ง สิ่ งดี สิ่ งที่
        ถูกต้องและสิ่ งที่สวยงาม
                 ในการจัดการเรี ยนการสอน ครู ผสอนจะต้องให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้ในเรื่ องของ
                                                      ู้
        การให้เหตุผล ( reasoning ) ในเนื้อหาต่อไปนี้ ความหมายของการให้เหตุผล รู ปแบบ
        การให้เหตุผล ได้แก่ การให้เหตุผลแบบอุปมัย ( Inductive Reasoning ) การให้เหตุผล
        แบบนิรมัย ( Deductive Reasoning ) ความสมเหตุสมผล ได้แก่ เหตุ (สิ่ งที่เรากาหนด
        หรื อสมมติฐาน) และผล (ผลสรุ ปหรื อข้อสรุ ป ) เป็ นต้น
        โดยสรุ ปวิธีการรับรู ้ความรู ้ท้ ง 4 วิธีสามารถแสดงเป็ นแผนภูมิ ได้ดงนี้
                                         ั                                  ั


                           กลุมสาระการเรียนรู ้
                              ่
                          (Area of Knowledge)
                                คณิตศาสตร์
       ภาษาไทย
                                                                    วิทยาศาสตร์
                                วิธการร ับความรู ้
                                   ี
                                     (Ways of
                                     knowing)
                  อารมณ์ (                                     เหตุผล             ภาษาอังกฤษ
 ิ
ศลปะ                                   ผูเรียน
                                         ้
                (Emotion)             Knowers                 (Reason)
            (                                             (
                              ึ
                     ความรู ้สก
                                                ภาษา
                   (Perception
                                             (Language)               ั     ึ
                                                                    สงคมศกษา/
                        )
                                             (                          ศาสนา
                   (
                                                                     /วัฒนธรรม
           ึ
       สุขศกษา
                                                                    ประวัตศาสตร์
                                                                          ิ
                                            ี
                                   การงานอาชพ
31




                            การจัดการเรี ยนการสอน TOK ไม่ใช่การสอนเนื้อหา แต่เป็ นการจัดกระบวนการ
                เรี ยนรู ้ แสวงหาความรู ้เพิ่มเติมจากการค้นคว้าและนาผลจาการค้นคว้ามาเขียนเป็ นรายงานผล
                การค้นคว้า มีความยาว 1,200 – 1,600 คา

                การออกแบบการจัดการเรียนรูสาระ
                                         ้                               TOK
                การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนสาระ TOK เป็ นภาระงานของโรงเรี ยน
                ของครู ผสอนและครู ท่ีปรึ กษา ซึ่ งแต่ละฝ่ ายมีภาระงานที่ตองดาเนินการ ดังนี้
                        ู้                                               ้

        ่
1.หน้าทีความรับผิดชอบ                                   ทั้งโรงเรียน เลือกจานวน 15 – 20 ประเด็น
ของสถานศึกษา                                            ความรู้
                       จัดทาเอกสาร รวบรวม
                        ประเมินความรู้/หัวข้ อ/ปัญหา
                      สาหรับผู้เรียน โดยมอบหมาย
                                                        4        เมื่อโรงเรียนได้ เรียบเรียงประเด็นความรู้
                                                                 ( Knowledge issues ) เป็ นที่เรียบร้ อยแล้ ว
                                                                 โรงเรียนจะต้ องจัดทาเอกสาร รวบรวม
                     ให้ ครูของแต่ละสาระการเรียนรู้     ประเด็นความรู้/หัวข้ อ/ปัญหาทั้งหมด ซึ่งโดยทั่วไป
                ทุกคนเป็ นผู้ร่วมคิดโดยมี               แล้ วแต่ละปี โรงเรียนจะกาหนด
กระบวนการและขั้นตอนการดาเนินการ ดังนี้                  ไว้ ไม่เกิน 20 ประเด็นความรู้
                                                        สาหรับให้ ผ้ ูเรียนเลือกเป็ น
1      จัดประชุมครูผ้ ูสอนทุก
       กลุ่มสาระการเรียนรู้                             ประเด็นค้ นคว้ าเพื่อให้ เป็ น
                                                        มาตรฐาน (Standard) เดียวกันทั้งโรงเรียน
2      มอบหมายให้ ครูผ้ ูสอน
       ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
จานวน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้กาหนด                       5       แต่งตั้งครูผ้ ูสอนให้ เป็ นที่ปรึกษาของผู้เรียนทุกคน
                                                                (แม้ ครูผ้ ูสอนไม่ใช่ครูผ้ ูสอนสาระ TOK)
ประเมินความรู้/หัวข้ อ/ปัญหา สาหรับการค้ นคว้ า
เพิ่มเติมของผู้เรียน                                    6       มอบหมายให้ ครูผ้ ูสอนดาเนินการให้ นักเรียน
                                                                เลือกประเด็นความรู้/หัวข้ อ/ปัญหา

3      ดาเนินการพิจารณาคัดเลือกประเด็นความรู้/
       หัวข้ อ/ปัญหา สาหรับให้ ผ้ ูเรียน
                                                        คนละ 1 เรื่อง เพื่อให้ มีการดาเนินการอย่างเป็ น
                                                        ระบบโรงเรียน ควรมีแบบฟอร์มสาหรับลงทะเบียน
                                                        ซึ่งในที่น้ ีจะนาเสนอตัวอย่าง
32




ตัวอย่างประเด็นความรู ้
/หัวข ้อ/ปั ญหาของสาระ TOK สาหรับให ้ผู ้เรียนเลือก
                    ึ
(สาหรับระดับมัธยมศกษา)
1.อภิปรายวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น        อธิบายเชิงประวัติศาสตร์กบวิธีการ
                                                               ั           สามารถนาไปใช้ในการ
                                     สืบค้นทางวิทยาศาสตร์ เพื่อการ         สร้างสรรค์ศิลปะได้หรือไม่อย่างไร
จากการสะสมข้อเท็จจริง                อธิบายเชิงวิทยาศาสตร์
เช่นเดียวกับ                                                               13   .ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรที่
ศาสตร์สาขา                           7   .การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของ        ในปั จจุบนได้มีการเฉลิมฉลองวัน
                                                                                     ั
อื่นๆ                                ประเทศในโลก มีผลกระทบอย่างไร          แห่งผืนพิภพ ซึงเรียกชื่อเป็ น
                                                                                              ่
(กล่าวถึงสาระ                        กับประเทศไทยและ                       ภาษาอังกฤษ
การเรียนรูอ่น    ้ื                  ด้านใดบ้าง                            ว่า Earth Day ในนานาประเทศ
ๆ อย่างน้อย 3                        8   .การรูจกวิถี
                                                ้ั                         อย่างเป็ นสากล
สาระ)                                ชีวตของบรรพชน
                                          ิ                                14   .อภิปรายแรงบันดาลใจ
2    .อภิปรายวรรณคดีสามารถ           ไทย สามารถ
                                     ศึกษาได้จาก                           (Inspiration) ของผูประพันธ์นว
                                                                                                  ้
สะท้อนความจริง และวัฒนธรรม                                                 นิยาย เรื่อง “ข้างหลังภาพ”
ของมนุษยชาติได้ดีกว่าศาสตร์ ด้าน     ร่องรอยหรือ
                                     หลักฐานใดบ้าง                                        ่ ่
                                                                           15.ในฐานะทีทานเป็ นพลเมืองของ
ศิลปะหรือศาสตร์ดานอื่น ๆ
                     ้                                                     ประเทศและในฐานะสมาชิกของ
3                      ่
     .อภิปรายคาพูดทีกล่าวว่าปรัชญา   9   .ศึกษาวิธีการเรียนภาษาอังกฤษ      สังคม ท่านคิดว่าท่านจาเป็ นต้อง
เศรษฐกิจเป็ นอุปสรรคหรือ             ซึงปั จจุบนถือเป็ นภาษาสากลที่
                                       ่        ั                          รับผิดชอบในการเรียนรูและแสวงหา
                                                                                                    ้
                           ่ ั่
ประโยชน์ตอการพัฒนาทียงยืนของ
                 ่                   เหมาะสมเพื่อให้เด็กไทยสื่อสารได้      ความรูอภิปราย
                                                                                   ้
                                     อย่างมีทกษะ  ั
ประเทศและ                                                                  16   .“ความสุข” เป็ นสิ่งสาคัญทีทก
                                                                                                           ่ ุ
ความมีชีวตที่ิ                       10     .ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับ   คนปรารถนาให้เกิดขึ้นในชีวตของิ
   ่
มันคง ผาสุข                                         ่่
                                     คากล่าวทีวากิจกรรมลูกเสือและ          ตนเอง แต่ทกคนต่างให้
                                                                                        ุ
ของประชาชน                           กิจกรรมเนตรนารี สามารถ                                     ่
                                                                           คาจากัดความทีไม่เหมือนกัน ใน
4    .ความรูของมนุษย์เกิดขึ้นได้
               ้                     สร้างเด็กไทยให้เป็ นมนุษย์ที่
                                     สมบูรณ์ได้แต่ไม่สามารถสร้าง
                                                                           ความคิดเห็นของท่าน อะไรทีเ่ ป็ น
อย่างไร                                                                    องค์ประกอบสาคัญของความสุขที่
                                     เด็กไทยให้เป็ นพลโลกได้               สมปรารถนา
5.         ่
      เรามันใจได้อย่างไรว่าภาวะโลก
                                     11     .อภิปรายคากล่าว                17   .อภิปรายแนวคิด “การปฎิบติ   ั
ร้อน (Global Warning) เกิดขึ้น       “คณิตศาสตร์” เป็ นศาสตร์ทเี่ กิด      ตามหลักการและความเชื่อทางพุทธ
จริง                                 จากการค้นพบ (Discovered) หรือ         ศาสนามีความสอดคล้องกับ
6.อะไรคือ ความเหมือนและความ          การประดิษฐ์คิดค้น (Invented)          หลักการและวิธีการทาง
                                                                           วิทยาศาสตร์”
แตกต่างระหว่างวิธีการสืบค้นทาง
ประวัติศาสตร์ เพื่อการ
                                     12.อภิปรายคากล่าว
                                     “คณิตศาสตร์” เป็ นพื้นฐานการ
                                     เรียนรูวชาอื่น และ
                                            ้ิ
33




18.อภิปรายและแสดงความ               ศาสตร์ทดี ( A good historian)
                                                  ี่                     27.อธิบายความหมายและบทบาท
คิดเห็นกับคากล่าวทีวา “ คาสอน
                   ่่               ควรมีคณค่าลักษณะอย่างไร
                                                ุ                        ของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ของพระศาสดาทุกศาสนา สามารถ          22    .ในความคิดเห็นของท่านนัก       พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
       ่
นามาซึงความสันติสุขและความ          ประวัติศาสตร์ สามารถใช้เป็ นแนว
ผาสุขของสังคม”                      ทางการสร้างความเข้าใจใน
                                    เหตุการณ์ปัจจุบนได้หรือไม่
                                                       ั
19.ท่านคิดว่า เราสามารถ             อย่างไร ประวัติศาสตร์ สามารถ         ตัวอย่างประเด็นความรู ้
เปรียบเทียบภาษา (Language) กับ      ทานายอนาคตได้หรือไม่ อย่างไร
                                             ่ ่
                                    อะไรทีคนรุนใหม่ สามารถถือเป็ น       หัวข ้อ/ปั ญหาของสาระ
ภาษาสัญลักษณ์รูปแบบต่างๆ ได้                                             TOK
หรือไม่ เช่น เปรียบเทียบภาษามือ     บทเรียนทางประวัติศาสตร์
                                                                         สาหรับให ้ผู ้เรียนเลือก
ของผูพิการทางการ
       ้                            23               ่
                                          .อะไรคือทีมาและธรรมชาติของ
                                                                         ระดับประถมศึกษา
ได้ยิน การเต้นรา การวาดภาพ          ความรูสึกเกี่ยวกับความสวยงาม
                                              ้
ดนตรีหรือกับคณิตศาสตร์ได้           (Beauty) และความสวยงามมี             1.นักเรียนเห็นด้วยกับคากล่าวทีว่ า่
หรือไม่ ภาษาอะไรทีเ่ ป็ นลักษณะ
                        ่
การร่วมและลักษณะทีแตกต่างจาก        ความหมายอย่างไร การให้คา             “ วัฒนธรรมไทยเป็ นสิ่งทีงดงาม
                                                                                                 ่
                                    จากัดระดับ “ความสวยงาม” เป็ น
รูปแบบภาษาต่างๆ
                                    เรื่องเฉพาะสาหรับปั จเจกบุคคล        ควรค่าแก่การอนุรกษ์” หรือไม่
                                                                                          ั
 ดังกล่าว                                                                อย่างไร จงแสดงความคิดเห็น
                                    (Individual) หรือเป็ นเรื่องเฉพาะ
20    .ประวัติศาสตร์คืออะไร
                                    ระดับวัฒนธรรม (Cultures) หรือ        2 .นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไร
ประวัติศาสตร์เป็ นการศึกษา
เหตุการณ์ในอดีตหรือศึกษาบันทึก      เป็ นเรื่องระดับสากล (Universal)     เกี่ยวกับ พาดหัวข่าว “สาเหตุ
เหตุการณ์ในอดีต และจงอภิปราย                                             ของภัยพิบติทางธรรมชาติเป็ น
                                                                                    ั
             ่่    ้ ี่
คากล่าวทีวา “ผูทควบคุมอดีต          24.ท่านเห็นด้วยหรือไม่วา่ ความรู ้   ผลงานของมนุษย์”
                          ้ ี่
เป็ นผูควบคุมอนาคต ผูทควบคุม
         ้                          ทางด้านศิลปะ สามารถเรียนรูไ้ ด้
ปั จจุบน เป็ นผูควบคุมอดีต”
           ั    ้                   จากการคบหาสมาคมกับศิลปิ น            3 นักเรียนได้ใช้ความรูจ้ ากวิชา
                                     ผ่านการเรียนรู ้ แรงบันดาลใจ        ใดบ้างในชีวตประจาวัน จงแสดง
                                                                                     ิ
21    .อะไรคือบทบาทของนัก           กระบวนการสร้างสรรค์งาน การ           ความคิดเห็นพร้อมยกตัวอย่าง
ประวัติศาสตร์ นักประวัติศาสตร์      สังเกตพฤติกรรมและวิถีชิวต ิ          ประกอบ
เป็ นผูบนทึกเหตุการณ์หรือคิดสร้าง
         ้ั                         รวมถึงผลงานของศิลปิ น
เหตุการณ์ และเป็ นไปได้หรือไม่ที่                                        4  .นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กบ   ั
นักประวัติศาสตร์มีความสามารถที่     25    .การใช้เทคโนโลยี สามารถ        กิจกรรมรณรงค์การปลูกป่ าชาย
จะมองเหตุการณ์ หรือเลือกตีความ      ขยายความรูใ้ นสาขาวิชาต่าง ๆ ให้     เลน อภิปรายพร้อมยกตัวอย่าง
ข้อค้นพบได้อย่างไม่มีอคติ แต่ใน     กว้างขวางได้อย่างไร                  ประกอบ
บางกรณีหากมีอคติเกิดขึ้นจาก
ความเข้าใจส่วนบุคคลของนัก
                                    26    .แสดงความคิดเห็นกับคากล่าว     5  .นักเรียนมีความรูเ้ กี่ยวกับ
                                    ทีวา “ภาษาเป็ นเครื่องมือในการ
                                       ่่                                ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อย่างไร
ประวัติศาสตร์ เราสามารถถือเป็ น     สื่อสารและสร้างความเข้าใจ อัน        และนักเรียนสามารถประยุกต์ใช้ใน
การให้เหตุผลได้หรือไม่ ดังนัน  ้    ดีระหว่างกันของคนทังโลก”
                                                         ้               ชีวตประจาวันได้หรือไม่อย่างไร มี
                                                                             ิ
ในความคิดของท่านนักประวิต                                                คุณหรือโทษอย่างไร จงแสดง
34



ความคิดเห็น พร้อมยกตัวอย่าง                                  ประกอบ

                           ทฤษฎีความรู ้ ( Theory of Knowledge : TOK )
ชื่อ ...................................................................................... ชั้น ......................................................................
ชื่อประเด็นความรู้สาหรับการค้นคว้า :
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
ชื่อครู ผสอน ; ..........................................................................................................................................
            ู้
ชื่อครู ที่ปรึ กษา ..........................................................................................................................................
ชื่อนักเรี ยน ...........................................................................................................................................
ลายมือชื่อนักเรี ยน .................................................................................................................................

             หน้าที่ความรับผิดชอบของครูท่ีปรึกษา
             ครู ที่ปรึ กษามีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
             1. ศึกษาและทาความเข้าใจวัตถุประสงค์                                                          5. ช่วยเหลือ แนะนา
                  และเป้ าหมายของการจัดการเรี ยนการ                                                          ให้ผเู้ รี ยนรู้จกหา
                                                                                                                              ั
                  สอน TOK                                                                                    เหตุผล หลักฐาน
             2. ทาความเข้าใจ                                                                                 เพื่อประกอบความ
                  เกี่ยวกับเกณฑ์การ                                                                          คิดเห็น
                  วัดและประเมินผล                                                                         6. ช่วยเหลือ แนะนาให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกโต้แย้ง
                                                                                                                                               ั
                  ผลงานของผูเ้ รี ยน                                                                         สนับสนุนและคัดค้าน และสามารถ
             3. ส่ งเสริ ม กระตุน สนับสนุน ชี้แนะให้
                                      ้                                                                      แสดงความคิดเห็นให้เหตุผลได้อย่าง
                  ผูเ้ รี ยนรู้จกวิธีการคิดค้นคว้าความรู้
                                ั                                                                            ลึกซึ้ ง
                  เพิ่มเติมจากพื้นฐานของความรู ้ที่ผเู ้ รี ยน                                            7. ช่วยเหลือ แนะนาการเรี ยบเรี ยงความคิด
                  ได้เรี ยนจากสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน                                                       เป็ นผลงานรู ปแบบ
             4. ช่วยเหลือ แนะนาให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจ                                                          บทความทาง
                  ประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปัญหา สามารถ                                                         วิชาการ
                  กาหนดทิศทางของการค้นคว้าหาความรู ้                                                      8. วางแผนการทางาน
                  เพิ่มเติม                                                                                  ร่ วมกับผูเ้ รี ยนในความ
35




               ดูแลรับผิดชอบโดยให้นกเรี ยนทา ID
                                   ั
               Plan เสนอ
ต ัวอย่างแผนการทางานของผูเรียน
                         ้
               วัน/เดือน/ปี                              กิจกรรม                        หมายเหตุ
( 1 ภาคเรียน )
พฤษภาคม
สั ปดาห์ ที่ 1                     - ศึกษาเกณฑ์การวัดและประเมินผล TOK                 (ระบุวน เวลา
                                                                                            ั
สั ปดาห์ ที่ 2                     - เลือกหัวข้อเรื่ องและลงทะเบียน                   การนัดหมาย )
สั ปดาห์ ที่ 3                     - ศึกษาหัวข้อเรื่ อง
สั ปดาห์ ที่ 4                     - พบครู ที่ปรึ กษาเพื่อหารื อเกี่ยวกับการค้นคว้า
มิถุนายน
สั ปดาห์ ที่ 5                     - พบครู บรรณารักษ์ขอคาแนะนาเกี่ยวกับการค้นคว้า (ระบุวน เวลา
                                                                                        ั
สั ปดาห์ ที่ 6                     - พบครู ผสอนเสนอโครงร่ าง
                                            ู้                                    การนัดหมาย )
สั ปดาห์ ที่ 7                     - พบครู ที่ปรึ กษาเสนอโครงร่ าง
สั ปดาห์ ที่ 8                     - ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งค้นคว้า
กรกฎาคม
สั ปดาห์ ที่ 9                     -    พบครู ที่ปรึ กษารายงานความก้าวหน้า            (ระบุวน เวลา
                                                                                            ั
สั ปดาห์ ที่ 10                    -   ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม                          การนัดหมาย )
สั ปดาห์ ที่ 11                    -   จัดทารายการเอกสารอ้างอิงและบรรณานุกรม
สั ปดาห์ ที่ 12                    -   พบครู ที่ปรึ กษาเพื่อรายงานความก้าวหน้า
สิ งหาคม
สั ปดาห์ ที่ 13                    -   ลงมือเขียนรายงานการค้นคว้า                     (ระบุวน เวลา
                                                                                            ั
สั ปดาห์ ที่ 14                    -   เขียนรายงานการค้นคว้าหาความรู ้เพิ่มเติม       การนัดหมาย )
สั ปดาห์ ที่ 15                    -    ส่ งผลงานการค้นคว้า (ฉบับร่ าง) ต่อครู ผสอน
                                                                                ู้
สั ปดาห์ ที่ 16                    -   ส่ งผลงานการค้นคว้าครู ที่ปรึ กษา
กันยายน
สั ปดาห์ ที่ 17                    - ปรับแก้ไขผลงาน                                   (ระบุวน เวลา
                                                                                            ั
สั ปดาห์ ที่ 18                    - จัดทาฉบับจริ ง                                   การนัดหมาย )
36




สั ปดาห์ ที่ 19                         - ส่ งผลงานฉบับจริ งและนัดสอบปากเปล่า ( Oral )
สั ปดาห์ ที่ 20                         - สอบปากเปล่า
               ่
         หน้าทีและความรับผิดชอบของครูผูสอน
                                       ้

1
               ภาระงานและความรับผิดชอบของครู ผสอน สามารถวิเคราะห์ ได้ดงนี้
                                                       ู้                          ั
         อธิ บายสิ่ งที่เป็ นประเด็น                               - มีการโต้แย้งสนับสนุนและคัดค้าน (Argument)
         ปัญหาของหัวข้อที่                                         - มีการตังสมมติฐาน และผลการค้นคว้าหรือข้อ
                                                                               ้



2                                                               8
ผูเ้ รี ยนเลือก                                             ค้นพบ (Assumptions and Implications)
         .ชี้ แนะ ชี้นาวิธีการ                                     .ติดตาม ความก้าวหน้าของการเขียนงาน TOK
         วิเคราะห์อะไรเป็ นสาระ                                    ของผูเ้ รี ยนเป็ นระยะ ๆ ตามที่ผเู ้ รี ยนกาหนดไว้



3
ของประเด็นปัญหา                                             ในแผนการปฏิบติกิจกรรมของตนเอง
                                                                                 ั
         .อธิ บายวิธีการให้คาจากัดความและความหมาย                                            โดยสรุป ครู มีหน้าที และ
                                                                                                                  ่



4
         ของคาสาคัญต่าง ๆ ในประเด็นปั ญหา                                                    รับผิ ดชอบช่วยเหลือให้
         .อธิบายวิธีการรับความรู้ ( Ways of Knowing )                                        ผูเ้ รี ยนได้แสดงความ
         หลักๆ 4 วิธี ได้แก่การรับความรู ้โดยความรู ้สึก                                     คิ ดเห็นหลากหลายมุมมอง
( Sense Perception ) การรับความรู้จากการให้เหตุผล           เกี ่ยวกับประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปัญหาทีตนศึกษา   ่
( reason ) การรับความรู้จากภาษา ( language ) การ            ซึ่งจะต้องสะท้อนให้เห็น สิ่ งต่อไปนี ้



5
รับความรู้ดวยวิถีอารมณ์ ( emotion )
                  ้                                                      - ความคิ ดทีเ่ ป็ นอิ สระของตนเอง
         .ช่วยให้ผเู ้ รี ยนค้นคว้า แสวงหาความรู ้เพิ่มเติม (Independent thinking)
         นาเสนอความคิดเห็นในหลากหลายมุมมอง                               - ความรู้อย่างลึกซึ้ งหรื อตระหนักรู้ในเรื ่องที ่



6
เกี่ยวกับประเด็นปั ญหา                                      ศึกษา (Self – Awareness)
         .ช่วยเหลือ ชี้แนะ ช่วยเหลือ                                     - การสะท้อนความคิ ดเห็นของผูเ้ รี ยนใน
         ให้ผเู้ รี ยนรู้จกการค้นคว้า
                           ั                                หลากหลายมุมมอง (Different Perspectives)
แสวงหาความรู้และการรวบรวม                                                - การยกตัวอย่างประกอบทีหลากหลาย   ่


7
ข้อมูลจากการค้นคว้า                                         (Varied Examples)
         .ให้คาปรึ กษาในการเรี ยบเรี ยงเป็ นงานเขียน ซึ่ง
         ผลงานจะต้องสะท้อนให้เห็นสิ่ งต่อไปนี้                         ่
                                                            หน้าทีและความรับผิดชอบของผูเ้ รียน
     - ความเข้าใจลึกซึ้งในประเด็นปัญหา (Insight                 ผูเ้ รี ยนจะต้องรับผิดชอบตนเอง
and Depth)                                                      ในเรื่ องต่อไปนี้
      - อภิปรายตรงประเด็น (Main Point Justified )
37




       1.   เข้าชั้นเรี ยนสาระ TOK กับครู ผสอน
                                           ู้          6.   ส่ งแผนการปฏิบติกิจกรรมของตนเอง
                                                                              ั
       2.   เลือกประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปัญหา                ให้แก่ แก่ครู ผสอนและครู ที่ปรึ กษา
                                                                           ู้
            สาหรับค้นคว้าเพิ่มเติม                     7.   ศึกษา ค้นคว้า เขียนงานตามเวลาที่
       3.   ศึกษาเกณฑ์การให้คะแนน                           กาหนดตามแผนในกรณี ที่มีปัญหา
                                                            ผูเ้ รี ยนจะต้องพบครู ที่ปรึ กษาและ
       4.   พบครู ที่ปรึ กษา
                                                            ครู ผสอน ตามกาหนดเวลาของผูเ้ รี ยน
                                                                     ู้
       5.   วางแผนการค้นคว้าหาความรู ้เพิ่มเติม
                                                       8.   เรี ยบเรี ยงความคิดเป็ นเอกสารรายงาน
            และจัดทาแผนการเขียนงาน TOK ของ
                                                            ผลการค้นคว้าความยาว 1,200 – 1,600
            ตนเอง หรื อที่ เรี ยกว่า แผนการบริ หาร
                                                            คา ส่ งครู ผสอนโดยผ่านความเห็นชอบ
                                                                         ู้
            จัดการตนเอง
                                                            ของครู ที่ปรึ กษา




โดยสรุป ภาระหน้ าที่ของแต่ละฝ่ าย สามารถแสดงเป็ นผังภาระงาน ได้ ดังนี ้
38




    สถานศึกษา                    ครู ผ้ ูสอน                 ครู ทปรึกษา
                                                                  ี่              ผู้เรียน

                            สอนกระบวนการ               ช่วยเหลือ อานวย      เลือกประเด็นความรู ้ 1
จัดทาเอกสารรวบรวม                                                           เรื่ องสาหรับค้นคว้า
                            และวิธีคนคว้าหา
                                     ้                 ความสะดวก
ประเด็นความรู ้
                            ความรู ้                   ให้แก่ผเู ้ รี ยน

                                                                            ค้นคว้า แสวงหา
                                                                            ความรู ้เกี่ยวกับ
 มอบหมายครู ผสอน
             ู้           ดูแลช่วยเหลือผูเ้ รี ยน      กากับ ติดตามการ      หัวข้อที่เลือก
                          ในการค้นคว้าและ              ทางานของผูเ้ รี ยน
                          เขียนรายงาน
                                                                            เขียนรายงานการ
 แต่งตั้งครู ที่ปรึ กษา                                                     ค้นคว้า ความยาว
                          ประเมินผลงานของ              ตรวจทานและรับรอง     1,200 – 1,600 คา
                          ผูเ้ รี ยน ทั้งข้อเขียนและ   ผลงานของผูเ้ รี ยน
                          ปากเปล่า                                          - ส่งรายงาน
                                                                            - นัดสอบ Oral




                  เกณฑ์การวัดและประเมินผลสาระทฤษฎีความรู ้
                  ( Theory of Knowledge )
39




         ในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้สาระทฤษฎีความรู้ ( Theory of Knowledge ) จาแนกการ
         ประเมินออกเป็ น 2 ส่ วน คือการประเมินผลงานการเขียนรายงานการค้นคว้า และการสอบปาก
         เปล่า ( Oral ) เกี่ยวกับผลงานเขียน การประเมินผลงานข้อเขียนภาพรวม ใช้เกณฑ์ 4 C ได้แก่
         Content Creativity Critical Thinking และ Clarity ซึ่ งมีความหมายโดยสังเขป ดังนี้
                Content : Think: Knowledge Issue
                        เนือหา คิด เกียวกับประเด็นความรู ้
                           ้          ่
                Creativity : Think: Personal Thought
                                                       ่
                        ความคิดสร ้างสรรค์ คิด ความคิดสวนตัว
                Critical Thinking : Think: Arguments
                      การคิดวิเคราะห์ คิด การโต ้แย ้งคัดค ้านและสนับสนุน
                Clarity : Think: Well Structure Essay              ความ
                 ั
                ชดเจน คิด การเรียบเรียงถูกต ้อง




         และในการประเมินเนื้อหาที่เป็ นรายละเอียดจะจาแนกเกณฑ์ออกเป็ น 2 แบบ คือ เกณฑ์
         สาหรับใช้ประเมินผลงานข้อเขียน และเกณฑ์สาหรับใช้ประเมินการสอบปากเปล่า ( Oral )

         ตอนที่ 1 การประเมินงานเขียน (Essay)
         การวัดและประเมินผลพิจารณาเกี่ยวกับความเชื่อมโยง (relevant) ของผลงานกับหัวข้อ/ปัญหา
         ความเข้าใจลึกซึ้ งในหัวข้อ (Depth of understanding) ความเข้าในเกี่ยวกับประเด็นความรู ้
         อย่างกว้างขวาง (Broadth of understanding) แสดงความตระหนักรู้วธีการเชื่อมโยงประเด็น
                                                                         ิ
                  ั
         ความรู ้กบสาขาความรู ้และวิธีรับรู ้




ก. ความเข ้าใจในการประเมินผลประเด็นความรู ้/หัวข ้อ/ปั ญหา
40



   (Understanding knowledge issues)

     ระดับสั มฤทธิ์                                  ตัวชี้วด
                                                            ั
          0                       ่
                      ผลงานไม่ผานเกณฑ์ระดับ 1
         1–2          ผลงานพูดถึงประเด็นปัญหาน้อยมาก มีการแสดงความเข้าใจประเด็น
                      ปั ญหาน้อยเพียงแต่กล่าวถึงสาขาวิชาเท่านั้น
         3–4          ผลงานพูดถึงประเด็นปั ญหาบ้าง มีการแสดงความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ
                      ประเด็นปั ญหา มีการเชื่อมโยงอย่างกว้าง ๆ กับสาขาวิชาและวิธีการรับรู ้
         5–6          ผลงานส่ วนใหญ่พดถึงประเด็นปั ญหา มีการแสดงความเข้าใจเกี่ยวกับ
                                         ู
                      ประเด็นปั ญหาหลายประการ มีการเชื่อมโยงอย่างจริ งจังระหว่างสาขาวิชา
                      ต่าง ๆ กับวิธีการรับรู ้
          7 -8        ผลงานพูดถึงประเด็นความรู ้ได้อย่างลึกซึ้ ง มีการเชื่อมโยงและมีการ
                      เปรี ยบเทียบระหว่างสาขาวิชาและวิธีการรับรู ้อย่างแท้จริ ง ผลงานสะท้อน
                      ความเข้าใจประเด็นความรู ้เป็ นอย่างดี
         9 -10        ผลงานพูดถึงประเด็นความรู ้ ได้อย่างลึกซึ้ ง มีการเชื่อมโยงและมีการ
                      เปรี ยบเทียบระหว่างสาขาวิชาและวิธีการรับรู ้ได้อย่างสละสลวย ผลงาน
                      สะท้อนความเข้าใจประเด็นความรู ้อย่างลึกซึ้ ง




ข. ความคิดเห็นของผู ้เรียน
   (Knower Perspective)
41




    ระดับสั มฤทธิ์                                    ตัวชี้วด
                                                             ั
         0                         ่
                      ผลงานไม่ผานเกณฑ์ระดับ 1
        1-2           ผลงานไม่มีหลักฐานความคิดที่เป็ นอิสระเกี่ยวกับประเด็นความรู ้ มีความ
                      คิดเห็น ส่ วนตัวจากัดมาก ไม่สะท้อนความพยายามของการค้นคว้าข้อมูล
                      ต่างๆ ไม่มีตวอย่างที่เหมาะสม
                                     ั
        3–4           ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็ นอิสระเล็กน้อย มีความคิดเห็นส่ วนตัวบ้าง
                      มีการพูดถึงความคิดเห็นต่างๆ แต่ไม่ได้คนคว้าเพิ่มเติม มีตวอย่างที่
                                                                ้                  ั
                                       ่ ้
                      เหมาะสมอยูบางเป็ นบางครั้ง
        5-6           ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็ นอิสระบ้าง ผูเ้ รี ยนเรี ยบเรี ยงผลงานใน
                      ลักษณะแสดงความคิดเห็นของตนเองไปพร้อมๆกับการพูดถึงประเด็น
                      ความรู ้ มีการแสดงความตระหนักผ่านการแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ มีความ
                      พยายามที่จะแสดงความคิดเห็นในมุมมองต่าง ๆ คัดเลือกตัวอย่างได้อย่าง
                                           ่
                      เหมาะสม แม้วาจะมาจากแหล่งความรู ้ที่มีความหลากหลายน้อย
         7 -8         ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็ นอิสระเพียงพอ ผูเ้ รี ยนเรี ยบเรี ยงผลงานที่
                      แสดงให้เห็นการคิดอย่างถี่ถวน มีความคิดเห็นที่เป็ นของตนเอง มีความ
                                                  ้
                      ตระหนักรู ้ในฐานะผูรู้ มีการยอมรับความคิดเห็นต่าง ๆ สะท้อนความ
                                               ้
                      พยายามที่จะค้นคว้าความรู ้ มีตวอย่างที่เป็ นจริ งและหลากหลาย
                                                    ั
        9 -10         ผลงานมีหลักฐานแสดงความคิดที่เป็ นอิสระมาก ผลงานมีความคิดอิสระ
                      การค้นคว้าอย่างมีวจารณญาณ มีความตระหนักในประเด็นความรู ้ มีความ
                                             ิ
                      ตระหนักในตนเอง มีการพิจารณาความคิดเห็นต่าง ๆ อย่างจริ งจัง ตัวอย่างที่
                      เลือกมามีหลากหลายและมีการใช้อย่างจริ งจัง




ค. คุณภาพของการวิเคราะห์ประเด็นความรู ้
   (Quality of analysis of knowledge issues)

     ระดับสั มฤทธิ์                                    ตัวชี้วด
                                                              ั
42




              0                   ่
                      ผลงานไม่ผานเกณฑ์ระดับ 1
             1–2      ไม่มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู ้ มีเพียงคาบรรยายไม่สะท้อนความ
                      พยายามที่จะแสดงเหตุผลเกี่ยวกับประเด็นสาคัญ มีหลักฐานเพียงเล็กน้อย
                      ที่ยนยัน ความตระหนักรู้ในประเด็นความรู้
                          ื
             3–4      มีการวิเคราะห์บางประเด็นความรู ้ แต่บรรยายอย่างกว้างๆ สะท้อนความ
                      พยายามที่จะแสดงเหตุผลในประเด็นสาคัญ มีขอโต้แย้งที่เกี่ยวข้อง ไม่
                                                                      ้
                      แสดงประเด็นขัดแย้งอย่างชัดเจน
             5–6      มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู ้ ประเด็นส่ วนใหญ่มีการให้เหตุผล และข้อ
                      โต้แย้ง มีความต่อเนื่อง
             7 -8     มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู ้อย่างลึกซึ้ ง มีรายละเอียดของความรู ้อย่าง
                      สอดคล้องและประเด็น หรื อเกือบจะทั้งหมด มีการให้เหตุผลและข้อ
                      โต้แย้งอย่างสอดคล้องและมีความต่อเนื่อง
          9 -10       มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู ้อย่างลึกซึ้ งมาก มีรายละเอียดของความรู ้
                      ประเด็นทั้งหมดทุกประเด็นมีการให้เหตุผลและข้อโต้แย้งอย่างสอดคล้อง
                      มีความต่อเนื่องตามข้อบังคับนัยต่าง ๆ ทุกประเด็น ได้มีการค้นคว้าให้
                      เหตุผลทุประเด็น




ง. การเรียบเรียงความคิด          ( Organization of ideas )
  ระดับผลสั มฤทธิ์                                     ตัวชี้วด
                                                              ั

         0               ่
                     ไม่ผานเกณฑ์ระดับ 1
43




1-2           การเขียนเรี ยบเรี ยงผลงานการลาดับเป็ นไปตามรู ปแบบใดบ้าง ถ้าน้อยมาก เข้า
              ใจความตั้งใจของผูเ้ ขียนได้ยากมาก ข้อมูลนี้เป็ นข้อเท็จจริ ง มีขอผิดพลาดที่
                                                                              ้
              ชัดเจน ไม่มีการค้นคว้า ไม่อางอิงแหล่งค้นคว้า
                                          ้

3-4           การเขียนเรี ยบเรี ยงผลงานการลาดับเนื้อหาเป็ นไปตามรู ปแบบโครงสร้างน้อย
              บางครั้งเข้าใจความตั้งใจของผูเ้ ขียนได้ยากมาก มีความพยายามที่จะอธิ บาย
              ความหมายของข้อความต่างๆ แต่อธิ บายได้ไม่ชดเจน ข้อมูลที่เป็ นข้อเท็จจริ งไม่
                                                             ั
              น่าเชื่อถือ(มีขอผิดพลาดบ้างเล็กน้อย เช่น การอ้างอิงแหล่งข้อมูลไม่น่าเชื่อถือ) มี
                             ้
              การอ้างอิงแหล่งค้นคว้าและความคิดเห็น การสื บค้นและการอ้างอิงไม่สมบูรณ์

5-6           การเขียนเรี ยบเรี ยงผลงาน การลาดับเนื้อหาอยูในระดับเป็ นที่น่าพอใจ การยึด
                                                          ่
              รู ปแบบโครงสร้าง มีการอธิ บายประเด็นปั ญหาอย่างเหมาะสม ข้อมูลที่ใช้ในการ
              ยืนยัน สนับสนุนส่ วนใหญ่มีความคิดถูกต้อง มีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้าและอ้างอิง
              ความคิดที่สามารถสื บทราบแหล่งที่มา แม้บางครั้งจะขาดความชัดเจนบ้าง การใช้
                    ่
              คาอยูในจานวนที่กาหนดในการเรี ยบเรี ยง

7-8           การเขียนเรี ยบเรี ยงผลงาน การลาดับเนื้อหาตามรู ปแบบโครงสร้างได้ดี มีการ
              อธิ บายประเด็นปั ญหาสาคัญอย่างชัดเจน มีการให้คาอธิ บายขยายความประเด็น
              ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ข้อมูลที่ใช้ในการยืนยันสนับสนุนความคิดมีความ
              ถูกต้อง มีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้า และอ้างอิง ซึ่ งการอ้างอิงส่ วนใหญ่สามารถสื บ
                                                                     ่
              ทราบแหล่งที่มาได้ มีการใช้คา การใช้คาในการเรี ยนอยูในจานวนที่กาหนด

9-10      การเขียนเรี ยบเรี ยงผลงาน การลาดับเนื้อหาเป็ นไปตามรู ปแบบโครงสร้างดีมาก มี
          การอธิ บายประเด็นความรู ้ ปั ญหาอย่างชัดเจนและเหมาะสมพร้อมให้คาอธิ บาย
          ประกอบอย่างละเอียด ข้อมูลที่ใช้ในการยืนยันสนับสนุนความคิดมีความถูกต้อง
          บอกแหล่งค้นคว้าอ้างอิงที่สามารถสื บทราบแหล่งที่มาได้ การใช้คาในการเรี ยบ
                   ่
          เรี ยงอยูในจานวนที่กาหนด
  ตอนที่ 2 การประเมินงานนาเสนอ (Oral)
  ก.ลักษณะของประเด็นความรู ้ (Identification of Knowledge issues)

 ระดับผลสั มฤทธิ์                                     ตัวชี้วด
                                                             ั
        0                        ่
                    การนาเสนอไม่ผานเกณฑ์ระดับ 1
Tok

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Tok

Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma core
YajokZ
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
guest3650b2
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
Tongsamut vorasan
 
เน็ตพูด
เน็ตพูดเน็ตพูด
เน็ตพูด
panneem
 
จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8
MilkOrapun
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
Tongsamut vorasan
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
Panda Jing
 
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรมความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
alibaba1436
 

Semelhante a Tok (20)

คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
Dhamma core
Dhamma coreDhamma core
Dhamma core
 
โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์โอวาทพระอาจารย์
โอวาทพระอาจารย์
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
เน็ตพูด
เน็ตพูดเน็ตพูด
เน็ตพูด
 
จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ทายซิอะไรเอ่ย?
โครงงานคอมพิวเตอร์ ทายซิอะไรเอ่ย?โครงงานคอมพิวเตอร์ ทายซิอะไรเอ่ย?
โครงงานคอมพิวเตอร์ ทายซิอะไรเอ่ย?
 
Mainidea
MainideaMainidea
Mainidea
 
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
Dhamma nearby 16/06/2011volume 54
 
น้ำตาคนชั่ว (บุญช่วย ทองมาลัย)
น้ำตาคนชั่ว (บุญช่วย ทองมาลัย)น้ำตาคนชั่ว (บุญช่วย ทองมาลัย)
น้ำตาคนชั่ว (บุญช่วย ทองมาลัย)
 
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่2(วรเชษฐ์ )
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
 
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรมความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
 

Mais de อัครเดช โพธิญาณ์

เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลายเอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
อัครเดช โพธิญาณ์
 

Mais de อัครเดช โพธิญาณ์ (19)

หน่วยที่ 1 การสืบค้นข้อมูล
หน่วยที่ 1 การสืบค้นข้อมูล หน่วยที่ 1 การสืบค้นข้อมูล
หน่วยที่ 1 การสืบค้นข้อมูล
 
ประมวลการสอน
ประมวลการสอนประมวลการสอน
ประมวลการสอน
 
Test
TestTest
Test
 
chapter 3 คำสั่งควบคุม
chapter 3 คำสั่งควบคุมchapter 3 คำสั่งควบคุม
chapter 3 คำสั่งควบคุม
 
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
บทที่ 3 คำสั่งควบคุม ส่วนที่ 1
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Cchapter 1
Cchapter 1 Cchapter 1
Cchapter 1
 
เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลายเอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
เอกสารแบบรางาน โครงงานบทที่ 2 ม.ปลาย
 
11 biodata
11 biodata11 biodata
11 biodata
 
10 bibliography
10 bibliography10 bibliography
10 bibliography
 
8 chapter4
8 chapter48 chapter4
8 chapter4
 
7 chapter3
7 chapter37 chapter3
7 chapter3
 
5 chapter1
5 chapter15 chapter1
5 chapter1
 
4 content
4 content4 content
4 content
 
12 kumnum
12 kumnum12 kumnum
12 kumnum
 
3 abstract
3 abstract3 abstract
3 abstract
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
1 titlepage
1 titlepage1 titlepage
1 titlepage
 

Tok

  • 2. 19 ทฤษฎีความรู ้ (Theory of Knowledge : TOK) ธรรมชาติวชา (Nature of the Subject) ิ ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge :TOK) หรื อรู ้จกกับในอีกชื่อ ั ่ หนึ่งว่า ญาณวิทยา ( Epistemology ) เป็ นสาระที่วาด้วยการแสวงหาความรู ้ เพิ่มเติมอย่างลึกซึ้ งในสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนรู ้ (knowing) ว่าด้วยการค้นคว้าและ แสวงหาความรู้ เพื่อพิสูจน์ประเด็นความรู้ ข้อค้นพบหรื อสมมติฐานของ ความรู ้ที่ผเู ้ รี ยนได้รับรู ้ และเป็ นที่ยอมรับ ว่าด้วยการส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนรู ้จก ั ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของความรู ้ ว่าด้วยการจัด ประสบการณ์ให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้กระบวนการรับรู้ในลักษณะที่เป็ นวัฒนธรรม ของการรับรู้และการรับรู้ที่ใช้ความรู้สึก และว่าด้วยการปลูกฝังการสร้าง ความเข้าใจที่เป็ นสากลให้แก่ผเู้ รี ยน วัตถุประสงค์ (Objectives) การจัดการเรี ยนการสอนสาระทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge : TOK ) มีวตถุประสงค์ เพื่อให้ผเู้ รี ยนสามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ั ตั้งสมมติฐานและการหาคาตอบเกี่ยวกับสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนรู ้ (Knowing) สามารถตั้ง คาถามให้ คาอธิบาย แสดงความคิดเห็นต่าง ๆ รู ้จกหาทางออกในการแก้ปัญหา ั ได้อย่างกระจ่างชัด สามารถเชื่ อมโยงความรู้ เปรียบเทียบวิธีการแสวงหา ความรู ้เกี่ยวกับสาขาวิชาต่างๆ และวิธีการรับความรู ้ (Ways of Knowing ) จานวน 4 วิถีทาง ได้แก่วธีการสร้างความรู้จากการสัมผัสรับรู้ (Sense ิ 1 Perception) สร้างความรู้จากการใช้ภาษา (Language) สร้างความรู้จากการให้ เหตุผล (Reason) และการสร้างความรู ้จากสิ่ งที่เป็ นอารมณ์ (Emotion) วิธการรับรู ้ความรู ้ (Ways of Knowing) ี การเรี ยนรู้สาระทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge TOK) มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกค้นคว้าหาความรู ้ โดยผ่านวิธีการรับความรู ้ ั 4 ประการ ได้แก่ การรับรู ้ความรู ้ดวยความรู ้สึก การสัมผัสรับรู้ ้
  • 3. 20 (Sense Perception) ด้วยภาษา (Language) ด้วยอารมณ์ (Emotion) และ ด้วยการให้เหตุผล (Reason) ึ การรับความรู ้ด ้วยความรู ้สก (Sense Perception) การรับรู้ ความรู้ ด้วยความรู้ สึกจากการ สั มผัสรับรู้ (Sense Perception) หมายถึง ปฏิกิริยาทางกายของมนุษย์ท่ีเกิดขึ้นจากสิ่ งกระตุน ้ ต่างๆ รอบๆตัวเรา ความรู ้สึกภายนอกที่เกิดจาก การสัมผัส ได้ แก่ รู ป รส กลิน เสี ยง สั มผัส เช่น ได้ยน ชิมรสชาด การสัมผัส ่ ิ ได้กลิ่นและมองเห็น และเกิดความรู ้สึกจากภายใน ได้แก่ หิ ว เจ็บปวด และสิ่ ง เร้าต่างๆ ปั จจุบนการเรี ยนการสอนเกี่ยวกับการรับรู ้โดยใช้ความรู ้สึกจาก ั การสัมผัสรับรู้ ( Sense perception ) มีการเรี ยนการสอนในสาขาจิตวิทยา (ทฏษฎีการรับรู้ : Gestalt theory of psychology ) เป็ นการเรี ยนเกี่ยวกับ กระบวนการรับรู้ โดยพูดถึงอวัยวะที่ทาหน้าที่รับรู้ความรู้สึกถูกกระตุนด้วย้ ข้อมูลที่เป็ นความรู้สึก สมองจะแปลข้อมูลที่เป็ นความรู้สึกเป็ นการสัมผัสรู้ ที่เป็ นความรู้สึก( Sensation ) ได้แก่ เสี ยง รสชาด อุณหภูมิ ความกดอากาศ กลิ่น และ การมองเห็น ดังนั้น การได้กลิ่นอาหาร เราสามารถรับรู ้ได้วาเป็ น ่ ่ ขนมประเภทใด สิ่ งที่เห็นมีรูปลักษณ์ เราก็รับรู ้ได้วาเป็ น “นก ผีเสื้ อ คน ่ ่ ฯลฯ ” สัมผัสรู ้วาเป็ นของเหลวร้อน เราสามารถรับรู ้ได้วาเป็ นน้ าร้อน เป็ น ต้น ดังนั้น ในการจัดการเรี ยนการสอน ให้ผเู ้ รี ยนได้รู้จกการรับความรู ้ดวย ั ้ ความรู ้สึก ดังตัวอย่าง
  • 4. 21 ตัวอย่างที่ 1 ( ใช้เพลงเป็ นสื่ อในการจัดการเรี ยนรู ้ ) มีแนวทาง ดังนี้ 1. ครู ให้ผเู ้ รี ยนศึกษาเนื้อเพลง ใดเพลงหนึ่งที่เป็ นการแสดง ่ ั เพลง เล่าสูกนฟั ง ฉันยังจาเสมอที่เธอเคยบอกกับฉัน คิดแล้วยังตื้นตันเกินอธิ บาย ความรู ้สึก ในที่น้ ียกตัวอย่างเพลง นึกถึงคาๆนั้นทุกวันที่ห่างกันไป เหมือนมันเป็ นโยงใยที่ส่งถึงกัน “ เล่าสู่ กนฟัง เพลง “ สายฝน ” ั ่ ไม่วาเราจะโชคดี หรื อบางทีที่ร้องไห้ ต่างคนสนใจจะฟัง ทั้งที่เป็ นภาษาไทยและเป็ น เพราะว่าในชีวตเรื่ องจริ งมันต่างจากฝัน ฝันไม่เคยมีวนที่เจ็บช้ าใจ ิ ั ภาษาอังกฤษ ่ มีผคนอยูรอบกาย เหมือนไม่มีไม่เห็นใคร แต่ใจๆฉันยังมีเธอ ู้ 2. ครู ผสอนให้ผเู้ รี ยนศึกษา ู้ คืนที่ไร้แสงไฟ วันที่ใจมัวหม่น ขอเพียงใครสักคนห่วงใยกัน ความหมายและความรู้สึกที่ ั ั ่ ั วันที่เสี ยน้ าตา วันที่ฟ้าเปลี่ยนผัน เธอก็ยงมีฉนอยูท้ งคน ผูประพันธ์ถ่ายทอดผ่านเพลง ้ *** ฝนที่ตกทางโน้น หนาวถึงคนทางนี้ ยังอยากได้ยนทุกเรื่ องราว ิ ยังนอนดึกอยูใช่ไหม เธอผอมไปหรื อเปล่า อย่าลืมเล่าสู่ กนฟัง ่ ั คืนที่ไร้แสงไฟ วันที่ใจมัวหม่น ขอเพียงใครสักคนห่วงใยกัน ั ั ่ ั วันที่เสี ยน้ าตา วันที่ฟ้าเปลี่ยนผัน เธอก็ยงมีฉนอยูท้ งคน ่ (เพราะ) ฝนที่ตก (อยู) ทางโน้น หนาวถึงคนทางนี้ ยังอยากได้ยนทุกเรื่ องราว ิ เธอลาบากอะไรไหม เธอสู ้ไหวหรื อเปล่า อย่าลืมเล่าสู่ กนฟัง ั ่ (เพราะ)ฝนที่ตก (อยู) ทางโน้น หนาวถึงคนทางนี้ ยังอยากได้ยนทุกเรื่ องราว ิ เธอลาบากอะไรไหม เธอสู ้ไหวหรื อเปล่า อย่าลืมเล่าสู่ กนฟัง ั เธอยังขาดอะไรไหม เธอสู ้ไหวหรื อเปล่า อย่าลืมเล่าสู่ กนฟัง เธอยังมีฉนอยูท้ งคน ั ั ่ ั
  • 5. 22 เพลง สายฝน เมื่อลมฝนบนฟ้ ามาลิ่ว Rain winds sweep across the plain. ต้นไม้พลิ้วลู่กิ่งใบ Thunder rumbles on high. เหมือนจะเอนรากคลอนถอนไป Lightening flashes; Bows the grain. แต่เหล่าไม้ยงกลับงาม ิ่ Birds in fright nestward fly. พระพรหมท่านบันดาลให้ฝนหลัง ่ But the rain pours down in blessing; เพื่อประทังชีวตมิทราม ิ Filled with cheer our hearts expand. น้ าทิพย์สาดเป็ นสายพรายพลิ้วทิวงาม As the woods with notes of pleasure ring, ทัวเขตคามชุ่มธารา ่ Sunlight streams o'er the land. สาดเป็ นสายพรายพลิ้วทิวทุ่ง Bright the rainbow comes in view. แดดทอหรุ ้งอร่ ามตา All the world's cool and clean. รุ ้งเลื่อมลายพร่ างพรายนภา Angels' tears the flowers renew. ยามเมื่อฝนมาแต่ไกล Nature glistens in green. พระพรหมช่วยอานวยให้ชื่นฉ่ า Rain beads sparkle in your hair, love. เพื่อจะนาดับความร้อนใจ Rainbows glitter when you smile. น้ าฝนหลังลงมาจากฟ้ าแดนไกล ่ Thus we soon forget the clouds above, พืชพรรณไม้ชื่นยืนยง Beauty so does beguile. ได้แก่ การได้ยน รสชาติ สัมผัส กลิ่นและสิ่ งที่เห็นและผูเ้ รี ยนอ้างอิงความรู ้ท่ีได้จากการรับรู ้ความรู ้ ิ ด้วยความรู้สึก เพื่อวิเคราะห์ประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปั ญหาของการค้นคว้าหาความรู ้เพิ่มเติม เช่น
  • 6. 23 ตัวอย่างที่ 3 ใชภาพชวตเป็ นสอการเรียนการสอน ้ ี ิ ื่ คาถาม ให้ ผ้ ูเรียนได้ ตอบคาถาม ( ภาพของ Jules BASTIEN, Lepage Party : Les enfants pecheurs ในลักษณะดังต่ อไปนี้ 1.จงระบุสิ่งที่ท่านเห็นในภาพ 2.จงบอกความรู ้สึกของท่านจาก การที่ได้เห็นสิ่ งต่างๆที่ปรากฏอยู่ ในภาพ ตัวอย่างที่ 3 การใชภาพสตว์เป็ นสอการเรียนการสอน ้ ั ื่ ในโลกรอบๆตัวเรา มี “สัตว์ “ ที เ่ ป็ นสิ่ งมี ชีวิตที สามารถรับรู้ดวยความรู้สึก เช่น ปลาโลมาและค้างคาว ่ ้ มี ระบบโซนาร์ เป็ นเครื ่องนาทาง นกพิราบมี ระบบแม่เหล็กนาทางกลับบ้าน หมาป่ ามี ระบบการสัมผัสกลิ่ นได้ดี นกอิ นทรี ย์มีความสามารถในการมองเห็นดี เยี ยม สิ่ งเหล่านี เ้ ป็ นสิ่ งที อยู่รอบตัวเรา ซึ่ งผูเ้ รี ยนควรได้เรี ยนรู้ ่ ่ ในการจัดการเรี ยนการสอน ครู สามารถจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู้ได้ในลักษณะ ดังตัวอย่าง 1.ครูใช้ รูปภาพเป็ นสื่อในการเรียนการสอน ใช้ ล้ นสัมผัสของงู การรับรู้โดยคลื่นเสียงของปลาวาฬ ระบบคีโมของตัว ิ 2.ให้ ผ้ ูเรียนศึกษาภาพ (เป็ นงานเดี่ยวหรือ หนอน เป็ นต้ น ) งานกลุ่ม ) และค้ นหาความรู้สกที่สตว์ท้ง 2 ึ ั ั 3.ครูให้ ผ้ ูเรียนจินตนาการและเขียนความรู้สกของสัตว์ท้งสอง ใช้ เวลา ึ ั ตัว แสดงออกโดยครูช้ ีนาให้ ผ้ ูเรียนใช้ ความรู้ 10–15 นาที่ และให้ ทุกคนอ่านสิ่งที่ตนเองเขียนหน้ าชั้นเรียน ที่เรียนจากชีววิทยา ( ระบบการสัมผัสของ ปลา ระบบการรับรู้เสียงของค้ างคาว การ
  • 7. 24 ้ ั ื่ ตัวอย่างที่ 4 การใชสญลักษณ์เป็ นสอการเรียนการสอน ในการจัดการเรี ยนการสอน ครู ใช้สัญลักษณ์เป็ นสื่ อ โดยให้ผเู้ รี ยนใช้กระบวนการ “ตีความ” (Interpretation) โดยให้ผเู้ รี ยน ทา กิจกรรม ดังนี้ 1. ดูภาพที่กาหนดให้ และบอก ความเข้าใจของตนเอง 2. อธิ บายความหมายของสิ่ งที่ผเู ้ รี ยน เห็นและเข้าใจ 2 การรับรู ้ความรู ้ทางภาษา (Language) เป็ นการรับรู ้ความรู ้จากการสื่ อสารด้วยภาษา ได้โดยสัญญลักษณ์ต่างๆ ( Symbols) สัญญาณ (Signs) ภาษากาย ( Body language) ภาษาพูด ( Language) ซึ่ งภาษาประเภทต่าง ๆ สามารถเป็ นเครื่ องมือที่นาไปสู่ ความคิดและภาษาสามารถสะท้อนเรื่ องราวของตนเองได้ การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ครู ผสอน สามารถดาเนินการได้ ดังนี้ ู้ 1.ใช้สัญลักษณ์ (symbols) และป้ ายสัญญาณเครื่ องหมาย ( Signs ) เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอน
  • 8. 25 2.ให้ผเู ้ รี ยนบอกความหมายของสิ่ งที่ผเู ้ รี ยนเห็นและรับรู ้ ้ ใชคาหรือประโยค เป็ นสอในการเรียนการสอนื่ ครู หาตัวอย่างประโยคที่ใช้คาที่เขียนเหมือนกันและมีความหมายแตกต่างกัน เช่น - เขาเป็ นคนมี อารมณ์ ขน ั - ขันเชื อกให้แน่น - กรุณาตักน้าให้สามขัน - เขาขันอาสาในการทางานทุกครั้ง ภาษาอังกฤษ - I saw a dove on a tree. (นกเขา ) - He dove into the water. (ดาน้ า) ครู ให้ผเู้ รี ยนศึกษาประโยคและอธิบายความหมายที่ผเู้ รี ยนเข้าใจ ้ ั ใชสญลักษณ์ทเกียวข ้องกับศาสนา ความเชอ ี่ ่ ื่ และวัฒนธรรมประเพณีทเป็ นทีรู ้จักทั่วโลกเป็ น ี่ ่ ื่ สอการเรียนการสอน ครู ให้ผเู้ รี ยนบอกความหมายของสัญลักษณ์ความเชื่อและวัฒนธรรมประเพณี ต่างๆ
  • 9. 26 ้ ื่ ใชธงของประเทศต่างๆเป็ นสอการเรียนการสอน 1. ครู ให้ผเู ้ รี ยนบอกความหมายของธงของประเทศต่างๆ 2. ครู ให้คนคว้าหาเหตุผล “ทาไมต้องโบกธง ฯลฯ เป็ นต้น ้ ้ ั ่ื ใชรูปแบบสญลักษณ์อนๆเป็ นสอการเรียนการสอน เช่น ื่
  • 10. 27 นอกจากนี้ ครู ผสอนสามารถนา ภาษากาย (Body language ) ภาพถ่าย ภาพการ์ ตูนที่แสดงเหตุ ู้ 3 ภาษาในวรรณกรรม เป็ นต้นมาเป็ นสื่ อในการเรี ยนการสอน การรับรู ้ความรู ้ด ้วยอารมณ์ (Emotion) การรับรู้ความรู้ ดวยอารมณ์ (Emotion) เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับความฉลาดทางอารมณ์ ้ (Emotional intelligence) เป็ นการเรี ยนรู้โดยการค้นคว้าหาความรู ้ท้ งจากที่เป็ นอารมณ์ของ ั ตนเอง (Intrapersonal intelligence) และทั้งที่เป็ นอารมณ์ของผูอื่น (Interpersonal intelligence) ้ การรับรู้ดวยอารมณ์ (emotion) จะต้องเชื่อมโยงกับการรับรู ้ทางความรู ้สึกจากการสัมผัสรับรู้ (Sense ้ Perception) การรับรู้ความรู้ทางภาษา (Language) และการรับรู้ความรู้โดยให้เหตุผล (reason) ดังนั้น ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนเป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้องกับสมองและการเรี ยนรู ้ ผูสอนสามารถใช้สื่อการเรี ยนการสอน ดังนี้ ้ 1. ใช้ภาพที่เกี่ยวกับภาษากาย ( body language ) เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอน ท่าทาง ( gestures ) ที่ เชื่อมโยงกับอารมณ์ เช่น ใช้ภาพการ์ ตูน และให้ผเู ้ รี ยนบอกอารมณ์ของตัวละครในเรื่ อง เป็ นต้น ภาพยนตร์การ์ตน เรือง Full house ู ่
  • 11. 28 f ouse
  • 12. 29 2. ใช้สถานการณ์จาลอง ( simulation ) เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอน โดยให้นกเรี ยนแสดงท่าทางที่บอกอารมณ์ และ ั ให้เพื่อนๆ สังเกตอาการนั้นๆและแสดงความคิดเห็น เป็ นต้น 3. ใช้ขอความหรื อเนื้อเรื่ อง ( text ) บทสนทนา ( dialogue ) และบทประพันธ์ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอนต่างๆ ้ เกี่ยวกับอารมณ์ ความเชื่อ ที่สะท้อนอารมณ์ของผูประพันธ์และตัวละครในเรื่ อง เป็ นสื่ อการเรี ยนสอน แล้วให้ ้ ผูเ้ รี ยนศึกษา วิเคราะห์และตีความอารมณ์ของผูเ้ ขียนหรื อตัวละคร
  • 13. 30 4 การรับรู ้ทางความรู ้โดยเหตุผล (Reason) เป็ นการรับรู้ความรู้โดยเหตุผล (reason) เป็ นการใช้ขอมูลรายละเอียด ้ (information) ในลักษณะโน้มน้าว (induce) สื บสาวเหตุผล (deduce) สรุ ป ความ (infer) ลงความเห็นเป็ นหลักการ (generalize) ระบุลกษณะเฉพาะ (Specify) ั ยืนยันลักษณะความเหมือน (recognize similarities ) และจากนั้นเป็ นการตัดสิ น (judge) และโต้แย้ง สนับสนุนและคัดค้านอย่างเต็มที่เกี่ยวกับสิ่ งที่เป็ นจริ ง สิ่ งดี สิ่ งที่ ถูกต้องและสิ่ งที่สวยงาม ในการจัดการเรี ยนการสอน ครู ผสอนจะต้องให้ผเู้ รี ยนได้เรี ยนรู้ในเรื่ องของ ู้ การให้เหตุผล ( reasoning ) ในเนื้อหาต่อไปนี้ ความหมายของการให้เหตุผล รู ปแบบ การให้เหตุผล ได้แก่ การให้เหตุผลแบบอุปมัย ( Inductive Reasoning ) การให้เหตุผล แบบนิรมัย ( Deductive Reasoning ) ความสมเหตุสมผล ได้แก่ เหตุ (สิ่ งที่เรากาหนด หรื อสมมติฐาน) และผล (ผลสรุ ปหรื อข้อสรุ ป ) เป็ นต้น โดยสรุ ปวิธีการรับรู ้ความรู ้ท้ ง 4 วิธีสามารถแสดงเป็ นแผนภูมิ ได้ดงนี้ ั ั กลุมสาระการเรียนรู ้ ่ (Area of Knowledge) คณิตศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ วิธการร ับความรู ้ ี (Ways of knowing) อารมณ์ ( เหตุผล ภาษาอังกฤษ ิ ศลปะ ผูเรียน ้ (Emotion) Knowers (Reason) ( ( ึ ความรู ้สก ภาษา (Perception (Language) ั ึ สงคมศกษา/ ) ( ศาสนา ( /วัฒนธรรม ึ สุขศกษา ประวัตศาสตร์ ิ ี การงานอาชพ
  • 14. 31 การจัดการเรี ยนการสอน TOK ไม่ใช่การสอนเนื้อหา แต่เป็ นการจัดกระบวนการ เรี ยนรู ้ แสวงหาความรู ้เพิ่มเติมจากการค้นคว้าและนาผลจาการค้นคว้ามาเขียนเป็ นรายงานผล การค้นคว้า มีความยาว 1,200 – 1,600 คา การออกแบบการจัดการเรียนรูสาระ ้ TOK การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนสาระ TOK เป็ นภาระงานของโรงเรี ยน ของครู ผสอนและครู ท่ีปรึ กษา ซึ่ งแต่ละฝ่ ายมีภาระงานที่ตองดาเนินการ ดังนี้ ู้ ้ ่ 1.หน้าทีความรับผิดชอบ ทั้งโรงเรียน เลือกจานวน 15 – 20 ประเด็น ของสถานศึกษา ความรู้ จัดทาเอกสาร รวบรวม ประเมินความรู้/หัวข้ อ/ปัญหา สาหรับผู้เรียน โดยมอบหมาย 4 เมื่อโรงเรียนได้ เรียบเรียงประเด็นความรู้ ( Knowledge issues ) เป็ นที่เรียบร้ อยแล้ ว โรงเรียนจะต้ องจัดทาเอกสาร รวบรวม ให้ ครูของแต่ละสาระการเรียนรู้ ประเด็นความรู้/หัวข้ อ/ปัญหาทั้งหมด ซึ่งโดยทั่วไป ทุกคนเป็ นผู้ร่วมคิดโดยมี แล้ วแต่ละปี โรงเรียนจะกาหนด กระบวนการและขั้นตอนการดาเนินการ ดังนี้ ไว้ ไม่เกิน 20 ประเด็นความรู้ สาหรับให้ ผ้ ูเรียนเลือกเป็ น 1 จัดประชุมครูผ้ ูสอนทุก กลุ่มสาระการเรียนรู้ ประเด็นค้ นคว้ าเพื่อให้ เป็ น มาตรฐาน (Standard) เดียวกันทั้งโรงเรียน 2 มอบหมายให้ ครูผ้ ูสอน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้กาหนด 5 แต่งตั้งครูผ้ ูสอนให้ เป็ นที่ปรึกษาของผู้เรียนทุกคน (แม้ ครูผ้ ูสอนไม่ใช่ครูผ้ ูสอนสาระ TOK) ประเมินความรู้/หัวข้ อ/ปัญหา สาหรับการค้ นคว้ า เพิ่มเติมของผู้เรียน 6 มอบหมายให้ ครูผ้ ูสอนดาเนินการให้ นักเรียน เลือกประเด็นความรู้/หัวข้ อ/ปัญหา 3 ดาเนินการพิจารณาคัดเลือกประเด็นความรู้/ หัวข้ อ/ปัญหา สาหรับให้ ผ้ ูเรียน คนละ 1 เรื่อง เพื่อให้ มีการดาเนินการอย่างเป็ น ระบบโรงเรียน ควรมีแบบฟอร์มสาหรับลงทะเบียน ซึ่งในที่น้ ีจะนาเสนอตัวอย่าง
  • 15. 32 ตัวอย่างประเด็นความรู ้ /หัวข ้อ/ปั ญหาของสาระ TOK สาหรับให ้ผู ้เรียนเลือก ึ (สาหรับระดับมัธยมศกษา) 1.อภิปรายวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น อธิบายเชิงประวัติศาสตร์กบวิธีการ ั สามารถนาไปใช้ในการ สืบค้นทางวิทยาศาสตร์ เพื่อการ สร้างสรรค์ศิลปะได้หรือไม่อย่างไร จากการสะสมข้อเท็จจริง อธิบายเชิงวิทยาศาสตร์ เช่นเดียวกับ 13 .ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรที่ ศาสตร์สาขา 7 .การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของ ในปั จจุบนได้มีการเฉลิมฉลองวัน ั อื่นๆ ประเทศในโลก มีผลกระทบอย่างไร แห่งผืนพิภพ ซึงเรียกชื่อเป็ น ่ (กล่าวถึงสาระ กับประเทศไทยและ ภาษาอังกฤษ การเรียนรูอ่น ้ื ด้านใดบ้าง ว่า Earth Day ในนานาประเทศ ๆ อย่างน้อย 3 8 .การรูจกวิถี ้ั อย่างเป็ นสากล สาระ) ชีวตของบรรพชน ิ 14 .อภิปรายแรงบันดาลใจ 2 .อภิปรายวรรณคดีสามารถ ไทย สามารถ ศึกษาได้จาก (Inspiration) ของผูประพันธ์นว ้ สะท้อนความจริง และวัฒนธรรม นิยาย เรื่อง “ข้างหลังภาพ” ของมนุษยชาติได้ดีกว่าศาสตร์ ด้าน ร่องรอยหรือ หลักฐานใดบ้าง ่ ่ 15.ในฐานะทีทานเป็ นพลเมืองของ ศิลปะหรือศาสตร์ดานอื่น ๆ ้ ประเทศและในฐานะสมาชิกของ 3 ่ .อภิปรายคาพูดทีกล่าวว่าปรัชญา 9 .ศึกษาวิธีการเรียนภาษาอังกฤษ สังคม ท่านคิดว่าท่านจาเป็ นต้อง เศรษฐกิจเป็ นอุปสรรคหรือ ซึงปั จจุบนถือเป็ นภาษาสากลที่ ่ ั รับผิดชอบในการเรียนรูและแสวงหา ้ ่ ั่ ประโยชน์ตอการพัฒนาทียงยืนของ ่ เหมาะสมเพื่อให้เด็กไทยสื่อสารได้ ความรูอภิปราย ้ อย่างมีทกษะ ั ประเทศและ 16 .“ความสุข” เป็ นสิ่งสาคัญทีทก ่ ุ ความมีชีวตที่ิ 10 .ท่านมีความคิดเห็นอย่างไรกับ คนปรารถนาให้เกิดขึ้นในชีวตของิ ่ มันคง ผาสุข ่่ คากล่าวทีวากิจกรรมลูกเสือและ ตนเอง แต่ทกคนต่างให้ ุ ของประชาชน กิจกรรมเนตรนารี สามารถ ่ คาจากัดความทีไม่เหมือนกัน ใน 4 .ความรูของมนุษย์เกิดขึ้นได้ ้ สร้างเด็กไทยให้เป็ นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ได้แต่ไม่สามารถสร้าง ความคิดเห็นของท่าน อะไรทีเ่ ป็ น อย่างไร องค์ประกอบสาคัญของความสุขที่ เด็กไทยให้เป็ นพลโลกได้ สมปรารถนา 5. ่ เรามันใจได้อย่างไรว่าภาวะโลก 11 .อภิปรายคากล่าว 17 .อภิปรายแนวคิด “การปฎิบติ ั ร้อน (Global Warning) เกิดขึ้น “คณิตศาสตร์” เป็ นศาสตร์ทเี่ กิด ตามหลักการและความเชื่อทางพุทธ จริง จากการค้นพบ (Discovered) หรือ ศาสนามีความสอดคล้องกับ 6.อะไรคือ ความเหมือนและความ การประดิษฐ์คิดค้น (Invented) หลักการและวิธีการทาง วิทยาศาสตร์” แตกต่างระหว่างวิธีการสืบค้นทาง ประวัติศาสตร์ เพื่อการ 12.อภิปรายคากล่าว “คณิตศาสตร์” เป็ นพื้นฐานการ เรียนรูวชาอื่น และ ้ิ
  • 16. 33 18.อภิปรายและแสดงความ ศาสตร์ทดี ( A good historian) ี่ 27.อธิบายความหมายและบทบาท คิดเห็นกับคากล่าวทีวา “ คาสอน ่่ ควรมีคณค่าลักษณะอย่างไร ุ ของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของพระศาสดาทุกศาสนา สามารถ 22 .ในความคิดเห็นของท่านนัก พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ่ นามาซึงความสันติสุขและความ ประวัติศาสตร์ สามารถใช้เป็ นแนว ผาสุขของสังคม” ทางการสร้างความเข้าใจใน เหตุการณ์ปัจจุบนได้หรือไม่ ั 19.ท่านคิดว่า เราสามารถ อย่างไร ประวัติศาสตร์ สามารถ ตัวอย่างประเด็นความรู ้ เปรียบเทียบภาษา (Language) กับ ทานายอนาคตได้หรือไม่ อย่างไร ่ ่ อะไรทีคนรุนใหม่ สามารถถือเป็ น หัวข ้อ/ปั ญหาของสาระ ภาษาสัญลักษณ์รูปแบบต่างๆ ได้ TOK หรือไม่ เช่น เปรียบเทียบภาษามือ บทเรียนทางประวัติศาสตร์ สาหรับให ้ผู ้เรียนเลือก ของผูพิการทางการ ้ 23 ่ .อะไรคือทีมาและธรรมชาติของ ระดับประถมศึกษา ได้ยิน การเต้นรา การวาดภาพ ความรูสึกเกี่ยวกับความสวยงาม ้ ดนตรีหรือกับคณิตศาสตร์ได้ (Beauty) และความสวยงามมี 1.นักเรียนเห็นด้วยกับคากล่าวทีว่ า่ หรือไม่ ภาษาอะไรทีเ่ ป็ นลักษณะ ่ การร่วมและลักษณะทีแตกต่างจาก ความหมายอย่างไร การให้คา “ วัฒนธรรมไทยเป็ นสิ่งทีงดงาม ่ จากัดระดับ “ความสวยงาม” เป็ น รูปแบบภาษาต่างๆ เรื่องเฉพาะสาหรับปั จเจกบุคคล ควรค่าแก่การอนุรกษ์” หรือไม่ ั ดังกล่าว อย่างไร จงแสดงความคิดเห็น (Individual) หรือเป็ นเรื่องเฉพาะ 20 .ประวัติศาสตร์คืออะไร ระดับวัฒนธรรม (Cultures) หรือ 2 .นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไร ประวัติศาสตร์เป็ นการศึกษา เหตุการณ์ในอดีตหรือศึกษาบันทึก เป็ นเรื่องระดับสากล (Universal) เกี่ยวกับ พาดหัวข่าว “สาเหตุ เหตุการณ์ในอดีต และจงอภิปราย ของภัยพิบติทางธรรมชาติเป็ น ั ่่ ้ ี่ คากล่าวทีวา “ผูทควบคุมอดีต 24.ท่านเห็นด้วยหรือไม่วา่ ความรู ้ ผลงานของมนุษย์” ้ ี่ เป็ นผูควบคุมอนาคต ผูทควบคุม ้ ทางด้านศิลปะ สามารถเรียนรูไ้ ด้ ปั จจุบน เป็ นผูควบคุมอดีต” ั ้ จากการคบหาสมาคมกับศิลปิ น 3 นักเรียนได้ใช้ความรูจ้ ากวิชา ผ่านการเรียนรู ้ แรงบันดาลใจ ใดบ้างในชีวตประจาวัน จงแสดง ิ 21 .อะไรคือบทบาทของนัก กระบวนการสร้างสรรค์งาน การ ความคิดเห็นพร้อมยกตัวอย่าง ประวัติศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ สังเกตพฤติกรรมและวิถีชิวต ิ ประกอบ เป็ นผูบนทึกเหตุการณ์หรือคิดสร้าง ้ั รวมถึงผลงานของศิลปิ น เหตุการณ์ และเป็ นไปได้หรือไม่ที่ 4 .นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่กบ ั นักประวัติศาสตร์มีความสามารถที่ 25 .การใช้เทคโนโลยี สามารถ กิจกรรมรณรงค์การปลูกป่ าชาย จะมองเหตุการณ์ หรือเลือกตีความ ขยายความรูใ้ นสาขาวิชาต่าง ๆ ให้ เลน อภิปรายพร้อมยกตัวอย่าง ข้อค้นพบได้อย่างไม่มีอคติ แต่ใน กว้างขวางได้อย่างไร ประกอบ บางกรณีหากมีอคติเกิดขึ้นจาก ความเข้าใจส่วนบุคคลของนัก 26 .แสดงความคิดเห็นกับคากล่าว 5 .นักเรียนมีความรูเ้ กี่ยวกับ ทีวา “ภาษาเป็ นเครื่องมือในการ ่่ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อย่างไร ประวัติศาสตร์ เราสามารถถือเป็ น สื่อสารและสร้างความเข้าใจ อัน และนักเรียนสามารถประยุกต์ใช้ใน การให้เหตุผลได้หรือไม่ ดังนัน ้ ดีระหว่างกันของคนทังโลก” ้ ชีวตประจาวันได้หรือไม่อย่างไร มี ิ ในความคิดของท่านนักประวิต คุณหรือโทษอย่างไร จงแสดง
  • 17. 34 ความคิดเห็น พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ ทฤษฎีความรู ้ ( Theory of Knowledge : TOK ) ชื่อ ...................................................................................... ชั้น ...................................................................... ชื่อประเด็นความรู้สาหรับการค้นคว้า : ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ชื่อครู ผสอน ; .......................................................................................................................................... ู้ ชื่อครู ที่ปรึ กษา .......................................................................................................................................... ชื่อนักเรี ยน ........................................................................................................................................... ลายมือชื่อนักเรี ยน ................................................................................................................................. หน้าที่ความรับผิดชอบของครูท่ีปรึกษา ครู ที่ปรึ กษามีหน้าที่ ดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาและทาความเข้าใจวัตถุประสงค์ 5. ช่วยเหลือ แนะนา และเป้ าหมายของการจัดการเรี ยนการ ให้ผเู้ รี ยนรู้จกหา ั สอน TOK เหตุผล หลักฐาน 2. ทาความเข้าใจ เพื่อประกอบความ เกี่ยวกับเกณฑ์การ คิดเห็น วัดและประเมินผล 6. ช่วยเหลือ แนะนาให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกโต้แย้ง ั ผลงานของผูเ้ รี ยน สนับสนุนและคัดค้าน และสามารถ 3. ส่ งเสริ ม กระตุน สนับสนุน ชี้แนะให้ ้ แสดงความคิดเห็นให้เหตุผลได้อย่าง ผูเ้ รี ยนรู้จกวิธีการคิดค้นคว้าความรู้ ั ลึกซึ้ ง เพิ่มเติมจากพื้นฐานของความรู ้ที่ผเู ้ รี ยน 7. ช่วยเหลือ แนะนาการเรี ยบเรี ยงความคิด ได้เรี ยนจากสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน เป็ นผลงานรู ปแบบ 4. ช่วยเหลือ แนะนาให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจ บทความทาง ประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปัญหา สามารถ วิชาการ กาหนดทิศทางของการค้นคว้าหาความรู ้ 8. วางแผนการทางาน เพิ่มเติม ร่ วมกับผูเ้ รี ยนในความ
  • 18. 35 ดูแลรับผิดชอบโดยให้นกเรี ยนทา ID ั Plan เสนอ ต ัวอย่างแผนการทางานของผูเรียน ้ วัน/เดือน/ปี กิจกรรม หมายเหตุ ( 1 ภาคเรียน ) พฤษภาคม สั ปดาห์ ที่ 1 - ศึกษาเกณฑ์การวัดและประเมินผล TOK (ระบุวน เวลา ั สั ปดาห์ ที่ 2 - เลือกหัวข้อเรื่ องและลงทะเบียน การนัดหมาย ) สั ปดาห์ ที่ 3 - ศึกษาหัวข้อเรื่ อง สั ปดาห์ ที่ 4 - พบครู ที่ปรึ กษาเพื่อหารื อเกี่ยวกับการค้นคว้า มิถุนายน สั ปดาห์ ที่ 5 - พบครู บรรณารักษ์ขอคาแนะนาเกี่ยวกับการค้นคว้า (ระบุวน เวลา ั สั ปดาห์ ที่ 6 - พบครู ผสอนเสนอโครงร่ าง ู้ การนัดหมาย ) สั ปดาห์ ที่ 7 - พบครู ที่ปรึ กษาเสนอโครงร่ าง สั ปดาห์ ที่ 8 - ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งค้นคว้า กรกฎาคม สั ปดาห์ ที่ 9 - พบครู ที่ปรึ กษารายงานความก้าวหน้า (ระบุวน เวลา ั สั ปดาห์ ที่ 10 - ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม การนัดหมาย ) สั ปดาห์ ที่ 11 - จัดทารายการเอกสารอ้างอิงและบรรณานุกรม สั ปดาห์ ที่ 12 - พบครู ที่ปรึ กษาเพื่อรายงานความก้าวหน้า สิ งหาคม สั ปดาห์ ที่ 13 - ลงมือเขียนรายงานการค้นคว้า (ระบุวน เวลา ั สั ปดาห์ ที่ 14 - เขียนรายงานการค้นคว้าหาความรู ้เพิ่มเติม การนัดหมาย ) สั ปดาห์ ที่ 15 - ส่ งผลงานการค้นคว้า (ฉบับร่ าง) ต่อครู ผสอน ู้ สั ปดาห์ ที่ 16 - ส่ งผลงานการค้นคว้าครู ที่ปรึ กษา กันยายน สั ปดาห์ ที่ 17 - ปรับแก้ไขผลงาน (ระบุวน เวลา ั สั ปดาห์ ที่ 18 - จัดทาฉบับจริ ง การนัดหมาย )
  • 19. 36 สั ปดาห์ ที่ 19 - ส่ งผลงานฉบับจริ งและนัดสอบปากเปล่า ( Oral ) สั ปดาห์ ที่ 20 - สอบปากเปล่า ่ หน้าทีและความรับผิดชอบของครูผูสอน ้ 1 ภาระงานและความรับผิดชอบของครู ผสอน สามารถวิเคราะห์ ได้ดงนี้ ู้ ั อธิ บายสิ่ งที่เป็ นประเด็น - มีการโต้แย้งสนับสนุนและคัดค้าน (Argument) ปัญหาของหัวข้อที่ - มีการตังสมมติฐาน และผลการค้นคว้าหรือข้อ ้ 2 8 ผูเ้ รี ยนเลือก ค้นพบ (Assumptions and Implications) .ชี้ แนะ ชี้นาวิธีการ .ติดตาม ความก้าวหน้าของการเขียนงาน TOK วิเคราะห์อะไรเป็ นสาระ ของผูเ้ รี ยนเป็ นระยะ ๆ ตามที่ผเู ้ รี ยนกาหนดไว้ 3 ของประเด็นปัญหา ในแผนการปฏิบติกิจกรรมของตนเอง ั .อธิ บายวิธีการให้คาจากัดความและความหมาย โดยสรุป ครู มีหน้าที และ ่ 4 ของคาสาคัญต่าง ๆ ในประเด็นปั ญหา รับผิ ดชอบช่วยเหลือให้ .อธิบายวิธีการรับความรู้ ( Ways of Knowing ) ผูเ้ รี ยนได้แสดงความ หลักๆ 4 วิธี ได้แก่การรับความรู ้โดยความรู ้สึก คิ ดเห็นหลากหลายมุมมอง ( Sense Perception ) การรับความรู้จากการให้เหตุผล เกี ่ยวกับประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปัญหาทีตนศึกษา ่ ( reason ) การรับความรู้จากภาษา ( language ) การ ซึ่งจะต้องสะท้อนให้เห็น สิ่ งต่อไปนี ้ 5 รับความรู้ดวยวิถีอารมณ์ ( emotion ) ้ - ความคิ ดทีเ่ ป็ นอิ สระของตนเอง .ช่วยให้ผเู ้ รี ยนค้นคว้า แสวงหาความรู ้เพิ่มเติม (Independent thinking) นาเสนอความคิดเห็นในหลากหลายมุมมอง - ความรู้อย่างลึกซึ้ งหรื อตระหนักรู้ในเรื ่องที ่ 6 เกี่ยวกับประเด็นปั ญหา ศึกษา (Self – Awareness) .ช่วยเหลือ ชี้แนะ ช่วยเหลือ - การสะท้อนความคิ ดเห็นของผูเ้ รี ยนใน ให้ผเู้ รี ยนรู้จกการค้นคว้า ั หลากหลายมุมมอง (Different Perspectives) แสวงหาความรู้และการรวบรวม - การยกตัวอย่างประกอบทีหลากหลาย ่ 7 ข้อมูลจากการค้นคว้า (Varied Examples) .ให้คาปรึ กษาในการเรี ยบเรี ยงเป็ นงานเขียน ซึ่ง ผลงานจะต้องสะท้อนให้เห็นสิ่ งต่อไปนี้ ่ หน้าทีและความรับผิดชอบของผูเ้ รียน - ความเข้าใจลึกซึ้งในประเด็นปัญหา (Insight ผูเ้ รี ยนจะต้องรับผิดชอบตนเอง and Depth) ในเรื่ องต่อไปนี้ - อภิปรายตรงประเด็น (Main Point Justified )
  • 20. 37 1. เข้าชั้นเรี ยนสาระ TOK กับครู ผสอน ู้ 6. ส่ งแผนการปฏิบติกิจกรรมของตนเอง ั 2. เลือกประเด็นความรู้/หัวข้อ/ปัญหา ให้แก่ แก่ครู ผสอนและครู ที่ปรึ กษา ู้ สาหรับค้นคว้าเพิ่มเติม 7. ศึกษา ค้นคว้า เขียนงานตามเวลาที่ 3. ศึกษาเกณฑ์การให้คะแนน กาหนดตามแผนในกรณี ที่มีปัญหา ผูเ้ รี ยนจะต้องพบครู ที่ปรึ กษาและ 4. พบครู ที่ปรึ กษา ครู ผสอน ตามกาหนดเวลาของผูเ้ รี ยน ู้ 5. วางแผนการค้นคว้าหาความรู ้เพิ่มเติม 8. เรี ยบเรี ยงความคิดเป็ นเอกสารรายงาน และจัดทาแผนการเขียนงาน TOK ของ ผลการค้นคว้าความยาว 1,200 – 1,600 ตนเอง หรื อที่ เรี ยกว่า แผนการบริ หาร คา ส่ งครู ผสอนโดยผ่านความเห็นชอบ ู้ จัดการตนเอง ของครู ที่ปรึ กษา โดยสรุป ภาระหน้ าที่ของแต่ละฝ่ าย สามารถแสดงเป็ นผังภาระงาน ได้ ดังนี ้
  • 21. 38 สถานศึกษา ครู ผ้ ูสอน ครู ทปรึกษา ี่ ผู้เรียน สอนกระบวนการ ช่วยเหลือ อานวย เลือกประเด็นความรู ้ 1 จัดทาเอกสารรวบรวม เรื่ องสาหรับค้นคว้า และวิธีคนคว้าหา ้ ความสะดวก ประเด็นความรู ้ ความรู ้ ให้แก่ผเู ้ รี ยน ค้นคว้า แสวงหา ความรู ้เกี่ยวกับ มอบหมายครู ผสอน ู้ ดูแลช่วยเหลือผูเ้ รี ยน กากับ ติดตามการ หัวข้อที่เลือก ในการค้นคว้าและ ทางานของผูเ้ รี ยน เขียนรายงาน เขียนรายงานการ แต่งตั้งครู ที่ปรึ กษา ค้นคว้า ความยาว ประเมินผลงานของ ตรวจทานและรับรอง 1,200 – 1,600 คา ผูเ้ รี ยน ทั้งข้อเขียนและ ผลงานของผูเ้ รี ยน ปากเปล่า - ส่งรายงาน - นัดสอบ Oral เกณฑ์การวัดและประเมินผลสาระทฤษฎีความรู ้ ( Theory of Knowledge )
  • 22. 39 ในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้สาระทฤษฎีความรู้ ( Theory of Knowledge ) จาแนกการ ประเมินออกเป็ น 2 ส่ วน คือการประเมินผลงานการเขียนรายงานการค้นคว้า และการสอบปาก เปล่า ( Oral ) เกี่ยวกับผลงานเขียน การประเมินผลงานข้อเขียนภาพรวม ใช้เกณฑ์ 4 C ได้แก่ Content Creativity Critical Thinking และ Clarity ซึ่ งมีความหมายโดยสังเขป ดังนี้ Content : Think: Knowledge Issue เนือหา คิด เกียวกับประเด็นความรู ้ ้ ่ Creativity : Think: Personal Thought ่ ความคิดสร ้างสรรค์ คิด ความคิดสวนตัว Critical Thinking : Think: Arguments การคิดวิเคราะห์ คิด การโต ้แย ้งคัดค ้านและสนับสนุน Clarity : Think: Well Structure Essay ความ ั ชดเจน คิด การเรียบเรียงถูกต ้อง และในการประเมินเนื้อหาที่เป็ นรายละเอียดจะจาแนกเกณฑ์ออกเป็ น 2 แบบ คือ เกณฑ์ สาหรับใช้ประเมินผลงานข้อเขียน และเกณฑ์สาหรับใช้ประเมินการสอบปากเปล่า ( Oral ) ตอนที่ 1 การประเมินงานเขียน (Essay) การวัดและประเมินผลพิจารณาเกี่ยวกับความเชื่อมโยง (relevant) ของผลงานกับหัวข้อ/ปัญหา ความเข้าใจลึกซึ้ งในหัวข้อ (Depth of understanding) ความเข้าในเกี่ยวกับประเด็นความรู ้ อย่างกว้างขวาง (Broadth of understanding) แสดงความตระหนักรู้วธีการเชื่อมโยงประเด็น ิ ั ความรู ้กบสาขาความรู ้และวิธีรับรู ้ ก. ความเข ้าใจในการประเมินผลประเด็นความรู ้/หัวข ้อ/ปั ญหา
  • 23. 40 (Understanding knowledge issues) ระดับสั มฤทธิ์ ตัวชี้วด ั 0 ่ ผลงานไม่ผานเกณฑ์ระดับ 1 1–2 ผลงานพูดถึงประเด็นปัญหาน้อยมาก มีการแสดงความเข้าใจประเด็น ปั ญหาน้อยเพียงแต่กล่าวถึงสาขาวิชาเท่านั้น 3–4 ผลงานพูดถึงประเด็นปั ญหาบ้าง มีการแสดงความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ ประเด็นปั ญหา มีการเชื่อมโยงอย่างกว้าง ๆ กับสาขาวิชาและวิธีการรับรู ้ 5–6 ผลงานส่ วนใหญ่พดถึงประเด็นปั ญหา มีการแสดงความเข้าใจเกี่ยวกับ ู ประเด็นปั ญหาหลายประการ มีการเชื่อมโยงอย่างจริ งจังระหว่างสาขาวิชา ต่าง ๆ กับวิธีการรับรู ้ 7 -8 ผลงานพูดถึงประเด็นความรู ้ได้อย่างลึกซึ้ ง มีการเชื่อมโยงและมีการ เปรี ยบเทียบระหว่างสาขาวิชาและวิธีการรับรู ้อย่างแท้จริ ง ผลงานสะท้อน ความเข้าใจประเด็นความรู ้เป็ นอย่างดี 9 -10 ผลงานพูดถึงประเด็นความรู ้ ได้อย่างลึกซึ้ ง มีการเชื่อมโยงและมีการ เปรี ยบเทียบระหว่างสาขาวิชาและวิธีการรับรู ้ได้อย่างสละสลวย ผลงาน สะท้อนความเข้าใจประเด็นความรู ้อย่างลึกซึ้ ง ข. ความคิดเห็นของผู ้เรียน (Knower Perspective)
  • 24. 41 ระดับสั มฤทธิ์ ตัวชี้วด ั 0 ่ ผลงานไม่ผานเกณฑ์ระดับ 1 1-2 ผลงานไม่มีหลักฐานความคิดที่เป็ นอิสระเกี่ยวกับประเด็นความรู ้ มีความ คิดเห็น ส่ วนตัวจากัดมาก ไม่สะท้อนความพยายามของการค้นคว้าข้อมูล ต่างๆ ไม่มีตวอย่างที่เหมาะสม ั 3–4 ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็ นอิสระเล็กน้อย มีความคิดเห็นส่ วนตัวบ้าง มีการพูดถึงความคิดเห็นต่างๆ แต่ไม่ได้คนคว้าเพิ่มเติม มีตวอย่างที่ ้ ั ่ ้ เหมาะสมอยูบางเป็ นบางครั้ง 5-6 ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็ นอิสระบ้าง ผูเ้ รี ยนเรี ยบเรี ยงผลงานใน ลักษณะแสดงความคิดเห็นของตนเองไปพร้อมๆกับการพูดถึงประเด็น ความรู ้ มีการแสดงความตระหนักผ่านการแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ มีความ พยายามที่จะแสดงความคิดเห็นในมุมมองต่าง ๆ คัดเลือกตัวอย่างได้อย่าง ่ เหมาะสม แม้วาจะมาจากแหล่งความรู ้ที่มีความหลากหลายน้อย 7 -8 ผลงานมีหลักฐานความคิดที่เป็ นอิสระเพียงพอ ผูเ้ รี ยนเรี ยบเรี ยงผลงานที่ แสดงให้เห็นการคิดอย่างถี่ถวน มีความคิดเห็นที่เป็ นของตนเอง มีความ ้ ตระหนักรู ้ในฐานะผูรู้ มีการยอมรับความคิดเห็นต่าง ๆ สะท้อนความ ้ พยายามที่จะค้นคว้าความรู ้ มีตวอย่างที่เป็ นจริ งและหลากหลาย ั 9 -10 ผลงานมีหลักฐานแสดงความคิดที่เป็ นอิสระมาก ผลงานมีความคิดอิสระ การค้นคว้าอย่างมีวจารณญาณ มีความตระหนักในประเด็นความรู ้ มีความ ิ ตระหนักในตนเอง มีการพิจารณาความคิดเห็นต่าง ๆ อย่างจริ งจัง ตัวอย่างที่ เลือกมามีหลากหลายและมีการใช้อย่างจริ งจัง ค. คุณภาพของการวิเคราะห์ประเด็นความรู ้ (Quality of analysis of knowledge issues) ระดับสั มฤทธิ์ ตัวชี้วด ั
  • 25. 42 0 ่ ผลงานไม่ผานเกณฑ์ระดับ 1 1–2 ไม่มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู ้ มีเพียงคาบรรยายไม่สะท้อนความ พยายามที่จะแสดงเหตุผลเกี่ยวกับประเด็นสาคัญ มีหลักฐานเพียงเล็กน้อย ที่ยนยัน ความตระหนักรู้ในประเด็นความรู้ ื 3–4 มีการวิเคราะห์บางประเด็นความรู ้ แต่บรรยายอย่างกว้างๆ สะท้อนความ พยายามที่จะแสดงเหตุผลในประเด็นสาคัญ มีขอโต้แย้งที่เกี่ยวข้อง ไม่ ้ แสดงประเด็นขัดแย้งอย่างชัดเจน 5–6 มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู ้ ประเด็นส่ วนใหญ่มีการให้เหตุผล และข้อ โต้แย้ง มีความต่อเนื่อง 7 -8 มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู ้อย่างลึกซึ้ ง มีรายละเอียดของความรู ้อย่าง สอดคล้องและประเด็น หรื อเกือบจะทั้งหมด มีการให้เหตุผลและข้อ โต้แย้งอย่างสอดคล้องและมีความต่อเนื่อง 9 -10 มีการวิเคราะห์ประเด็นความรู ้อย่างลึกซึ้ งมาก มีรายละเอียดของความรู ้ ประเด็นทั้งหมดทุกประเด็นมีการให้เหตุผลและข้อโต้แย้งอย่างสอดคล้อง มีความต่อเนื่องตามข้อบังคับนัยต่าง ๆ ทุกประเด็น ได้มีการค้นคว้าให้ เหตุผลทุประเด็น ง. การเรียบเรียงความคิด ( Organization of ideas ) ระดับผลสั มฤทธิ์ ตัวชี้วด ั 0 ่ ไม่ผานเกณฑ์ระดับ 1
  • 26. 43 1-2 การเขียนเรี ยบเรี ยงผลงานการลาดับเป็ นไปตามรู ปแบบใดบ้าง ถ้าน้อยมาก เข้า ใจความตั้งใจของผูเ้ ขียนได้ยากมาก ข้อมูลนี้เป็ นข้อเท็จจริ ง มีขอผิดพลาดที่ ้ ชัดเจน ไม่มีการค้นคว้า ไม่อางอิงแหล่งค้นคว้า ้ 3-4 การเขียนเรี ยบเรี ยงผลงานการลาดับเนื้อหาเป็ นไปตามรู ปแบบโครงสร้างน้อย บางครั้งเข้าใจความตั้งใจของผูเ้ ขียนได้ยากมาก มีความพยายามที่จะอธิ บาย ความหมายของข้อความต่างๆ แต่อธิ บายได้ไม่ชดเจน ข้อมูลที่เป็ นข้อเท็จจริ งไม่ ั น่าเชื่อถือ(มีขอผิดพลาดบ้างเล็กน้อย เช่น การอ้างอิงแหล่งข้อมูลไม่น่าเชื่อถือ) มี ้ การอ้างอิงแหล่งค้นคว้าและความคิดเห็น การสื บค้นและการอ้างอิงไม่สมบูรณ์ 5-6 การเขียนเรี ยบเรี ยงผลงาน การลาดับเนื้อหาอยูในระดับเป็ นที่น่าพอใจ การยึด ่ รู ปแบบโครงสร้าง มีการอธิ บายประเด็นปั ญหาอย่างเหมาะสม ข้อมูลที่ใช้ในการ ยืนยัน สนับสนุนส่ วนใหญ่มีความคิดถูกต้อง มีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้าและอ้างอิง ความคิดที่สามารถสื บทราบแหล่งที่มา แม้บางครั้งจะขาดความชัดเจนบ้าง การใช้ ่ คาอยูในจานวนที่กาหนดในการเรี ยบเรี ยง 7-8 การเขียนเรี ยบเรี ยงผลงาน การลาดับเนื้อหาตามรู ปแบบโครงสร้างได้ดี มีการ อธิ บายประเด็นปั ญหาสาคัญอย่างชัดเจน มีการให้คาอธิ บายขยายความประเด็น ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ข้อมูลที่ใช้ในการยืนยันสนับสนุนความคิดมีความ ถูกต้อง มีการอ้างอิงแหล่งค้นคว้า และอ้างอิง ซึ่ งการอ้างอิงส่ วนใหญ่สามารถสื บ ่ ทราบแหล่งที่มาได้ มีการใช้คา การใช้คาในการเรี ยนอยูในจานวนที่กาหนด 9-10 การเขียนเรี ยบเรี ยงผลงาน การลาดับเนื้อหาเป็ นไปตามรู ปแบบโครงสร้างดีมาก มี การอธิ บายประเด็นความรู ้ ปั ญหาอย่างชัดเจนและเหมาะสมพร้อมให้คาอธิ บาย ประกอบอย่างละเอียด ข้อมูลที่ใช้ในการยืนยันสนับสนุนความคิดมีความถูกต้อง บอกแหล่งค้นคว้าอ้างอิงที่สามารถสื บทราบแหล่งที่มาได้ การใช้คาในการเรี ยบ ่ เรี ยงอยูในจานวนที่กาหนด ตอนที่ 2 การประเมินงานนาเสนอ (Oral) ก.ลักษณะของประเด็นความรู ้ (Identification of Knowledge issues) ระดับผลสั มฤทธิ์ ตัวชี้วด ั 0 ่ การนาเสนอไม่ผานเกณฑ์ระดับ 1