SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 22
บทที่ 6 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ 
เรียนรู้
ภารกิจที่ 1
ตามแนวปฏิรูปการศึกษาให้ความสาคัญกับ “การยกระดับคุณภาพ 
ประชากรของประเทศให้สูงขึน้ คือให้ผู้เรียนทุกคนมีความสมารถเรียนรู้และพัฒนา 
ตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญมากที่สุด ที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้ 
เต็มศักยภาพ ฝึกทักษะกระบวนการคิด การประยุกต์ความรู้ และการแสวงหา 
ความรู้ด้วยตนเอง มีความสมารถในการคิดวิเคราะห์ และริเริ่มสร้างสรรค์ มีความ 
สามรถในการแก้ปัญหา ตลอดจนรู้จักทางานเป็นหมู่คณะ”
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ 
 เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง 
เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็น 
เทคโนโลยีเกี่ยวข้องตัง้แต่การรวบรวม 
การจัดเก็บข้อมูล กาประมวลผล การ 
พิมพ์ การสร้างรายงาน การสื่อสารข้อมูล 
ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศจะรวมไปถึง 
เทคโนโลยีที่ทาให้เกิดระบบการให้บริการ 
การใช้ และการดูแลข้อมูล
 ดังนัน้เทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีบทบาท 
และความสาคัญในการพัฒนาการศึกษาเป็น 
อย่างมาก เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศ 
สามารถใช้งานได้หลากหลายรูปแบบสามารถทา 
ให้บุคคลได้เกิดการเรียนรู้เกิดทักษะต่างๆ เพิ่ม 
มากขึน้ จะเห็นได้จากการที่ภายในสถานศึกษา 
รวมทัง้ภายนอกสถานศึกษาได้นาเทคโนโลยี 
สารสนเทศไปใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้ 
และพัฒนาการศึกษา
บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาการศึกษาตามแนว 
ปฏิรูปการศึกษา 
1 
• เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ และความเข้าใจในสารสนเทศและข้อมูลหรือสาระ 
เนือ้หา ซงึ่เกิดเป็นการเรียนรู้และชว่ยให้ผู้เรียนพัฒนาตนเอง สามารถเพิ่มพูนความสมารถหรือ 
ทักษะต่างๆได้ด้วยตนเอง เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นแหล่งข้อมูลสารสนเทศและแหล่ง 
เรียนรู้ 
2 
• บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศทาให้การติดต่อสื่อสาร การส่งข้อมูลเป็นไป 
อย่างรวดเร็ว สะดวก และแม่นยา ซงึ่การสื่อสารที่รวดเร็วและแมน่ยานัน้เป็นการพัฒนาระบบ 
การศึกษาให้มีประสิทธิภาพ รวมทัง้ช่วยอานวยความสะดวกในการเรียนการสอนอีกด้วย 
3 
• บทบาทของเทคโนโลยีสรสนเทศมีความสาคัญในการช่วยพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลที่สามารถคดิ 
วิเคราะห์ คิดริเริ่ม คิดประยุกต์ หรือคิดอย่างเป็นระบบได้ เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศมีความ 
หลากหลายในการใช้งาน เช่น ระบบการให้บริการ ระบบการรวบรวมจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล 
เป็นต้น ซงึ่ความสามรถของเทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยฝึกทักษะ กระบวนการต่างๆ ให้เกิดขึน้กับ 
ผู้เรียนได้
ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
คือ การที่นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน มีการแสดง 
ความคิดเห็นร่วมกัน มีการทางานเป็นกลุ่ม เน้นการลงมือปฏิบัติจริง เรียนรู้ 
ด้วยตัวเองให้มาก ครูเป็นเพียงผู้ชี้แนะเท่านนั้ ดังนนั้ วิธีการที่จะสามารถนา 
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ก็ควรเป็นสื่อที่ผู้เรียนมีความ 
สนใจ และได้เรียนรู้ด้วยตนเองให้มาก ได้ลงมือปฏิบัติจริง
วิธีการ การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ เรียน 
การสอน 
ผู้สอนควรศึกษาเทคนิค วิธีการ เทคโนโลยี 
ต่างๆ 
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ใหม่ 
การคิดในระดับสูง คิดวิเคราะห์การแก้ปัญหา 
สังเคราะห์ 
การถ่ายโยง
1. สิ่งแวดลอมทางการเรียนรู้ 
นาทฤษฎีการเรียนรูมาเป็นพื้นฐานการออกแบบรวมกับ 
สื่อหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย สถานการณ์ปัญหา 
แหล่งการเรียนรู้ ฐานการเรียนรู้คอยช่วยเหลือ การเรียนรู้แบบร่วมมือ 
แยกตามคุณลักษณะของสื่อได 3 รูปแบบ คือ 
(1)สิ่งแวดลอมทางการเรียนรูบนเครือขาย 
(2) มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
(3) ชุดการสร้างความรูตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
2. การเรียนรูแบบออนไลน์ 
เป็นการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งใช้การนาเสนอเนื้อหาทางคอมพิวเตอร์ 
ในรูปของสื่อมัลติมีเดีย 
การเรียนรูแบบออนไลน์ หรือ E-learning การเรียนรูแบบออนไลน์เป็น 
การศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือขายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต (Internet) 
หรืออินทราเน็ต (Intranet)เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะไดเรียนตามความ 
สามารถและความสนใจของตน
3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 
เป็นการอธิบายตัวอักษรที่คล้ายกับหนังสือ อยู่ในระบบดิจิตอล 
แสดงให้เห็นบนจอคอมพิวเตอร์ เป็นหนังสือถูกนามาจัดพิมพ์ 
ในรูปแบบดิจิตอล ทั้งลักษณะภาพ ดิจิตอล ภาพอนิเมชั่น วิดีโอ 
ภาพเคลื่อนไหวตอเนื่อง คาพูด เสียงดนตรี และเสียง 
อื่นๆ
4. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ 
ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ 
ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แม่ขายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์ 
หรือผ่านเครือขายอินเทอร์เน็ต ในลักษณะผสมผสานการทางานของระบบ 
ห้องสมุดอัตโนมัติ ห้องสมุดดิจิตอลและห้องสมุดเสมือน 
เทคโนโลยีของห้องห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มีดังนี้ 
1. การจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ 
2. ระบบเครือข่าย 
3. การส่งเอกสารสารสนเทศแก่ผู้ใช้
5. แผ่นการจัดการเรียนรู้ 
การเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ 
การกระตุ้นให้เกิดปัญหาและการมอบหมายภารกิจการเรียนรู้ 
การส่งเสริมการสร้างและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 
การขยายแนวคิดที่หลากหลาย 
การส่งเสริมการสร้างความเข้าใจของตนเองและกลุ่มโดยการสะท้อนความคิดและ 
สรุปองค์ความรู้
สรุป 
จากกรอบแนวคิดในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศใน 
การจัดการเรียนรู้ แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ ระหว่างวิธีการจัดการ 
เรียนรู้ (Method) รวมกับสื่อ(Media) ซึ่งในที่นี้ก็คือเทคโนโลยี 
สารสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต วีดีทัศน์ ฯลฯ การการเลือก 
วิธีการจะต้องอยู่บนพื้นฐานของการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสา คัญและ 
เลือกใช้สื่อให้สนองต่อการรับรู้ของผู้เรียน
ภารกิจที่3
ประเด็นปัญหา โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็น 
โรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระ 
กันดาร โรงเรียนมีคอมพิวเตอร์ 
สามเครื่อง มีโทรทัศน์แต่ ไม่มี 
สัญญาณโทรทัศน์
โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า 
เนื่องจากโรงเรียนมีความห่างไกลทา ให้ไม่สามารถรับสัญญาณจาก 
ดาวเทียม ในการนามาใช้ในการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ แต่ 
คอมพิวเตอร์และโทรทัศน์สามารถนามาใช้เป็นเทคโนโลยีทางการศึกษา 
เช่น การทา สื่อ หรือการนาเสนอความรู้ให้นักเรียนโดยใช้รูปแบบเพาเวอร์ 
พ้อย แทนการเรียนจากตา ราเรียน ตั้งคา ถามจากสิ่งที่เรียน ให้ผู้เรียนคิด 
วิเคราะห์ และสรุปเป็นแผ่นผังความคิดของตนเอง หรือให้ผู้เรียนเรียนรู้ 
จากโปรแกรมสา เร็จรูปที่มีอยู่ในคอมพิวเตอร์สร้างการเรียนรู้เช่น การให้ 
ผู้เรียนเรียนการใช้โปรแกรม LoGo ที่เน้นผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ในส่วน 
ของโทรทัศน์ อาจใช้ วีดีโอ มาเปิดให้เด็กดู เพื่อจะได้รับรู้ทั้งภาพ เสียง 
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความคิดและจินตนาการ และเรียนได้เร็วมีความรู้ทันกับ 
สภาพเหตุการณ์ปัจจุบันเหมือนที่อื่นๆ
ประเด็นปัญหา 
โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียน 
ที่ตั้งในเมือง มีความพร้อมทางด้านสื่อ 
เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบ 
ความเร็วอินเตอร์เน็ตสูง แต่ครูเนื่องจาก 
ไม่เพียงพอเนื่องจากย้ายหนี้จาก 
เหตุการณ์ความไม่สงบ
โรงเรียนไฮโซเบตง 
โรงเรียนไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่มีความพร้อมทางด้านเทคโนโลยี 
การสื่อสาร นั้นคือ คอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งมีระบบอินเตอร์เน็ต 
ความเร็วสูง จึงเป็นเรื่องง่ายในการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษา 
ซึ่งสามารถทา ได้หลายรูปแบบ เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ผ่าน 
อินเตอร์เน็ต เช่น การเรียนรู้ผ่าน E-learning , e-book , e-library 
จึงง่ายต่อกระบวนการเรียนการสอน ผู้เรียนสามารถคน 
หาความรู้ได้อย่างกว้างขว้างตามความสนใจของผู้เรียน มีความ 
สะดวกและรวดเร็วในการรับทราบข้อมูล
ลักษณะการเรียน ที่ได้ยกตัวอย่างมาคือ 
1. การเรียนผ่าน E-learning เป็นการเรียนรู้จากบทเรียนผ่านเครือข่าย 
อินเตอร์เน็ต โดยเนื้อหาจะมีทั้งภาพละเสียง ประกอบ สามารถเรียนได้ทุกที 
ทุกเวลา 
2. E-book มีลักษณะคล้ายหนังสือ แต่ถูกนามาจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล 
3. E- library เป็นห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ เป็นแหล่งความรู้ที่บันทึกไว้ใน 
เครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต มีลักษณะเหมือนห้องสมุดจริง 
เป็นห้องสมุดดิจิตอล
สมาชิกกลุ่ม 
นายพุฒิพงศ์ วันภูงา 
563050119-7 
นายอดิศักด์ิ บือทอง 
563050405-6

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Digital literacy
Digital literacyDigital literacy
Digital literacy
Marreea Mk
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
Pari Za
 
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
Kanitta_p
 
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
nawasai
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
Chuleekorn Rakchart
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Prakaidao Suebwong
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Teerasak Nantasan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
pattaranit
 

Mais procurados (19)

Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Digital literacy
Digital literacyDigital literacy
Digital literacy
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศ
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7นวัตกรรมบทที่ 7
นวัตกรรมบทที่ 7
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 

Destaque

What is quality management systems
What is quality management systemsWhat is quality management systems
What is quality management systems
selinasimpson331
 
Example of quality management system
Example of quality management systemExample of quality management system
Example of quality management system
selinasimpson1701
 
Quality manual-template-guidance-example
Quality manual-template-guidance-exampleQuality manual-template-guidance-example
Quality manual-template-guidance-example
jchibichabo
 
A Practical Approach to Implementing ICH Q10 Pharmaceutical Quality Systems
A Practical Approach to Implementing ICH Q10 Pharmaceutical Quality SystemsA Practical Approach to Implementing ICH Q10 Pharmaceutical Quality Systems
A Practical Approach to Implementing ICH Q10 Pharmaceutical Quality Systems
wtgevents
 

Destaque (8)

What is quality management systems
What is quality management systemsWhat is quality management systems
What is quality management systems
 
ISO 9001 Quality Management Systems: Implementation and Integration
ISO 9001 Quality Management Systems: Implementation and IntegrationISO 9001 Quality Management Systems: Implementation and Integration
ISO 9001 Quality Management Systems: Implementation and Integration
 
Example of quality management system
Example of quality management systemExample of quality management system
Example of quality management system
 
Quality manual-template-guidance-example
Quality manual-template-guidance-exampleQuality manual-template-guidance-example
Quality manual-template-guidance-example
 
Quality management system
Quality management system Quality management system
Quality management system
 
A Practical Approach to Implementing ICH Q10 Pharmaceutical Quality Systems
A Practical Approach to Implementing ICH Q10 Pharmaceutical Quality SystemsA Practical Approach to Implementing ICH Q10 Pharmaceutical Quality Systems
A Practical Approach to Implementing ICH Q10 Pharmaceutical Quality Systems
 
Quality Management System
Quality Management SystemQuality Management System
Quality Management System
 
ISO 9001 - It sets out the criteria for a quality management system and is th...
ISO 9001 - It sets out the criteria for a quality management system and is th...ISO 9001 - It sets out the criteria for a quality management system and is th...
ISO 9001 - It sets out the criteria for a quality management system and is th...
 

Semelhante a กลุ่มมี่charpter

Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
AomJi Math-ed
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learning
Pacharaporn087-3
 
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารการพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
pataravadee1
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for education
Changnoi Etc
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Natmol Thedsanabun
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
pompompam
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
sinarack
 

Semelhante a กลุ่มมี่charpter (20)

Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learning
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6
 
การจัดการความรู้และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้และเทคโนโลยีการจัดการความรู้และเทคโนโลยี
การจัดการความรู้และเทคโนโลยี
 
Nursing informatics
Nursing informaticsNursing informatics
Nursing informatics
 
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสารการพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่าย เรื่องการออกแบบสาร
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for education
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษากับการก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 

กลุ่มมี่charpter

  • 3. ตามแนวปฏิรูปการศึกษาให้ความสาคัญกับ “การยกระดับคุณภาพ ประชากรของประเทศให้สูงขึน้ คือให้ผู้เรียนทุกคนมีความสมารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญมากที่สุด ที่ต้องส่งเสริมและพัฒนาให้ เต็มศักยภาพ ฝึกทักษะกระบวนการคิด การประยุกต์ความรู้ และการแสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง มีความสมารถในการคิดวิเคราะห์ และริเริ่มสร้างสรรค์ มีความ สามรถในการแก้ปัญหา ตลอดจนรู้จักทางานเป็นหมู่คณะ”
  • 4. ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ  เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็น เทคโนโลยีเกี่ยวข้องตัง้แต่การรวบรวม การจัดเก็บข้อมูล กาประมวลผล การ พิมพ์ การสร้างรายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศจะรวมไปถึง เทคโนโลยีที่ทาให้เกิดระบบการให้บริการ การใช้ และการดูแลข้อมูล
  • 5.  ดังนัน้เทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีบทบาท และความสาคัญในการพัฒนาการศึกษาเป็น อย่างมาก เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถใช้งานได้หลากหลายรูปแบบสามารถทา ให้บุคคลได้เกิดการเรียนรู้เกิดทักษะต่างๆ เพิ่ม มากขึน้ จะเห็นได้จากการที่ภายในสถานศึกษา รวมทัง้ภายนอกสถานศึกษาได้นาเทคโนโลยี สารสนเทศไปใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้ และพัฒนาการศึกษา
  • 6. บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาการศึกษาตามแนว ปฏิรูปการศึกษา 1 • เทคโนโลยีสารสนเทศทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ และความเข้าใจในสารสนเทศและข้อมูลหรือสาระ เนือ้หา ซงึ่เกิดเป็นการเรียนรู้และชว่ยให้ผู้เรียนพัฒนาตนเอง สามารถเพิ่มพูนความสมารถหรือ ทักษะต่างๆได้ด้วยตนเอง เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นแหล่งข้อมูลสารสนเทศและแหล่ง เรียนรู้ 2 • บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศทาให้การติดต่อสื่อสาร การส่งข้อมูลเป็นไป อย่างรวดเร็ว สะดวก และแม่นยา ซงึ่การสื่อสารที่รวดเร็วและแมน่ยานัน้เป็นการพัฒนาระบบ การศึกษาให้มีประสิทธิภาพ รวมทัง้ช่วยอานวยความสะดวกในการเรียนการสอนอีกด้วย 3 • บทบาทของเทคโนโลยีสรสนเทศมีความสาคัญในการช่วยพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลที่สามารถคดิ วิเคราะห์ คิดริเริ่ม คิดประยุกต์ หรือคิดอย่างเป็นระบบได้ เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศมีความ หลากหลายในการใช้งาน เช่น ระบบการให้บริการ ระบบการรวบรวมจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล เป็นต้น ซงึ่ความสามรถของเทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยฝึกทักษะ กระบวนการต่างๆ ให้เกิดขึน้กับ ผู้เรียนได้
  • 7.
  • 8. ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ การที่นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน มีการแสดง ความคิดเห็นร่วมกัน มีการทางานเป็นกลุ่ม เน้นการลงมือปฏิบัติจริง เรียนรู้ ด้วยตัวเองให้มาก ครูเป็นเพียงผู้ชี้แนะเท่านนั้ ดังนนั้ วิธีการที่จะสามารถนา เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ก็ควรเป็นสื่อที่ผู้เรียนมีความ สนใจ และได้เรียนรู้ด้วยตนเองให้มาก ได้ลงมือปฏิบัติจริง
  • 9. วิธีการ การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ เรียน การสอน ผู้สอนควรศึกษาเทคนิค วิธีการ เทคโนโลยี ต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้รับความรู้ใหม่ การคิดในระดับสูง คิดวิเคราะห์การแก้ปัญหา สังเคราะห์ การถ่ายโยง
  • 10. 1. สิ่งแวดลอมทางการเรียนรู้ นาทฤษฎีการเรียนรูมาเป็นพื้นฐานการออกแบบรวมกับ สื่อหรือเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย สถานการณ์ปัญหา แหล่งการเรียนรู้ ฐานการเรียนรู้คอยช่วยเหลือ การเรียนรู้แบบร่วมมือ แยกตามคุณลักษณะของสื่อได 3 รูปแบบ คือ (1)สิ่งแวดลอมทางการเรียนรูบนเครือขาย (2) มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ (3) ชุดการสร้างความรูตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
  • 11. 2. การเรียนรูแบบออนไลน์ เป็นการเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งใช้การนาเสนอเนื้อหาทางคอมพิวเตอร์ ในรูปของสื่อมัลติมีเดีย การเรียนรูแบบออนไลน์ หรือ E-learning การเรียนรูแบบออนไลน์เป็น การศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือขายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet)เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะไดเรียนตามความ สามารถและความสนใจของตน
  • 12. 3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นการอธิบายตัวอักษรที่คล้ายกับหนังสือ อยู่ในระบบดิจิตอล แสดงให้เห็นบนจอคอมพิวเตอร์ เป็นหนังสือถูกนามาจัดพิมพ์ ในรูปแบบดิจิตอล ทั้งลักษณะภาพ ดิจิตอล ภาพอนิเมชั่น วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหวตอเนื่อง คาพูด เสียงดนตรี และเสียง อื่นๆ
  • 13. 4. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แม่ขายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือผ่านเครือขายอินเทอร์เน็ต ในลักษณะผสมผสานการทางานของระบบ ห้องสมุดอัตโนมัติ ห้องสมุดดิจิตอลและห้องสมุดเสมือน เทคโนโลยีของห้องห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มีดังนี้ 1. การจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ 2. ระบบเครือข่าย 3. การส่งเอกสารสารสนเทศแก่ผู้ใช้
  • 14. 5. แผ่นการจัดการเรียนรู้ การเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ การกระตุ้นให้เกิดปัญหาและการมอบหมายภารกิจการเรียนรู้ การส่งเสริมการสร้างและการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การขยายแนวคิดที่หลากหลาย การส่งเสริมการสร้างความเข้าใจของตนเองและกลุ่มโดยการสะท้อนความคิดและ สรุปองค์ความรู้
  • 15. สรุป จากกรอบแนวคิดในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศใน การจัดการเรียนรู้ แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ ระหว่างวิธีการจัดการ เรียนรู้ (Method) รวมกับสื่อ(Media) ซึ่งในที่นี้ก็คือเทคโนโลยี สารสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต วีดีทัศน์ ฯลฯ การการเลือก วิธีการจะต้องอยู่บนพื้นฐานของการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสา คัญและ เลือกใช้สื่อให้สนองต่อการรับรู้ของผู้เรียน
  • 17. ประเด็นปัญหา โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็น โรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระ กันดาร โรงเรียนมีคอมพิวเตอร์ สามเครื่อง มีโทรทัศน์แต่ ไม่มี สัญญาณโทรทัศน์
  • 18. โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เนื่องจากโรงเรียนมีความห่างไกลทา ให้ไม่สามารถรับสัญญาณจาก ดาวเทียม ในการนามาใช้ในการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ แต่ คอมพิวเตอร์และโทรทัศน์สามารถนามาใช้เป็นเทคโนโลยีทางการศึกษา เช่น การทา สื่อ หรือการนาเสนอความรู้ให้นักเรียนโดยใช้รูปแบบเพาเวอร์ พ้อย แทนการเรียนจากตา ราเรียน ตั้งคา ถามจากสิ่งที่เรียน ให้ผู้เรียนคิด วิเคราะห์ และสรุปเป็นแผ่นผังความคิดของตนเอง หรือให้ผู้เรียนเรียนรู้ จากโปรแกรมสา เร็จรูปที่มีอยู่ในคอมพิวเตอร์สร้างการเรียนรู้เช่น การให้ ผู้เรียนเรียนการใช้โปรแกรม LoGo ที่เน้นผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ในส่วน ของโทรทัศน์ อาจใช้ วีดีโอ มาเปิดให้เด็กดู เพื่อจะได้รับรู้ทั้งภาพ เสียง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความคิดและจินตนาการ และเรียนได้เร็วมีความรู้ทันกับ สภาพเหตุการณ์ปัจจุบันเหมือนที่อื่นๆ
  • 19. ประเด็นปัญหา โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียน ที่ตั้งในเมือง มีความพร้อมทางด้านสื่อ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบ ความเร็วอินเตอร์เน็ตสูง แต่ครูเนื่องจาก ไม่เพียงพอเนื่องจากย้ายหนี้จาก เหตุการณ์ความไม่สงบ
  • 20. โรงเรียนไฮโซเบตง โรงเรียนไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่มีความพร้อมทางด้านเทคโนโลยี การสื่อสาร นั้นคือ คอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งมีระบบอินเตอร์เน็ต ความเร็วสูง จึงเป็นเรื่องง่ายในการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษา ซึ่งสามารถทา ได้หลายรูปแบบ เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ผ่าน อินเตอร์เน็ต เช่น การเรียนรู้ผ่าน E-learning , e-book , e-library จึงง่ายต่อกระบวนการเรียนการสอน ผู้เรียนสามารถคน หาความรู้ได้อย่างกว้างขว้างตามความสนใจของผู้เรียน มีความ สะดวกและรวดเร็วในการรับทราบข้อมูล
  • 21. ลักษณะการเรียน ที่ได้ยกตัวอย่างมาคือ 1. การเรียนผ่าน E-learning เป็นการเรียนรู้จากบทเรียนผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต โดยเนื้อหาจะมีทั้งภาพละเสียง ประกอบ สามารถเรียนได้ทุกที ทุกเวลา 2. E-book มีลักษณะคล้ายหนังสือ แต่ถูกนามาจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล 3. E- library เป็นห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ เป็นแหล่งความรู้ที่บันทึกไว้ใน เครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต มีลักษณะเหมือนห้องสมุดจริง เป็นห้องสมุดดิจิตอล
  • 22. สมาชิกกลุ่ม นายพุฒิพงศ์ วันภูงา 563050119-7 นายอดิศักด์ิ บือทอง 563050405-6