SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 79
Baixar para ler offline
แนวคิดและระเบียบวิธีสอนภาษาต่างประเทศ
อ.ดร.วัชรพล วิบูลยศริน
แนวคิดทางภาษา
แนวคิดทางภาษา
แนวคิดทางภาษา
สังคม

จิตวิทยา

วัฒนธรรม
แนวคิดทางภาษา: วัฒนธรรม
“ภาษาไม่ได้แยกตัวออกจากวัฒนธรรม แต่มาจากการรวบรวมสืบทอดต่อ
กันมาทางสังคมของสิ่งที่ปฏิบัติเป็นกิจวัตรกับความเชื่อที่กาหนด
โครงสร้างชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสังคมนั้น”
(Sapir, 1921)
แนวคิดทางภาษา: วัฒนธรรม
ในการเรี ย นรู้ ภ าษาต่ า งประเทศจะต้ อ งพยายามไม่ น าเอา
มุมมองทางวัฒนธรรมของตนเข้ามาเกี่ยวข้อง
ผู้ เ รี ย นภาษาต้ อ งน าตนเองเข้ า ไปอยู่ ใ นวั ฒ นธรรมของ
ภาษาเป้าหมาย
ยิ่งเราทราบสภาพวัฒนธรรมของสังคมนั้น ๆ มากเท่าใด เราก็
ยิ่งสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น
แนวคิดทางภาษา: สังคม
“การใช้ภาษาให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์เป็นการสร้างประโยคที่แสดง
ความสามารถของผู้พูด แต่การใช้ภาษาให้เหมาะสมกับสังคมเป็นการ
สร้างการยอมรับของผู้คนในสังคมเจ้าของภาษา”
(Gumperz, 1964)
แนวคิดทางภาษา: สังคม
สิ่งที่ความจาเป็นต่อการสื่อสาร ได้แก่ บริบท คู่สนทนา หัวข้อ
วัตถุประสงค์ และรูปแบบของการสื่อสาร
การเรียนรู้การใช้ภาษาทางสังคมเป็นสิ่งที่จาเป็นน้อยมาก
เพศและอายุของคู่สนทนาในสถานการณ์การสื่อสารก็เป็นอีก
ปัจจัยที่ส่งผลต่อเนื้อหาทางภาษา
แนวคิดทางภาษา: จิตวิทยา
“การสอนภาษาภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศเพื่อประโยชน์ในการ
สื่อสารควรเป็นการสอนตามสภาพจริง”

(วัชรพล วิบูลยศริน, 2556)
แนวคิดทางภาษา: จิตวิทยา
Individual
differences
Directed
experience

Motive

Teaching
method

Practice

Feedback

Knowledge
ระเบียบวิธีสอนภาษาต่างประเทศ
 วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล
 วิธีสอนแบบตรง
 วิธีสอนแบบฟัง-พูด
 วิธีสอนแบบเงียบ
 วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง
 วิธีสอนแบบชักชวน
 วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์
 วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความรู้ความเข้าใจ
 วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร
1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล
(The Grammar-Translation Method)

วัตถุประสงค์
 เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นมี ค วามสามารถในการอ่ า นและเห็ น คุ ณ ค่ า ของบท
ประพันธ์ภาษาต่างประเทศ
1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล
(The Grammar-Translation Method)

ความเชื่อ
 การเรียนรู้ไวยากรณ์ภาษาเป้าหมายจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจไวยากรณ์
ของภาษาตนเองมากขึ้น
1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล
(The Grammar-Translation Method)

แนวคิดพื้นฐาน
 ภาษามีกฎเกณฑ์ มีระบบ มีระเบียบ
 การเรียนภาษา = การเรียนรู้ระบบกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของภาษา
 ถ้าผู้เรียนเรียนรู้กฎไวยากรณ์และความหมายของคาศัพท์ต่าง ๆ แล้ว
ก็จะเข้าใจข้อความต่าง ๆ ในภาษาเป้าหมาย และใช้ภาษาได้
1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล
(The Grammar-Translation Method)

ลักษณะสาคัญ





เน้นทักษะการอ่านและการเขียน
ใช้วิธีการท่องจากฎเกณฑ์และคาศัพท์ ตลอดจนคาแปล
ผู้สอนเป็นผู้ดาเนินการเรียนการสอน ควบคุมชั้นและให้ความรู้
ผู้เรียนทาตามคาบอกของผู้สอน
เน้นการเรียนรู้ระบบภาษามากกว่าการใช้ภาษาแบบเจ้าของภาษา
1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล
(The Grammar-Translation Method)

ขั้นตอนการสอน
1.
2.
3.
4.

สอนคาศัพท์ (บอกคาแปลเป็นภาษาของผู้เรียน และให้ตัวอย่างประโยคที่มีคาศัพท์นั้น)
สอนโครงสร้าง
สอนอ่าน
ประเมินผล (ให้ผู้เรียนทาการบ้าน แบบฝึกหัด ท่องจาคาศัพท์)
1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล
(The Grammar-Translation Method)

กลวิธีการสอน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.

การแปลบทประพันธ์
การตอบคาถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
การหาคาตรงกันข้ามและคาที่มีความหมายเหมือนกัน
การเติมคาในช่องว่าง
การท่องจา
การประยุกต์ใช้กฎโดยสรุป
การฝึกแต่งประโยค
การเขียนเรียงความ
1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล
(The Grammar-Translation Method)

ข้อดี
1.
2.
3.
4.

สอนกับเด็กกลุ่มใหญ่ได้
เหมาะกับผู้ใหญ่ หรือเด็กเก่ง
เข้าใจความหมายของคาศัพท์และเนื้อเรื่องได้เร็ว
ประเมินผลได้ง่าย
1.วิธีสอนแบบไวยากรณ์และแปล
(The Grammar-Translation Method)

ข้อเสีย
1.
2.
3.
4.
5.

ไม่เน้นทักษะการพูดและการออกเสียง
ไม่สอดคล้องกับภาษาที่ใช้ในชีวิต
เด็กที่ไม่เก่งจะเกิดความเบื่อหน่าย
มีโอกาสใช้ภาษาน้อย
ต้องมีความรู้ 2 ภาษาเป็นอย่างดี
2.วิธีสอนแบบตรง
(The Direct Method)

วัตถุประสงค์
 เพื่อให้ผู้เรียนใช้ภาษาเพื่อสื่อสารได้ในสถานการณ์จริง
2.วิธีสอนแบบตรง
(The Direct Method)

ความเชื่อ
 การเรียนรู้ความหมายต่าง ๆ เรียนด้วยวิธีเชื่อมโยงโดยตรงกับภาษาที่
เรียน โดยไม่ผ่านกระบวนการแปลเป็นภาษาเป็นผู้เรียน
2.วิธีสอนแบบตรง
(The Direct Method)

แนวคิดพื้นฐาน
 ภาษาคือ ภาษาพูด การเรียนภาษาคือ การให้ผู้เรียนได้สื่อสารด้วย
ภาษาที่เรียนนั้น และเพื่อให้ประสบความสาเร็จยิ่งขึ้น ควรให้ผู้เรียน
ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่จะคิดเป็นภาษาที่เรียนด้วย
2.วิธีสอนแบบตรง
(The Direct Method)

ลักษณะสาคัญ





บทใหญ่ประกอบด้วยกิจกรรมการสนทนา
ผู้เรียนใช้ภาษาในสถานการณ์จริง
ไม่มีการใช้ภาษาของผู้เรียน
ไม่เน้นการสอนกฎไวยากรณ์

ให้เรียนรู้จากตัวอย่างและสรุปเป็นกฎด้วยตนเอง
2.วิธีสอนแบบตรง
(The Direct Method)

ขั้นตอนการสอน







ให้ผู้เรียนฟังหรืออ่านข้อความในบทเรียน
อธิบายคาศัพท์และสานวนที่ยาก
ฝึกการออกเสียงคาให้ถูกต้อง
ถามคาถามเกี่ยวกับเนื้อเรื่องที่อ่านหรือฟัง
ดึงกฎไวยากรณ์จากเรื่องมาฝึกเพิ่มเติม
ให้ผู้เรียนทาแบบฝึกหัด
2.วิธีสอนแบบตรง
(The Direct Method)

กลวิธีการสอน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.

การอ่านออกเสียง
การฝึกหัดตั้งคาถามและตอบ
การแก้ไขข้อผิดด้วยตนเอง
การฝึกสนทนา
การฝึกเติมคาในช่องว่าง
การเขียนตามคาบอก
การวาดแผนภาพ
การเขียนข้อความสั้น ๆ 1 ย่อหน้า
2.วิธีสอนแบบตรง
(The Direct Method)

ข้อดี
1. ถ้าฝึกนาน ๆ ผู้เรียนจะใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมายได้
2. ได้เรียนรู้ภาษาแบบเดียวกับการเรียนรู้ภาษาของตนเอง
3. ได้ร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยตนเอง ไม่เบื่อหน่าย
2.วิธีสอนแบบตรง
(The Direct Method)

ข้อเสีย
1.
2.
3.
4.

ผู้สอนต้องมีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาของผู้เรียน
การอธิบายนามธรรมอาจเสียเวลา และผู้เรียนเข้าใจผิด
ผู้เรียนอาจสรุปกฎไวยากรณ์ผิดพลาด
หากมีผู้เรียนในชั้นเรียนจานวนมาก อาจดูแลได้ไม่ทั่วถึง
3.วิธีสอนแบบฟัง-พูด
(The Audio-lingual Method)

วัตถุประสงค์
 เพื่อให้ผู้เรียนใช้ภาษาโดยใช้ภาษาต่างประเทศที่เรียน โดยฝึกภาษา
ซ้า ๆ จนเกิดเป็นนิสัย
3.วิธีสอนแบบฟัง-พูด
(The Audio-lingual Method)

แนวคิดพื้นฐาน
 ภาษาคือ ภาษาพูด การสอนภาษาจึงควรเริ่มจากการฟัง -พูด อันเป็น
พื้นฐานไปสู่การอ่านและการเขียน
3.วิธีสอนแบบฟัง-พูด
(The Audio-lingual Method)

ลักษณะสาคัญ





ผู้สอนต้องแบบอย่างที่ดีในการใช้ภาษาที่เรียน
ผู้เรียนเลียนแบบและปฏิบัติตามผู้สอน
เน้นภาษาที่ใช้พูดในชีวิตประจาวัน
เรียนรู้กฎจากตัวอย่าง ไม่เน้นข้อมูลทางวัฒนธรรม

ฝึกออกเสียงแต่เริ่มแรก และฝึกฟังในห้องปฏิบัติการทางภาษา
3.วิธีสอนแบบฟัง-พูด
(The Audio-lingual Method)

ขั้นตอนการสอน






ให้ผู้เรียนฟังบทสนทนาใหม่ที่นามาให้อ่านให้ฟัง หรือฟังจากเทป
ผู้เรียนพูดตามทีละบรรทัด หลาย ๆ รอบ
นาประโยคที่เป็นปัญหามาฝึกเป็นพิเศษ
ฝึกโต้ตอบบทสนทนากันทั้งห้อง เป็นกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อย และทีละคน
ฝึกโต้ตอบบทสนทนาโดยดัดแปลงให้กับเหตุการณ์ของผู้เรียน
3.วิธีสอนแบบฟัง-พูด
(The Audio-lingual Method)

กลวิธีการสอน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.

การท่องจาบทสนทนา
การฝึกแบบเพิ่มส่วนของประโยค
การฝึกพูดซ้า
การฝึกแบบลูกโซ่
การใช้คู่เทียบเสียง
การเติมบทสนทนา
การเล่นเกมไวยากรณ์

8. การฝึกแทนคาในช่องว่าง
9. การฝึกเปลี่ยนรูปประโยค
10. การฝึกถามตอบ
3.วิธีสอนแบบฟัง-พูด
(The Audio-lingual Method)

ข้อดี






ฝึกการพัฒนาทักษะ 4 ด้าน ตลอดจนองค์ประกอบของภาษา
เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบัน เน้นปฏิบัติ
ใช้ภาษาตามสภาพจริง
ไม่เน้นสติปัญญาหรือเหตุผลมาก เหมาะกับเด็กเล็ก
เอาใจใส่ผู้เรียนทีละคนได้มากขึ้น
3.วิธีสอนแบบฟัง-พูด
(The Audio-lingual Method)

ข้อเสีย





การเลียนแบบไม่ทาให้ผู้เรียนเข้าใจความหมายได้
การฝึกซ้า ๆ ทาให้เบื่อหน่าย โดยเฉพาะเด็กเก่ง และผู้ใหญ่
การแบ่งเนื้อหาเป็นส่วนย่อยอาจทาให้ผู้เรียนนาไปบูรณาการไม่ได้
เน้นหลักการวางเงื่อนไข เมื่อสถานการณ์เปลี่ยน ผู้เรียนไม่อาจปรับ
ใช้ได้ ขาดแรงจูงใจ
 ผู้สอนต้องมีความกระตือรือร้นและมีประสิทธิภาพสูง รู้จักเตรียมสื่อ
4.วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความความรู้ความเข้าใจ
(The Cognitive Code Learning)

วัตถุประสงค์
 เพื่อให้ผู้เรียนได้รู้ระบบกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของภาษาที่เรียนก่อนนาไป
ประยุกต์ใช้
4.วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความความรู้ความเข้าใจ
(The Cognitive Code Learning)

แนวคิดพื้นฐาน
 ภาษาเป็ นระบบตามกฎเกณฑ์ ความเข้าใจและการแสดงออกทาง
ภาษาขึ้นอยู่กับความเข้าใจกฎเกณฑ์
 เมื่อผู้เรียนเข้าใจรูปแบบของภาษาและความหมายแล้วก็จะสามารถ
ใช้ภาษาได้
4.วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความความรู้ความเข้าใจ
(The Cognitive Code Learning)

ลักษณะสาคัญ






สิ่งที่นามาให้ผู้เรียนเรียนจะต้องมีความหมาย
ควรจัดลาดับความยากง่ายเพื่อช่วยให้การพัฒนาทักษะทางภาษา
เน้นให้เรียนรู้และเข้าใจระบบภาษาให้มากที่สุด
เน้นให้ผู้เรียนเข้าใจภาษาก่อนการแสดงออกทางภาษา
มุ่งกระบวนการสร้างความเข้าใจภาษาที่เรียนและเน้นทักษะ 4 ด้าน
4.วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความความรู้ความเข้าใจ
(The Cognitive Code Learning)

ขั้นตอนการสอน





ให้ผู้เรียนอ่านข้อความหรือบทสนทนา
ให้ผู้เรียนทาแบบฝึก โครงสร้าง
ให้ผู้เรียนฝึกสนทนาโต้ตอบ
จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกใช้ภาษาเพิ่มเติม
4.วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความความรู้ความเข้าใจ
(The Cognitive Code Learning)

กลวิธีการสอน
1. การเขียนรูปประโยคใหม่
2. การเรียบเรียงประโยคและข้อความที่ยังไม่ได้เขียนให้เชื่อมโยงถูกต้อง
ตามหลักไวยากรณ์
3. การเขียนอธิบายเหตุการณ์จากภาพ
4. การเตรียมบทสนทนามาพูดหน้าชั้น
5. การเติมคาในช่องว่างในประโยค
6. การให้ขยายความหรือตีความหัวข้อข่าว
4.วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความความรู้ความเข้าใจ
(The Cognitive Code Learning)

ข้อดี
 มุ่งให้ผู้เรียนได้ใช้สติปัญญาและความคิดสร้างสรรค์
 เป็นการฝึกหัดสิ่งที่มีความหมาย
 เป็นการพัฒนาทักษะ 4 ด้านพร้อมกัน
4.วิธีสอนตามทฤษฎีการเรียนแบบความความรู้ความเข้าใจ
(The Cognitive Code Learning)

ข้อเสีย
 ผู้สอนต้องเตรียมการและสร้างแวดล้อมที่ดี
 จะใช้ได้ผลดีกับเด็กเก่งมากกว่าเด็กอ่อน
5.วิธีสอนแบบเงียบ
(The Silent Method)

วัตถุประสงค์
 เพื่อให้ผู้เรียนใช้ความสามารถที่จะใช้ภาษาด้วยตนเอง
5.วิธีสอนแบบเงียบ
(The Silent Method)

แนวคิดพื้นฐาน
 การเรี ย นรู้ ภ าษาเกิ ด จากความคิ ด หรื อ พลั ง สมองของผู้ เ รี ย นเอง
ผู้เรียนจะค้นพบกฎเกณฑ์ทางภาษาจากการทดลองพูด ผู้สอนจึงควร
มีบทบาทการพูดน้อยที่สุด
5.วิธีสอนแบบเงียบ
(The Silent Method)

ลักษณะสาคัญ





ผู้สอนช่วยเท่าที่จาเป็น
ผู้เรียนพยายามนาสิ่งที่รู้มาใช้ประโยชน์และจดจ่อกับบทเรียนตลอด
ควรเรียนเสียงเป็นอันดับแรก เพราะเป็นพื้นฐานสาคัญของภาษา
สร้างสถานการณ์ที่จะดึงความสนใจของผู้เรียนไปยังโครงสร้างภาษา

ใช้ข้อผิดพลาดของผู้เรียนเป็นเครื่องชี้ให้เห็นว่าตอนใดไม่ถูกต้อง
5.วิธีสอนแบบเงียบ
(The Silent Method)

ขั้นตอนการสอน






สอนการออกเสียง สระ และพยัญชนะต่าง ๆ โดยใช้แผนภูมิ เสียง
สอนการออกเสียงคาต่าง ๆ
สอนรูปประโยคต่าง ๆ โดยนาคามารวมกัน
ฝึกอ่านประโยคต่าง ๆ ที่ผู้เรียนสร้างขึ้น
ฝึกเขียนประโยคที่เรียนมาแล้ว
5.วิธีสอนแบบเงียบ
(The Silent Method)

กลวิธีการสอน (และอุปกรณ์)
1.
2.
3.
4.
5.
6.

แผนภูมิเสียง-สี/แผนภูมิคา/แผนภูมิฟิเดล (Fidel)
การนิ่งของผู้สอน
การช่วยกันแก้ไขข้อผิดพลาด
แท่งสี
ลักษณะท่าทีของการแก้ไขข้อผิดพลาดด้วยตนเอง
ผลสะท้อนกลับทางโครงสร้าง
5.วิธีสอนแบบเงียบ
(The Silent Method)

ข้อดี
 ได้คิดและใช้ภาษาอย่างเต็มที่ ผู้สอนเป็นเพียงผู้ช่วยเหลือ
 ร่วมกิจกรรมอยู่ตลอดเวลา
 ผู้สอนมีเวลาและโอกาสสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
5.วิธีสอนแบบเงียบ
(The Silent Method)

ข้อเสีย





การสอนนามธรรมอาจเป็นสิ่งที่เข้าใจได้ยาก
ผู้เรียนรู้สึกอึดอัด เพราะไม่ทราบว่าอะไรถูกอะไรผิด
ไม่เหมาะกับผู้เรียนกลุ่มใหญ่
ผู้สอนต้องชานาญการสอนอย่างมีประสิทธิภาพมาก
6.วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง
(The Total Physical Response Method)

วัตถุประสงค์
 เพื่อให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ที่สนุกสนานในการเรียนเพื่อการสื่อสาร
เป็นภาษาต่างประเทศ
6.วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง
(The Total Physical Response Method)

แนวคิดพื้นฐาน
 การสื่อความหมายของภาษาต่างประเทศอาจทาได้โดยการปฏิบัติ
หรือใช้กิริยาอาการประกอบ ผู้เรียนจะจาได้ดีถ้าได้ปฏิบัติหรือแสดง
การโต้ตอบด้วย
6.วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง
(The Total Physical Response Method)

ลักษณะสาคัญ





ผู้เรียนไม่ต้องพูด แต่เป็นผู้ฟังและทาตามผู้สอน
ผู้สอนกากับพฤติกรรมของผู้เรียนทั้งหมด
ผู้เรียนเลียนแบบการกระทาตามคาสั่งของผู้สอน
เมื่อผู้เรียนพร้อมที่จะพูดก็จะเป็นผู้ออกคาสั่งเอง
6.วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง
(The Total Physical Response Method)

ขั้นตอนการสอน
 ผู้สอนพูดคาสั่งเป็นภาษาต่างประเทศ แล้วปฏิบัติตามคาสั่งนั้นให้ดู
เป็นตัวอย่าง
 เมื่อพร้อม ผู้สอนจะเริ่มคาสั่งใหม่ให้ผู้แทนผู้เรียนปฏิบัติตามพร้อมกัน
และฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง
 ออกคาสั่งให้ผู้แทนผู้เรียนปฏิบัติตามคาสั่งโดยผู้สอนไม่ทาให้ดูเป็น
ตัวอย่าง
 เขียนคาสั่งต่าง ๆ บนกระดานดา ผู้สอนปฏิบัติตามคาสั่งนั้นด้วย
6.วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง
(The Total Physical Response Method)

กลวิธีการสอน
1. การใช้คาสั่งเพื่อกากับพฤติกรรม
2. การสลับบทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
3. การปฏิบัติตามคาสั่งที่ต่อเนื่องกันเป็นลาดับ
6.วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง
(The Total Physical Response Method)

ข้อดี





ได้ประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติจริง
ไม่เครียด ไม่มีการบังคับให้ผู้เรียนพูดเมื่อยังไม่พร้อม
ได้เรียนรู้ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้
เหมาะสมสาหรับผู้เรียนในชั้นเริ่มเรียน
6.วิธีสอนแบบการตอบสนองด้วยท่าทาง
(The Total Physical Response Method)

ข้อเสีย
 ไม่สามารถสอนสิ่งที่เป็นนามธรรมได้
 สอนโครงสร้างซับซ้อนไม่ได้ผลดีเท่าไร
7.วิธีสอนแบบชักชวน
(Suggestopedia)

วัตถุประสงค์
 เพื่อให้ผู้เรียนเรียนภาษาที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจาวัน
7.วิธีสอนแบบชักชวน
(Suggestopedia)

แนวคิดพื้นฐาน
 สมองของมนุษย์เปี่ยมด้วยพลัง แต่ถูกนามาใช้เพียงเล็กน้อย ผู้สอนจึง
ควรโน้มน้าวให้ผู้ เรี ย นได้ใช้พลั งสมองของตนอย่างเต็มที่ โดยขจัด
ความกลัวและข้อห้ามต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคในการเรียนภาษา
7.วิธีสอนแบบชักชวน
(Suggestopedia)

ลักษณะสาคัญ
 ผู้สอนเป็นเจ้าหน้าที่ในห้องเรียน
 การเรียนการสอนต้องไม่ทาให้ผู้เรียนวิตกกังวล
 ห้องเรียนต้องมีความสะดวกสบาย บรรยากาศผ่อนคลาย แฝงการ
เรียนรู้ไวยากรณ์รอบห้องเรียน ให้ผู้เรียนเรียนโดยไม่ตั้งใจ
 แนะนาผู้เรียนทั้งหมดให้รู้จักกัน ใช้บทสนทนาเป็นสื่อการเรียน
7.วิธีสอนแบบชักชวน
(Suggestopedia)

ขั้นตอนการสอน
 นาเข้าสู่บทเรียนโดยการทักทายและชักชวนให้ผู้เรียนเลือกชื่อใหม่
เป็นภาษาต่างประเทศ แล้วทักทายกันตามบทสนทนาสั้น ๆ
 อ่านบทสนทนาที่ต้อ งการให้ ผู้ เรี ย นฟั ง และอธิ บายสิ่ ง ที่ผู้ เ รีย นไม่
เข้าใจ
 อ่านบทสนทนาให้ผู้เรียนฟังอีกครั้ง ผู้สอนอ่านนา ผู้เรียนอ่านตาม
7.วิธีสอนแบบชักชวน
(Suggestopedia)

ขั้นตอนการสอน (ต่อ)
 อ่านบทสนทนาให้ผู้เรียนฟังอีกครั้งหนึ่ง โดยเปิดเพลงประกอบด้วย
 จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนฝึกเสริมเนื้อหาจากบทสนทนาโดยการร้องเพลง
เล่นเกม แสดงบทบาทสมมติ
7.วิธีสอนแบบชักชวน
(Suggestopedia)

กลวิธีการสอน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.

การจัดห้องเรียน
การเรียนจากสภาพแวดล้อม
การชักชวนให้อยากเรียน
การสร้างมโนภาพ
การเลือกลักษณะประจาตัวใหม่
การแสดงบทบาทสมมติ
การใช้เพลงประกอบ
การใช้กิจกรรมต่าง ๆ
7.วิธีสอนแบบชักชวน
(Suggestopedia)

ข้อดี
 เกิดความรู้สึกผ่อนคลายทั้งร่างกายและอารมณ์ สภาพแวดล้อมที่น่า
เรียน
 ไม่กลัวหรือกังวลว่าจะทาอะไรผิด
 ได้เรียนภาษาที่ใช้จริงและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาด้วย
7.วิธีสอนแบบชักชวน
(Suggestopedia)

ข้อเสีย
 เหมาะสมกับผู้เรียนกลุ่มเล็กมากกว่า
 ผู้สอนต้องมีความอดทน เชื่อในวิธีการสอนแบบชักชวน
 ผู้เรียนอาจมีความรู้ไวยากรณ์ไม่ดีพอได้
8.วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์
(Community Language Learning)

วัตถุประสงค์
 เพื่อให้ผู้เรียนใช้ภาษาที่เรียนติดต่อสื่อสารได้และเรียนรู้เกี่ยวกับการ
เรียนรู้ของตนเอง
8.วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์
(Community Language Learning)

แนวคิดพื้นฐาน
 ยึดผู้เรียนเป็นหลั ก เน้ นการพัฒนาความสัมพัน ธ์ระหว่างผู้ สอนกับ
ผู้เรียนและระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนรู้สึกว่าตนเองเป็น
ส่วนหนึ่งของกลุ่ม
8.วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์
(Community Language Learning)

ลักษณะสาคัญ
 ผู้สอนเป็นผู้ให้คาปรึกษา เข้าใจความรู้สึกของผู้เรียน และสนับสนุน
ให้ผู้เรียนเอาชนะภาษาใหม่ที่เรียนให้ได้
 ผู้เรียนเป็นอิสระ และจะรู้สึกอิสระเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
8.วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์
(Community Language Learning)

ขั้นตอนการสอน
 ให้ผู้เรียนนั่งเป็นวงกลม โดยมีไมโครโฟนและเครื่องบันทึกเสียงอยู่
ตรงกลาง ผู้เรียนแนะนาตัวแล้วเริ่มสนทนากัน
 ผู้เรียนฟังเทปที่บันทึกไว้ และศึกษาบทสนทนาทีละประโยค
 แบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่มย่อยช่วยกันสร้างประโยคใหม่จากคาศัพท์ในบท
สนทนาตอนต้น
 ให้ผู้เรียนพูดคุยเกี่ยวกับประสบการณ์ที่ได้รับ
8.วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์
(Community Language Learning)

กลวิธีการสอน
1.
2.
3.
4.
5.
6.

การอัดเทปการสนทนาของผู้เรียน
การถอดบทสนทนาเป็นภาษาเขียน
การไตร่ตรองถึงประสบการณ์
การไตร่ตรองด้วยการฟัง
คอมพิวเตอร์มนุษย์
งานกลุ่มเล็ก
8.วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์
(Community Language Learning)

ข้อดี
 มีแรงจูงใจในการเรียน เพราะริเริ่มการเรียนด้วยตนเอง
 ใช้ความคิดสร้างสรรค์ของตนอย่างเต็มที่
 มีปฏิสัมพันธ์และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
8.วิธีสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์
(Community Language Learning)

ข้อเสีย
 ไม่ได้ผลกับผู้เรียนกลุ่มใหญ่
 ผู้เรียนต้องมีความสามารถระดับเดียวกัน
9.วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร
(The Communicative Approach)

วัตถุประสงค์
 เพื่อให้ผู้เรียนใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมายได้เหมาะสมกับสภาพสังคม
การจัดการเรียนการสอน
9.วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร
(The Communicative Approach)

แนวคิดพื้นฐาน
 ภาษาคือ เครื่องมือในการสื่อสาร และเป้าหมายของการสอนภาษา
คือ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการสื่อสาร
9.วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร
(The Communicative Approach)

ลักษณะสาคัญ






ต้องให้ผู้เรียนรู้ว่ากาลังทาอะไร เพื่ออะไร
ต้องสอนในลักษณะบูรณาการ ไม่แยกส่วน
ได้ทากิจกรรมการใช้ภาษาเหมือนในชีวิตประจาวัน
ฝึกใช้ภาษามาก ๆ โดยผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ เท่าที่เป็นไปได้
ให้ความสาคัญกับการใช้ภาษามากกว่าวิธีการใช้ภาษา
9.วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร
(The Communicative Approach)

ขั้นตอนการสอน
1. ให้ข้อมูลทางภาษาแก่ผู้เรียน
2. ฝึกใช้ภาษาที่เพิ่งเรียนรู้ โดยมีผู้สอนเป็นผู้นาการฝึก
3. ใช้ภาษาในสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยตนเอง โดยผู้สอนเป็นผู้แนะแนว
9.วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร
(The Communicative Approach)

กลวิธีการสอน (และสือ)
่






การใช้สื่อของจริง
การเรียงประโยคที่จัดวางอย่างสับสน
เกมทางภาษา
ภาพชุดเรื่องราว
บทบาทสมมติ
9.วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร
(The Communicative Approach)

ข้อดี
 สอดคล้องกับเป้าหมายของการเรียนภาษา
 เน้นกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกการใช้ภาษาในสถานการณ์ต่าง ๆ
 เรียนรู้การทางานร่วมกับผู้อื่นเป็นคู่
9.วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร
(The Communicative Approach)

ข้อเสีย
 ผู้ ส อนต้ อ งมี ค วามพร้ อ มในด้ า นต่ า ง ๆ สู ง เช่ น ความรู้ การจั ด
กิจกรรม การสร้างสถานการณ์
 เน้นทักษะการฟัง-พูด มากกว่าการอ่านและการเขียน
กิจกรรมท้ายบทเรียน
 แบ่งออกเป็น 9 กลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน
 เลือกวิธีสอน (ไม่ซ้า) กลุ่มละ 1 วิธี
 เลือกเนื้อหาภาษาไทย (ไม่ซ้า) 1 เรื่องที่สอดคล้องกับวิธีสอนที่เลือก
 ระดมสมองกันในกลุ่มว่าจะสอนเนื้อหาที่เลือกตามวิธีสอนข้างต้น
อย่างไร
 อธิบายรายละเอียดทีละขั้นตอนให้เข้าใจ
 ส่งรายชื่อสมาชิกในกลุ่ม วิธีสอน และเนื้อหาก่อนการนาเสนอ
Week 3 of TTFL

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติJarinya Chaiyabin
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษKritsadin Khemtong
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609CUPress
 
Writing lesson plan
Writing lesson planWriting lesson plan
Writing lesson planBelinda Bow
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาPpor Elf'ish
 
บทที่ 5 pronous and possessives
บทที่ 5 pronous and possessivesบทที่ 5 pronous and possessives
บทที่ 5 pronous and possessivesKruthai Kidsdee
 
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1krusu01
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานKu'kab Ratthakiat
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 

Mais procurados (20)

9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
รูปแบบการสอนแบบทางตรง
รูปแบบการสอนแบบทางตรงรูปแบบการสอนแบบทางตรง
รูปแบบการสอนแบบทางตรง
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.1
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.1คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.1
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.1
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
 
Unit 1 about myself
Unit 1 about myselfUnit 1 about myself
Unit 1 about myself
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
Writing lesson plan
Writing lesson planWriting lesson plan
Writing lesson plan
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
บทที่ 5 pronous and possessives
บทที่ 5 pronous and possessivesบทที่ 5 pronous and possessives
บทที่ 5 pronous and possessives
 
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
 
แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้ที่ 1
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 

Destaque

Community language learning [ CLL ]
Community language learning [ CLL ]Community language learning [ CLL ]
Community language learning [ CLL ]Lily Lim
 
The silent way Approach
The silent way ApproachThe silent way Approach
The silent way ApproachAmer Najmi
 
Community Language Learning ( CLL )
Community Language Learning ( CLL )Community Language Learning ( CLL )
Community Language Learning ( CLL )Youngphilosopher
 
Direct Method (DM) of Language Teaching
Direct Method (DM) of Language TeachingDirect Method (DM) of Language Teaching
Direct Method (DM) of Language TeachingAyesha Bashir
 
Silent Way Teaching Method
Silent Way Teaching MethodSilent Way Teaching Method
Silent Way Teaching MethodAhmet Ateş
 
The audiolingual method
The audiolingual methodThe audiolingual method
The audiolingual methodPatrmartin
 
การออกแบบ User interface
การออกแบบ User interfaceการออกแบบ User interface
การออกแบบ User interfaceKunyaluk BamBoo
 
หลักการออกแบบ Principle of Design
หลักการออกแบบ Principle of Design หลักการออกแบบ Principle of Design
หลักการออกแบบ Principle of Design Yaowaluck Promdee
 
การมีสติ
การมีสติการมีสติ
การมีสติnuydog
 
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์Wilawun Wisanuvekin
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์Wilawun Wisanuvekin
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนAphisit Aunbusdumberdor
 
Chapter 1 spacial days
Chapter 1 spacial daysChapter 1 spacial days
Chapter 1 spacial daysJiip Jip
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือKrumath Pawinee
 
Task Based Instruction by Aylin Aydın, Uludag University
Task Based Instruction by Aylin Aydın, Uludag UniversityTask Based Instruction by Aylin Aydın, Uludag University
Task Based Instruction by Aylin Aydın, Uludag UniversityUludag University
 
Silent way method
Silent way methodSilent way method
Silent way methodSyahrial AR
 

Destaque (20)

SILENT WAY
SILENT WAYSILENT WAY
SILENT WAY
 
Community language learning [ CLL ]
Community language learning [ CLL ]Community language learning [ CLL ]
Community language learning [ CLL ]
 
The silent way Approach
The silent way ApproachThe silent way Approach
The silent way Approach
 
The silent way
The silent wayThe silent way
The silent way
 
Community Language Learning ( CLL )
Community Language Learning ( CLL )Community Language Learning ( CLL )
Community Language Learning ( CLL )
 
Direct Method (DM) of Language Teaching
Direct Method (DM) of Language TeachingDirect Method (DM) of Language Teaching
Direct Method (DM) of Language Teaching
 
Silent Way Teaching Method
Silent Way Teaching MethodSilent Way Teaching Method
Silent Way Teaching Method
 
The audiolingual method
The audiolingual methodThe audiolingual method
The audiolingual method
 
Total Physical Response
Total Physical ResponseTotal Physical Response
Total Physical Response
 
Communicative Language Teaching (CLT)
Communicative Language Teaching (CLT)Communicative Language Teaching (CLT)
Communicative Language Teaching (CLT)
 
การออกแบบ User interface
การออกแบบ User interfaceการออกแบบ User interface
การออกแบบ User interface
 
หลักการออกแบบ Principle of Design
หลักการออกแบบ Principle of Design หลักการออกแบบ Principle of Design
หลักการออกแบบ Principle of Design
 
การมีสติ
การมีสติการมีสติ
การมีสติ
 
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
Chapter 1 spacial days
Chapter 1 spacial daysChapter 1 spacial days
Chapter 1 spacial days
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
Task Based Instruction by Aylin Aydın, Uludag University
Task Based Instruction by Aylin Aydın, Uludag UniversityTask Based Instruction by Aylin Aydın, Uludag University
Task Based Instruction by Aylin Aydın, Uludag University
 
Silent way method
Silent way methodSilent way method
Silent way method
 

Semelhante a Week 3 of TTFL

Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...aphithak
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...aphithak
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่านcandy109
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยPiyatida Prayoonprom
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
รายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการรายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการsomthawin
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1umpan
 

Semelhante a Week 3 of TTFL (20)

Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
 
3 lang
3 lang3 lang
3 lang
 
1
11
1
 
ปฐมวัย
ปฐมวัยปฐมวัย
ปฐมวัย
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
รายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการรายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการ
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1
 

Mais de Watcharapol Wiboolyasarin

คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Watcharapol Wiboolyasarin
 
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59Watcharapol Wiboolyasarin
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกWatcharapol Wiboolyasarin
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีWatcharapol Wiboolyasarin
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ Watcharapol Wiboolyasarin
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจWatcharapol Wiboolyasarin
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการWatcharapol Wiboolyasarin
 
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...Watcharapol Wiboolyasarin
 

Mais de Watcharapol Wiboolyasarin (18)

การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
 
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
Week 2 of TTFL
Week 2 of TTFLWeek 2 of TTFL
Week 2 of TTFL
 
Week 3 of WS4T
Week 3 of WS4TWeek 3 of WS4T
Week 3 of WS4T
 
Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
 
Week 1 of TTFL
Week 1 of TTFLWeek 1 of TTFL
Week 1 of TTFL
 
Week 1 of WS4T
Week 1 of WS4TWeek 1 of WS4T
Week 1 of WS4T
 
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...
 
ความงามทางภาษา
ความงามทางภาษาความงามทางภาษา
ความงามทางภาษา
 

Week 3 of TTFL