SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 109
กฎหมายลักษณะของเอกเทศสัญญา
๑.เอกเทศสัญญา
เอกเทศสัญญา หมายถึง สัญญาชนิดที่มีชื่อซึ่งประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ บรรพ ๓ ได้กาหนดหลักเกณฑ์และรายละเอียดของสัญญาเอาไว้
เอกเทศสัญญามีทั้งสิ้น ๒๒ ประเภทได้แก่
(๑) ซื้อขาย (๒) แลกเปลี่ยน
(๓) ให้ (๔) เช่าทรัพย์
(๕) เช่าซื้อ (๖) จ้างแรงงาน
(๗) จ้างทาของ (๘) รับขน
(๙) ยืม (๑๐) ฝากทรัพย์
(๑๑) ค้าประกัน (๑๒) จานอง
(๑๓) จานา (๑๔) เก็บของในคลังสินค้า
(๑๕) ตัวแทน (๑๖) นายหน้า
(๑๗) ประนีประนอมยอมความ (๑๘) การพนันและขันต่อ
(๑๙) บัญชีเดินสะพัด (๒๐) ประกันภัย
(๒๑) ตั๋วเงิน (๒๒) หุ้นส่วนและบริษัท
นอกเหนือจากเอกเทศสัญญาทั้ง ๒๒ ประเภทเรียกว่า “สัญญาไม่มี
ชื่อ” ซึ่งใช้บังคับตามกฎหมายได้เช่นเดียวกันตามหลักเสรีภาพในการทา
สัญญา
๒. สัญญาซื้อขาย
๑.๑ ความหมายของสัญญาซื้อขาย
สัญญาซื้อขาย หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่งเรียกว่า “ผู้ขาย” โอน
กรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีกฝ่ายเรียกว่า “ผู้ซื้อ” และผู้ซื้อตกลงว่าจะใช้ราคา
ทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ขาย
๑.๒ ลักษณะของสัญญาซื้อขาย
๑) เป็ นสัญญาต่างตอบแทน สัญญาซื้อขายเป็นสัญญาที่ผู้ขายและผู้ซื้อต่าง
เป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกัน โดยผู้ขายเป็นเจ้าหนี้และผู้ซื้อเป็นลูกหนี้ในหนี้
ชาระราคาทรัพย์สินที่ซื้อขายกัน ในขณะที่ผู้ซื้อเป็นเจ้าหนี้และผู้ขายเป็นลูกหนี้ในหนี้
โอนกรรมสิทธิ์และส่งมอบทรัพย์สินที่ซื้อขายกัน หากผู้ซื้อไม่ยอมชาระราคา ผู้ขายก็มี
สิทธิ์ที่จะไม่ส่งมอบทรัพย์สิน ในทางกลับกันหากผู้ขายไม่ยอมส่งมอบทรัพย์สิน ผู้ซื้อก็
มีสิทธิที่จะยังไม่ชาระราคา
ลักษณะของสัญญาซื้อขาย (ต่อ)
๒) เป็ นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน สัญญา
ซื้อขายเป็นสัญญาที่ผู้ขายตกลงโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของตนให้แก่ผู้ซื้อ ด้วยเหตุ
นี้ผู้ขายจึงต้องเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขายกัน อนึ่ง หากไม่มีการโอน
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินไปยังผู้ซื้อ สัญญานั้นย่อมไม่ใช่สัญญาซื้อขาย
ตัวอย่าง สัญญาซื้อเวลาออกอากาศสถานีวิทยุกระจายเสียงไม่ใช่สัญญาซื้อ
ขายเพราะไม่มีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน แต่เป็นสัญญาให้บริการการออก
กระจายเสียง
ลักษณะของสัญญาซื้อขาย (ต่อ)
๓) เป็ นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการชาระราคาเพื่อตอบแทนการโอน
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน สัญญาซื้อขายเป็นสัญญาที่ผู้ซื้อตกลงชาระราคาให้แก่ผู้ขาย
เพื่อตอบแทนที่ผู้ขายโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้แก่ตน โดยผู้ซื้อจะต้องชาระราคา
ด้วยเงินเท่านั้น หากผู้ซื้อตกลงชาระราคาด้วยทรัพย์สินอื่นที่ไม่ใช่เงินเป็นการตอบ
แทนการโอนกรรมสิทธิ์ สัญญานั้นย่อมไม่ใช่สัญญาซื้อขาย แต่เป็นสัญญา
แลกเปลี่ยน
ตัวอย่าง หนึ่งตกลงขายลูกสุนัขให้สอง และสองตกลงชาระเงินแก่หนึ่งเป็นเงิน
๒,๐๐๐ บาท สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาซื้อขาย แต่หากสองตกลงให้ลูกหมูของตน
เป็นการตอบแทน สัญญาดังกล่าวไม่ใช่สัญญาซื้อขาย แต่เป็นสัญญาแลกเปลี่ยน
๒.๓ แบบของสัญญาซื้อขาย
โดยทั่วไปแล้วสัญญาซื้อขายจะตกลงกันด้วยวิธีใดก็ได้ เช่น ด้วยวาจา ทาง
โทรศัพท์หรือตกลงกันเป็นหนังสือ เป็นต้น และสัญญานั้นจะมีผลสมบูรณ์บังคับแก่
กันได้ทันที แต่สัญญาซื้อขายทรัพย์สินบางประเภทนั้นกฎหมายบังคับให้ต้องทาตาม
แบบที่กาหนด มิฉะนั้นสัญญาจะตกเป็นโมฆะ หรือบางกรณีกฎหมายบังคับให้ต้องมี
หลักฐานเป็นหนังสือ มิฉะนั้นจะฟ้ องร้องให้บังคับคดีไม่ได้ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
๒.๓.๑ สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ ซึ่งได้แก่
ได้แก่ เรือ มีระวาง ๕ ตันขึ้นไป แพที่อยู่อาศัย และสัตว์พาหนะ กฎหมายบังคับ
บังคับให้ต้องทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หากไม่ทาการ
ทาการดังกล่าวจะมีผลให้สัญญาซื้อขายนั้นตกเป็นโมฆะ
เช่น แดงซื้อที่ดินหรือข้างของดา สัญญาดังกล่าวจะมีผลสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อทา
ทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หากแดงและดาไม่ทาสัญญาเป็น
สัญญาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่สัญญาซื้อขายนั้นจะตกเป็น
เป็นโมฆะ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะเรียกให้อีกฝ่ายปฏิบัติตามสัญญาไม่ได้
๒.๓.๒ สัญญาจะซื้อจะขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
สัญญาจะซื้อจะขาย หมายถึง การสัญญาว่าจะมาทาสัญญาซื้อขายกันในอนาคต
โดยสัญญาจะซื้อจะขายอสังการิมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษนั้นกฎหมายไม่ได้
กฎหมายไม่ได้กาหนดให้ต้องทาตามแบบเหมือนอย่างสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์
อสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ แต่กฎหมายกาหนดให้ต้องทาหลักฐาน
หลักฐานเป็นหนังสือลงลายชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด หรือวางมัดจา หรือชาระหนี้บางส่วน
บางส่วน หากไม่ทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง สัญญาจะซื้อจะขายนั้นไม่สามารถฟ้ องร้อง
ฟ้ องร้องบังคับคดีกันได้ อย่างไรก็ตาม สัญญาดังกล่าวก็ยังสมบูรณ์ไม่ตกเป็นโมฆะแต่
โมฆะแต่อย่างใด
๒.๓.๓ สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาตั้งแต่ ๒๐,๐๐๐ บาทขึ้น
ไป
สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาตั้งแต่ ๒๐,๐๐๐ บาทขึ้นไปนั้น กฎหมายไม่ได้
ไม่ได้กาหนดให้ต้องทาตามแบบเหมือนอย่างสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือ
สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
แต่กฎหมายกาหนดให้ต้องทาหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้อง
รับผิดชอบ หรือวางมัดจาหรือชาระหนี้บางส่วนเช่นเดียวกับสัญญาจะซื้อจะขาย
อสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษหากไม่ทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง สัญญา
สัญญาซื้อขายนั้นไม่สามารถฟ้ องร้อยบังคับคดีกันได้ อย่างไรก็ตาม สัญญาดังกล่าวก็
ดังกล่าวก็ยังสมบูรณ์ไม่ตกเป็นโมฆะแต่อย่างใด
ดังนั้น สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาต่ากว่า ๒๐.๐๐๐ บาท แม้ไม่ทา
ไม่ทาเป็นหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด หรือวางมัดจา หรือชาระ
ชาระหนี้บางส่วน คู่สัญญาก็สามารถฟ้ องร้องต่อศาลให้รับผิดตามสัญญาได้เสมอ
๒.๔ การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย
๒.๔ การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย
โดยทั่วไปกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขายย่อมโอนจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อทันทีที่
สัญญาเกิด เช่น แดงตกลงซื้อรถยนต์คันเดียวของเขียวในวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐
และเขียวจะส่งมอบรถยนต์คันดังกล่าวให้แก่แดงในวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๐ ดังนี้
กรรมสิทธิ์ในรถยนต์คันดังกล่าวย่อมโอนไปยังแดงในวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ ซึ่งเป็น
วันที่สัญญาซื้อขายเกิดขึ้น แม้ว่าวันดังกล่าวจะยังไม่ได้ส่งมอบรถยนต์ให้แก่แดงก็ตาม
ข้อยกเว้นอยู่ ๔ ประการ ที่ทาให้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขายยังไม่โอนจาก
ผู้ขายไปยังผู้ซื้อทันทีที่เกิดสัญญา ดังนี้
๑) สัญญาซื้อขายอยู่ภายใต้เงื่อนไขบังคับก่อนหรือเงื่อนเวลาเริ่มต้น คือ
สัญญาที่มีเงื่อนไขบังคับก่อนหรือเงื่อนเวลาเริ่มต้นนั้น สัญญาจะมีผลอันจะทาให้
กรรมสิทธิ์โอนไปยังผู้ซื้อก็ต่อเมื่อเงื่อนไขสาเร็จหรือเงื่อนเวลาที่กาหนดไว้มาถึง
ตัวอย่างที่ ๑ แดงตกลงซื้อประมวลกฎหมายอาญาจากดา โดยมีเงื่อนไขบังคับ
ก่อนว่าให้สัญญามีผลก็ต่อเมื่อแดงได้เข้าเรียนในคณะนิติศาสตร์ ดังนี้ ถึงแม้ว่าสัญญา
สัญญาจะเกิดขึ้นแล้วแต่กรรมสิทธิ์ในประมวลกฎหมายอาญาของดายังไม่โอนไปยังแดง
ยังแดงจนกว่าเงื่อนไขข้างต้นจะสาเร็จ กล่าวคือ กรรมสิทธิ์จะโอนไปยังแดงก็ต่อเมื่อ
ต่อเมื่อแดงได้เข้าเรียนในคณะนิติศาสตร์
๒) สัญญาซื้อขายทรัพย์สินที่กาหนดไว้แต่เพียงประเภท ได้แก่ กรณีที่ทรัพย์สิน
อันเป็นวัตถุแห่งสัญญายังไม่เป็น “ทรัพย์เฉพาะสิ่ง” แต่ได้ถูกกาหนดไว้แต่เพียงประเภท
เท่านั้น ถึงแม้ว่าสัญญาซื้อขายจะเกิดขึ้นแล้วแต่กรรมสิทธิ์ก็ยังไม่โอนจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อ
ซื้อจนกว่าจะได้ทาให้ทรัพย์สินที่ซื้อขายเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งเสียก่อน การทาให้ทรัพย์สินที่ซื้อ
ที่ซื้อขายเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งนั้นจะต้องมีการดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อระบุตัวทรัพย์สิน
ทรัพย์สินนั้นให้แน่นอนและเฉพาะเจาะจง
เช่น ระบุตัวทรัพย์สินให้ชัดเจน นับจานวน ชั่งตามน้าหนักที่ตกลงซื้อขายกัน วัด
ขนาด หรือทาโดยวิธีการอื่นซึ่งสามารถระบุตัวทรัพย์ให้แน่นนอนว่าต้องการซื้อขายทรัพย์ชิ้น
ทรัพย์ชิ้นใด อันใด และจานวนเท่าใด เพราะหากยังไม่ได้ดาเนินการเช่นว่านั้นก็ไม่สามารถ
สามารถทราบได้ว่าจะซื้อขายทรัพย์ใดกันแน่ กรรมสิทธิ์ในทรัพย์จึงไม่มีทางโอนไปยังผู้ซื้อได้
ซื้อได้เลย
ตัวอย่าง แดงเป็นพ่อค้าขายเนื้อหมูในตลาดซึ่งมีเนื้อหมูอยู่เป็นจานวนมาก ดา
ตกลงซื้อเนื้อหมูจากแดงเป็นจานวน ๒ กิโลกรัม กรณีนี้ถึงแม้สัญญาซื้อขายเกิดขึ้น
เกิดขึ้นแล้ว แต่กรรมสิทธิ์ในเนื้อหมูก็ยังไม่โอนจากแดงไปยังดาทันทีที่สัญญาเกิด
เพราะเนื้อหมูยังไม่ได้ถูกทาให้เป็นทรัพย์เฉพาะสิ่ง แต่เมื่อใดที่มีการตัดแบ่งและชั่งเนื้อ
ชั่งเนื้อหมูออกมาเป็นจานวน ๒ กิโลกรัมเพื่อจะทาการส่งมอบเมื่อนั้นเนื้อหมูที่ตัดแบ่ง
แบ่งออกมาและถูกชั่งน้าหนักแล้วจึงจะกลายเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งและกรรมสิทธิ์จึงจะ
จะโอนไปยังดา
๓) สัญญาซื้อขายทรัพย์เฉพาะสิ่งที่ยังต้องดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง
เพื่อให้รู้ราคา โดยหลักแล้วการซื้อขายทรัพย์เฉพาะสิ่งทาให้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่
ซื้อขายโอนไปยังผู้ซื้อทันทีที่สัญญาเกิด อย่างไรก็ดี หากทรัพย์สินที่ซื้อขายกันเป็น
เป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งอยู่แล้วแต่ยังต้องดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้รู้ราคา กรณีนี้
กรณีนี้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์เฉพาะสิ่งดังกล่าวก็ยังไม่โอนจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อทันทีที่
สัญญาเกิด แต่กรรมสิทธิ์ในทรัพย์เฉพาะสิ่งดังกล่าวจะโอนไปยังผู้ซื้อก็ต่อเมื่อได้
ดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้รู้ราคาที่แน่นอน เช่น นับ ชั่ง ตวง วัด เป็นต้น
ต้น
ตัวอย่าง แดงตกลงซื้อไก่ทั้งเล้าจากเขียว โดยตกลงซื้อขายกันในราคากิโลกรัม
ละ ๕๐ บาท กรรมสิทธิ์ในไก่ยังไม่โอนไปยังแดงแม้ไก้ทั้งเล้าจะเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งแล้ว
แล้วก็ตาม เพราะคู่สัญญายังไม่รู้ราคาที่ซื้อขายกัน ดังนี้ กรรมสิทธิ์ในไก่จะโอนไปยัง
ไปยังแดงก็ต่อเมื่อได้ชั่งน้าหนักไก่ทั้งเล้าเพื่อให้รู้ราคาที่ซื้อขายกันเสียก่อน
แต่หากแดงตกลงซื้อขายไก่ทั้งจากเขียวในราคา ๑๐,๐๐๐ บาท กรรมสิทธิ์ในไก่
ในไก่ย่อมโอนไปยังแดงทันทีที่สัญญาเกิดตามหลักทั่วไป เพราะไก่ทั้งเล้าเป็นทรัพย์
ทรัพย์เฉพาะสิ่งและคู่สัญญาก็รู้ราคาที่ซื้อขายกันแล้ว จะเห็นได้ว่ากรณีนี้ไม่ต้องกระทา
กระทาการอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อให้รู้ราคาอีก
๔) สัญญาซื้อขายทรัพย์สินที่คู่สัญญาตกลงให้กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนทันทีที่
สัญญาเกิด กล่าวคือ ในสัญญาซื้อขายนั้นคู่สัญญาสามารถตกลงกันได้ว่าจะให้
กรรมสิทธิ์นั้นโอนไปเมื่อใดก็ได้ตามที่ต้องการ ซึ่งจะทาให้กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนไปยังผู้ซื้อ
ยังผู้ซื้อทันทีที่สัญญาเกิด
ตัวอย่าง แดงตกลงขายรถยนต์คันหนึ่งให้แก่ขาวในราคา ๕๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่ง
โดยทั่วไปแล้วกรรมสิทธิ์ในรถยนต์คันดังกล่าวย่อมโอนไปยังขาวทันทีที่ทาสัญญา แต่หากมี
หากมีการตกลงกันให้กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนไปจนกว่าขาวจะชาระราคาครบถ้วน ดังนี้
กรรมสิทธิ์ในรถยนต์ก็ยังไม่โอนไปยังขาวทันทีที่ทาสัญญาซื้อขายกันอันเป็นผลมาจากเจตนา
เจตนาของคู่สัญญาที่ตกลงกันนั้นเอง
๒.๕ สัญญาซื้อขายเฉพาะอย่าง
๒.๕.๑ สัญญาขายฝาก
สัญญาขายฝาก หมายถึง สัญญาซื้อขายซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินตกไปยังผู้
ซื้อ โดยมีข้อตกลงกันว่าผู้ขายอาจไถ่ทรัพย์นั้นคือได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด หาก
ผู้ขายไม่ไถ่ทรัพย์คืนในระยะเวลาดังกล่าว ผู้ขายจะไม่สามารถไถ่ทรัพย์ได้อีกต่อไป
เช่น ดาขายที่ดินแก่แดงโดยมีข้อตกลงว่า ภายในเวลา ๑๐ ปีนับแต่ที่ได้ทา
สัญญากันนั้น ดาสามารถนาเงินไปไถ่ที่ดินนั้นคืนจากแดงได้เสมอ สัญญาซื้อขาย
ดังกล่าวจึงเป็นสัญญาขายฝาก
กฎหมายได้กาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์สินของสัญญาขายฝากไว้ ๒ ระยะเวลา
ตามชนิดของทรัพย์ที่ขายฝาก ดังนี้
๑) กรณีอสังหาริมทรัพย์ มีกาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์สิน ๑๐ ปีนับแต่ทาสัญญา
ซื้อขาย
๒) กรณีสังหาริมทรัพย์ มีกาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์สิน ๓ ปีนับแต่ทาสัญญาซื้อ
ขาย
อย่างไรก็ตาม คู่สัญญาสามารถกาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์คืนสั้นกว่าที่กฎหมาย
กาหนดได้ แต่ถ้าคู่สัญญากาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์ยาวกว่าที่กฎหมายกาหนด ก็ให้
ระยะเวลาไถ่ทรัพย์คืนลดลงมาเป็น ๑๐ ปี และ ๓ ปี ตามประเภทของทรัพย์
๒.๕.๒ สัญญาขายตามตัวอย่าง ขายตามคาพรรณนา ขายเผื่อชอบ
สัญญาขายตามตัวอย่าง หมายถึง สัญญาซื้อขายอย่างหนึ่งที่ผู้ขายให้ผู้ซื้อได้
มีโอกาสตรวจดูหรือให้ทรัพย์สินที่จะซื้อขายเป็นตัวอย่างก่อนที่จะตกลงทาสัญญาซื้อ
ซื้อขาย ทรัพย์สินที่นามาให้ตรวจดูหรือใช้เป็นเพียงตัวอย่างสินค้าเท่านั้นไม่ใช่ตัวสินค้า
สินค้าที่จะส่งมอบกันจริงๆ ในการขายตามตัวอย่างนั้นผู้ขายต้องส่งมอบทรัพย์สินให้
ให้ตรงตามตัวอย่างที่นามาให้ผู้ซื้อตรวจดูหรือใช้
สัญญาขายตามคาพรรณนา หมายถึง สัญญาซื้อขายอย่างหนึ่งที่ผู้ซื้อไม่มี
โอกาสได้เห็นและตรวจคุณภาพของทรัพย์สิน แต่ผู้ซื้อได้ตกลงซื้อโดยเชื่อตามคา
พรรณนาถึงลักษณะ รูปพรรณและคุณภาพของสินค้าที่ผู้ขายได้พรรณนาไว้ ในการ
การขายตามคาพรรณนานั้นผู้ขายต้องส่งมอบทรัพย์สินในตรงตามคาพรรณนา
สัญญาขายเผื่อชอบ หมาย สัญญาซื้อขายอย่างหนึ่งที่มีเงื่อนไขว่าให้ผู้ซื้อได้
มีโอกาสตรวจดูทรัพย์สินก่อน โดยผู้ซื้อจะซื้อหรือไม่ก็ได้ กล่าวคือ หากผู้ซื้อชอบ
และแสดงความจานงว่าจะซื้อทรัพย์สินนั้น สัญญาซื้อขายจึงจะเกิดขึ้นและกรรมสิทธิ์
กรรมสิทธิ์จึงจะโอนไปเป็นของผู้ซื้อ ในทางตรงกันข้ามถ้าผู้ซื้อไม่ชอบก็ปฏิเสธได้
สัญญาซื้อขายก็ไม่เกิดขึ้นขายก็ไม่เกิดขึ้น กรรมสิทธิ์ก็ไม่โอนไปเป็นของผู้ซื้อ สัญญา
สัญญาขายเผื่อขอบนั้นทรัพย์สินที่ซื้อขายกันจะเป็นทรัพย์สินชิ้นเดี่ยวกับทรัพย์สินที่
ที่นามาให้ผู้ซื้อตรวจดูซึ่งต่างจากสัญญาขายตามตัวอย่าง
๒.๕.๓ สัญญาขายทอดตลาด
สัญญาขายทอดตลาด หมายถึง สัญญาซ้อขายอย่างหนึ่งที่ผู้ชายนา
ทรัพย์สินออกเสนอขายโดยให้ผู้ซื้อสู้ราคากัน การขายทอดตลาดเป็นการขายโดย
เปิดเผย คือ ผู้ขายไม่ได้ติดต่อกับผู้ซื้อเป็นรายคน แต่ได้เปิดโอกาสให้ผู้ซื้อหลายๆ คน
คนเข้ามาแข่งขันประมูลราคากัน ถ้าใครให้ราคาสูงสุดก็จะขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่
ให้แก่ผู้นั้น
การขายทอดตลาดย่อมบริบูรณ์เมื่อผู้ทอดตลาดแสดงความตกลงขายด้วยวิธีการ
วิธีการเคาะไม้หรือด้วยกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งในการขายทอดตลาด
๒.๖ ความรับผิดในความชารุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขาย
หากทรัพย์สินที่ขายนั้นชารุดบกพร่องจนเป็นเหตุให้ทรัพย์สินนั้นเสื่อมราคาหรือ
หรือเสื่อมความเหมาะสมแก่ประโยชน์อันมุ่งจะใช้เป็นปกติหรือแก่ประโยชน์ที่มุ่งหมาย
หมายโดยสัญญา ผู้ขายย่อมต้องรับผิดต่อผู้ซื้อทั้งในกรณีที่ผู้ขายรู้ถึงความชารุด
บกพร่องนั้นอยู่แล้วและกรณีที่ผู้ขายไม่รู้ถึงความชารุดบกพร่องนั้นเลย โดยความชารุด
ชารุดบกพร่องที่ผู้ขายต้องรับผิดนั้นจะต้องมีอยู่ก่อนหรือขณะทาสัญญาซื้อขาย หรือ
หรือก่อนการส่งมอบทรัพย์สินเสร็จสิ้นลง ทั้งนี้ ผู้ซื้อต้องฟ้ องให้ผู้ขายรับผิดในความ
ความชารุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขายภายในอายุความ ๑ ปีนับแต่เวลาที่ผู้ซื้อได้พบ
พบเห็นความชารุดบกพร่องนั้น
ตัวอย่างที่ ๑ แดงตกลงซื้อแหวนเพชรจากดาในราคา ๒๐๐,๐๐๐ บาท
หลังจากนั้นแดงได้นาแหวนเพชรไปให้เขียวซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านเพชรพลอย
เขียวใช้กล่องส่องดูพบว่าแหวนเพชรมีตาหนิ เป็นฝ้ า และมีรอยร้าวซึ่งมองด้วยตาเปล่า
ตาเปล่าไม่เห็น เป็นเหตุให้แหวนเพชรราคาลดลงถึง ๑๐๐,๐๐๐ บาท เช่นนี้เป็นกรณี
กรณีที่แหวนเพชรมีความชารุดบกพร่องถึงขนาดเป็นเหตุให้แหวนเพชรนั้นเสื่อมราคา
ราคา ดาผู้ขายต้องรับผิดต่อแดงผู้ซื้อ แม้ว่าดาจะไม่รู้ถึงความชารุดบกพร่องนั้นมา
มาก่อนเลยก็ตาม
ผู้ขายไม่ต้องรับผิดชอบในความชารุดพกพร่องของทรัพย์สินที่ขาย หากเข้า
ข้อยกเว้นอย่างใดอย่างหนึ่ง ใน 3 ประการดังต่อไปนี้
๑. ถ้าผู้ซื้อได้รู้อยู่แล้วแต่ในเวลาซื้อขายว่ามีความชารุดบกพร่องหรือควรจะ
ได้รู้เช่นหากได้ใช้ความระมัดระวังอันจะพึงคาดหมายได้แต่วิญญูชน
๒.ถ้าความชารุดบกพร่องนั้นเป็นอันเห็นประจักษ์แล้วในเวลาส่งมอบและผู้
ซื้อรับเอาทรัพย์สินนั้นไว้โดยมิได้อิดเอื้อน
๓. ถ้าทรัพย์สินนั้นได้ขายทอดตลาด
นอกจากนี้ผู้ขายอาจตกลงกับผู้ซื้อว่าผู้ขายจะไม่ต้องรับผิดในความชารุด
บกพร่องของทรัพย์สินที่ขายก็ได้โดยกาหนดข้อตกลงนั้นไว้ในสัญญาซื้อขาย
๓. สัญญาแลกเปลี่ยน
๓.๑ ความหมายของสัญญาแลกเปลี่ยน
สัญญาแลกเปลี่ยนหมายถึง สัญญาซึ่งคู่สัญญาต่างโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
ของแต่ละฝ่ายให้กันและกัน โดยทรัพย์สินที่นามาแลกเปลี่ยนกันนั้นต้องไม่ใช่เงิน หาก
คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งนาเงินไปแลกเปลี่ยนกับทรัพย์สินอื่นที่ไม่ใช่เงิน สัญญานั้นก็จะ
ไม่ใช่สัญญาแลกเปลี่ยนแต่เป็นสัญญาซื้อขาย
3.2 ลักษณะของสัญญาแลกเปลี่ยน
สัญญาแลกเปลี่ยนมีลักษณะสาคัญเหมือนกับสัญญาซื้อขายอย่างยิ่ง กล่าวคือ
ทั้งสัญญาซื้อขายและสัญญาแลกเปลี่ยนต่างก็เป็นสัญญาต่างตอบแทน เป็นสัญญาที่มี
วัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน และเป็นสัญญาที่มีวัตถุของสัญญาเป็น
ทรัพย์สินเหมือนกัน แต่แตกต่างกันตรงที่มีสัญญาซื้อขายเป็นเรื่องการเอาของแลกกับ
เงิน ในขณะที่สัญญาแลกเปลี่ยนเป็นเรื่องการเอาของแลกกับของ
เช่น แดงนาหมูของตนจานวน 1 ตัว ไปแลกกับข้าวสารของดาจานวน 4
กระสอบสัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาแลกเปลี่ยน แต่หากดานาเงินจานวน 3,000
บาทไปแลกกับหมูของแดงจานวน 1 ตัว สัญญาดังกล่าวก็จะไม่ใช่สัญญา
แลกเปลี่ยนแต่เป็นสัญญาซื้อขาย
๔. สัญญาให้
๔.๑ ความหมายของสัญญาให้
สัญญาให้ หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ให้” โอนกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพย์สินของตนให้โดยเสน่หาแก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับ” และผู้รับยอมรับเอา
ทรัพย์สินนั้น
เช่น แดงถูกลอตเตอรี่จานวน 3ล้านบาท แดงจึงแบ่งเงินรางวัลจานวน 5 แสน
บาทให้แก่ดาซึ่งเป็นน้องชายของตน โดยดารับเอาเงินจานวนดังกล่าวด้วยความดีใจ
• เช่น แดงถูกลอตเตอรี่จานวน 3ล้านบาท แดงจึงแบ่งเงินรางวัลจานวน 5 แสนบาท
ให้แก่ดาซึ่งเป็นน้องชายของตน โดยดารับเอาเงินจานวนดังกล่าวด้วยความดีใจ
๔.๑ ลักษณะของสัญญาให้
๑. เป็ นสัญญาไม่ต่างตอบแทน สัญญาให้ไม่ใช่สัญญาต่างตอบแทน เพราะ
ผู้รับไม่มีหน้าที่ต้องทาอะไรเป็นการตอบแทนผู้ให้แต่อย่างใด นอกจากยอมรับเอา
ทรัพย์สินจากผู้ให้แต่ฝ่ายเดียว ส่วนผู้ให้ก็โอนกรรมสิทธิ์ให้ผู้รับไปโดยเสน่หา ทั้งๆ ที่ตน
ไม่มีหน้าตามกฏหมายที่จะต้องให้ทรัพย์สินนั้นแก่ผู้รับ
๒. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน สัญญา
ให้เป็นสัญญาที่ผู้ให้ตกลงโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของตนให้แก่ผู้รับ โดยผู้รับยอมรับ
เอาทรัพย์สินนั้นเป็นของตน ด้วยเหตุนี้ผู้ให้จึงต้องเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ให้
กัน
๓. เป็ นสัญญาที่ผู้ให้โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้แก่ผู้รับโดยเสน่หา
หมายถึงการให้เปล่าโดยไม่มีค่าตอบแทนหรือไม่ก่อให้เกิดหน้าที่ใดๆ แก่ผู้รับ หากผู้รับมี
ผู้รับมีหน้าที่ต้องกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อตอบแทนผู้ให้ สัญญานั้นก็ไม่ใช่
สัญญาให้ อย่างไรก็ดี มีสัญญาให้บางประเภทที่ผู้ให้กาหนดหน้าที่บางประการให้ผู้รับ
ผู้รับต้องปฏิบัติ เช่น หนึ่งให้ที่ดินติดจานองแก่สอง แต่มีข้อแม้ว่าสองต้องไปไถ่ถอน
ถอนจานองสาหรับที่ดินนั้นด้วย สัญญาให้ดังกล่าวเรียกว่า “สัญญาให้ทรัพย์สินที่มี
ที่มีค่าภาระติดพัน”
๔. เป็ นสัญญาที่สมบูรณ์เมื่อส่งมอบทรัพย์สินที่ให้ คือ สัญญาให้จะเกิดขึ้น
เมื่อผู้ให้ส่งมอบและโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่ผู้รับ และผู้รับตกลงยอมรับทรัพย์สินนั้น หาก
หากผู้ให้ยังไม่ส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้รับ สัญญาให้ย่อมไม่เกิดขึ้นหรือไม่สมบูรณ์
สมบูรณ์
๔.๓ แบบของสัญญาให้
สัญญาให้อสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษต้องทาเป็นหนังสือและจด
ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนั้นสัญญาให้ดังกล่าวจะไม่สมบูรณ์ เช่น แดงทา
หนังสือยกที่ดินของตนให้แก่ดา แต่มิได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ สัญญาให้
ดังกล่าวย่อมไม่สมบูรณ์
๔.๔ การถอนคืนการให้เพราะเหตุผู้รับประพฤติเนรคุณ
โดยหลักแล้วเมื่อผู้ให้ส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้รับแล้ว ผู้ให้จะเรียกทรัพย์สินนั้นคืน
จากผู้รับไม่ได้ แต่ถ้าประพฤติเนรคุณต่อผู้ให้ กฎหมายก็เปิดโอกาสให้ผู้ให้สามารถเรียก
ทรัพย์สินนั้นคืนจากผู้รับได้ซึ่งเรียกว่า “การถอนคืนการให้” โดยผู้ให้จะเรียกถอนคืน
การให้เพราะเหตุผู้รับประพฤติเนรคุณได้เฉพาะใน 3 กรณีดังต่อไปนี้
๑. ผู้รับได้ประทุษร้ายต่อผู้ให้อันเป็ นความผิดฐานอาญาอย่างร้ายแรงตาม
ประมวลกฎหมายอาญา เช่น ผู้รับฆ่าผู้ให้ ผู้รับทาร้ายร่างกายผู้ให้ แต่ถ้าผู้รับลักทรัพย์
ของผู้ให้ย่อมไม่เป็นการประทุษร้ายต่อผู้ให้
๒. ผู้รับได้ทาให้ผู้ให้เสียชื่อเสียงหรือหมิ่นประมาทผู้ให้อย่างร้ายแรง เช่น
ผู้รับด่าผู้ให้ซึ่งเป็นพ่อของตนว่า “ไอ้แก่ กูไม่นับมึงเป็นพ่อ ออกไปให้พ้น ไม่ไปมึงตายกู
ตายกูไม่รู้” แต่ถ้าผู้รับแจ้งความดาเนินคดีกับผู้ให้ตามสิทธิอันชอบธรรมย่อมไม่เป็นการ
เป็นการทาให้ผู้ให้เสียชื่อเสียงหรือหมิ่นประมาทผู้ให้อย่างร้ายแรง
๓. ผู้รับได้บอกปัดไม่ยอมให้สิ่งของจาเป็ นเลี้ยงชีวิตแก่ผู้ให้ในเวลาที่ผู้ให้
ยากไร้และผู้รับยังสามารถจะให้ได้ เช่น หลังจากผู้ให้ยกทรัพย์สมบัติทั้งหมดของตน
ให้แก่ผู้รับซึ่งเป็นลูก ผู้รับอยู่ในฐานะที่สามารถอุปการะเลี้ยงดูผู้ให้ได้ แต่ด้วยความ
ความรังเกียจผู้ให้จึงไม่ยอมอุปการะเลี้ยงดู มิหนาซ้ายังขับไล่ผู้ให้มิให้อยู่ร่วมบ้านด้วย
หากผู้ให้ได้ให้อภัยแก่ผู้รับในเหตุประพฤติเนรคุณนั้นแล้ว หรือผู้ให้ได้ปล่อย
ให้เวลาได้ล่วงเลยไปแล้ว ๖ เดือนนับแต่ผู้ให้ได้ทราบว่าผู้รับประพฤติเนรคุณ
เช่นนี้ผู้ให้จะเรียกถอนคืนการให้เพราะเหตุผู้รับประพฤติเนรคุณไม่ได้อีกต่อไป
๕.สัญญาเช่าทรัพย์สิน
๕.๑ ความหมายของสัญญาเช่าทรัพย์สิน
สัญญาเช่าทรัพย์สิน หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า “ผู้ให้เช่า” ตกลง
ให้บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้เช่า” ได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินอย่างใดอย่าง
หนึ่งตามกาหนดเวลาที่ได้ตกลงกันไว้ และผู้เช่าจะให้ค่าเช่าแก่ผู้ให้เช่าเป็นการตอบแทน
จากการที่ตนได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินที่เช่า
๕.๒ ลักษณะของสัญญาเช่าทรัพย์
๑. เป็ นสัญญาต่างตอบแทน กล่าวคือ ผู้ให้เช่าและผู้เช่าต่างมีหน้าที่ปฏิบัติตอบแทน
ซึ่งกันและกัน ได้แก่ ผู้ให้เช่าต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ให้เช่าแก่ผู้เช่า และผู้เช่าต้องชาระค่าเช่าแก่
ผู้ให้เช่าเป็นการตอบแทน
๒.เป็ นสัญญาที่ไม่ได้มีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ดังนั้น ผู้ให้เช่าอาจไม่ใช่
เจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าทรัพย์ก็ได้ผู้ให้เช่าอาจนาทรัพย์สินของผู้อื่นมาให้เช่าก็ได้หากเจ้าของ
อนุญาตหรือจะนาทรัพย์สินที่ตนเช่ามาไปให้บุคคลอื่นเช่าอีกทอดหนึ่งก็ได้หากผู้ให้เช่าอนุญาต
เช่น แดงให้ดาเช่ารถยนต์ของตน ดาอาจนารถยนต์คันดังกล่าวไปให้เช่าอีกทอดหนึ่งก็
ได้การกระทาเช่นนี้เรียกว่า “การเช่าช่วง” อย่างไรก็ดีไม่ว่าจะมีการให้เช่าไปกี่ทอดก็ตาม
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นยังคงเป็นของเจ้าของกรรมสิทธิ์เดิมเสมอ เนื่องจากสัญญาเช่าเป็น
สัญญาที่ไม่ได้มีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่เช่า
๓. เป็ นสัญญาที่มีระยะเวลาจากัด การเช่าสังหาริมทรัพย์นั้นคู่สัญญาจะ
กาหนดระยะเวลาเช่านานเพียงใดก็ได้ แต่การเช่าอสังหาริมทรัพย์กฎหมายกาหนดให้
กาหนดให้เช่าได้ไม่เกิน 30 ปี หากคู่สัญญาตกลงกันเกิน 30 ปี กฎหมายให้ลด
ระยะเวลาเช่าลงมาเหลือ 30 ปี อย่างไรก็ดี คู่สัญญาสามารถกาหนดระยะเวลาเช่า
เช่าตลอดอายุของผู้ให้เช่าหรือผู้เช่าก็ได้
๔. เป็ นสัญญาที่ถือเอาคุณสมบัติของผู้เช่าเป็ นสาระสาคัญ เนื่องจากผู้ให้
เช่าต้องพิจารณาผู้เช่ามีคุณสมบัติที่จะดูแลรักษาทรัพย์สินที่ให้เช่าได้หรือไม่ หากผู้เช่ามี
ผู้เช่ามีคุณสมบัติดังกล่าวผู้ให้เช่าจึงยอมให้ผู้เช่าได้ใช้ทรัพย์สิน ดังนั้น หากผู้เช่าตาย
ตาย สัญญาเช่าย่อมระงับ และผู้เช่าจะเอาทรัพย์สินที่เช่ามาไปให้บุคคลอื่นเช่าต่อ
(เช่าช่วง) โดยผู้ให้เช่าไม่ยอมไม่ได้
๕.เป็ นสัญญาที่ไม่มีแบบ ดังนั้น สัญญาเช่าจึงสมบูรณ์เมื่อมีการตกลงกัน
ระหว่างผู้ให้เช่ากับผู้เช่า ไม่ว่าจะตกลงกันด้วยวาจาหรือลายลักษณ์อักษร แต่การเช่า
เช่า อสังหาริมทรัพย์ นั้นกฎหมายกาหนดให้ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อ
ลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด มิฉะนั้นจะไม่สามารถฟ้ องร้องบังคับให้ปฏิบัติตามสัญญา
สัญญาเช่าได้ยิ่งกว่านั้นหากเป็นการเช่าอสังหาริมทรัพย์เกินกว่า 3 ปีเท่านั้น หรือ
กาหนดตลอดอายุของผู้เช่าหรือผู้ให้เช่า กฎหมายกาหนดให้ต้องทาเป็นหนังสือและจด
และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ถ้าไม่ทาจะมีผลให้สามารถฟ้ องร้องบังคับกันตาม
กันตามสัญญาเช่าได้เพียง 3 ปีเท่านั้น อย่างไรก็ดี การที่ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือหรือ
หรือไม่ได้ทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่ทาให้สัญญาเช่าตก
ตกเป็นโมฆะแต่อย่างใด สัญญาเช่ายังมีผลสมบูรณ์ทุกประการ ส่วนสัญญาเช่า
สังหาริมทรัพย์ รวมถึงสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ คู่สัญญาสามารถฟ้ องร้องบังคับคดีกัน
ได้โดยไม่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือแต่อย่างใด
๕.๓ ผลของการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่า
เมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่า กรณีสัญญาเช่าสังหาริมทรัพย์นั้น
หากมีการโอนกรรมสิทธิ์ในสังหาริมทรัพย์ที่เช่าจะทาให้สัญญาเช่าระงับลง ส่วนกรณี
สัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์นั้นหากมีการโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ที่เช่าก็ไม่
ทาให้สัญญาเช่าระงับลงแต่ประการใด
ตัวอย่างที่ 1 ขาวทาสัญญาเช่ารถยนต์จากดาเป็นเวลา 2 ปี หนึ่งปีต่อมาดาได้
ขายรถยนต์คันดังกล่าวให้แก่เขียว ดังนี้ สัญญาเช่ารถยนต์ระหว่างขาวกับดาย่อมระงับ
ลง เนื่องจากได้มีการโอนกรรมสิทธิ์ในสังหาริมทรัพย์ที่เช่า
๖. สัญญาเช่าซื้อ
๖.๑ ความหมายของสัญญาเช่าซื้อ
สัญญาเช่าซื้อ หมายถึง สัญญาซึ่งเจ้าของทรัพย์สินเรียกว่า “ผู้ให้เช่าซื้อ” นา
ทรัพย์สินของตนออกให้เช่า และให้คามั่นว่าจะขายทรัพย์ดังกล่าวให้แก่ “ผู้เช่าซื้อ” โดย
มีเงื่อนไขว่าผู้เช่าซื้อต้องชาระราคาทรัพย์สินนั้นเป็นงวด ๆ จนครบตามจานวนที่ได้ตก
ลงกันไว้ในสัญญา
๖.๒ ลักษณะของสัญญาเช่าซื้อ
๑.เป็ นสัญญาต่างตอบแทน กล่าวคือ ผู้ให้เช่าซื้อและผู้เช่าซื้อต่างมีหน้าที่
ปฏิบัติตอบแทนซึ่งกันและกัน ได้แก่ ผู้ให้เช่าซื้อต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ให้เช่าซื้อแก่ผู้เช่า
ซื้อและโอนกรรมสิทธิ์ให้เมื่อผู้เช่าซื้อชาระครบงวดและผู้เช่าซื้อต้องชาระเงินเป็นงวดๆ
แก่ผู้ให้เช่าซื้อเป็นการตอบแทน
๒. ผู้ให้เช่าซื้อไม่ต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าซื้อก็ได้ เนื่องจาก
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่าซื้อจะโอนไปยังผู้เช่าซื้อเมื่อผู้เช่าซื้อได้ชาระราคา
ครบถ้วน ไม่ได้โอนไปยังผู้เช่าซื้อทันทีขณะที่ทาสัญญาเหมือนดังสัญญาซื้อขาย
ดังนั้น ในขณะทาสัญญาเช่าซื้อ ผู้ให้เช่าซื้อจะเป็นเจ้าของทรัพย์ที่ให้เช่าซื้อหรือ
ไม่ได้เป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าซื้อก็ได้ เพียงแต่ว่าในภายหลังเมื่อผู้เช่าซื้อ
ชาระราคาครบถ้วนแล้ว ผู้ให้เช่าซื้อจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าซื้อ
เพื่อให้สามารถโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นไปยังผู้เช่าซื้อได้
๓. ผู้ให้เช่าซื้อเอาทรัพย์สินของตนอออกให้เช่าประกอบกับให้คามั่น
แก่ผู้เช่าซื้อว่าจะขายทรัพย์สินนั้น สัญญาเช่าซื้อมีลักษณะเป็นสัญญาเช่า
กับคามั่นว่าจะขายดังนั้นผู้ให้เช่าจึงต้องนาทรัพย์สินออกให้ผู้เช่าซื้อได้ใช้สอย
ประโยชน์จากทรัพย์สินนั้นเหมือนเช่นสัญญาเช่าทรัพย์
๔. เป็นสัญญาที่กรรมสิทธิ์ในทรัพย์เช่าซื้อโอนไปยังผู้เช่าซื้อเมื่อผู้เช่าซื้อ
ชาระเงินครบทุกงวด ต่างจากสัญญาซื้อขายผ่อนส่งตรงที่สัญญาซื้อขายผ่อนส่ง
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินโอนทันทีตั้งแต่ทาสัญญา
๕. เป็นสัญญาที่มีแบบ สัญญาเช่าซื้อนั้นกฎหมายบังคับให้ต้องทาเป็น
หนังสือระหว่างคู่สัญญาด้วยกันเอง หากไม่ทาเป็นหนังสือสัญญาจะตกเป็นโมฆะ
๗. สัญญาจ้างแรงงาน
๗.๑ ความหมายของสัญญาจ้างแรงงาน
สัญญาจ้างแรงงาน หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า “ลูกจ้าง” ตกลง
ที่จะทางานให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “นายจ้าง” และนายจ้างตกลงจะให้
สินจ้างตลอดเวลาที่ทางาน
๗.๒ ลักษณะของสัญญาจ้างแรงงาน
๑.เป็นสัญญาต่างตอบแทน นายจ้างและลูกจ้างต่างมีหน้าที่ปฏิบัติตอบ
แทนซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ลูกจ้างต้องทางานให้แก่นายจ้าง ส่วนนายจ้างต้อง
จ่ายสินจ้างให้แก่ลูกจ้างตลอดระยะเวลาที่ลูกจ้างทางานให้
๒. เป็นสัญญาที่สาระสาคัญอยู่ที่ตัวบุคคลผู้เป็นคู่สัญญา คือ ในการ
ตัดสินใจเข้าทาสัญญาทั้งฝ่ายนายจ้างและลูกจ้างนั้น ทั้งสองฝ่ายะต้องพิจารณา
คุณสมบัติและบุคลิกลักษณะของแต่ละฝ่ายจนพอใจจึงจะตกลงเข้าทางาน
ด้วยกัน ดังนั้น ในสัญญาจ้างแรงงาน นายจ้างจึงไม่สามารถโอนสิทธิตามสัญญา
ให้ลูกจ้างไปทางานกับผู้อื่น โดยที่ลูกจ้างไม่ยินยอมด้วย และในทางกลับกัน
ลูกจ้างจะให้ผู้อื่นมาทางานแทนตนโดยที่นายจ้างไม่ยินยอมไม่ได้เช่นกัน
นอกจากนั้นหากลูกจ้างตายสัญญาจ้างแรงงานก็เป็นอันระงับ
๓. เป็นสัญญาที่คู่สัญญามีความสัมพันธ์พิเศษแตกต่างไปจากสัญญา
ชนิดอื่นๆ กล่าวคือ ลูกจ้างต้องทางานให้แก่นายจ้างด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เต็ม
ความสามารถ และนายจ้างมีอานาจบังคับบัญชาลูกจ้าง
๔. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ สัญญาจ้างแรงงานไม่จาเป็นต้องทาเป็นหนังสือ
หรือมีหลักฐานเป็นหนังสือแต่อย่างใด เพียงแต่ตกลงกันด้วยวาจา สัญญาก็
สมบูรณ์และสามารถฟ้ องร้องบังคับคดีกันได้
๘. สัญญาจ้างทาของ
๘.๑ ความหมายของสัญญาจ้างทาของ
สัญญาจ้างทาของ หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับจ้าง” ตก
ลงรับจะทาการงานสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนสาเร็จให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ว่า
จ้าง” และผู้ว่าจ้างตกลงจะให้สินจ้างเพื่อผลสาเร็จแห่งการที่ทานั้น เช่น การจ้างให้
สร้างบ้าน การจ้างให้วาดรูป การจ้างให้ซ่อมรถยนต์ การจ้างว่าความ เป็นต้น
๘.๒ ลักษณะของสัญญาจ้างทาของ
๑. เป็ นสัญญาต่างตอบแทน ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างต่างมีหน้าที่ปฏิบัติตอบแทน
ซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ผู้รับจ้างต้องทางาน ที่รับมาจนสาเร็จ ส่วนผู้ว่าจ้างตกลงจ่าย
สินจ้างให้เป็นการตอบแทนโดยสินจ้างนั้นจะเป็นเงินหรือเป็นทรัพย์สินอื่นใดก็ได้
๒. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ตรงที่ผลสาเร็จของงานที่ว่าจ้าง คือ ถ้าผู้
รับจ้างทางานไม่สาเร็จผู้ว่าจ้างก็ไม่ต้องจ่ายสินจ้าง ต่างจากสัญญาจ้างแรงงานตรงที่
นายจ้างต้องจ่ายสินจ้างตลอดเวลาที่ลูกจ้างทางานให้แม้ลูกจ้างจะทางานไม่สาเร็จก็
ตาม
๓. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ สัญญาจ้างทาของไม่จาเป็นต้องทาเป็นหนังสือ
หรือมีหลักฐานเป็นหนังสือแต่อย่างใด เพียงแต่ตกลงกันด้วยวาจา สัญญาก็
สมบูรณ์และสามารถฟ้ องร้องบังคับคดีกันได้
ความแตกต่างระหว่างสัญญาจ้างแรงงานกับสัญญาจ้างทา
ของ
ประเด็น สัญญาจ้างแรงงาน สัญญาจ้างทาของ
๑.วัตถุประสงค์ของ
สัญญา
แรงงานของลูกจ้าง ผลสาเร็จของงานที่ว่าจ้าง
๒. สินจ้าง ต้องเป็นเงินเท่านั้น อาจเป็นเงินหรือทรัพย์สินใดๆ ก็ได้
๓. การจ่ายสินจ้าง นายจ้างต้องจ่ายสินจ้างตลอดเวลาที่
ลูกจ้างทางานให้แม้ลูกจ้างจะทางานไม่
สาเร็จก็ตาม
ผู้ว่าจ้างจะจ่ายสินจ้างเมื่อลูกจ้าง
ทางานสาเร็จ หากผู้รับจ้างทางานไม่
สาเร็จผู้ว่าจ้างก็ไม่ต้องจ่ายสินจ้าง
๔.อานาจบังคับบัญชา นายจ้างมีอานาจบังคับบัญชาลูกจ้าง ผู้ว่าจ้างไม่มีอานาจบังคับบัญชาผู้
รับจ้าง
ลูกจ้างให้บุคคลอื่นทางานแทนไม่ได้ ผู้รับจ้างสามารถให้บุคคลอื่นทางาน
แทนได้ หากสาระสาคัญของงานนั้น
ไม่ได้อยู่ที่ความรู้ความสามารถของผู้
รับจ้าง
๙.สัญญายืม
๙.๑ ประเภทของสัญญายืม
สัญญายืมนั้นแบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ๑ สัญญายืมให้คงรูป และ
๒ สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง
๙.๒ สัญญายืมใช้คงรูป
สัญญายืมใช้คงรูป หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ให้ยืม” ให้
บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ยืม” ใช้สอยทรัพย์สินสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้เปล่า และผู้ยืม
ตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินนั้นเมื่อได้ใช้สอยเสร็จ
ลักษณะขอสัญญายืมใช้คงรูปมีดังนี้
๑.เป็ นสัญญาไม่ต่างตอบแทน คือ เป็นสัญญาที่ก่อให้เกิดหน้าที่ในการชาระ
หนี้แก่ผู้ยืมเพียงฝ่ายเดียว คือ ผู้ยืมมีหน้าที่ที่จะต้องคืนทรัพย์สินที่ยืม ส่วนฝ่ายผู้ให้ยืมไม่
มีหน้าที่ต้องชาระหนี้ตอบแทนแต่อย่างใด
๒.เป็ นสัญญาไม่มีค่าตอบแทน คือ เป็นสัญญาที่ให้ผู้ยืมได้ใช้สอยทรัพย์สินที่
ยืมโดยไม่ต้องเสียค่าตอบแทนใด ๆ ทั้งสิ้น ซึ่งแตกต่างจากสัญญาเช่าทรัพย์ที่ผู้เช่าได้ใช้
สอยทรัพย์สินที่เช่าโดยต้องเสียค่าเช่าเป็นค่าตอบแทน
๓. เป็ นสัญญาที่บริบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบทรัพย์ที่ยืม คือ สัญญายืมใช้คงรูป
เกิดขึ้นเมื่อผู้ให้ยืมส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้ยืม หากคู่สัญญาเพียงแต่ตกลงกันโดยผู้ให้ยืม
ยังไม่ส่งมอบทรัพย์สิน สัญญายืมใช้คงรูปก็ยังไม่เกิดขึ้น
๔. เป็นสัญญาที่ไม่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ยืม ดังนั้น กรรมสิทธิ์ใน
ทรัพย์ที่ยืมยังคงเป็นของผู้ให้ยืมเสมอ ผู้ยืมมีเพียงสิทธิในการใช้สอยทรัพย์ที่ยืม
เท่านั้น
๕. เป็นสัญญาที่ถือคุณสมบัติของผู้ยืมเป็นสาระสาคัญ หากผู้ยืมตาย
สัญญายืมใช้คงรูปย่อมระงับลง
๙.๓ สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง
สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง หมายถึง สัญญาซึ่งผู้ให้ยืมโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
ชนิดใช้แล้วหมดไปนั้นเป็นปริมาณที่มีกาหนดให้แก่ผู้ยืม และผู้ยืมตกลงว่าจะคืน
ทรัพย์สินเป็นประเภท ชนิดและปริมาณเช่นเดียวกันให้แทนทรัพย์สินซึ่งให้ยืมไปนั้น เช่น
การกู้ยืมเงิน การยืมข้าวสารมาหุงการยืมเนื้อหมูมาประกอบอาหาร
ลักษณะของสัญญายืมใช้สิ้นเปลืองมีดังนี้
๑. เป็ นสัญญาไม่ต่างตอบแทน กล่าวคือ เป็นสัญญาที่ก่อให้เกิดหน้าที่ในการ
ชาระหนี้แก่ผู้ยืมเพียงฝ่ายเดียว คือ ผู้ยืมมีหน้าที่ที่จะต้องคืนทรัพย์สินเป็นประเภท ชนิด
และปริมาณเช่นเดียวกันให้แทนทรัพย์สินที่ยืมไป ส่วนฝ่ายผู้ให้ยืมไม่มีหน้าที่ต้องชาระ
หนี้ตอบแทนแต่อย่างใด
๒. เป็ นสัญญาที่จะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ได้ โดยหลักแล้วผู้ยืมได้ใช้สอย
ทรัพย์สินที่ยืมโดยไม่ต้องเสียค่าตอบแทน อย่างไรก็ตามคู่สัญญาอาจตกลงกันให้มี
ค่าตอบแทนสาหรับการยืมนั้นก็ได้เช่น การกู้ยืมเงินโดยผู้ยืมต้องเสียดอกเบี้ย
ค่าตอบแทน กรณีเป็นสัญญายืมใช้สิ้นเปลืองที่มีค่าตอบแทน
3. เป็นสัญญาที่บริบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบทรัพย์ที่ยืม คือ สัญญายืมใช้
สิ้นเปลืองเกิดขึ้นเมื่อผู้ให้ยืมส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้ยืม หากคู่สัญญาเพียงแต่ตก
ลงกันโดยผู้ให้ยืมยังไม่ส่งมอบทรัพย์สิน สัญญายืมใช้สิ้นเปลืองก็ยังไม่เกิดขึ้น
เช่นเดียวกับสัญญายืมใช้คงรูป
4. เป็นสัญญาที่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ยืม คือ กรรมสิทธิ์ใน
ทรัพย์สินที่ยืมจะโอนจากผู้ให้ยืมไปยังผู้ยืมซึ่งต่างจากสัญญายืมใช้คงรูป ดังนั้น ผู้
ให้ยืมจึงต้องเป็นเจ้าของทรัพย์
สัญญากู้ยืมเงิน
สัญญากู้ยืมเงินเป็นสัญญาเป็นสัญญายืมใช้หนี้เปลืองอย่างหนึ่ ง หมายถึง
สัญญาที่ผู้ให้ยืมส่งมอบกรรมสิทธิ์ในเงินจานวนหนึ่งให้แก่ผู้ยืม และผู้ยืมตกลงจะคืนเงิน
ในจานวนที่ตนได้รับมาให้แก่ผู้ให้ยืม
สัญญากู้ยืมเงินย่อมบริบูรณ์เมื่อผู้ให้ยืมส่งมอบเงินให้แก่ผู้ยืม หากไม่มีการส่ง
มอบเงินที่ยืมสัญญากู้เงินยังไม่เกิดขึ้น
หลักฐานแห่งการกู้ยืมเงิน การกู้ยืมเงินกว่าสองพันบาทขึ้นไปนั้น ถ้ามิได้มี
หลักฐานแห่งการกู้ยืมเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสาคัญ
มิฉะนั้นจะไม่สามารถฟ้ องร้องบังคับคดีกันได้
อย่างไรก็ดี สัญญา นั้นก็สมบูรณ์ไม่ได้ตกเป็นโมฆะหรือฆียะ แต่อย่างใด เพียงแต่ไม่
ไม่สามารถฟ้ องร้องคดีกันได้เท่านั้น
ดอกเบี้ยสาหรับการกู้ยืมเงิน ในกรณีที่กาหนดให้ผู้ยืมต้องเสียดอกเบี้ย
กฎหมายห้ามคิดดอกเบี้ยเกินร้อยละ๑๕ ต่อปี หากกาหนดอัตราดอกเบี้ยไว้เกินกว่า
เกินกว่าร้อยละ๑๕ต่อปีจะทาให้ข้อตกลงที่ให้ผู้ยืมต้องเสียดอกเบี้ยเกินอัตราเป็นโมฆะ ผู้
โมฆะ ผู้ให้ยืมจะเรียกดอกเบี้ยไม่ได้เลย แต่ผู้ให้ยืมยังสามารถเรียกร้องให้ผู้ยืมคืนเงินให้
เงินให้ได้อยู่
๑๐.สัญญาฝากทรัพย์
สัญญาฝากทรัพย์ หมายถึง สัญญาซึ่งบุคลหนึ่งเรียกว่า ผู้ฝาก ส่งมอบ
ทรัพย์สินให้แก่บุคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า ผู้รับฝาก และผู้รับฝากตกลงว่าจะเก็บรักษา
ทรัพย์สินนั้นไว้ในอารักขาแห่งตนแล้วจะคืนให้
ลักษณะของสัญญาฝากทรัพย์
๑.เป็ นสัญญาที่อาจมีค่าตอบแทนหรือไม่มีก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผู้รับฝากตกลง
จะเก็บรักษาทรัพย์สินที่ฝากไว้ในความดูแลของตนโดยเรียกบาเหน็จค่าฝากจากผู้ฝาก
หรือไม่ หากผู้รับฝากตกลงจะเก็บรักษาทรัพย์สินที่ฝากไว้ในความดูแลของตนโดยไม่
เรียกบาเหน็จค่าฝากสัญญาฝากทรัพย์นั้นก็เป็นสัญญาไม่มีค่าตอบแทนแต่หากผู้รับฝาก
ตกลงจะเก็บรักษาทรัพย์สินที่ฝากไว้ในความดูแลของตนโดยเรียกบาเหน็จค่าฝาก
สัญญาฝากทรัพย์นั้นก็เป็นสัญญามีค่าตอบแทน
๒. เป็ นสัญญาที่ไม่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝาก กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่
ฝากจึงไม่โอนไปยังผู้รับฝาก และผู้ฝากก็อาจไม่ใช่เจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝากก็
ฝากก็ได้เช่นแดงยืมรถบรรทุกของดามาใช้ขนสินค้าเป็นเวลาสามเดือน ระหว่างนั้นแดง
นั้นแดงต้องไปทาธุระที่ต่างประเทศเป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์ แดงกลัวว่ารถบรรทุกของดาที่
ของดาที่ตนยืมมาจะถูกขโมย จึงตกลงส่งมอบรถบรรทุกคันนั้นให้เขียวช่วยดุแลเก็บ
เก็บรักษาไว้ในโรงงานของเขียวด้วย เมื่อแดงกลับมาจากต่างประเทศจึงขอรับคืน
๓. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ให้ผู้รับฝากเก็บรักษาทรัพย์สินที่ฝากไว้ใน
ความดูแลของตน หากผู้ฝากส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้รับฝากเพื่อวัตถุประสงค์อื่น
สัญญานั้นย่อมไม่ใช่สัญญาฝากทรัพย์
เช่น แดงฝากรถยนต์ของตนให้เขียวซึ่งเป็นเจ้าของร้านขายรถยนต์มือสองช่วย
ช่วยขายแทนตน สัญญาดังกล่าวไม่ใช่สัญญาฝากทรัพย์ เพราะแดงส่งมอบรถยนต์ให้
รถยนต์ให้เขียวช่วยขาย ไม่ใช่ให้ช่วยเก็บรักษาไว้ในความดูแลของตน แต่เป็ น
สัญญาตัวแทน เพราะแดงซึ่งเป็นตัวการตกลงให้เขียวซึ่งเป็นตัวแทนมีอานาจขาย
รถยนต์แทนตน เป็นต้น
สาหรับหน้าที่ของผู้รับฝากนั้น หากการฝากทรัพย์เป็นการทาให้เปล่าโดยไม่มี
บาเหน็จค่าฝาก ผู้รับฝากจะต้องใช้ความระมัดระวังในการดูแลรักษาทรัพย์สินที่รับฝาก
เหมือนเช่นเคยปฏิบัติในการดูแลรักษาทรัพย์สินของตัวเอง แต่หากการฝากทรัพย์เป็น
การทาให้โดยมีบาเหน็จค่าฝาก ผู้รับฝากจะต้องใช้ความระมัดระวังในการดูแลรักษา
ทรัพย์สินที่รับฝากเหมือนเช่นวิญญูชนจะพึงปฏิบัติในการดูแลรักษาทรัพย์สินนั้น และ
หากเป็นกรณีที่ผู้รับฝากเป็นผู้มีวิชาชีพเฉพาะกิจการค้าขายหรืออาชีพอย่างหนึ่งอย่างใด
เช่น ผู้รับฝากเป็นธนาคารหรือสถาบันทางการเงิน ผู้รับฝากเป็นผู้ประกอบ
กิจการรับฝากรถ เป็นต้น
ในกรณีนี้ผู้รับฝากจะต้องใช้ความระมัดระวังในการดูแลรักษาทรัพย์สินที่รับฝาก
เท่าที่เป็นธรรมดาจะต้องใช้และสมควรจะต้องใช้ในกิจการค้าขายหรืออาชีวะนั้น
นอกจากนี้ผู้รับฝากจะต้องไม่ใช้สอยทรัพย์สินที่รับฝากหรือเอาไปให้บุคคลภายนอกใช้
สอยหรือให้บุคคลภายนอกเก็บรักษา
๔. เป็ นสัญญาที่สมบูรณ์ด้วยการส่งมอบทรัพย์สินที่ฝากแก่ผู้รับฝาก
ลาพังเพียงผู้ฝากและผู้รับฝากตกลงรับฝากทรัพย์สินกันไม่มีผลทาให้สัญญาฝากทรัพย์
ทรัพย์เกิดขึ้นแต่อย่างใด ผู้ฝากจะต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ฝากให้แก่ผู้รับฝากด้วย
สัญญาฝากทรัพย์จึงเกิดขึ้นและมีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย จะเห็นได้ว่าสัญญาฝาก
ฝากทรัพย์เป็นสัญญาที่สมบูรณ์ด้วยการส่งมอบทรัพย์สินเช่นเดียวกันกับสัญญาให้และ
ให้และสัญญายืม
๑๐.๓ สัญญาฝากเงิน
สัญญาฝากเงินเป็ นสัญญาฝากทรัพย์อย่างหนึ่ง จึงต้องนาหลักเกณฑ์ของ
สัญญาฝากทรัพย์มาใช้บังคับอยู่เท่าที่ไม่ขัดกับสภาพของสัญญาฝากเงิน เช่น สัญญา
ฝากทรัพย์เป็นสัญญาที่สมบูรณ์ด้วยการส่งมอบทรัพย์สินที่ฝาก สัญญาฝากเงินก็ยังไม่
เกิดขึ้น เป็นต้น อย่างไรก็ตามสัญญาฝากเงินก็มี
เฉพาะที่แตกต่างจากสัญญาฝากทรัพย์ทั่วไปอยู่หลายประการ ดังต่อไปนี้
๑. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุของสัญญาเป็ นเงินตรา สัญญาฝากเงินต้องมรทรัพย์สินที่
ฝากเป็นเงินตรา ในขณะที่สัญญาฝากทรัพย์ทั่วไปมีทรัพย์สินอื่นที่ไม่ใช่เงินตรา
เช่น แดงทาสัญญาฝากทรัพย์กับธนาคารกรุงไทยเพื่อเปิดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ โดย
ทรัพย์ โดยนาธนบัตรและเหรียญกษาปณ์จานวน ๒๐,๐๐๐ บาท มาส่งมอบให้แก่ธนาคาร
ธนาคาร สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาฝากเงิน แต่มิได้หมายความว่าสัญญาฝากทรัพย์ที่มี
มีทรัพย์สินที่ฝากเป็นเงินตราจะเป็นสัญญาฝากเงินเสมอไป
ในบางกรณีอาจเป็นสัญญาฝากทรัพย์ทั่วไปก็ได้ เช่น แดงสะสมเหรียญกษาปณ์หา
กษาปณ์หายากและธนบัตรที่ระลึกไว้เป็นจานวนมาก แต่รู้ว่าบ้านเรือนไทยของตนจะเกิด
เกิดอัคคีภัยซึ่งจะทาให้เหรียญกษาปณ์หายากและธนบัตรที่ระลึกไว้เป็นจานวนดังกล่าวถูกไฟ
ถูกไฟไหม้ไปด้วย แดงจึงตกลงนาเหรียญกษาปณ์หายากและธนบัตรที่ระลึกนั้นมาฝากไว้ในตู้
ไว้ในตู้นิรภัยของธนาคาร สัญญาดังกล่าวไม่เป็นสัญญาฝากเงินแต่เป็นสัญญาฝากทรัพย์
ทรัพย์ทั่วไป
๒. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝาก
กรรมสิทธิ์ในเงินตราที่ฝากจึงโอนจากผู้ฝากไปยังผู้รับฝาก ในขณะที่สัญญาฝากทรัพย์
ทรัพย์ทั่วไปนั้น กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝากไม่โอนไปยังผู้รับฝาก เมื่อผู้รับฝากอยู่ใน
อยู่ในฐานะเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในเงินตราที่ฝากผู้รับฝากจึงต้องรับเอาผลในความ
ความเสียหายที่เกิดแก่เงินตราดังกล่าว ดังนั้น เมื่อเงินตราที่ฝากได้สูญหายไปแม้ด้วย
ด้วยเหตุสุดวิสัยก็ตาม ผู้รับฝากก็ยังคงต้องคืนเงินตราแก่ผู้ฝากให้ครบจานวนอยู่
เช่นเดิม
๓. เป็ นสัญญาที่ผู้รับฝากไม่ต้องคืนด้วยเงินตราอันเดียวกับที่ฝาก เมื่อ
กรรมสิทธิ์ในเงินตราที่ฝากโอนจากผู้ฝากไปยังผู้รับฝาก ผู้รับฝากในฐานะเจ้าของที่รับ
ที่รับฝากออกไปใช้สอยหรือโอนกรรมสิทธิ์เงินดังกล่าวไปยังบุคคลภายนอกได้
กฎหมายจึงกาหนดให้ผู้รับฝากไม่จาต้องคืนเงินตราแก่ผู้ฝากด้วยเงินตราอันเดียวกันกับ
เดียวกันกับที่ตนได้รับฝาก เพียงแต่ผู้รับฝากต้องคืนเงินตราแก่ผู้ฝากให้ครบจานวนที่รับ
จานวนที่รับฝากไว้ ฉะนั้น ผู้รับฝากจึงสามารถนาเงินตราอื่นที่มีจานวนเท่ากันมาคืนผู้
คืนผู้ฝากได้
๑๑.สัญญาค้าประกัน
๑๑.๑ ความหมายของสัญญาค้าประกัน
สัญญาค้าประกัน หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ค้า
ประกัน” ผูกพันตนต่อ “เจ้าหนี้” คนหนึ่งเพื่อชาระหนี้ในเมื่อลูกหนี้มาชาระหนี้นั้น
เช่น แดงกู้เงินจากดาโดยมีเขียวมาทาสัญญาค้าประกันกับดาเพื่อประกันหนี้
เงินกู้ของแดง เมื่อหนี้ถึงกาหนดชาระ แดงไม่ยอมชาระหนี้เงินกู้ ดาสามารถเรียกให้
เขียวชาระหนี้เงินกู้ในฐานะเป็นผู้ค้าประกันได้
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
Jariya Jaiyot
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
Yosiri
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
0895043723
 

Mais procurados (20)

กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
 
เอกเทศสัญญา
เอกเทศสัญญาเอกเทศสัญญา
เอกเทศสัญญา
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขาย
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจบทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
 
ข้อสอบกระบวนวิชา Law 1003 (la 103) (lw 203)
ข้อสอบกระบวนวิชา Law 1003 (la 103) (lw 203)ข้อสอบกระบวนวิชา Law 1003 (la 103) (lw 203)
ข้อสอบกระบวนวิชา Law 1003 (la 103) (lw 203)
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
ตัวละครโขนที่สำคัญในเรื่องรามเกียรติ์
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 

Mais de Yosiri

บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
Yosiri
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัว
Yosiri
 

Mais de Yosiri (18)

กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัว
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
 
กฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรกฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตร
 
กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์
 

กฎหมายเอกเทศสัญญา

  • 2. ๑.เอกเทศสัญญา เอกเทศสัญญา หมายถึง สัญญาชนิดที่มีชื่อซึ่งประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ บรรพ ๓ ได้กาหนดหลักเกณฑ์และรายละเอียดของสัญญาเอาไว้ เอกเทศสัญญามีทั้งสิ้น ๒๒ ประเภทได้แก่
  • 3. (๑) ซื้อขาย (๒) แลกเปลี่ยน (๓) ให้ (๔) เช่าทรัพย์ (๕) เช่าซื้อ (๖) จ้างแรงงาน (๗) จ้างทาของ (๘) รับขน (๙) ยืม (๑๐) ฝากทรัพย์ (๑๑) ค้าประกัน (๑๒) จานอง (๑๓) จานา (๑๔) เก็บของในคลังสินค้า (๑๕) ตัวแทน (๑๖) นายหน้า (๑๗) ประนีประนอมยอมความ (๑๘) การพนันและขันต่อ (๑๙) บัญชีเดินสะพัด (๒๐) ประกันภัย (๒๑) ตั๋วเงิน (๒๒) หุ้นส่วนและบริษัท นอกเหนือจากเอกเทศสัญญาทั้ง ๒๒ ประเภทเรียกว่า “สัญญาไม่มี ชื่อ” ซึ่งใช้บังคับตามกฎหมายได้เช่นเดียวกันตามหลักเสรีภาพในการทา สัญญา
  • 4. ๒. สัญญาซื้อขาย ๑.๑ ความหมายของสัญญาซื้อขาย สัญญาซื้อขาย หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่งเรียกว่า “ผู้ขาย” โอน กรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีกฝ่ายเรียกว่า “ผู้ซื้อ” และผู้ซื้อตกลงว่าจะใช้ราคา ทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ขาย
  • 5. ๑.๒ ลักษณะของสัญญาซื้อขาย ๑) เป็ นสัญญาต่างตอบแทน สัญญาซื้อขายเป็นสัญญาที่ผู้ขายและผู้ซื้อต่าง เป็นเจ้าหนี้และลูกหนี้ซึ่งกันและกัน โดยผู้ขายเป็นเจ้าหนี้และผู้ซื้อเป็นลูกหนี้ในหนี้ ชาระราคาทรัพย์สินที่ซื้อขายกัน ในขณะที่ผู้ซื้อเป็นเจ้าหนี้และผู้ขายเป็นลูกหนี้ในหนี้ โอนกรรมสิทธิ์และส่งมอบทรัพย์สินที่ซื้อขายกัน หากผู้ซื้อไม่ยอมชาระราคา ผู้ขายก็มี สิทธิ์ที่จะไม่ส่งมอบทรัพย์สิน ในทางกลับกันหากผู้ขายไม่ยอมส่งมอบทรัพย์สิน ผู้ซื้อก็ มีสิทธิที่จะยังไม่ชาระราคา
  • 6. ลักษณะของสัญญาซื้อขาย (ต่อ) ๒) เป็ นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน สัญญา ซื้อขายเป็นสัญญาที่ผู้ขายตกลงโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของตนให้แก่ผู้ซื้อ ด้วยเหตุ นี้ผู้ขายจึงต้องเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขายกัน อนึ่ง หากไม่มีการโอน กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินไปยังผู้ซื้อ สัญญานั้นย่อมไม่ใช่สัญญาซื้อขาย ตัวอย่าง สัญญาซื้อเวลาออกอากาศสถานีวิทยุกระจายเสียงไม่ใช่สัญญาซื้อ ขายเพราะไม่มีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน แต่เป็นสัญญาให้บริการการออก กระจายเสียง
  • 7. ลักษณะของสัญญาซื้อขาย (ต่อ) ๓) เป็ นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการชาระราคาเพื่อตอบแทนการโอน กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน สัญญาซื้อขายเป็นสัญญาที่ผู้ซื้อตกลงชาระราคาให้แก่ผู้ขาย เพื่อตอบแทนที่ผู้ขายโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้แก่ตน โดยผู้ซื้อจะต้องชาระราคา ด้วยเงินเท่านั้น หากผู้ซื้อตกลงชาระราคาด้วยทรัพย์สินอื่นที่ไม่ใช่เงินเป็นการตอบ แทนการโอนกรรมสิทธิ์ สัญญานั้นย่อมไม่ใช่สัญญาซื้อขาย แต่เป็นสัญญา แลกเปลี่ยน ตัวอย่าง หนึ่งตกลงขายลูกสุนัขให้สอง และสองตกลงชาระเงินแก่หนึ่งเป็นเงิน ๒,๐๐๐ บาท สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาซื้อขาย แต่หากสองตกลงให้ลูกหมูของตน เป็นการตอบแทน สัญญาดังกล่าวไม่ใช่สัญญาซื้อขาย แต่เป็นสัญญาแลกเปลี่ยน
  • 8. ๒.๓ แบบของสัญญาซื้อขาย โดยทั่วไปแล้วสัญญาซื้อขายจะตกลงกันด้วยวิธีใดก็ได้ เช่น ด้วยวาจา ทาง โทรศัพท์หรือตกลงกันเป็นหนังสือ เป็นต้น และสัญญานั้นจะมีผลสมบูรณ์บังคับแก่ กันได้ทันที แต่สัญญาซื้อขายทรัพย์สินบางประเภทนั้นกฎหมายบังคับให้ต้องทาตาม แบบที่กาหนด มิฉะนั้นสัญญาจะตกเป็นโมฆะ หรือบางกรณีกฎหมายบังคับให้ต้องมี หลักฐานเป็นหนังสือ มิฉะนั้นจะฟ้ องร้องให้บังคับคดีไม่ได้ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
  • 9. ๒.๓.๑ สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ ซึ่งได้แก่ ได้แก่ เรือ มีระวาง ๕ ตันขึ้นไป แพที่อยู่อาศัย และสัตว์พาหนะ กฎหมายบังคับ บังคับให้ต้องทาเป็ นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หากไม่ทาการ ทาการดังกล่าวจะมีผลให้สัญญาซื้อขายนั้นตกเป็นโมฆะ เช่น แดงซื้อที่ดินหรือข้างของดา สัญญาดังกล่าวจะมีผลสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อทา ทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หากแดงและดาไม่ทาสัญญาเป็น สัญญาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่สัญญาซื้อขายนั้นจะตกเป็น เป็นโมฆะ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะเรียกให้อีกฝ่ายปฏิบัติตามสัญญาไม่ได้
  • 10. ๒.๓.๒ สัญญาจะซื้อจะขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ สัญญาจะซื้อจะขาย หมายถึง การสัญญาว่าจะมาทาสัญญาซื้อขายกันในอนาคต โดยสัญญาจะซื้อจะขายอสังการิมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษนั้นกฎหมายไม่ได้ กฎหมายไม่ได้กาหนดให้ต้องทาตามแบบเหมือนอย่างสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ อสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ แต่กฎหมายกาหนดให้ต้องทาหลักฐาน หลักฐานเป็นหนังสือลงลายชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด หรือวางมัดจา หรือชาระหนี้บางส่วน บางส่วน หากไม่ทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง สัญญาจะซื้อจะขายนั้นไม่สามารถฟ้ องร้อง ฟ้ องร้องบังคับคดีกันได้ อย่างไรก็ตาม สัญญาดังกล่าวก็ยังสมบูรณ์ไม่ตกเป็นโมฆะแต่ โมฆะแต่อย่างใด
  • 11. ๒.๓.๓ สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาตั้งแต่ ๒๐,๐๐๐ บาทขึ้น ไป สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาตั้งแต่ ๒๐,๐๐๐ บาทขึ้นไปนั้น กฎหมายไม่ได้ ไม่ได้กาหนดให้ต้องทาตามแบบเหมือนอย่างสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือ สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ แต่กฎหมายกาหนดให้ต้องทาหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้อง รับผิดชอบ หรือวางมัดจาหรือชาระหนี้บางส่วนเช่นเดียวกับสัญญาจะซื้อจะขาย อสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษหากไม่ทาการอย่างใดอย่างหนึ่ง สัญญา สัญญาซื้อขายนั้นไม่สามารถฟ้ องร้อยบังคับคดีกันได้ อย่างไรก็ตาม สัญญาดังกล่าวก็ ดังกล่าวก็ยังสมบูรณ์ไม่ตกเป็นโมฆะแต่อย่างใด ดังนั้น สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาต่ากว่า ๒๐.๐๐๐ บาท แม้ไม่ทา ไม่ทาเป็นหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด หรือวางมัดจา หรือชาระ ชาระหนี้บางส่วน คู่สัญญาก็สามารถฟ้ องร้องต่อศาลให้รับผิดตามสัญญาได้เสมอ
  • 12. ๒.๔ การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย ๒.๔ การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย โดยทั่วไปกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขายย่อมโอนจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อทันทีที่ สัญญาเกิด เช่น แดงตกลงซื้อรถยนต์คันเดียวของเขียวในวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ และเขียวจะส่งมอบรถยนต์คันดังกล่าวให้แก่แดงในวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๐ ดังนี้ กรรมสิทธิ์ในรถยนต์คันดังกล่าวย่อมโอนไปยังแดงในวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๐ ซึ่งเป็น วันที่สัญญาซื้อขายเกิดขึ้น แม้ว่าวันดังกล่าวจะยังไม่ได้ส่งมอบรถยนต์ให้แก่แดงก็ตาม ข้อยกเว้นอยู่ ๔ ประการ ที่ทาให้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขายยังไม่โอนจาก ผู้ขายไปยังผู้ซื้อทันทีที่เกิดสัญญา ดังนี้
  • 13. ๑) สัญญาซื้อขายอยู่ภายใต้เงื่อนไขบังคับก่อนหรือเงื่อนเวลาเริ่มต้น คือ สัญญาที่มีเงื่อนไขบังคับก่อนหรือเงื่อนเวลาเริ่มต้นนั้น สัญญาจะมีผลอันจะทาให้ กรรมสิทธิ์โอนไปยังผู้ซื้อก็ต่อเมื่อเงื่อนไขสาเร็จหรือเงื่อนเวลาที่กาหนดไว้มาถึง ตัวอย่างที่ ๑ แดงตกลงซื้อประมวลกฎหมายอาญาจากดา โดยมีเงื่อนไขบังคับ ก่อนว่าให้สัญญามีผลก็ต่อเมื่อแดงได้เข้าเรียนในคณะนิติศาสตร์ ดังนี้ ถึงแม้ว่าสัญญา สัญญาจะเกิดขึ้นแล้วแต่กรรมสิทธิ์ในประมวลกฎหมายอาญาของดายังไม่โอนไปยังแดง ยังแดงจนกว่าเงื่อนไขข้างต้นจะสาเร็จ กล่าวคือ กรรมสิทธิ์จะโอนไปยังแดงก็ต่อเมื่อ ต่อเมื่อแดงได้เข้าเรียนในคณะนิติศาสตร์
  • 14. ๒) สัญญาซื้อขายทรัพย์สินที่กาหนดไว้แต่เพียงประเภท ได้แก่ กรณีที่ทรัพย์สิน อันเป็นวัตถุแห่งสัญญายังไม่เป็น “ทรัพย์เฉพาะสิ่ง” แต่ได้ถูกกาหนดไว้แต่เพียงประเภท เท่านั้น ถึงแม้ว่าสัญญาซื้อขายจะเกิดขึ้นแล้วแต่กรรมสิทธิ์ก็ยังไม่โอนจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อ ซื้อจนกว่าจะได้ทาให้ทรัพย์สินที่ซื้อขายเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งเสียก่อน การทาให้ทรัพย์สินที่ซื้อ ที่ซื้อขายเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งนั้นจะต้องมีการดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อระบุตัวทรัพย์สิน ทรัพย์สินนั้นให้แน่นอนและเฉพาะเจาะจง เช่น ระบุตัวทรัพย์สินให้ชัดเจน นับจานวน ชั่งตามน้าหนักที่ตกลงซื้อขายกัน วัด ขนาด หรือทาโดยวิธีการอื่นซึ่งสามารถระบุตัวทรัพย์ให้แน่นนอนว่าต้องการซื้อขายทรัพย์ชิ้น ทรัพย์ชิ้นใด อันใด และจานวนเท่าใด เพราะหากยังไม่ได้ดาเนินการเช่นว่านั้นก็ไม่สามารถ สามารถทราบได้ว่าจะซื้อขายทรัพย์ใดกันแน่ กรรมสิทธิ์ในทรัพย์จึงไม่มีทางโอนไปยังผู้ซื้อได้ ซื้อได้เลย
  • 15. ตัวอย่าง แดงเป็นพ่อค้าขายเนื้อหมูในตลาดซึ่งมีเนื้อหมูอยู่เป็นจานวนมาก ดา ตกลงซื้อเนื้อหมูจากแดงเป็นจานวน ๒ กิโลกรัม กรณีนี้ถึงแม้สัญญาซื้อขายเกิดขึ้น เกิดขึ้นแล้ว แต่กรรมสิทธิ์ในเนื้อหมูก็ยังไม่โอนจากแดงไปยังดาทันทีที่สัญญาเกิด เพราะเนื้อหมูยังไม่ได้ถูกทาให้เป็นทรัพย์เฉพาะสิ่ง แต่เมื่อใดที่มีการตัดแบ่งและชั่งเนื้อ ชั่งเนื้อหมูออกมาเป็นจานวน ๒ กิโลกรัมเพื่อจะทาการส่งมอบเมื่อนั้นเนื้อหมูที่ตัดแบ่ง แบ่งออกมาและถูกชั่งน้าหนักแล้วจึงจะกลายเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งและกรรมสิทธิ์จึงจะ จะโอนไปยังดา
  • 16. ๓) สัญญาซื้อขายทรัพย์เฉพาะสิ่งที่ยังต้องดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อให้รู้ราคา โดยหลักแล้วการซื้อขายทรัพย์เฉพาะสิ่งทาให้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ ซื้อขายโอนไปยังผู้ซื้อทันทีที่สัญญาเกิด อย่างไรก็ดี หากทรัพย์สินที่ซื้อขายกันเป็น เป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งอยู่แล้วแต่ยังต้องดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้รู้ราคา กรณีนี้ กรณีนี้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์เฉพาะสิ่งดังกล่าวก็ยังไม่โอนจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อทันทีที่ สัญญาเกิด แต่กรรมสิทธิ์ในทรัพย์เฉพาะสิ่งดังกล่าวจะโอนไปยังผู้ซื้อก็ต่อเมื่อได้ ดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้รู้ราคาที่แน่นอน เช่น นับ ชั่ง ตวง วัด เป็นต้น ต้น
  • 17. ตัวอย่าง แดงตกลงซื้อไก่ทั้งเล้าจากเขียว โดยตกลงซื้อขายกันในราคากิโลกรัม ละ ๕๐ บาท กรรมสิทธิ์ในไก่ยังไม่โอนไปยังแดงแม้ไก้ทั้งเล้าจะเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งแล้ว แล้วก็ตาม เพราะคู่สัญญายังไม่รู้ราคาที่ซื้อขายกัน ดังนี้ กรรมสิทธิ์ในไก่จะโอนไปยัง ไปยังแดงก็ต่อเมื่อได้ชั่งน้าหนักไก่ทั้งเล้าเพื่อให้รู้ราคาที่ซื้อขายกันเสียก่อน แต่หากแดงตกลงซื้อขายไก่ทั้งจากเขียวในราคา ๑๐,๐๐๐ บาท กรรมสิทธิ์ในไก่ ในไก่ย่อมโอนไปยังแดงทันทีที่สัญญาเกิดตามหลักทั่วไป เพราะไก่ทั้งเล้าเป็นทรัพย์ ทรัพย์เฉพาะสิ่งและคู่สัญญาก็รู้ราคาที่ซื้อขายกันแล้ว จะเห็นได้ว่ากรณีนี้ไม่ต้องกระทา กระทาการอย่างหนึ่งอย่างใดเพื่อให้รู้ราคาอีก
  • 18. ๔) สัญญาซื้อขายทรัพย์สินที่คู่สัญญาตกลงให้กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนทันทีที่ สัญญาเกิด กล่าวคือ ในสัญญาซื้อขายนั้นคู่สัญญาสามารถตกลงกันได้ว่าจะให้ กรรมสิทธิ์นั้นโอนไปเมื่อใดก็ได้ตามที่ต้องการ ซึ่งจะทาให้กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนไปยังผู้ซื้อ ยังผู้ซื้อทันทีที่สัญญาเกิด ตัวอย่าง แดงตกลงขายรถยนต์คันหนึ่งให้แก่ขาวในราคา ๕๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่ง โดยทั่วไปแล้วกรรมสิทธิ์ในรถยนต์คันดังกล่าวย่อมโอนไปยังขาวทันทีที่ทาสัญญา แต่หากมี หากมีการตกลงกันให้กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนไปจนกว่าขาวจะชาระราคาครบถ้วน ดังนี้ กรรมสิทธิ์ในรถยนต์ก็ยังไม่โอนไปยังขาวทันทีที่ทาสัญญาซื้อขายกันอันเป็นผลมาจากเจตนา เจตนาของคู่สัญญาที่ตกลงกันนั้นเอง
  • 19. ๒.๕ สัญญาซื้อขายเฉพาะอย่าง ๒.๕.๑ สัญญาขายฝาก สัญญาขายฝาก หมายถึง สัญญาซื้อขายซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินตกไปยังผู้ ซื้อ โดยมีข้อตกลงกันว่าผู้ขายอาจไถ่ทรัพย์นั้นคือได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด หาก ผู้ขายไม่ไถ่ทรัพย์คืนในระยะเวลาดังกล่าว ผู้ขายจะไม่สามารถไถ่ทรัพย์ได้อีกต่อไป เช่น ดาขายที่ดินแก่แดงโดยมีข้อตกลงว่า ภายในเวลา ๑๐ ปีนับแต่ที่ได้ทา สัญญากันนั้น ดาสามารถนาเงินไปไถ่ที่ดินนั้นคืนจากแดงได้เสมอ สัญญาซื้อขาย ดังกล่าวจึงเป็นสัญญาขายฝาก
  • 20. กฎหมายได้กาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์สินของสัญญาขายฝากไว้ ๒ ระยะเวลา ตามชนิดของทรัพย์ที่ขายฝาก ดังนี้ ๑) กรณีอสังหาริมทรัพย์ มีกาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์สิน ๑๐ ปีนับแต่ทาสัญญา ซื้อขาย ๒) กรณีสังหาริมทรัพย์ มีกาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์สิน ๓ ปีนับแต่ทาสัญญาซื้อ ขาย อย่างไรก็ตาม คู่สัญญาสามารถกาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์คืนสั้นกว่าที่กฎหมาย กาหนดได้ แต่ถ้าคู่สัญญากาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์ยาวกว่าที่กฎหมายกาหนด ก็ให้ ระยะเวลาไถ่ทรัพย์คืนลดลงมาเป็น ๑๐ ปี และ ๓ ปี ตามประเภทของทรัพย์
  • 21. ๒.๕.๒ สัญญาขายตามตัวอย่าง ขายตามคาพรรณนา ขายเผื่อชอบ สัญญาขายตามตัวอย่าง หมายถึง สัญญาซื้อขายอย่างหนึ่งที่ผู้ขายให้ผู้ซื้อได้ มีโอกาสตรวจดูหรือให้ทรัพย์สินที่จะซื้อขายเป็นตัวอย่างก่อนที่จะตกลงทาสัญญาซื้อ ซื้อขาย ทรัพย์สินที่นามาให้ตรวจดูหรือใช้เป็นเพียงตัวอย่างสินค้าเท่านั้นไม่ใช่ตัวสินค้า สินค้าที่จะส่งมอบกันจริงๆ ในการขายตามตัวอย่างนั้นผู้ขายต้องส่งมอบทรัพย์สินให้ ให้ตรงตามตัวอย่างที่นามาให้ผู้ซื้อตรวจดูหรือใช้
  • 22. สัญญาขายตามคาพรรณนา หมายถึง สัญญาซื้อขายอย่างหนึ่งที่ผู้ซื้อไม่มี โอกาสได้เห็นและตรวจคุณภาพของทรัพย์สิน แต่ผู้ซื้อได้ตกลงซื้อโดยเชื่อตามคา พรรณนาถึงลักษณะ รูปพรรณและคุณภาพของสินค้าที่ผู้ขายได้พรรณนาไว้ ในการ การขายตามคาพรรณนานั้นผู้ขายต้องส่งมอบทรัพย์สินในตรงตามคาพรรณนา
  • 23. สัญญาขายเผื่อชอบ หมาย สัญญาซื้อขายอย่างหนึ่งที่มีเงื่อนไขว่าให้ผู้ซื้อได้ มีโอกาสตรวจดูทรัพย์สินก่อน โดยผู้ซื้อจะซื้อหรือไม่ก็ได้ กล่าวคือ หากผู้ซื้อชอบ และแสดงความจานงว่าจะซื้อทรัพย์สินนั้น สัญญาซื้อขายจึงจะเกิดขึ้นและกรรมสิทธิ์ กรรมสิทธิ์จึงจะโอนไปเป็นของผู้ซื้อ ในทางตรงกันข้ามถ้าผู้ซื้อไม่ชอบก็ปฏิเสธได้ สัญญาซื้อขายก็ไม่เกิดขึ้นขายก็ไม่เกิดขึ้น กรรมสิทธิ์ก็ไม่โอนไปเป็นของผู้ซื้อ สัญญา สัญญาขายเผื่อขอบนั้นทรัพย์สินที่ซื้อขายกันจะเป็นทรัพย์สินชิ้นเดี่ยวกับทรัพย์สินที่ ที่นามาให้ผู้ซื้อตรวจดูซึ่งต่างจากสัญญาขายตามตัวอย่าง
  • 24. ๒.๕.๓ สัญญาขายทอดตลาด สัญญาขายทอดตลาด หมายถึง สัญญาซ้อขายอย่างหนึ่งที่ผู้ชายนา ทรัพย์สินออกเสนอขายโดยให้ผู้ซื้อสู้ราคากัน การขายทอดตลาดเป็นการขายโดย เปิดเผย คือ ผู้ขายไม่ได้ติดต่อกับผู้ซื้อเป็นรายคน แต่ได้เปิดโอกาสให้ผู้ซื้อหลายๆ คน คนเข้ามาแข่งขันประมูลราคากัน ถ้าใครให้ราคาสูงสุดก็จะขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่ ให้แก่ผู้นั้น การขายทอดตลาดย่อมบริบูรณ์เมื่อผู้ทอดตลาดแสดงความตกลงขายด้วยวิธีการ วิธีการเคาะไม้หรือด้วยกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งในการขายทอดตลาด
  • 25. ๒.๖ ความรับผิดในความชารุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขาย หากทรัพย์สินที่ขายนั้นชารุดบกพร่องจนเป็นเหตุให้ทรัพย์สินนั้นเสื่อมราคาหรือ หรือเสื่อมความเหมาะสมแก่ประโยชน์อันมุ่งจะใช้เป็นปกติหรือแก่ประโยชน์ที่มุ่งหมาย หมายโดยสัญญา ผู้ขายย่อมต้องรับผิดต่อผู้ซื้อทั้งในกรณีที่ผู้ขายรู้ถึงความชารุด บกพร่องนั้นอยู่แล้วและกรณีที่ผู้ขายไม่รู้ถึงความชารุดบกพร่องนั้นเลย โดยความชารุด ชารุดบกพร่องที่ผู้ขายต้องรับผิดนั้นจะต้องมีอยู่ก่อนหรือขณะทาสัญญาซื้อขาย หรือ หรือก่อนการส่งมอบทรัพย์สินเสร็จสิ้นลง ทั้งนี้ ผู้ซื้อต้องฟ้ องให้ผู้ขายรับผิดในความ ความชารุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขายภายในอายุความ ๑ ปีนับแต่เวลาที่ผู้ซื้อได้พบ พบเห็นความชารุดบกพร่องนั้น
  • 26. ตัวอย่างที่ ๑ แดงตกลงซื้อแหวนเพชรจากดาในราคา ๒๐๐,๐๐๐ บาท หลังจากนั้นแดงได้นาแหวนเพชรไปให้เขียวซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านเพชรพลอย เขียวใช้กล่องส่องดูพบว่าแหวนเพชรมีตาหนิ เป็นฝ้ า และมีรอยร้าวซึ่งมองด้วยตาเปล่า ตาเปล่าไม่เห็น เป็นเหตุให้แหวนเพชรราคาลดลงถึง ๑๐๐,๐๐๐ บาท เช่นนี้เป็นกรณี กรณีที่แหวนเพชรมีความชารุดบกพร่องถึงขนาดเป็นเหตุให้แหวนเพชรนั้นเสื่อมราคา ราคา ดาผู้ขายต้องรับผิดต่อแดงผู้ซื้อ แม้ว่าดาจะไม่รู้ถึงความชารุดบกพร่องนั้นมา มาก่อนเลยก็ตาม
  • 27. ผู้ขายไม่ต้องรับผิดชอบในความชารุดพกพร่องของทรัพย์สินที่ขาย หากเข้า ข้อยกเว้นอย่างใดอย่างหนึ่ง ใน 3 ประการดังต่อไปนี้ ๑. ถ้าผู้ซื้อได้รู้อยู่แล้วแต่ในเวลาซื้อขายว่ามีความชารุดบกพร่องหรือควรจะ ได้รู้เช่นหากได้ใช้ความระมัดระวังอันจะพึงคาดหมายได้แต่วิญญูชน ๒.ถ้าความชารุดบกพร่องนั้นเป็นอันเห็นประจักษ์แล้วในเวลาส่งมอบและผู้ ซื้อรับเอาทรัพย์สินนั้นไว้โดยมิได้อิดเอื้อน ๓. ถ้าทรัพย์สินนั้นได้ขายทอดตลาด นอกจากนี้ผู้ขายอาจตกลงกับผู้ซื้อว่าผู้ขายจะไม่ต้องรับผิดในความชารุด บกพร่องของทรัพย์สินที่ขายก็ได้โดยกาหนดข้อตกลงนั้นไว้ในสัญญาซื้อขาย
  • 28. ๓. สัญญาแลกเปลี่ยน ๓.๑ ความหมายของสัญญาแลกเปลี่ยน สัญญาแลกเปลี่ยนหมายถึง สัญญาซึ่งคู่สัญญาต่างโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ของแต่ละฝ่ายให้กันและกัน โดยทรัพย์สินที่นามาแลกเปลี่ยนกันนั้นต้องไม่ใช่เงิน หาก คู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งนาเงินไปแลกเปลี่ยนกับทรัพย์สินอื่นที่ไม่ใช่เงิน สัญญานั้นก็จะ ไม่ใช่สัญญาแลกเปลี่ยนแต่เป็นสัญญาซื้อขาย
  • 29. 3.2 ลักษณะของสัญญาแลกเปลี่ยน สัญญาแลกเปลี่ยนมีลักษณะสาคัญเหมือนกับสัญญาซื้อขายอย่างยิ่ง กล่าวคือ ทั้งสัญญาซื้อขายและสัญญาแลกเปลี่ยนต่างก็เป็นสัญญาต่างตอบแทน เป็นสัญญาที่มี วัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน และเป็นสัญญาที่มีวัตถุของสัญญาเป็น ทรัพย์สินเหมือนกัน แต่แตกต่างกันตรงที่มีสัญญาซื้อขายเป็นเรื่องการเอาของแลกกับ เงิน ในขณะที่สัญญาแลกเปลี่ยนเป็นเรื่องการเอาของแลกกับของ
  • 30. เช่น แดงนาหมูของตนจานวน 1 ตัว ไปแลกกับข้าวสารของดาจานวน 4 กระสอบสัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาแลกเปลี่ยน แต่หากดานาเงินจานวน 3,000 บาทไปแลกกับหมูของแดงจานวน 1 ตัว สัญญาดังกล่าวก็จะไม่ใช่สัญญา แลกเปลี่ยนแต่เป็นสัญญาซื้อขาย
  • 31. ๔. สัญญาให้ ๔.๑ ความหมายของสัญญาให้ สัญญาให้ หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ให้” โอนกรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สินของตนให้โดยเสน่หาแก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับ” และผู้รับยอมรับเอา ทรัพย์สินนั้น เช่น แดงถูกลอตเตอรี่จานวน 3ล้านบาท แดงจึงแบ่งเงินรางวัลจานวน 5 แสน บาทให้แก่ดาซึ่งเป็นน้องชายของตน โดยดารับเอาเงินจานวนดังกล่าวด้วยความดีใจ
  • 32. • เช่น แดงถูกลอตเตอรี่จานวน 3ล้านบาท แดงจึงแบ่งเงินรางวัลจานวน 5 แสนบาท ให้แก่ดาซึ่งเป็นน้องชายของตน โดยดารับเอาเงินจานวนดังกล่าวด้วยความดีใจ
  • 33. ๔.๑ ลักษณะของสัญญาให้ ๑. เป็ นสัญญาไม่ต่างตอบแทน สัญญาให้ไม่ใช่สัญญาต่างตอบแทน เพราะ ผู้รับไม่มีหน้าที่ต้องทาอะไรเป็นการตอบแทนผู้ให้แต่อย่างใด นอกจากยอมรับเอา ทรัพย์สินจากผู้ให้แต่ฝ่ายเดียว ส่วนผู้ให้ก็โอนกรรมสิทธิ์ให้ผู้รับไปโดยเสน่หา ทั้งๆ ที่ตน ไม่มีหน้าตามกฏหมายที่จะต้องให้ทรัพย์สินนั้นแก่ผู้รับ ๒. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน สัญญา ให้เป็นสัญญาที่ผู้ให้ตกลงโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของตนให้แก่ผู้รับ โดยผู้รับยอมรับ เอาทรัพย์สินนั้นเป็นของตน ด้วยเหตุนี้ผู้ให้จึงต้องเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ให้ กัน
  • 34. ๓. เป็ นสัญญาที่ผู้ให้โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินให้แก่ผู้รับโดยเสน่หา หมายถึงการให้เปล่าโดยไม่มีค่าตอบแทนหรือไม่ก่อให้เกิดหน้าที่ใดๆ แก่ผู้รับ หากผู้รับมี ผู้รับมีหน้าที่ต้องกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อตอบแทนผู้ให้ สัญญานั้นก็ไม่ใช่ สัญญาให้ อย่างไรก็ดี มีสัญญาให้บางประเภทที่ผู้ให้กาหนดหน้าที่บางประการให้ผู้รับ ผู้รับต้องปฏิบัติ เช่น หนึ่งให้ที่ดินติดจานองแก่สอง แต่มีข้อแม้ว่าสองต้องไปไถ่ถอน ถอนจานองสาหรับที่ดินนั้นด้วย สัญญาให้ดังกล่าวเรียกว่า “สัญญาให้ทรัพย์สินที่มี ที่มีค่าภาระติดพัน” ๔. เป็ นสัญญาที่สมบูรณ์เมื่อส่งมอบทรัพย์สินที่ให้ คือ สัญญาให้จะเกิดขึ้น เมื่อผู้ให้ส่งมอบและโอนกรรมสิทธิ์ให้แก่ผู้รับ และผู้รับตกลงยอมรับทรัพย์สินนั้น หาก หากผู้ให้ยังไม่ส่งมอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้รับ สัญญาให้ย่อมไม่เกิดขึ้นหรือไม่สมบูรณ์ สมบูรณ์
  • 35. ๔.๓ แบบของสัญญาให้ สัญญาให้อสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษต้องทาเป็นหนังสือและจด ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิฉะนั้นสัญญาให้ดังกล่าวจะไม่สมบูรณ์ เช่น แดงทา หนังสือยกที่ดินของตนให้แก่ดา แต่มิได้จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ สัญญาให้ ดังกล่าวย่อมไม่สมบูรณ์
  • 36. ๔.๔ การถอนคืนการให้เพราะเหตุผู้รับประพฤติเนรคุณ โดยหลักแล้วเมื่อผู้ให้ส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้รับแล้ว ผู้ให้จะเรียกทรัพย์สินนั้นคืน จากผู้รับไม่ได้ แต่ถ้าประพฤติเนรคุณต่อผู้ให้ กฎหมายก็เปิดโอกาสให้ผู้ให้สามารถเรียก ทรัพย์สินนั้นคืนจากผู้รับได้ซึ่งเรียกว่า “การถอนคืนการให้” โดยผู้ให้จะเรียกถอนคืน การให้เพราะเหตุผู้รับประพฤติเนรคุณได้เฉพาะใน 3 กรณีดังต่อไปนี้ ๑. ผู้รับได้ประทุษร้ายต่อผู้ให้อันเป็ นความผิดฐานอาญาอย่างร้ายแรงตาม ประมวลกฎหมายอาญา เช่น ผู้รับฆ่าผู้ให้ ผู้รับทาร้ายร่างกายผู้ให้ แต่ถ้าผู้รับลักทรัพย์ ของผู้ให้ย่อมไม่เป็นการประทุษร้ายต่อผู้ให้
  • 37. ๒. ผู้รับได้ทาให้ผู้ให้เสียชื่อเสียงหรือหมิ่นประมาทผู้ให้อย่างร้ายแรง เช่น ผู้รับด่าผู้ให้ซึ่งเป็นพ่อของตนว่า “ไอ้แก่ กูไม่นับมึงเป็นพ่อ ออกไปให้พ้น ไม่ไปมึงตายกู ตายกูไม่รู้” แต่ถ้าผู้รับแจ้งความดาเนินคดีกับผู้ให้ตามสิทธิอันชอบธรรมย่อมไม่เป็นการ เป็นการทาให้ผู้ให้เสียชื่อเสียงหรือหมิ่นประมาทผู้ให้อย่างร้ายแรง ๓. ผู้รับได้บอกปัดไม่ยอมให้สิ่งของจาเป็ นเลี้ยงชีวิตแก่ผู้ให้ในเวลาที่ผู้ให้ ยากไร้และผู้รับยังสามารถจะให้ได้ เช่น หลังจากผู้ให้ยกทรัพย์สมบัติทั้งหมดของตน ให้แก่ผู้รับซึ่งเป็นลูก ผู้รับอยู่ในฐานะที่สามารถอุปการะเลี้ยงดูผู้ให้ได้ แต่ด้วยความ ความรังเกียจผู้ให้จึงไม่ยอมอุปการะเลี้ยงดู มิหนาซ้ายังขับไล่ผู้ให้มิให้อยู่ร่วมบ้านด้วย
  • 38. หากผู้ให้ได้ให้อภัยแก่ผู้รับในเหตุประพฤติเนรคุณนั้นแล้ว หรือผู้ให้ได้ปล่อย ให้เวลาได้ล่วงเลยไปแล้ว ๖ เดือนนับแต่ผู้ให้ได้ทราบว่าผู้รับประพฤติเนรคุณ เช่นนี้ผู้ให้จะเรียกถอนคืนการให้เพราะเหตุผู้รับประพฤติเนรคุณไม่ได้อีกต่อไป
  • 39. ๕.สัญญาเช่าทรัพย์สิน ๕.๑ ความหมายของสัญญาเช่าทรัพย์สิน สัญญาเช่าทรัพย์สิน หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า “ผู้ให้เช่า” ตกลง ให้บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้เช่า” ได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินอย่างใดอย่าง หนึ่งตามกาหนดเวลาที่ได้ตกลงกันไว้ และผู้เช่าจะให้ค่าเช่าแก่ผู้ให้เช่าเป็นการตอบแทน จากการที่ตนได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สินที่เช่า
  • 40. ๕.๒ ลักษณะของสัญญาเช่าทรัพย์ ๑. เป็ นสัญญาต่างตอบแทน กล่าวคือ ผู้ให้เช่าและผู้เช่าต่างมีหน้าที่ปฏิบัติตอบแทน ซึ่งกันและกัน ได้แก่ ผู้ให้เช่าต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ให้เช่าแก่ผู้เช่า และผู้เช่าต้องชาระค่าเช่าแก่ ผู้ให้เช่าเป็นการตอบแทน ๒.เป็ นสัญญาที่ไม่ได้มีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ดังนั้น ผู้ให้เช่าอาจไม่ใช่ เจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าทรัพย์ก็ได้ผู้ให้เช่าอาจนาทรัพย์สินของผู้อื่นมาให้เช่าก็ได้หากเจ้าของ อนุญาตหรือจะนาทรัพย์สินที่ตนเช่ามาไปให้บุคคลอื่นเช่าอีกทอดหนึ่งก็ได้หากผู้ให้เช่าอนุญาต เช่น แดงให้ดาเช่ารถยนต์ของตน ดาอาจนารถยนต์คันดังกล่าวไปให้เช่าอีกทอดหนึ่งก็ ได้การกระทาเช่นนี้เรียกว่า “การเช่าช่วง” อย่างไรก็ดีไม่ว่าจะมีการให้เช่าไปกี่ทอดก็ตาม กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นยังคงเป็นของเจ้าของกรรมสิทธิ์เดิมเสมอ เนื่องจากสัญญาเช่าเป็น สัญญาที่ไม่ได้มีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่เช่า
  • 41. ๓. เป็ นสัญญาที่มีระยะเวลาจากัด การเช่าสังหาริมทรัพย์นั้นคู่สัญญาจะ กาหนดระยะเวลาเช่านานเพียงใดก็ได้ แต่การเช่าอสังหาริมทรัพย์กฎหมายกาหนดให้ กาหนดให้เช่าได้ไม่เกิน 30 ปี หากคู่สัญญาตกลงกันเกิน 30 ปี กฎหมายให้ลด ระยะเวลาเช่าลงมาเหลือ 30 ปี อย่างไรก็ดี คู่สัญญาสามารถกาหนดระยะเวลาเช่า เช่าตลอดอายุของผู้ให้เช่าหรือผู้เช่าก็ได้ ๔. เป็ นสัญญาที่ถือเอาคุณสมบัติของผู้เช่าเป็ นสาระสาคัญ เนื่องจากผู้ให้ เช่าต้องพิจารณาผู้เช่ามีคุณสมบัติที่จะดูแลรักษาทรัพย์สินที่ให้เช่าได้หรือไม่ หากผู้เช่ามี ผู้เช่ามีคุณสมบัติดังกล่าวผู้ให้เช่าจึงยอมให้ผู้เช่าได้ใช้ทรัพย์สิน ดังนั้น หากผู้เช่าตาย ตาย สัญญาเช่าย่อมระงับ และผู้เช่าจะเอาทรัพย์สินที่เช่ามาไปให้บุคคลอื่นเช่าต่อ (เช่าช่วง) โดยผู้ให้เช่าไม่ยอมไม่ได้
  • 42. ๕.เป็ นสัญญาที่ไม่มีแบบ ดังนั้น สัญญาเช่าจึงสมบูรณ์เมื่อมีการตกลงกัน ระหว่างผู้ให้เช่ากับผู้เช่า ไม่ว่าจะตกลงกันด้วยวาจาหรือลายลักษณ์อักษร แต่การเช่า เช่า อสังหาริมทรัพย์ นั้นกฎหมายกาหนดให้ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อ ลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด มิฉะนั้นจะไม่สามารถฟ้ องร้องบังคับให้ปฏิบัติตามสัญญา สัญญาเช่าได้ยิ่งกว่านั้นหากเป็นการเช่าอสังหาริมทรัพย์เกินกว่า 3 ปีเท่านั้น หรือ กาหนดตลอดอายุของผู้เช่าหรือผู้ให้เช่า กฎหมายกาหนดให้ต้องทาเป็นหนังสือและจด และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ถ้าไม่ทาจะมีผลให้สามารถฟ้ องร้องบังคับกันตาม กันตามสัญญาเช่าได้เพียง 3 ปีเท่านั้น อย่างไรก็ดี การที่ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือหรือ หรือไม่ได้ทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ไม่ทาให้สัญญาเช่าตก ตกเป็นโมฆะแต่อย่างใด สัญญาเช่ายังมีผลสมบูรณ์ทุกประการ ส่วนสัญญาเช่า สังหาริมทรัพย์ รวมถึงสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ คู่สัญญาสามารถฟ้ องร้องบังคับคดีกัน ได้โดยไม่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือแต่อย่างใด
  • 43. ๕.๓ ผลของการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่า เมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่า กรณีสัญญาเช่าสังหาริมทรัพย์นั้น หากมีการโอนกรรมสิทธิ์ในสังหาริมทรัพย์ที่เช่าจะทาให้สัญญาเช่าระงับลง ส่วนกรณี สัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์นั้นหากมีการโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ที่เช่าก็ไม่ ทาให้สัญญาเช่าระงับลงแต่ประการใด ตัวอย่างที่ 1 ขาวทาสัญญาเช่ารถยนต์จากดาเป็นเวลา 2 ปี หนึ่งปีต่อมาดาได้ ขายรถยนต์คันดังกล่าวให้แก่เขียว ดังนี้ สัญญาเช่ารถยนต์ระหว่างขาวกับดาย่อมระงับ ลง เนื่องจากได้มีการโอนกรรมสิทธิ์ในสังหาริมทรัพย์ที่เช่า
  • 44. ๖. สัญญาเช่าซื้อ ๖.๑ ความหมายของสัญญาเช่าซื้อ สัญญาเช่าซื้อ หมายถึง สัญญาซึ่งเจ้าของทรัพย์สินเรียกว่า “ผู้ให้เช่าซื้อ” นา ทรัพย์สินของตนออกให้เช่า และให้คามั่นว่าจะขายทรัพย์ดังกล่าวให้แก่ “ผู้เช่าซื้อ” โดย มีเงื่อนไขว่าผู้เช่าซื้อต้องชาระราคาทรัพย์สินนั้นเป็นงวด ๆ จนครบตามจานวนที่ได้ตก ลงกันไว้ในสัญญา
  • 45. ๖.๒ ลักษณะของสัญญาเช่าซื้อ ๑.เป็ นสัญญาต่างตอบแทน กล่าวคือ ผู้ให้เช่าซื้อและผู้เช่าซื้อต่างมีหน้าที่ ปฏิบัติตอบแทนซึ่งกันและกัน ได้แก่ ผู้ให้เช่าซื้อต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ให้เช่าซื้อแก่ผู้เช่า ซื้อและโอนกรรมสิทธิ์ให้เมื่อผู้เช่าซื้อชาระครบงวดและผู้เช่าซื้อต้องชาระเงินเป็นงวดๆ แก่ผู้ให้เช่าซื้อเป็นการตอบแทน
  • 46. ๒. ผู้ให้เช่าซื้อไม่ต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าซื้อก็ได้ เนื่องจาก กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่าซื้อจะโอนไปยังผู้เช่าซื้อเมื่อผู้เช่าซื้อได้ชาระราคา ครบถ้วน ไม่ได้โอนไปยังผู้เช่าซื้อทันทีขณะที่ทาสัญญาเหมือนดังสัญญาซื้อขาย ดังนั้น ในขณะทาสัญญาเช่าซื้อ ผู้ให้เช่าซื้อจะเป็นเจ้าของทรัพย์ที่ให้เช่าซื้อหรือ ไม่ได้เป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าซื้อก็ได้ เพียงแต่ว่าในภายหลังเมื่อผู้เช่าซื้อ ชาระราคาครบถ้วนแล้ว ผู้ให้เช่าซื้อจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าซื้อ เพื่อให้สามารถโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้นไปยังผู้เช่าซื้อได้
  • 47. ๓. ผู้ให้เช่าซื้อเอาทรัพย์สินของตนอออกให้เช่าประกอบกับให้คามั่น แก่ผู้เช่าซื้อว่าจะขายทรัพย์สินนั้น สัญญาเช่าซื้อมีลักษณะเป็นสัญญาเช่า กับคามั่นว่าจะขายดังนั้นผู้ให้เช่าจึงต้องนาทรัพย์สินออกให้ผู้เช่าซื้อได้ใช้สอย ประโยชน์จากทรัพย์สินนั้นเหมือนเช่นสัญญาเช่าทรัพย์ ๔. เป็นสัญญาที่กรรมสิทธิ์ในทรัพย์เช่าซื้อโอนไปยังผู้เช่าซื้อเมื่อผู้เช่าซื้อ ชาระเงินครบทุกงวด ต่างจากสัญญาซื้อขายผ่อนส่งตรงที่สัญญาซื้อขายผ่อนส่ง กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินโอนทันทีตั้งแต่ทาสัญญา
  • 49. ๗. สัญญาจ้างแรงงาน ๗.๑ ความหมายของสัญญาจ้างแรงงาน สัญญาจ้างแรงงาน หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า “ลูกจ้าง” ตกลง ที่จะทางานให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “นายจ้าง” และนายจ้างตกลงจะให้ สินจ้างตลอดเวลาที่ทางาน
  • 50. ๗.๒ ลักษณะของสัญญาจ้างแรงงาน ๑.เป็นสัญญาต่างตอบแทน นายจ้างและลูกจ้างต่างมีหน้าที่ปฏิบัติตอบ แทนซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ลูกจ้างต้องทางานให้แก่นายจ้าง ส่วนนายจ้างต้อง จ่ายสินจ้างให้แก่ลูกจ้างตลอดระยะเวลาที่ลูกจ้างทางานให้ ๒. เป็นสัญญาที่สาระสาคัญอยู่ที่ตัวบุคคลผู้เป็นคู่สัญญา คือ ในการ ตัดสินใจเข้าทาสัญญาทั้งฝ่ายนายจ้างและลูกจ้างนั้น ทั้งสองฝ่ายะต้องพิจารณา คุณสมบัติและบุคลิกลักษณะของแต่ละฝ่ายจนพอใจจึงจะตกลงเข้าทางาน ด้วยกัน ดังนั้น ในสัญญาจ้างแรงงาน นายจ้างจึงไม่สามารถโอนสิทธิตามสัญญา ให้ลูกจ้างไปทางานกับผู้อื่น โดยที่ลูกจ้างไม่ยินยอมด้วย และในทางกลับกัน ลูกจ้างจะให้ผู้อื่นมาทางานแทนตนโดยที่นายจ้างไม่ยินยอมไม่ได้เช่นกัน นอกจากนั้นหากลูกจ้างตายสัญญาจ้างแรงงานก็เป็นอันระงับ
  • 51. ๓. เป็นสัญญาที่คู่สัญญามีความสัมพันธ์พิเศษแตกต่างไปจากสัญญา ชนิดอื่นๆ กล่าวคือ ลูกจ้างต้องทางานให้แก่นายจ้างด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เต็ม ความสามารถ และนายจ้างมีอานาจบังคับบัญชาลูกจ้าง ๔. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ สัญญาจ้างแรงงานไม่จาเป็นต้องทาเป็นหนังสือ หรือมีหลักฐานเป็นหนังสือแต่อย่างใด เพียงแต่ตกลงกันด้วยวาจา สัญญาก็ สมบูรณ์และสามารถฟ้ องร้องบังคับคดีกันได้
  • 52. ๘. สัญญาจ้างทาของ ๘.๑ ความหมายของสัญญาจ้างทาของ สัญญาจ้างทาของ หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับจ้าง” ตก ลงรับจะทาการงานสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนสาเร็จให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ว่า จ้าง” และผู้ว่าจ้างตกลงจะให้สินจ้างเพื่อผลสาเร็จแห่งการที่ทานั้น เช่น การจ้างให้ สร้างบ้าน การจ้างให้วาดรูป การจ้างให้ซ่อมรถยนต์ การจ้างว่าความ เป็นต้น
  • 53. ๘.๒ ลักษณะของสัญญาจ้างทาของ ๑. เป็ นสัญญาต่างตอบแทน ผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างต่างมีหน้าที่ปฏิบัติตอบแทน ซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ผู้รับจ้างต้องทางาน ที่รับมาจนสาเร็จ ส่วนผู้ว่าจ้างตกลงจ่าย สินจ้างให้เป็นการตอบแทนโดยสินจ้างนั้นจะเป็นเงินหรือเป็นทรัพย์สินอื่นใดก็ได้ ๒. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ตรงที่ผลสาเร็จของงานที่ว่าจ้าง คือ ถ้าผู้ รับจ้างทางานไม่สาเร็จผู้ว่าจ้างก็ไม่ต้องจ่ายสินจ้าง ต่างจากสัญญาจ้างแรงงานตรงที่ นายจ้างต้องจ่ายสินจ้างตลอดเวลาที่ลูกจ้างทางานให้แม้ลูกจ้างจะทางานไม่สาเร็จก็ ตาม
  • 54. ๓. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ สัญญาจ้างทาของไม่จาเป็นต้องทาเป็นหนังสือ หรือมีหลักฐานเป็นหนังสือแต่อย่างใด เพียงแต่ตกลงกันด้วยวาจา สัญญาก็ สมบูรณ์และสามารถฟ้ องร้องบังคับคดีกันได้
  • 55. ความแตกต่างระหว่างสัญญาจ้างแรงงานกับสัญญาจ้างทา ของ ประเด็น สัญญาจ้างแรงงาน สัญญาจ้างทาของ ๑.วัตถุประสงค์ของ สัญญา แรงงานของลูกจ้าง ผลสาเร็จของงานที่ว่าจ้าง ๒. สินจ้าง ต้องเป็นเงินเท่านั้น อาจเป็นเงินหรือทรัพย์สินใดๆ ก็ได้ ๓. การจ่ายสินจ้าง นายจ้างต้องจ่ายสินจ้างตลอดเวลาที่ ลูกจ้างทางานให้แม้ลูกจ้างจะทางานไม่ สาเร็จก็ตาม ผู้ว่าจ้างจะจ่ายสินจ้างเมื่อลูกจ้าง ทางานสาเร็จ หากผู้รับจ้างทางานไม่ สาเร็จผู้ว่าจ้างก็ไม่ต้องจ่ายสินจ้าง ๔.อานาจบังคับบัญชา นายจ้างมีอานาจบังคับบัญชาลูกจ้าง ผู้ว่าจ้างไม่มีอานาจบังคับบัญชาผู้ รับจ้าง ลูกจ้างให้บุคคลอื่นทางานแทนไม่ได้ ผู้รับจ้างสามารถให้บุคคลอื่นทางาน แทนได้ หากสาระสาคัญของงานนั้น ไม่ได้อยู่ที่ความรู้ความสามารถของผู้ รับจ้าง
  • 56. ๙.สัญญายืม ๙.๑ ประเภทของสัญญายืม สัญญายืมนั้นแบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท ได้แก่ ๑ สัญญายืมให้คงรูป และ ๒ สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง ๙.๒ สัญญายืมใช้คงรูป สัญญายืมใช้คงรูป หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ให้ยืม” ให้ บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ยืม” ใช้สอยทรัพย์สินสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้เปล่า และผู้ยืม ตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินนั้นเมื่อได้ใช้สอยเสร็จ
  • 57. ลักษณะขอสัญญายืมใช้คงรูปมีดังนี้ ๑.เป็ นสัญญาไม่ต่างตอบแทน คือ เป็นสัญญาที่ก่อให้เกิดหน้าที่ในการชาระ หนี้แก่ผู้ยืมเพียงฝ่ายเดียว คือ ผู้ยืมมีหน้าที่ที่จะต้องคืนทรัพย์สินที่ยืม ส่วนฝ่ายผู้ให้ยืมไม่ มีหน้าที่ต้องชาระหนี้ตอบแทนแต่อย่างใด ๒.เป็ นสัญญาไม่มีค่าตอบแทน คือ เป็นสัญญาที่ให้ผู้ยืมได้ใช้สอยทรัพย์สินที่ ยืมโดยไม่ต้องเสียค่าตอบแทนใด ๆ ทั้งสิ้น ซึ่งแตกต่างจากสัญญาเช่าทรัพย์ที่ผู้เช่าได้ใช้ สอยทรัพย์สินที่เช่าโดยต้องเสียค่าเช่าเป็นค่าตอบแทน ๓. เป็ นสัญญาที่บริบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบทรัพย์ที่ยืม คือ สัญญายืมใช้คงรูป เกิดขึ้นเมื่อผู้ให้ยืมส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้ยืม หากคู่สัญญาเพียงแต่ตกลงกันโดยผู้ให้ยืม ยังไม่ส่งมอบทรัพย์สิน สัญญายืมใช้คงรูปก็ยังไม่เกิดขึ้น
  • 58. ๔. เป็นสัญญาที่ไม่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ยืม ดังนั้น กรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์ที่ยืมยังคงเป็นของผู้ให้ยืมเสมอ ผู้ยืมมีเพียงสิทธิในการใช้สอยทรัพย์ที่ยืม เท่านั้น ๕. เป็นสัญญาที่ถือคุณสมบัติของผู้ยืมเป็นสาระสาคัญ หากผู้ยืมตาย สัญญายืมใช้คงรูปย่อมระงับลง
  • 59. ๙.๓ สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง หมายถึง สัญญาซึ่งผู้ให้ยืมโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ชนิดใช้แล้วหมดไปนั้นเป็นปริมาณที่มีกาหนดให้แก่ผู้ยืม และผู้ยืมตกลงว่าจะคืน ทรัพย์สินเป็นประเภท ชนิดและปริมาณเช่นเดียวกันให้แทนทรัพย์สินซึ่งให้ยืมไปนั้น เช่น การกู้ยืมเงิน การยืมข้าวสารมาหุงการยืมเนื้อหมูมาประกอบอาหาร
  • 60. ลักษณะของสัญญายืมใช้สิ้นเปลืองมีดังนี้ ๑. เป็ นสัญญาไม่ต่างตอบแทน กล่าวคือ เป็นสัญญาที่ก่อให้เกิดหน้าที่ในการ ชาระหนี้แก่ผู้ยืมเพียงฝ่ายเดียว คือ ผู้ยืมมีหน้าที่ที่จะต้องคืนทรัพย์สินเป็นประเภท ชนิด และปริมาณเช่นเดียวกันให้แทนทรัพย์สินที่ยืมไป ส่วนฝ่ายผู้ให้ยืมไม่มีหน้าที่ต้องชาระ หนี้ตอบแทนแต่อย่างใด ๒. เป็ นสัญญาที่จะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ได้ โดยหลักแล้วผู้ยืมได้ใช้สอย ทรัพย์สินที่ยืมโดยไม่ต้องเสียค่าตอบแทน อย่างไรก็ตามคู่สัญญาอาจตกลงกันให้มี ค่าตอบแทนสาหรับการยืมนั้นก็ได้เช่น การกู้ยืมเงินโดยผู้ยืมต้องเสียดอกเบี้ย ค่าตอบแทน กรณีเป็นสัญญายืมใช้สิ้นเปลืองที่มีค่าตอบแทน
  • 61. 3. เป็นสัญญาที่บริบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบทรัพย์ที่ยืม คือ สัญญายืมใช้ สิ้นเปลืองเกิดขึ้นเมื่อผู้ให้ยืมส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้ยืม หากคู่สัญญาเพียงแต่ตก ลงกันโดยผู้ให้ยืมยังไม่ส่งมอบทรัพย์สิน สัญญายืมใช้สิ้นเปลืองก็ยังไม่เกิดขึ้น เช่นเดียวกับสัญญายืมใช้คงรูป 4. เป็นสัญญาที่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ยืม คือ กรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สินที่ยืมจะโอนจากผู้ให้ยืมไปยังผู้ยืมซึ่งต่างจากสัญญายืมใช้คงรูป ดังนั้น ผู้ ให้ยืมจึงต้องเป็นเจ้าของทรัพย์
  • 62. สัญญากู้ยืมเงิน สัญญากู้ยืมเงินเป็นสัญญาเป็นสัญญายืมใช้หนี้เปลืองอย่างหนึ่ ง หมายถึง สัญญาที่ผู้ให้ยืมส่งมอบกรรมสิทธิ์ในเงินจานวนหนึ่งให้แก่ผู้ยืม และผู้ยืมตกลงจะคืนเงิน ในจานวนที่ตนได้รับมาให้แก่ผู้ให้ยืม สัญญากู้ยืมเงินย่อมบริบูรณ์เมื่อผู้ให้ยืมส่งมอบเงินให้แก่ผู้ยืม หากไม่มีการส่ง มอบเงินที่ยืมสัญญากู้เงินยังไม่เกิดขึ้น
  • 63. หลักฐานแห่งการกู้ยืมเงิน การกู้ยืมเงินกว่าสองพันบาทขึ้นไปนั้น ถ้ามิได้มี หลักฐานแห่งการกู้ยืมเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อผู้ยืมเป็นสาคัญ มิฉะนั้นจะไม่สามารถฟ้ องร้องบังคับคดีกันได้ อย่างไรก็ดี สัญญา นั้นก็สมบูรณ์ไม่ได้ตกเป็นโมฆะหรือฆียะ แต่อย่างใด เพียงแต่ไม่ ไม่สามารถฟ้ องร้องคดีกันได้เท่านั้น ดอกเบี้ยสาหรับการกู้ยืมเงิน ในกรณีที่กาหนดให้ผู้ยืมต้องเสียดอกเบี้ย กฎหมายห้ามคิดดอกเบี้ยเกินร้อยละ๑๕ ต่อปี หากกาหนดอัตราดอกเบี้ยไว้เกินกว่า เกินกว่าร้อยละ๑๕ต่อปีจะทาให้ข้อตกลงที่ให้ผู้ยืมต้องเสียดอกเบี้ยเกินอัตราเป็นโมฆะ ผู้ โมฆะ ผู้ให้ยืมจะเรียกดอกเบี้ยไม่ได้เลย แต่ผู้ให้ยืมยังสามารถเรียกร้องให้ผู้ยืมคืนเงินให้ เงินให้ได้อยู่
  • 64. ๑๐.สัญญาฝากทรัพย์ สัญญาฝากทรัพย์ หมายถึง สัญญาซึ่งบุคลหนึ่งเรียกว่า ผู้ฝาก ส่งมอบ ทรัพย์สินให้แก่บุคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า ผู้รับฝาก และผู้รับฝากตกลงว่าจะเก็บรักษา ทรัพย์สินนั้นไว้ในอารักขาแห่งตนแล้วจะคืนให้ ลักษณะของสัญญาฝากทรัพย์ ๑.เป็ นสัญญาที่อาจมีค่าตอบแทนหรือไม่มีก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผู้รับฝากตกลง จะเก็บรักษาทรัพย์สินที่ฝากไว้ในความดูแลของตนโดยเรียกบาเหน็จค่าฝากจากผู้ฝาก หรือไม่ หากผู้รับฝากตกลงจะเก็บรักษาทรัพย์สินที่ฝากไว้ในความดูแลของตนโดยไม่ เรียกบาเหน็จค่าฝากสัญญาฝากทรัพย์นั้นก็เป็นสัญญาไม่มีค่าตอบแทนแต่หากผู้รับฝาก ตกลงจะเก็บรักษาทรัพย์สินที่ฝากไว้ในความดูแลของตนโดยเรียกบาเหน็จค่าฝาก สัญญาฝากทรัพย์นั้นก็เป็นสัญญามีค่าตอบแทน
  • 65. ๒. เป็ นสัญญาที่ไม่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝาก กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ ฝากจึงไม่โอนไปยังผู้รับฝาก และผู้ฝากก็อาจไม่ใช่เจ้าของกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝากก็ ฝากก็ได้เช่นแดงยืมรถบรรทุกของดามาใช้ขนสินค้าเป็นเวลาสามเดือน ระหว่างนั้นแดง นั้นแดงต้องไปทาธุระที่ต่างประเทศเป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์ แดงกลัวว่ารถบรรทุกของดาที่ ของดาที่ตนยืมมาจะถูกขโมย จึงตกลงส่งมอบรถบรรทุกคันนั้นให้เขียวช่วยดุแลเก็บ เก็บรักษาไว้ในโรงงานของเขียวด้วย เมื่อแดงกลับมาจากต่างประเทศจึงขอรับคืน
  • 66. ๓. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ให้ผู้รับฝากเก็บรักษาทรัพย์สินที่ฝากไว้ใน ความดูแลของตน หากผู้ฝากส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้รับฝากเพื่อวัตถุประสงค์อื่น สัญญานั้นย่อมไม่ใช่สัญญาฝากทรัพย์ เช่น แดงฝากรถยนต์ของตนให้เขียวซึ่งเป็นเจ้าของร้านขายรถยนต์มือสองช่วย ช่วยขายแทนตน สัญญาดังกล่าวไม่ใช่สัญญาฝากทรัพย์ เพราะแดงส่งมอบรถยนต์ให้ รถยนต์ให้เขียวช่วยขาย ไม่ใช่ให้ช่วยเก็บรักษาไว้ในความดูแลของตน แต่เป็ น สัญญาตัวแทน เพราะแดงซึ่งเป็นตัวการตกลงให้เขียวซึ่งเป็นตัวแทนมีอานาจขาย รถยนต์แทนตน เป็นต้น
  • 67. สาหรับหน้าที่ของผู้รับฝากนั้น หากการฝากทรัพย์เป็นการทาให้เปล่าโดยไม่มี บาเหน็จค่าฝาก ผู้รับฝากจะต้องใช้ความระมัดระวังในการดูแลรักษาทรัพย์สินที่รับฝาก เหมือนเช่นเคยปฏิบัติในการดูแลรักษาทรัพย์สินของตัวเอง แต่หากการฝากทรัพย์เป็น การทาให้โดยมีบาเหน็จค่าฝาก ผู้รับฝากจะต้องใช้ความระมัดระวังในการดูแลรักษา ทรัพย์สินที่รับฝากเหมือนเช่นวิญญูชนจะพึงปฏิบัติในการดูแลรักษาทรัพย์สินนั้น และ หากเป็นกรณีที่ผู้รับฝากเป็นผู้มีวิชาชีพเฉพาะกิจการค้าขายหรืออาชีพอย่างหนึ่งอย่างใด เช่น ผู้รับฝากเป็นธนาคารหรือสถาบันทางการเงิน ผู้รับฝากเป็นผู้ประกอบ กิจการรับฝากรถ เป็นต้น ในกรณีนี้ผู้รับฝากจะต้องใช้ความระมัดระวังในการดูแลรักษาทรัพย์สินที่รับฝาก เท่าที่เป็นธรรมดาจะต้องใช้และสมควรจะต้องใช้ในกิจการค้าขายหรืออาชีวะนั้น นอกจากนี้ผู้รับฝากจะต้องไม่ใช้สอยทรัพย์สินที่รับฝากหรือเอาไปให้บุคคลภายนอกใช้ สอยหรือให้บุคคลภายนอกเก็บรักษา
  • 68. ๔. เป็ นสัญญาที่สมบูรณ์ด้วยการส่งมอบทรัพย์สินที่ฝากแก่ผู้รับฝาก ลาพังเพียงผู้ฝากและผู้รับฝากตกลงรับฝากทรัพย์สินกันไม่มีผลทาให้สัญญาฝากทรัพย์ ทรัพย์เกิดขึ้นแต่อย่างใด ผู้ฝากจะต้องส่งมอบทรัพย์สินที่ฝากให้แก่ผู้รับฝากด้วย สัญญาฝากทรัพย์จึงเกิดขึ้นและมีผลสมบูรณ์ตามกฎหมาย จะเห็นได้ว่าสัญญาฝาก ฝากทรัพย์เป็นสัญญาที่สมบูรณ์ด้วยการส่งมอบทรัพย์สินเช่นเดียวกันกับสัญญาให้และ ให้และสัญญายืม
  • 69. ๑๐.๓ สัญญาฝากเงิน สัญญาฝากเงินเป็ นสัญญาฝากทรัพย์อย่างหนึ่ง จึงต้องนาหลักเกณฑ์ของ สัญญาฝากทรัพย์มาใช้บังคับอยู่เท่าที่ไม่ขัดกับสภาพของสัญญาฝากเงิน เช่น สัญญา ฝากทรัพย์เป็นสัญญาที่สมบูรณ์ด้วยการส่งมอบทรัพย์สินที่ฝาก สัญญาฝากเงินก็ยังไม่ เกิดขึ้น เป็นต้น อย่างไรก็ตามสัญญาฝากเงินก็มี เฉพาะที่แตกต่างจากสัญญาฝากทรัพย์ทั่วไปอยู่หลายประการ ดังต่อไปนี้
  • 70. ๑. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุของสัญญาเป็ นเงินตรา สัญญาฝากเงินต้องมรทรัพย์สินที่ ฝากเป็นเงินตรา ในขณะที่สัญญาฝากทรัพย์ทั่วไปมีทรัพย์สินอื่นที่ไม่ใช่เงินตรา เช่น แดงทาสัญญาฝากทรัพย์กับธนาคารกรุงไทยเพื่อเปิดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ โดย ทรัพย์ โดยนาธนบัตรและเหรียญกษาปณ์จานวน ๒๐,๐๐๐ บาท มาส่งมอบให้แก่ธนาคาร ธนาคาร สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาฝากเงิน แต่มิได้หมายความว่าสัญญาฝากทรัพย์ที่มี มีทรัพย์สินที่ฝากเป็นเงินตราจะเป็นสัญญาฝากเงินเสมอไป ในบางกรณีอาจเป็นสัญญาฝากทรัพย์ทั่วไปก็ได้ เช่น แดงสะสมเหรียญกษาปณ์หา กษาปณ์หายากและธนบัตรที่ระลึกไว้เป็นจานวนมาก แต่รู้ว่าบ้านเรือนไทยของตนจะเกิด เกิดอัคคีภัยซึ่งจะทาให้เหรียญกษาปณ์หายากและธนบัตรที่ระลึกไว้เป็นจานวนดังกล่าวถูกไฟ ถูกไฟไหม้ไปด้วย แดงจึงตกลงนาเหรียญกษาปณ์หายากและธนบัตรที่ระลึกนั้นมาฝากไว้ในตู้ ไว้ในตู้นิรภัยของธนาคาร สัญญาดังกล่าวไม่เป็นสัญญาฝากเงินแต่เป็นสัญญาฝากทรัพย์ ทรัพย์ทั่วไป
  • 71. ๒. เป็ นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝาก กรรมสิทธิ์ในเงินตราที่ฝากจึงโอนจากผู้ฝากไปยังผู้รับฝาก ในขณะที่สัญญาฝากทรัพย์ ทรัพย์ทั่วไปนั้น กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝากไม่โอนไปยังผู้รับฝาก เมื่อผู้รับฝากอยู่ใน อยู่ในฐานะเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในเงินตราที่ฝากผู้รับฝากจึงต้องรับเอาผลในความ ความเสียหายที่เกิดแก่เงินตราดังกล่าว ดังนั้น เมื่อเงินตราที่ฝากได้สูญหายไปแม้ด้วย ด้วยเหตุสุดวิสัยก็ตาม ผู้รับฝากก็ยังคงต้องคืนเงินตราแก่ผู้ฝากให้ครบจานวนอยู่ เช่นเดิม
  • 72. ๓. เป็ นสัญญาที่ผู้รับฝากไม่ต้องคืนด้วยเงินตราอันเดียวกับที่ฝาก เมื่อ กรรมสิทธิ์ในเงินตราที่ฝากโอนจากผู้ฝากไปยังผู้รับฝาก ผู้รับฝากในฐานะเจ้าของที่รับ ที่รับฝากออกไปใช้สอยหรือโอนกรรมสิทธิ์เงินดังกล่าวไปยังบุคคลภายนอกได้ กฎหมายจึงกาหนดให้ผู้รับฝากไม่จาต้องคืนเงินตราแก่ผู้ฝากด้วยเงินตราอันเดียวกันกับ เดียวกันกับที่ตนได้รับฝาก เพียงแต่ผู้รับฝากต้องคืนเงินตราแก่ผู้ฝากให้ครบจานวนที่รับ จานวนที่รับฝากไว้ ฉะนั้น ผู้รับฝากจึงสามารถนาเงินตราอื่นที่มีจานวนเท่ากันมาคืนผู้ คืนผู้ฝากได้
  • 73. ๑๑.สัญญาค้าประกัน ๑๑.๑ ความหมายของสัญญาค้าประกัน สัญญาค้าประกัน หมายถึง สัญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ค้า ประกัน” ผูกพันตนต่อ “เจ้าหนี้” คนหนึ่งเพื่อชาระหนี้ในเมื่อลูกหนี้มาชาระหนี้นั้น เช่น แดงกู้เงินจากดาโดยมีเขียวมาทาสัญญาค้าประกันกับดาเพื่อประกันหนี้ เงินกู้ของแดง เมื่อหนี้ถึงกาหนดชาระ แดงไม่ยอมชาระหนี้เงินกู้ ดาสามารถเรียกให้ เขียวชาระหนี้เงินกู้ในฐานะเป็นผู้ค้าประกันได้