SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 4
Baixar para ler offline
สมการของเส้นตรง (Equation of a Straight Line)
1. สมการของเส้นตรงที่ขนานกับแกน x หรือ แกน y
ให้ L เป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน x จะเห็นได้ว่าจุดต่าง ๆ ที่อยู่บนเส้นตรง L จะมี
พิกัดที่ 2 เท่ากันหมด ถ้าพิกัดที่ 2 เป็น b จะได้ว่า “จุด (x,y) ที่เป็นจุดบนเส้นตรง
L ก็ต่อเมื่อ y = b”
เส้นตรง L จะเป็นกราฟของความสัมพันธ์ r ที่นิยามว่า r = {(x,y) | y = b} หรือ
เส้นตรงที่มีสมการเป็น y = b
ในทานองเดียวกัน ถ้า L เป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน y จะเห็นว่าจุดต่าง ๆ
ที่อยู่บนเส้นตรง L จะมีพิกัดที่ 1 เท่ากันหมด ถ้าพิกัดที่ 1 เป็น a จะได้ว่า “จุด (x,y) ที่เป็นจุ
บนเส้นตรง L ก็ต่อเมื่อ x = a ”
เพราะฉะนั้นเส้นตรง L จะเป็นกราฟของความสัมพันธ์ r ที่นิยามว่า r = {(x,y) |
x = a} หรือเส้นตรงที่มีสมการเป็น x = a
สมการของเส้นตรงแบบจุดและความชัน (The Point-Slope Equation)
ถ้าให้ L เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด (x1,y1) และมีความชัน = m
ให้ (x,y) เป็นจุดใด ๆ บนเส้นตรง L จากนิยามความชันได้ว่า
ความชันของ L =
𝑦1−𝑦2
𝑥1−𝑥2
แต่กาหนดให้ความชันของ L เท่ากับ m
ดังนั้น m =
𝑦1−𝑦2
𝑥1−𝑥2
นั่นคือ y – y1 = m(x – x1) เป็นสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (x1,y1)
และมีความชันเท่ากับ m
ทฤษฎีบท 1.4 จะมีเพียงเส้นตรงเดียวเท่านั้นที่มีความชัน m และผ่านจุด (x1,y1)
และจะมีสมการเป็น y – y1 = m(x – x1)
ตัวอย่าง 1.10 จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (-2,3) และมีความชันเท่ากับ -4/5
วิธีทา y – y1 = m(x – x1)
สมการเส้นตรงเส้นนี้ คือ
y – 3 = (x + 2)
5y – 15 = -4x – 8
4x + 5y – 7 = 0
สมการของเส้นตรงแบบจุดสองจุด (The Two-Point Equation)
ถ้าให้ L เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด P1(x1,y1) และ P2(x2,y2) ถ้า x1 ¹ x2 เพราะฉะนั้น
ความชันของ P1P2 เท่ากับ
𝑦1−𝑦2
𝑥1−𝑥2
ซึ่งจะเท่ากับความชันของเส้นตรง L
แทนค่าในสมการเส้นตรงแบบจุดและความชัน จะได้
y – y1 =
𝑦1−𝑦2
𝑥1−𝑥2
(x – x1)
ถ้า x1 = x2 แล้ว เส้นตรง L จะขนานกับแกน y
เส้นตรง L จะมีสมการเป็น x = x1
ทฤษฎีบท 1.5 ถ้า L เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด (x1,y1) และ (x2,y2)
ที่ x1 ¹ x2 แล้ว L จะมีสมการเป็น y – y1 =
𝑦1−𝑦2
𝑥1−𝑥2
(x – x1)
ตัวอย่าง 1.11 จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (4,1) และ (-2,2)
วิธีทา y – y1 =
𝑦1−𝑦2
𝑥1−𝑥2
(x - x1)
เพราะฉะนั้น สมการเส้นตรงที่ต้องการ คือ
y – 1 =
1−2
4+2
(x -4) , x + 6y – 10 = 0
สมการของเส้นตรงแบบความชันและจุดตัดแกน (The Slope-Intercept Equation)
นิยาม 1.8 จุดตัดแกน x (x-intercept) ของกราฟ คือ พิกัดที่ 1 ของจุดที่กราฟนั้นตัดกับแกน x
จุดตัดแกน y (y-intercept) ของ กราฟ คือ พิกัดที่ 2 ของจุดที่กราฟนั้นตัดกับแกน y
วิธีการหาจุดตัดแกน x ทาได้โดยการให้ y = 0 ในสมการแล้วแก้สมการหาค่า x
ทานองเดียวกัน การหาจุดตัดแกน y ทาได้โดยการให้ x = 0 ในสมการแล้ว แก้สมการ
หาค่า y
เช่น สมการ 2x + 7y – 6 = 0 ให้ y = 0 เพราะฉะนั้น x = 3
นั่นคือ จุดตัดแกน x ของกราฟ คือ 3
สมมุติให้ L เป็นเส้นตรงที่มีความชันเท่ากับ m และมีจุดตัดแกน y เท่ากับ b
จากรูป 1.20 แสดงว่า L จะต้องผ่านจุด (0,b) แทนค่าความชัน
เท่ากับ m และ (x1,y1) = (0,b) ในสมการจะได้ y – b = m(x – 0) นั่นคือ y = mx + b
รูปที่ 1.20
ทฤษฎีบท 1.6 สมการของเส้นตรงที่มีความชัน m และจุดตัดแกน y เป็น b คือ y = mx + b
ถ้าเส้นตรง L ผ่านจุดกาเนิด นั่นคือมีจุดตัดแกน y ที่ 0 (เพราะว่า b = 0)
เพราะฉะนั้นสมการเส้นตรงที่ผ่านจุดกาเนิดที่ไม่ใช่แกน y คือ y = mx
ตัวอย่าง 1.12 จงหาสมการเส้นตรงที่มีความชันเท่ากับ -3/4 และมีจุดตัดแกน y เท่ากับ 2
วิธีทา y = mx + b
แทนค่า ความชัน และจุดตัดแกน y จะได้
y = -3/4 x + 2
4y = -3x + 8
3x + 4y -8 = 0 จะเป็นสมการเส้นตรงที่ต้องการ
สมการของเส้นตรงแบบจุดตัดแกน (The Intercept Equation)
ให้ L เป็นเส้นตรงที่มีจุดตัดแกน x เท่ากับ a และจุดตัด
แกน y เท่ากับ b ; a ¹ 0 และ b ¹ 0 แสดงว่า L
เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด (a,0) และ (0,b)
ความชันของเส้นตรง L คือ m =
0−𝑏
𝑎−0
=
𝑏
−𝑎
สมการของเส้นตรง L คือ
y = -
𝑎
𝑏
x + b
ay = - bx + ab
𝑥
𝑎
+
𝑦
𝑏
= 1
ทฤษฎีบท 1.7 สมการของเส้นตรงที่มี จุดตัดแกน x และจุดตัดแกน y เท่ากับ a และ b
ตามลาดับ คือ
𝑥
𝑎
+
𝑦
𝑏
= 1
ถ้า a ¹ 0, b ¹ 0
ตัวอย่าง 1.13 จงหาสมการเส้นตรงที่มีจุดตัดแกน x เท่ากับ 2 และจุดตัดแกน y เท่ากับ 3
วิธีทา
𝑥
𝑎
+
𝑦
𝑏
= 1
𝑥
𝑎
+
𝑦
𝑏
= 1
3x + 2y – 6 = 0 เป็นสมการที่ต้องการ
นิยาม 1.9 สมการเชิงเส้น (Linear Equation) คือสมการที่อยู่ในรูป
Ax + By + C = 0
เมื่อ A, B และ C เป็นจานวนจริง ที่ A และ B จะเท่ากับ 0 พร้อมกันทั้งสองตัวไม่ได้
ทฤษฎีบท 1.8 โลกัสของสมการเชิงเส้นคือเส้นตรง
พิสูจน์ จากสมการเชิงเส้น Ax + By + C = 0
ถ้า B = 0 แล้ว A ¹ 0 หารทั้งสองข้างของสมการด้วย A สมการจะเป็น x =
𝐶
−𝐴
ซึ่งเป็นสมการเส้นตรงที่ขนานกับแกน y
ถ้า B ¹ 0 แล้ว หารทั้งสองข้างของสมการด้วย B สมการจะเป็น
y =
𝐴
−𝐵
x =
𝐶
𝐵
ซึ่งเป็นสมการเส้นตรงแบบความชันและจุดตัดแกน เมื่อ
m =
𝐴
−𝐵
และ b =
𝐶
𝐵
ตัวอย่าง จงหาความชัน จุดตัดแกน x จุดตัดแกน y ของสมการเส้นตรง x + 2y = 1
วิธีทา จัดสมการเส้นตรงที่กาหนดให้ ให้อยู่ในรูปมาตรฐานของสมการเชิงเส้น จะได้
x + 2y – 1 = 0
A = 1, B = 2 แ ละ C = -1
นั่นคือ m =
1
−2
และ b =
1
2
หาจุดตัดแกน x โดยการแทนค่า y = 0 จะได้ x = 1
เพราะฉะนั้น ความชันเท่ากับ
1
−2
, จุดตัดแกน x เท่ากับ 1, จุดตัดแกน y เท่ากับ
1
2

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงสมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงพัน พัน
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2ทับทิม เจริญตา
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 KruPa Jggdd
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1Inmylove Nupad
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553ครู กรุณา
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิตkanjana2536
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยWatcharinz
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 

Mais procurados (20)

เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
 
สมการเส้นตรง
สมการเส้นตรงสมการเส้นตรง
สมการเส้นตรง
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 

Destaque

สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงทับทิม เจริญตา
 
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือนสื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือนพัน พัน
 
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯแผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯทับทิม เจริญตา
 
สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์
สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์
สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์พัน พัน
 
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทยสังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทยchickyshare
 
ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์
ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์
ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์photmathawee
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรJiraprapa Suwannajak
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นsawed kodnara
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังAj.Mallika Phongphaew
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรN'Fern White-Choc
 

Destaque (15)

สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
 
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือนสื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือน
 
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯแผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
 
สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์
สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์
สมการเส้นตรง เป็นส่วนหนึ่งของเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์
 
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทยสังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์
ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์
ปลุกจิตคณิต ม.4 - เรขาคณิตวิเคราะห์
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตรสูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
 

Semelhante a สมการของเส้นตรง

สมการเชิงเส้น
สมการเชิงเส้นสมการเชิงเส้น
สมการเชิงเส้นguesta6fb6b
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์Krudodo Banjetjet
 
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรงระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรงSiwimol Wannasing
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34krookay2012
 
บทที่10.pdf
บทที่10.pdfบทที่10.pdf
บทที่10.pdfsewahec743
 
สมการและอสมการ
สมการและอสมการสมการและอสมการ
สมการและอสมการORAWAN SAKULDEE
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
ระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลมระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลมSiwimol Wannasing
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33krookay2012
 
Simple linear regression and correlation
Simple linear regression and correlationSimple linear regression and correlation
Simple linear regression and correlationPhim Phimmat
 
เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์Porna Saow
 
เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์Porna Saow
 

Semelhante a สมการของเส้นตรง (20)

เรขาคณิตวิเคราะห์
เรขาคณิตวิเคราะห์เรขาคณิตวิเคราะห์
เรขาคณิตวิเคราะห์
 
สมการเชิงเส้น
สมการเชิงเส้นสมการเชิงเส้น
สมการเชิงเส้น
 
Contraction Mapping
Contraction MappingContraction Mapping
Contraction Mapping
 
Geomety
GeometyGeomety
Geomety
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
 
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรงระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
ระยะระหว่างจุดและเส้นตรง
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
บทที่10.pdf
บทที่10.pdfบทที่10.pdf
บทที่10.pdf
 
สมการและอสมการ
สมการและอสมการสมการและอสมการ
สมการและอสมการ
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
อนุพันธ์ของฟังก์ชันอนุพันธ์ของฟังก์ชัน
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน
 
สมการSs
สมการSsสมการSs
สมการSs
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
ระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลมระบบพิกัดทรงกลม
ระบบพิกัดทรงกลม
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
Simple linear regression and correlation
Simple linear regression and correlationSimple linear regression and correlation
Simple linear regression and correlation
 
เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์
 
เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์
 

Mais de Y'Yuyee Raksaya

สมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียล
สมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียลสมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียล
สมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียลY'Yuyee Raksaya
 
ฟังชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังชันเอกซ์โพเนนเชียลฟังชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังชันเอกซ์โพเนนเชียลY'Yuyee Raksaya
 
เลกยกกำลัง
เลกยกกำลังเลกยกกำลัง
เลกยกกำลังY'Yuyee Raksaya
 
รูทไม่รู้จบ
รูทไม่รู้จบรูทไม่รู้จบ
รูทไม่รู้จบY'Yuyee Raksaya
 
สมการติดรูท
สมการติดรูทสมการติดรูท
สมการติดรูทY'Yuyee Raksaya
 
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมY'Yuyee Raksaya
 
เวกเตอร์ใน 3 มิติ
เวกเตอร์ใน 3 มิติเวกเตอร์ใน 3 มิติ
เวกเตอร์ใน 3 มิติY'Yuyee Raksaya
 
เวกเตอร์ใน 2 มิต1
เวกเตอร์ใน 2 มิต1เวกเตอร์ใน 2 มิต1
เวกเตอร์ใน 2 มิต1Y'Yuyee Raksaya
 
เวกเตอร์ใน 2 มิติ
เวกเตอร์ใน 2 มิติเวกเตอร์ใน 2 มิติ
เวกเตอร์ใน 2 มิติY'Yuyee Raksaya
 
โครงงานคณิตบทที่ 10
โครงงานคณิตบทที่ 10โครงงานคณิตบทที่ 10
โครงงานคณิตบทที่ 10Y'Yuyee Raksaya
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังY'Yuyee Raksaya
 
เอกซ์โพเนนเซียล
เอกซ์โพเนนเซียลเอกซ์โพเนนเซียล
เอกซ์โพเนนเซียลY'Yuyee Raksaya
 
พาราโบลา
พาราโบลาพาราโบลา
พาราโบลาY'Yuyee Raksaya
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันY'Yuyee Raksaya
 
พีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันพีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันY'Yuyee Raksaya
 

Mais de Y'Yuyee Raksaya (20)

บทที่ 5
บทที่ 5 บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
สมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียล
สมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียลสมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียล
สมกาาร อสมการ เอ็กซ์โพเนนเชียล
 
ฟังชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังชันเอกซ์โพเนนเชียลฟังชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังชันเอกซ์โพเนนเชียล
 
เลกยกกำลัง
เลกยกกำลังเลกยกกำลัง
เลกยกกำลัง
 
รูทไม่รู้จบ
รูทไม่รู้จบรูทไม่รู้จบ
รูทไม่รู้จบ
 
สมการติดรูท
สมการติดรูทสมการติดรูท
สมการติดรูท
 
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
เวกเตอร์ใน 3 มิติ
เวกเตอร์ใน 3 มิติเวกเตอร์ใน 3 มิติ
เวกเตอร์ใน 3 มิติ
 
เวกเตอร์ใน 2 มิต1
เวกเตอร์ใน 2 มิต1เวกเตอร์ใน 2 มิต1
เวกเตอร์ใน 2 มิต1
 
เวกเตอร์ใน 2 มิติ
เวกเตอร์ใน 2 มิติเวกเตอร์ใน 2 มิติ
เวกเตอร์ใน 2 มิติ
 
โครงงานคณิตบทที่ 10
โครงงานคณิตบทที่ 10โครงงานคณิตบทที่ 10
โครงงานคณิตบทที่ 10
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
เอกซ์โพเนนเซียล
เอกซ์โพเนนเซียลเอกซ์โพเนนเซียล
เอกซ์โพเนนเซียล
 
พาราโบลา
พาราโบลาพาราโบลา
พาราโบลา
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
พีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันพีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชัน
 

สมการของเส้นตรง

  • 1. สมการของเส้นตรง (Equation of a Straight Line) 1. สมการของเส้นตรงที่ขนานกับแกน x หรือ แกน y ให้ L เป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน x จะเห็นได้ว่าจุดต่าง ๆ ที่อยู่บนเส้นตรง L จะมี พิกัดที่ 2 เท่ากันหมด ถ้าพิกัดที่ 2 เป็น b จะได้ว่า “จุด (x,y) ที่เป็นจุดบนเส้นตรง L ก็ต่อเมื่อ y = b” เส้นตรง L จะเป็นกราฟของความสัมพันธ์ r ที่นิยามว่า r = {(x,y) | y = b} หรือ เส้นตรงที่มีสมการเป็น y = b ในทานองเดียวกัน ถ้า L เป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน y จะเห็นว่าจุดต่าง ๆ ที่อยู่บนเส้นตรง L จะมีพิกัดที่ 1 เท่ากันหมด ถ้าพิกัดที่ 1 เป็น a จะได้ว่า “จุด (x,y) ที่เป็นจุ บนเส้นตรง L ก็ต่อเมื่อ x = a ” เพราะฉะนั้นเส้นตรง L จะเป็นกราฟของความสัมพันธ์ r ที่นิยามว่า r = {(x,y) | x = a} หรือเส้นตรงที่มีสมการเป็น x = a สมการของเส้นตรงแบบจุดและความชัน (The Point-Slope Equation) ถ้าให้ L เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด (x1,y1) และมีความชัน = m ให้ (x,y) เป็นจุดใด ๆ บนเส้นตรง L จากนิยามความชันได้ว่า ความชันของ L = 𝑦1−𝑦2 𝑥1−𝑥2 แต่กาหนดให้ความชันของ L เท่ากับ m ดังนั้น m = 𝑦1−𝑦2 𝑥1−𝑥2 นั่นคือ y – y1 = m(x – x1) เป็นสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (x1,y1) และมีความชันเท่ากับ m ทฤษฎีบท 1.4 จะมีเพียงเส้นตรงเดียวเท่านั้นที่มีความชัน m และผ่านจุด (x1,y1) และจะมีสมการเป็น y – y1 = m(x – x1) ตัวอย่าง 1.10 จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (-2,3) และมีความชันเท่ากับ -4/5 วิธีทา y – y1 = m(x – x1) สมการเส้นตรงเส้นนี้ คือ y – 3 = (x + 2) 5y – 15 = -4x – 8 4x + 5y – 7 = 0
  • 2. สมการของเส้นตรงแบบจุดสองจุด (The Two-Point Equation) ถ้าให้ L เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด P1(x1,y1) และ P2(x2,y2) ถ้า x1 ¹ x2 เพราะฉะนั้น ความชันของ P1P2 เท่ากับ 𝑦1−𝑦2 𝑥1−𝑥2 ซึ่งจะเท่ากับความชันของเส้นตรง L แทนค่าในสมการเส้นตรงแบบจุดและความชัน จะได้ y – y1 = 𝑦1−𝑦2 𝑥1−𝑥2 (x – x1) ถ้า x1 = x2 แล้ว เส้นตรง L จะขนานกับแกน y เส้นตรง L จะมีสมการเป็น x = x1 ทฤษฎีบท 1.5 ถ้า L เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด (x1,y1) และ (x2,y2) ที่ x1 ¹ x2 แล้ว L จะมีสมการเป็น y – y1 = 𝑦1−𝑦2 𝑥1−𝑥2 (x – x1) ตัวอย่าง 1.11 จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (4,1) และ (-2,2) วิธีทา y – y1 = 𝑦1−𝑦2 𝑥1−𝑥2 (x - x1) เพราะฉะนั้น สมการเส้นตรงที่ต้องการ คือ y – 1 = 1−2 4+2 (x -4) , x + 6y – 10 = 0 สมการของเส้นตรงแบบความชันและจุดตัดแกน (The Slope-Intercept Equation) นิยาม 1.8 จุดตัดแกน x (x-intercept) ของกราฟ คือ พิกัดที่ 1 ของจุดที่กราฟนั้นตัดกับแกน x จุดตัดแกน y (y-intercept) ของ กราฟ คือ พิกัดที่ 2 ของจุดที่กราฟนั้นตัดกับแกน y วิธีการหาจุดตัดแกน x ทาได้โดยการให้ y = 0 ในสมการแล้วแก้สมการหาค่า x ทานองเดียวกัน การหาจุดตัดแกน y ทาได้โดยการให้ x = 0 ในสมการแล้ว แก้สมการ หาค่า y เช่น สมการ 2x + 7y – 6 = 0 ให้ y = 0 เพราะฉะนั้น x = 3 นั่นคือ จุดตัดแกน x ของกราฟ คือ 3 สมมุติให้ L เป็นเส้นตรงที่มีความชันเท่ากับ m และมีจุดตัดแกน y เท่ากับ b จากรูป 1.20 แสดงว่า L จะต้องผ่านจุด (0,b) แทนค่าความชัน เท่ากับ m และ (x1,y1) = (0,b) ในสมการจะได้ y – b = m(x – 0) นั่นคือ y = mx + b
  • 3. รูปที่ 1.20 ทฤษฎีบท 1.6 สมการของเส้นตรงที่มีความชัน m และจุดตัดแกน y เป็น b คือ y = mx + b ถ้าเส้นตรง L ผ่านจุดกาเนิด นั่นคือมีจุดตัดแกน y ที่ 0 (เพราะว่า b = 0) เพราะฉะนั้นสมการเส้นตรงที่ผ่านจุดกาเนิดที่ไม่ใช่แกน y คือ y = mx ตัวอย่าง 1.12 จงหาสมการเส้นตรงที่มีความชันเท่ากับ -3/4 และมีจุดตัดแกน y เท่ากับ 2 วิธีทา y = mx + b แทนค่า ความชัน และจุดตัดแกน y จะได้ y = -3/4 x + 2 4y = -3x + 8 3x + 4y -8 = 0 จะเป็นสมการเส้นตรงที่ต้องการ สมการของเส้นตรงแบบจุดตัดแกน (The Intercept Equation) ให้ L เป็นเส้นตรงที่มีจุดตัดแกน x เท่ากับ a และจุดตัด แกน y เท่ากับ b ; a ¹ 0 และ b ¹ 0 แสดงว่า L เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด (a,0) และ (0,b) ความชันของเส้นตรง L คือ m = 0−𝑏 𝑎−0 = 𝑏 −𝑎 สมการของเส้นตรง L คือ y = - 𝑎 𝑏 x + b ay = - bx + ab 𝑥 𝑎 + 𝑦 𝑏 = 1
  • 4. ทฤษฎีบท 1.7 สมการของเส้นตรงที่มี จุดตัดแกน x และจุดตัดแกน y เท่ากับ a และ b ตามลาดับ คือ 𝑥 𝑎 + 𝑦 𝑏 = 1 ถ้า a ¹ 0, b ¹ 0 ตัวอย่าง 1.13 จงหาสมการเส้นตรงที่มีจุดตัดแกน x เท่ากับ 2 และจุดตัดแกน y เท่ากับ 3 วิธีทา 𝑥 𝑎 + 𝑦 𝑏 = 1 𝑥 𝑎 + 𝑦 𝑏 = 1 3x + 2y – 6 = 0 เป็นสมการที่ต้องการ นิยาม 1.9 สมการเชิงเส้น (Linear Equation) คือสมการที่อยู่ในรูป Ax + By + C = 0 เมื่อ A, B และ C เป็นจานวนจริง ที่ A และ B จะเท่ากับ 0 พร้อมกันทั้งสองตัวไม่ได้ ทฤษฎีบท 1.8 โลกัสของสมการเชิงเส้นคือเส้นตรง พิสูจน์ จากสมการเชิงเส้น Ax + By + C = 0 ถ้า B = 0 แล้ว A ¹ 0 หารทั้งสองข้างของสมการด้วย A สมการจะเป็น x = 𝐶 −𝐴 ซึ่งเป็นสมการเส้นตรงที่ขนานกับแกน y ถ้า B ¹ 0 แล้ว หารทั้งสองข้างของสมการด้วย B สมการจะเป็น y = 𝐴 −𝐵 x = 𝐶 𝐵 ซึ่งเป็นสมการเส้นตรงแบบความชันและจุดตัดแกน เมื่อ m = 𝐴 −𝐵 และ b = 𝐶 𝐵 ตัวอย่าง จงหาความชัน จุดตัดแกน x จุดตัดแกน y ของสมการเส้นตรง x + 2y = 1 วิธีทา จัดสมการเส้นตรงที่กาหนดให้ ให้อยู่ในรูปมาตรฐานของสมการเชิงเส้น จะได้ x + 2y – 1 = 0 A = 1, B = 2 แ ละ C = -1 นั่นคือ m = 1 −2 และ b = 1 2 หาจุดตัดแกน x โดยการแทนค่า y = 0 จะได้ x = 1 เพราะฉะนั้น ความชันเท่ากับ 1 −2 , จุดตัดแกน x เท่ากับ 1, จุดตัดแกน y เท่ากับ 1 2