SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
การวินิจฉัยโรคเหงือกอักเสบ
     1.โรคเหงือกอักเสบเหตุคราบจุลินทรีย์ (Gingival
associated with dental plaque)
     2.โรคเหงือกเหตุจากปัจจัยทางระบบ (Gingival diseases
modified by systemic factors)
     3. โรคเหงือกเหตุจากยา (Gingival diseases modified by
medications)
     4.โรคเหงือกเหตุทุพโภชนาการ (Gingival diseases
modified by malnutrition)
การวินิจฉัยโรคปริทันต์อักเสบ
     1. โรคปริทันต์อักเสบเรื้อรัง(Chronic periodontitis)
     2. โรคปริทันต์อักเสบรุกราน(Aggressive periodontitis)
     3. โรคปริทันต์อักเสบอันเป็นอาการแสดงของโรคทั่ว
     กาย(Periodontitis as a manifestation of systemic
     diseases
     4. โรคปริทันต์เนื้อตาย(Necrotizing periodontal disease)

การจำาแนกโรคปริทันต์ของ American Academy of
periodontology 1999 แบ่งเป็น ٨ กลุ่มดังนี้

กลุ่มที่ І Gingival diseases
A. Dental plaque-induced gingival diseases
       1. Gingivitis associated with dental plaque only
       2. Gingival diseases modified by systemic factors
       3. Gingival diseases modified by medications เช่น
            ๏ drug-influenced gingival enlargements
       4. Gingival diseases modified by malnutrition
B. Non-plaque-induced gingival lesions
       1. Gingival diseases of specific bacterial origin
       2. Gingival diseases of viral origin
       3. Gingival diseases of fungal origin
       4. Gingival lesions of genetic origin
       5. Gingival manifestations of systemic conditions
แบ่งได้เป็น
            ๏ Mucocutaneous Disorders (ความผิดปกติของ
เยื่อเมือก)
            ๏ Allergic reactions
       6. Traumatic lesions
๏ Chemical injury
             ๏ Physical injury
             ๏ Thermal injury
      7. Foreign body reactions
      8. Not otherwise specified (อืนๆ)่
กลุ่มที่ П     Chronic periodontitis
กลุ่มที่ Ш Aggressive periodontitis
กลุ่มที่ ІV Periodontitis as a manifestation of systemic
diseases
      A. Associated with hematological disorders
      B. Associated with genetic disorders
      C. อืนๆ
           ่
กลุ่มที่ V Necrotizing periodontal diseases
กลุ่มที่ VІ Abscesses of the periodontium
กลุ่มที่ VП Periodontitis associated with endodontic
lesions
กลุ่มที่ VШ Developmental or acquired deformities and
conditions
      A. Localized tooth-related factors that modify or
predispose to plaque-induced gingival
diseases/periodontitis
             1. Tooth anatomic factors
             2. Dental restorations/appliances
             3. Root fractures
             4. Cervical root resorption and cemental
tears
      B. Mucogingival deformities and conditions around
teeth
             1. Gingival/soft tissue recession
             2. Lack of keratinized
             3. Decreased vestibular depth
             4. Aberrant frenum/muscle position
             5. Gingival excess เช่น pseudopocket
             6. Abnormal color
      C. Mucogingival deformities and conditions on
edentulous ridges
             1. Vertical and/or horizontal ridge deficiency
2. Lack of gingival/keratinized tissue
          3. Gingival/soft tissue largement
          4. Aberrant frenum/muscle position
          5. Decreased vestibular depth
          6. Abnormal color
     D. Occlusal trauma
          1. Primary occlusal trauma
          2. Secondary occlusal trauma

กลุ่มที่ І Gingival diseases
       เป็นกลุ่มของโรคที่เกิดขึ้นเฉพาะในส่วนของเหงือก ยังแบ่ง
ได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
A. Dental plaque-induced gingival diseases คือ โรคเหงือก
ที่เกิดจากคราบจุลินทรีย์ ซึ่งยังแบ่งได้ออกเป็น 4 กลุ่มคือ
       1. Gingivitis associated with dental plaque only โดย
อาจจะมีปัจจัยเสริมเฉพาะที่ เช่น ขอบวัสดุอุดเกิน (overhang
margin) ร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้
       2. Gingival diseases modified by systemic factors
เช่น เหงือกอักเสบที่เกี่ยวข้องกับระบบต่อมไร้ท่อ เช่น puberty-
associated gingivitis, pregnancy associated gingivitis และ
leukemia-associated gingivitis (เหงือกอักเสบที่เกี่ยวข้องกับ
ความผิดปกติของระบบเลือด) เป็นต้น
       3. Gingival diseases modified by medications เช่น
            ๏ drug-influenced gingival enlargements จาก
การใช้ยากันชัก (dilantin) หรือ ยากดภูมิคุ้มกัน (cyclosporin)
เป็นต้น
       4. Gingival diseases modified by malnutrition เช่น
โรคเหงือกอักเสบจากการขาดวิตามินซี

B. Non-plaque-induced gingival lesions เป็นภาวะความผิด
ปกติของเหงือกที่ไม่ได้เกิดจากคราบจุลินทรีย์ แบ่งได้เป็น 8
กลุ่ม คือ
1. Gingival diseases of specific bacterial origin แบคทีเรีย
เหล่านี้จะเป็นเชื้อที่ไม่ใช่เชื้อปกติที่พบในคราบจุลินทรีย์
(exogenous bacteria) เช่น Neisseria gonorrhea-
associatedlesions, Treponema pallidum-
associatedlesions เป็นต้น
2. Gingival diseases of viral origin
๏ Herpes virus infections (การติดเชื้อจากเชื้อ
ไวรัสเฮอร์ปีส์) ซึ่งรวมถึงโรค primary herpetic
gingivostomatitis, recurrent oral herpes และ vericella-
zoster infection
            ๏ โรคเหงือกที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิดอื่นๆ
3. Gingival diseases of fungal origin
            ๏ Candida-species infection (การติดเชื้อจากเชื้อ
ราแคนดิดา) เช่น generalized gingival candidasis
            ๏ Linear Gingival erythema (ภาวะเหงือกแดงเป็น
เส้น) มักจะพบในผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV
            ๏ อื่นๆ
4. Gingival lesions of genetic origin เช่น Hereditary
gingival fibromatosis
5. Gingival manifestations of systemic conditions แบ่งได้
เป็น
            ๏ Mucocutaneous Disorders (ความผิดปกติของ
เยื่อเมือก) เช่น โรคผิวหนังที่มีอาการแสดงที่เหงือกร่วมด้วย
lichen planus, , pemphigus vulgaris, erythema
multiforme เป็นต้น
            ๏ Allergic reactions การแพ้ที่มีอาการแสดงที่
เหงือก) ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มตามวัสดุ/สิ่งที่กระตุ้นให้เกิดอาการ
แพ้ ดังนี้
6. Traumatic lesions ซึ่งเกิดได้จากอุบัติเหตุ หรือโรคหมอทำา
(iatrogenic) ก็ได้ โดยแบ่งได้เป็น
            ๏ Chemical injury การบาดเจ็บที่เกิดจากสารเคมี
เช่น การมีเยื่อบุผิวหลุดลอกจากการใช้นำ้ายาคลอเฮกซิดีน
(chlorhexidine-induced mucosal desquamation) เป็นต้น
            ๏ Physical injury การบาดเจ็บทางกายภาพ เช่น
การบาดเจ็บจากการแปรงฟัน
            ๏ Thermal injury การบาดเจ็บจากความร้อน/ความ
เย็น
7. Foreign body reactions (ความผิดปกติของเหงือกที่เกิดจาก
ปฏิกิริยาต่อสิ่งแปลกปลอม) เช่น amalgam tattoo เป็นต้น
8. Not otherwise specified (อืนๆ)ในส่วนนี้เป็นส่วนที่ AAP
                                   ่
1999 ให้พื้นที่ไว้สำาหรับความผิด ปกติของเหงือกที่ไม่ได้เกิดจาก
คราบจุลินทรีย์ ลักษณะอื่นๆที่ไม่สามารถจัดเข้ากลุ่มที่กล่าวมา
แล้วได้
กลุ่มที่ П Chronic periodontitis
        เป็นการอักเสบของเหงือกร่วมกับการมีร่องลึกปริทันต์
(pocket) และมีการสูญเสียการยึด ร่วมกับการละลายตัวของ
กระดูกเบ้าฟัน การเกิดโรคจะเริ่มจากการเป็นโรคเหงือกอักเสบ
โดยเกิดจากคราบจุลินทรีย์ มีการสะสมของหินนำ้าลายเป็นปัจจัย
เสริมเฉพาะที่ที่ส่งเสริมให้ปริมาณคราบจุลินทรีย์เพิ่มมากขึ้น จน
เกิดการทำาลายเนื้อเยื่ออ่อนและกระดูกเบ้าฟันในที่สุด ทั้งนี้
กระบวนการตอบสนองของร่างกายเป็นส่วนสำาคัญที่ทำาให้เกิดโรค
นี้ขึ้น แม้การเกิดโรคปริทันต์อักเสบจะเริ่มมาจากโรคเหงือกอักเสบ
แต่ผู้ป่วยโรคเหงือกอักเสบบางส่วนที่จะมีการลุกลามไปเป็นโรคปริ
ทันต์อักเสบ

กลุ่มที่ Ш Aggressive periodontitis
       Aggressive periodontitis เป็นโรคที่พบได้น้อย แต่จะเป็น
แบบรุนแรง และมีการลุกลามของโรคอย่างรวดเร็ว มักจะพบในผู้
ป่วยอายุน้อย (จึงทำาให้ในการจำาแนกโรคในปี 1989 เรียก
early-onset periodontitis แต่ในภายหลังพบว่าโรคนี้สามารถ
เกิดขึ้นได้กับผู้ป่วยทุกวัย จึงเรียกเป็น aggressive
periodontitis) ผู้ป่วยมักจะมีประวัติการเป็นโรคปริทันต์ใน
ครอบครัว แต่ไม่มีโรคทางระบบที่มีผลต่ออวัยวะปริทันต์ ลักษณะ
อื่นๆที่อาจจะใช้ในการประกอบการตัดสินใจวินิจฉัยว่าเป็น
aggressive periodontitis คือ
       ๏ ปริมาณการสูญเสียการยึดไม่สัมพันธ์การปริมาณคราบ
จุลินทรีย์และหินนำ้าลายที่พบ
       ๏ ส่วนประกอบของเชื้อที่พบในคราบจุลินทรีย์ พบ
Actinobacillus actinomycetemcomitans และในบางกลุ่ม
ประชากรจะพบ Porphyromonas gingivalis


กลุ่มที่ ІV Periodontitis as a manifestation of systemic
diseases
      เป็นโรคปริทันต์อักเสบที่เป็นอาการแสดงของโรคทางระบบ
โดยโรคทางระบบบางโรคอาจมีผล กระทบต่อความสามารถใน
การต่อต้านเชื้อโรคของร่างกาย หรือทำาให้เกิดภาวะเสียสมดุล
ของระบบเมตาโบลิซึม ของเนื้อเยื่อยึดต่อได้ จึงทำาให้มี อาการ
แสดงเป็นลักษณะเดียวกับโรคปริทันต์อักเสบ กล่าวคือ มีการสูญ
เสียการยึดและการละลายตัวของกระดูกเบ้าฟัน โรคปริทันต์แบบนี้
สามารถแบ่งออกได้เป็น
A. Associated with hematological disorders เช่น
Acquired neutropenia และ leukemias เป็นต้น ซึ่งจะมีผลต่อ
เม็ดเลือดขาวที่เป็นด่านแรกของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำาให้
ความสามารถในการต่อต้านเชื้อในคราบจุลินทรีย์ลดลง
B. Associated with genetic disorders
C. อืนๆ
     ่

กลุ่มที่ V Necrotizing periodontal diseases
       แบ่งได้เป็น Necrotizing gingivitis (NG), Necrotizing
periodontitis (NP), และ Necrotizing stomatitis (NS) เป็น
โรคที่มีอาการอักเสบอย่างรุนแรงมากที่สุด ของอวัยวะปริทันต์ที่
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ผูป่วยมักจะมีอาการเจ็บปวด อาการมักจะ
                         ้
เกิดเฉียบพลันและมีลักษณะเป็นแผลร่วมด้วย จึงมักจะให้การ
วินิจฉัยเป็น Acute necrotizing ulcerative gingivitis(ANUG)
เป็นต้น การจำาแนก NG, NP และ NS อยู่ที่การลุกลามของโรค
โดย NG โรคจะจำากัดอยู่เฉพาะในส่วนของเหงือก ส่วน NP นั้นมี
การลุกลามจนเกิดการสูญเสียการยึด และ NS จะมีการลุกลาม
เข้าไปในเยื่อเมือก (mucosa) ด้วย
       ลักษณะเด่นของโรคนี้ คือ มีการอักเสบของเนื้อเยื่อชัดเจน
ร่วมกับการมีแผลและการตายของเหงือกสามเหลี่ยมและเนื้อเยื่อ
บริเวณขอบเหงือก ทำาให้มีเหงือกสามเหลี่ยมแหว่ง(punched-out
papillae)บริเวณแผลจะถูกปกคลุมด้วยเนื้อเยื่อที่ตายสีเหลือง/
เทา(yellowish-white or grayish slough) เมื่อเช็ดเอาเนื้อเยื่อที่
ตายออกไปจะมีเลือดออก และเห็นลักษณะของแผลชัดเจน ใน
บางครั้งหากโรคลุกลามจนทำาให้เกิดการตายของส่วนของกระดูก
เบ้าฟันอาจเกิดการหลุดลอกของกระดูก (sequestrum) ด้วย
       กลุ่มที่ VІ Abscesses of the periodontium
       เป็นการติดเชื้อเฉพาะที่ที่มีการบวมและเป็นหนอง (localized
purulent infection) ซึ่งหากจำากัดอยู่เฉพาะในขอบเหงือกหรือ
เหงือกสามเหลี่ยมเรียกว่า “gingival abscess” หากมีการ
ลุกลามจนทำาให้เกิดการสูญเสียการยึด เรียก “periodontal
abscess” นอกจากนี้ยังมีการเกิดฝีบริเวณเนื้อเยื่อที่คลุมฟันกำาลัง
ขึ้น เรียก “pericoronal abscess” ทั้งนี้ในการวินิจฉัยแยกโรค
ผู้รักษาจะต้องสามารถแยกฝีปลายรากฟัน (periapical abscess)
ที่มักจะเกิดกับฟันที่ตายแล้วหรือรักษาคลองรากฟันไปแล้วแต่ยังมี
การอักเสบอยู่
กลุ่มที่ VП Periodontitis associated with endodontic
lesions
      เนื่องจากเนื้อเยื่อในโพรง/คลองรากฟัน และอวัยวะปริทันต์
มีทางเชื่อมต่อกันอยู่ที่รูเปิดปลายรากฟัน (apical foramen)และ
lateral canal ในบางครั้งการถูกทำาลายของอวัยวะปริทันต์จึงอาจ
มีจุดเริ่มต้น มาจากการติดเชื้อที่ปลายรากฟัน (จากการมีการ
อักเสบของเนื้อเยื่อในโพรงฟัน: pulpitis)

กลุ่มที่ VШ Developmental or acquired deformities and
conditions
       แบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่ม ใหญ่ๆ คือ
A. Localized tooth-related factors that modify or
predispose to plaque-induced gingival
diseases/periodontitis
       เป็นลักษณะเฉพาะที่ ที่เกี่ยวข้องกับฟัน ที่อาจจะส่งเสริม
ให้เกิด plaque - induced gingival diseases/periodontitis
ได้ง่ายและรุนแรงขึ้น
1. Tooth anatomic factors เช่น cervical enamel
projection, palato-gingival groove เป็นต้น
2. Dental restorations/appliances ลักษณะของวัสดุบูรณะฟัน
เช่น ขอบวัสดุอุดเกิน (overhang-margin) รูปร่างของการบูรณะ
ที่ป่องเกินไป (overcontour)
3. Root fractures
4. Cervical root resorption and cemental tears
B. Mucogingival deformities and conditions around
teeth
       ความผิดปกติของอวัยวะปริทันต์ในกลุ่มนี้ เป็นความผิด
ปกติที่เนื้อเยื่ออ่อน (ในส่วนของเหงือกและเยื่อเมือก) ซึ่งอาจจะ
เป็นปัญหาในด้านความสวยงาม ขัดขวางการใส่ฟันให้มี
ประสิทธิภาพ หรือมีความเสี่ยงที่จะทำาให้เกิดเหงือกร่น ความผิด
ปกติเหล่านี้ไม่จำาเป็นต้องแก้ไขในทุกกรณี อย่างไรก็ดี ในกรณีที่
มีข้อบ่งชี้ชัดเจน วิธีการรักษาทางปริทันต์อาจสามารถจัดการ
แก้ไขความผิดปกติเหล่านี้ให้ดีขึ้น เพื่อให้ได้สขภาพปริทันต์ที่ดี
                                              ุ
ในระยะยาว ความผิดปกติเหล่านี้คือ
1. Gingival/soft tissue recession (เหงือกร่น) ซึ่งในบางกรณี
สามารถทำาการรักษาโดยการปลูกเหงือกเพื่อปิดรากฟันได้
2. Lack of keratinized gingival คือ การมีปริมาณเหงือกส่วน
ที่มีเคอราตินปกคลุมน้อยเกินไป มีการศึกษาหลายการศึกษาที่ระบุ
ว่าหากผู้ป่วยมีความกว้างของเหงือก โดยวัดจากขอบเหงือกถึง
รอยต่อระหว่างเหงือกและเยื่อเมือกน้อยกว่า 2 มม. ร่วมกับการมี
ขอบวัสดุบูรณะอยู่ใต้เหงือก ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถควบคุม
คราบจุลินทรีย์ในบริเวณนี้ได้ดี โอกาสที่จะเกิดเหงือกร่นจะมีสูง
3. Decreased vestibular depth ภาวะที่ vestibule ตื้น อาจ
จะทำาให้เกิดปัญหาในการใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ การทำา
ศัลยกรรมเพิ่มความลึกของ vestibule อาจจำาเป็นในผู้ป่วยบาง
รายก่อนการใส่ฟัน
4. Aberrant frenum/muscle position
5. Gingival excess เช่น pseudopocket, , excessive
gingival display, gingival enlargement ลักษณะเหล่านี้ทำาให้
เมื่อผู้ป่วยยิ้มแล้วจะเห็นส่วนของเหงือกมากกว่าฟัน เรียก “ยิ้ม
เหงือก” (gummy smile)
6. Abnormal color คือ เหงือกที่มีสีแตกต่างไปจากปกติ โดยที่
ไม่เป็นโรค เช่น ในคนผิวสีคลำ้า เหงือกมักจะมีเม็ดเมลานิน
ชัดเจน ทำาให้มีลักษณะเป็นปื้นสีดำาๆ ในบริเวณเหงือกยึด
(attached gingival) ได้
C. Mucogingival deformities and conditions on
edentulous ridges
        ความผิดปกติของเหงือกและเยื่อเมือกในบริเวณสันเหงือกที่
ไม่มีฟันแล้ว อาจเป็นปัญหาในการใส่ฟัน ซึ่งในบางกรณีวิธีการ
รักษาทางปริทันต์อาจช่วยแก้ไขให้สันเหงือกมีความสมบูรณ์ หรือ
มีขนาดและรูปร่างที่เหมาะสมกับการใส่ฟัน เพื่อให้ได้ความมั่นคง
ของฟันเทียม และมีความสวยงาม ลักษณะเหล่านี้คือ
1. Vertical and/or horizontal ridge deficiency กรณีที่มีสัน
เหงือกยุบตัวลงหลังจากการถอนฟัน ซึ่งในบางครั้งทำาให้เกิด
ความไม่สวยงามเมื่อจะใส่ฟันเทียม
2. Lack of gingival/keratinized tissue ปริมาณของเหงือก
หรือ keratinized tissue มีน้อยมาก ในบริเวณสันเหงือกที่ไม่มี
ฟัน เมื่อมีการใส่ฟันผู้ป่วยอาจจะเจ็บจากการเสียดสีของฟันเทียม
ง่าย เนื่องจากไม่มีเหงือกที่แข็งแรอยู่
3. Gingival/soft tissue largement สันเหงือกบริเวณที่ไม่มีฟัน
มีการหนาตัวใหญ่กว่าปกติ
4. Aberrant frenum/muscle position มีกล้ามเนื้อหรือ
frenum ยึดสูงบริเวณสันเหงือกที่ไม่มีฟัน
5. Decreased vestibular depth การที่มี vestibule ตื้น
ทำาให้ใส่ฟันได้ไม่ดี
6. Abnormal color สีของสันเหงือกบริเวณที่ไม่มีฟันผิดปกติ
D. Occlusal trauma
       1. Primary occlusal trauma คือการเกิดการบาดเจ็บของ
เนื้อเยื่อปริทันต์ที่เกิดจากการสบฟันที่มีขนาดแรงมากกว่าปกติ
กระทำาที่ฟันที่มีอวัยวะปริทันต์ปกติ ทำาให้เกิดการสูเสียกระดูกเบ้า
ฟันและมีฟันโยกได้
       2. Secondary occlusal trauma คือการเกิดการบาดเจ็บ
ของเนื้อเยื่อปริทันต์ที่เกิดจากการสบฟันที่มีแรงขนาดปกติมาที่ฟัน
ที่มีการลดลงของเนื้อเยื่อที่รองรับฟัน (reduced periodontium)
จึงทำาให้เกิดการบาดเจ็บขึ้น มักจะพบฟันโยกร่วมกับมีร่องลึกปริ
ทันต์และการสูญเสียกระดูกเบ้าฟัน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Mineral trioxide aggregate
Mineral trioxide aggregateMineral trioxide aggregate
Mineral trioxide aggregateChetan Basnet
 
Tooth preparation for Metal ceramic crowns.
Tooth preparation for Metal ceramic crowns.Tooth preparation for Metal ceramic crowns.
Tooth preparation for Metal ceramic crowns.srinivaslalluri
 
Microleakage and adhesion / endodontic courses
Microleakage and adhesion  / endodontic coursesMicroleakage and adhesion  / endodontic courses
Microleakage and adhesion / endodontic coursesIndian dental academy
 
Classification and configuration for fpd/dental courses
Classification and configuration for fpd/dental coursesClassification and configuration for fpd/dental courses
Classification and configuration for fpd/dental coursesIndian dental academy
 
Kennedy’s Classification in Cast Partial Denture
Kennedy’s Classification in Cast Partial DentureKennedy’s Classification in Cast Partial Denture
Kennedy’s Classification in Cast Partial DentureAamir Godil
 
Digital impressions
Digital impressions Digital impressions
Digital impressions Navreet Bajwa
 
space-maintainers-pedo
space-maintainers-pedospace-maintainers-pedo
space-maintainers-pedoParth Thakkar
 
Isolation: The Rubber Dam
Isolation: The Rubber DamIsolation: The Rubber Dam
Isolation: The Rubber DamDr Aaron Sarwal
 
AAP 2017 CLASSIFICATION OF PERIODONTAL DISEASE PART 1
AAP 2017 CLASSIFICATION OF PERIODONTAL DISEASE PART 1AAP 2017 CLASSIFICATION OF PERIODONTAL DISEASE PART 1
AAP 2017 CLASSIFICATION OF PERIODONTAL DISEASE PART 1Babu Mitzvah
 
Periodontal diseases in children
Periodontal diseases in childrenPeriodontal diseases in children
Periodontal diseases in childrenAghil Madathil
 
dental consideration for inflammatory bowel disease
dental consideration for inflammatory bowel diseasedental consideration for inflammatory bowel disease
dental consideration for inflammatory bowel diseaseJigyasha Timsina
 
The periodontal examination_and_diagnosis_lec 1
The periodontal examination_and_diagnosis_lec 1The periodontal examination_and_diagnosis_lec 1
The periodontal examination_and_diagnosis_lec 1Yahya Almoussawy
 
ABUTMENTS IN FIXED PARTIAL DENTURE
ABUTMENTS IN FIXED PARTIAL DENTUREABUTMENTS IN FIXED PARTIAL DENTURE
ABUTMENTS IN FIXED PARTIAL DENTUREAamir Godil
 

Mais procurados (20)

Periapical surgery viji
Periapical surgery vijiPeriapical surgery viji
Periapical surgery viji
 
Trauma from occlusion
Trauma from occlusionTrauma from occlusion
Trauma from occlusion
 
Root resorption
Root resorptionRoot resorption
Root resorption
 
Mineral trioxide aggregate
Mineral trioxide aggregateMineral trioxide aggregate
Mineral trioxide aggregate
 
Brushing techniques
Brushing techniquesBrushing techniques
Brushing techniques
 
Tooth preparation for Metal ceramic crowns.
Tooth preparation for Metal ceramic crowns.Tooth preparation for Metal ceramic crowns.
Tooth preparation for Metal ceramic crowns.
 
Microleakage and adhesion / endodontic courses
Microleakage and adhesion  / endodontic coursesMicroleakage and adhesion  / endodontic courses
Microleakage and adhesion / endodontic courses
 
Periapical surgery
Periapical surgeryPeriapical surgery
Periapical surgery
 
Classification and configuration for fpd/dental courses
Classification and configuration for fpd/dental coursesClassification and configuration for fpd/dental courses
Classification and configuration for fpd/dental courses
 
Kennedy’s Classification in Cast Partial Denture
Kennedy’s Classification in Cast Partial DentureKennedy’s Classification in Cast Partial Denture
Kennedy’s Classification in Cast Partial Denture
 
Digital impressions
Digital impressions Digital impressions
Digital impressions
 
space-maintainers-pedo
space-maintainers-pedospace-maintainers-pedo
space-maintainers-pedo
 
Isolation: The Rubber Dam
Isolation: The Rubber DamIsolation: The Rubber Dam
Isolation: The Rubber Dam
 
AAP 2017 CLASSIFICATION OF PERIODONTAL DISEASE PART 1
AAP 2017 CLASSIFICATION OF PERIODONTAL DISEASE PART 1AAP 2017 CLASSIFICATION OF PERIODONTAL DISEASE PART 1
AAP 2017 CLASSIFICATION OF PERIODONTAL DISEASE PART 1
 
Periodontal diseases in children
Periodontal diseases in childrenPeriodontal diseases in children
Periodontal diseases in children
 
Crown lengthening
Crown lengtheningCrown lengthening
Crown lengthening
 
INDIAN DENTAL ASSOCIATION
INDIAN DENTAL ASSOCIATIONINDIAN DENTAL ASSOCIATION
INDIAN DENTAL ASSOCIATION
 
dental consideration for inflammatory bowel disease
dental consideration for inflammatory bowel diseasedental consideration for inflammatory bowel disease
dental consideration for inflammatory bowel disease
 
The periodontal examination_and_diagnosis_lec 1
The periodontal examination_and_diagnosis_lec 1The periodontal examination_and_diagnosis_lec 1
The periodontal examination_and_diagnosis_lec 1
 
ABUTMENTS IN FIXED PARTIAL DENTURE
ABUTMENTS IN FIXED PARTIAL DENTUREABUTMENTS IN FIXED PARTIAL DENTURE
ABUTMENTS IN FIXED PARTIAL DENTURE
 

Semelhante a ปริทันต์Lสั้นๆ

9789740332701
97897403327019789740332701
9789740332701CUPress
 
โรคปริทันต์
โรคปริทันต์โรคปริทันต์
โรคปริทันต์Ballista Pg
 
9789740335368
97897403353689789740335368
9789740335368CUPress
 
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานการเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานTangMa Salee
 
9789740333463
97897403334639789740333463
9789740333463CUPress
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementCurrent practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementUtai Sukviwatsirikul
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementUtai Sukviwatsirikul
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSpipepipe10
 

Semelhante a ปริทันต์Lสั้นๆ (9)

9789740332701
97897403327019789740332701
9789740332701
 
โรคปริทันต์
โรคปริทันต์โรคปริทันต์
โรคปริทันต์
 
9789740335368
97897403353689789740335368
9789740335368
 
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานการเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
 
9789740333463
97897403334639789740333463
9789740333463
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
 
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementCurrent practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDS
 

ปริทันต์Lสั้นๆ

  • 1. การวินิจฉัยโรคเหงือกอักเสบ 1.โรคเหงือกอักเสบเหตุคราบจุลินทรีย์ (Gingival associated with dental plaque) 2.โรคเหงือกเหตุจากปัจจัยทางระบบ (Gingival diseases modified by systemic factors) 3. โรคเหงือกเหตุจากยา (Gingival diseases modified by medications) 4.โรคเหงือกเหตุทุพโภชนาการ (Gingival diseases modified by malnutrition) การวินิจฉัยโรคปริทันต์อักเสบ 1. โรคปริทันต์อักเสบเรื้อรัง(Chronic periodontitis) 2. โรคปริทันต์อักเสบรุกราน(Aggressive periodontitis) 3. โรคปริทันต์อักเสบอันเป็นอาการแสดงของโรคทั่ว กาย(Periodontitis as a manifestation of systemic diseases 4. โรคปริทันต์เนื้อตาย(Necrotizing periodontal disease) การจำาแนกโรคปริทันต์ของ American Academy of periodontology 1999 แบ่งเป็น ٨ กลุ่มดังนี้ กลุ่มที่ І Gingival diseases A. Dental plaque-induced gingival diseases 1. Gingivitis associated with dental plaque only 2. Gingival diseases modified by systemic factors 3. Gingival diseases modified by medications เช่น ๏ drug-influenced gingival enlargements 4. Gingival diseases modified by malnutrition B. Non-plaque-induced gingival lesions 1. Gingival diseases of specific bacterial origin 2. Gingival diseases of viral origin 3. Gingival diseases of fungal origin 4. Gingival lesions of genetic origin 5. Gingival manifestations of systemic conditions แบ่งได้เป็น ๏ Mucocutaneous Disorders (ความผิดปกติของ เยื่อเมือก) ๏ Allergic reactions 6. Traumatic lesions
  • 2. ๏ Chemical injury ๏ Physical injury ๏ Thermal injury 7. Foreign body reactions 8. Not otherwise specified (อืนๆ)่ กลุ่มที่ П Chronic periodontitis กลุ่มที่ Ш Aggressive periodontitis กลุ่มที่ ІV Periodontitis as a manifestation of systemic diseases A. Associated with hematological disorders B. Associated with genetic disorders C. อืนๆ ่ กลุ่มที่ V Necrotizing periodontal diseases กลุ่มที่ VІ Abscesses of the periodontium กลุ่มที่ VП Periodontitis associated with endodontic lesions กลุ่มที่ VШ Developmental or acquired deformities and conditions A. Localized tooth-related factors that modify or predispose to plaque-induced gingival diseases/periodontitis 1. Tooth anatomic factors 2. Dental restorations/appliances 3. Root fractures 4. Cervical root resorption and cemental tears B. Mucogingival deformities and conditions around teeth 1. Gingival/soft tissue recession 2. Lack of keratinized 3. Decreased vestibular depth 4. Aberrant frenum/muscle position 5. Gingival excess เช่น pseudopocket 6. Abnormal color C. Mucogingival deformities and conditions on edentulous ridges 1. Vertical and/or horizontal ridge deficiency
  • 3. 2. Lack of gingival/keratinized tissue 3. Gingival/soft tissue largement 4. Aberrant frenum/muscle position 5. Decreased vestibular depth 6. Abnormal color D. Occlusal trauma 1. Primary occlusal trauma 2. Secondary occlusal trauma กลุ่มที่ І Gingival diseases เป็นกลุ่มของโรคที่เกิดขึ้นเฉพาะในส่วนของเหงือก ยังแบ่ง ได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ A. Dental plaque-induced gingival diseases คือ โรคเหงือก ที่เกิดจากคราบจุลินทรีย์ ซึ่งยังแบ่งได้ออกเป็น 4 กลุ่มคือ 1. Gingivitis associated with dental plaque only โดย อาจจะมีปัจจัยเสริมเฉพาะที่ เช่น ขอบวัสดุอุดเกิน (overhang margin) ร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้ 2. Gingival diseases modified by systemic factors เช่น เหงือกอักเสบที่เกี่ยวข้องกับระบบต่อมไร้ท่อ เช่น puberty- associated gingivitis, pregnancy associated gingivitis และ leukemia-associated gingivitis (เหงือกอักเสบที่เกี่ยวข้องกับ ความผิดปกติของระบบเลือด) เป็นต้น 3. Gingival diseases modified by medications เช่น ๏ drug-influenced gingival enlargements จาก การใช้ยากันชัก (dilantin) หรือ ยากดภูมิคุ้มกัน (cyclosporin) เป็นต้น 4. Gingival diseases modified by malnutrition เช่น โรคเหงือกอักเสบจากการขาดวิตามินซี B. Non-plaque-induced gingival lesions เป็นภาวะความผิด ปกติของเหงือกที่ไม่ได้เกิดจากคราบจุลินทรีย์ แบ่งได้เป็น 8 กลุ่ม คือ 1. Gingival diseases of specific bacterial origin แบคทีเรีย เหล่านี้จะเป็นเชื้อที่ไม่ใช่เชื้อปกติที่พบในคราบจุลินทรีย์ (exogenous bacteria) เช่น Neisseria gonorrhea- associatedlesions, Treponema pallidum- associatedlesions เป็นต้น 2. Gingival diseases of viral origin
  • 4. ๏ Herpes virus infections (การติดเชื้อจากเชื้อ ไวรัสเฮอร์ปีส์) ซึ่งรวมถึงโรค primary herpetic gingivostomatitis, recurrent oral herpes และ vericella- zoster infection ๏ โรคเหงือกที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิดอื่นๆ 3. Gingival diseases of fungal origin ๏ Candida-species infection (การติดเชื้อจากเชื้อ ราแคนดิดา) เช่น generalized gingival candidasis ๏ Linear Gingival erythema (ภาวะเหงือกแดงเป็น เส้น) มักจะพบในผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV ๏ อื่นๆ 4. Gingival lesions of genetic origin เช่น Hereditary gingival fibromatosis 5. Gingival manifestations of systemic conditions แบ่งได้ เป็น ๏ Mucocutaneous Disorders (ความผิดปกติของ เยื่อเมือก) เช่น โรคผิวหนังที่มีอาการแสดงที่เหงือกร่วมด้วย lichen planus, , pemphigus vulgaris, erythema multiforme เป็นต้น ๏ Allergic reactions การแพ้ที่มีอาการแสดงที่ เหงือก) ซึ่งแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มตามวัสดุ/สิ่งที่กระตุ้นให้เกิดอาการ แพ้ ดังนี้ 6. Traumatic lesions ซึ่งเกิดได้จากอุบัติเหตุ หรือโรคหมอทำา (iatrogenic) ก็ได้ โดยแบ่งได้เป็น ๏ Chemical injury การบาดเจ็บที่เกิดจากสารเคมี เช่น การมีเยื่อบุผิวหลุดลอกจากการใช้นำ้ายาคลอเฮกซิดีน (chlorhexidine-induced mucosal desquamation) เป็นต้น ๏ Physical injury การบาดเจ็บทางกายภาพ เช่น การบาดเจ็บจากการแปรงฟัน ๏ Thermal injury การบาดเจ็บจากความร้อน/ความ เย็น 7. Foreign body reactions (ความผิดปกติของเหงือกที่เกิดจาก ปฏิกิริยาต่อสิ่งแปลกปลอม) เช่น amalgam tattoo เป็นต้น 8. Not otherwise specified (อืนๆ)ในส่วนนี้เป็นส่วนที่ AAP ่ 1999 ให้พื้นที่ไว้สำาหรับความผิด ปกติของเหงือกที่ไม่ได้เกิดจาก คราบจุลินทรีย์ ลักษณะอื่นๆที่ไม่สามารถจัดเข้ากลุ่มที่กล่าวมา แล้วได้
  • 5. กลุ่มที่ П Chronic periodontitis เป็นการอักเสบของเหงือกร่วมกับการมีร่องลึกปริทันต์ (pocket) และมีการสูญเสียการยึด ร่วมกับการละลายตัวของ กระดูกเบ้าฟัน การเกิดโรคจะเริ่มจากการเป็นโรคเหงือกอักเสบ โดยเกิดจากคราบจุลินทรีย์ มีการสะสมของหินนำ้าลายเป็นปัจจัย เสริมเฉพาะที่ที่ส่งเสริมให้ปริมาณคราบจุลินทรีย์เพิ่มมากขึ้น จน เกิดการทำาลายเนื้อเยื่ออ่อนและกระดูกเบ้าฟันในที่สุด ทั้งนี้ กระบวนการตอบสนองของร่างกายเป็นส่วนสำาคัญที่ทำาให้เกิดโรค นี้ขึ้น แม้การเกิดโรคปริทันต์อักเสบจะเริ่มมาจากโรคเหงือกอักเสบ แต่ผู้ป่วยโรคเหงือกอักเสบบางส่วนที่จะมีการลุกลามไปเป็นโรคปริ ทันต์อักเสบ กลุ่มที่ Ш Aggressive periodontitis Aggressive periodontitis เป็นโรคที่พบได้น้อย แต่จะเป็น แบบรุนแรง และมีการลุกลามของโรคอย่างรวดเร็ว มักจะพบในผู้ ป่วยอายุน้อย (จึงทำาให้ในการจำาแนกโรคในปี 1989 เรียก early-onset periodontitis แต่ในภายหลังพบว่าโรคนี้สามารถ เกิดขึ้นได้กับผู้ป่วยทุกวัย จึงเรียกเป็น aggressive periodontitis) ผู้ป่วยมักจะมีประวัติการเป็นโรคปริทันต์ใน ครอบครัว แต่ไม่มีโรคทางระบบที่มีผลต่ออวัยวะปริทันต์ ลักษณะ อื่นๆที่อาจจะใช้ในการประกอบการตัดสินใจวินิจฉัยว่าเป็น aggressive periodontitis คือ ๏ ปริมาณการสูญเสียการยึดไม่สัมพันธ์การปริมาณคราบ จุลินทรีย์และหินนำ้าลายที่พบ ๏ ส่วนประกอบของเชื้อที่พบในคราบจุลินทรีย์ พบ Actinobacillus actinomycetemcomitans และในบางกลุ่ม ประชากรจะพบ Porphyromonas gingivalis กลุ่มที่ ІV Periodontitis as a manifestation of systemic diseases เป็นโรคปริทันต์อักเสบที่เป็นอาการแสดงของโรคทางระบบ โดยโรคทางระบบบางโรคอาจมีผล กระทบต่อความสามารถใน การต่อต้านเชื้อโรคของร่างกาย หรือทำาให้เกิดภาวะเสียสมดุล ของระบบเมตาโบลิซึม ของเนื้อเยื่อยึดต่อได้ จึงทำาให้มี อาการ แสดงเป็นลักษณะเดียวกับโรคปริทันต์อักเสบ กล่าวคือ มีการสูญ เสียการยึดและการละลายตัวของกระดูกเบ้าฟัน โรคปริทันต์แบบนี้ สามารถแบ่งออกได้เป็น
  • 6. A. Associated with hematological disorders เช่น Acquired neutropenia และ leukemias เป็นต้น ซึ่งจะมีผลต่อ เม็ดเลือดขาวที่เป็นด่านแรกของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำาให้ ความสามารถในการต่อต้านเชื้อในคราบจุลินทรีย์ลดลง B. Associated with genetic disorders C. อืนๆ ่ กลุ่มที่ V Necrotizing periodontal diseases แบ่งได้เป็น Necrotizing gingivitis (NG), Necrotizing periodontitis (NP), และ Necrotizing stomatitis (NS) เป็น โรคที่มีอาการอักเสบอย่างรุนแรงมากที่สุด ของอวัยวะปริทันต์ที่ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ผูป่วยมักจะมีอาการเจ็บปวด อาการมักจะ ้ เกิดเฉียบพลันและมีลักษณะเป็นแผลร่วมด้วย จึงมักจะให้การ วินิจฉัยเป็น Acute necrotizing ulcerative gingivitis(ANUG) เป็นต้น การจำาแนก NG, NP และ NS อยู่ที่การลุกลามของโรค โดย NG โรคจะจำากัดอยู่เฉพาะในส่วนของเหงือก ส่วน NP นั้นมี การลุกลามจนเกิดการสูญเสียการยึด และ NS จะมีการลุกลาม เข้าไปในเยื่อเมือก (mucosa) ด้วย ลักษณะเด่นของโรคนี้ คือ มีการอักเสบของเนื้อเยื่อชัดเจน ร่วมกับการมีแผลและการตายของเหงือกสามเหลี่ยมและเนื้อเยื่อ บริเวณขอบเหงือก ทำาให้มีเหงือกสามเหลี่ยมแหว่ง(punched-out papillae)บริเวณแผลจะถูกปกคลุมด้วยเนื้อเยื่อที่ตายสีเหลือง/ เทา(yellowish-white or grayish slough) เมื่อเช็ดเอาเนื้อเยื่อที่ ตายออกไปจะมีเลือดออก และเห็นลักษณะของแผลชัดเจน ใน บางครั้งหากโรคลุกลามจนทำาให้เกิดการตายของส่วนของกระดูก เบ้าฟันอาจเกิดการหลุดลอกของกระดูก (sequestrum) ด้วย กลุ่มที่ VІ Abscesses of the periodontium เป็นการติดเชื้อเฉพาะที่ที่มีการบวมและเป็นหนอง (localized purulent infection) ซึ่งหากจำากัดอยู่เฉพาะในขอบเหงือกหรือ เหงือกสามเหลี่ยมเรียกว่า “gingival abscess” หากมีการ ลุกลามจนทำาให้เกิดการสูญเสียการยึด เรียก “periodontal abscess” นอกจากนี้ยังมีการเกิดฝีบริเวณเนื้อเยื่อที่คลุมฟันกำาลัง ขึ้น เรียก “pericoronal abscess” ทั้งนี้ในการวินิจฉัยแยกโรค ผู้รักษาจะต้องสามารถแยกฝีปลายรากฟัน (periapical abscess) ที่มักจะเกิดกับฟันที่ตายแล้วหรือรักษาคลองรากฟันไปแล้วแต่ยังมี การอักเสบอยู่
  • 7. กลุ่มที่ VП Periodontitis associated with endodontic lesions เนื่องจากเนื้อเยื่อในโพรง/คลองรากฟัน และอวัยวะปริทันต์ มีทางเชื่อมต่อกันอยู่ที่รูเปิดปลายรากฟัน (apical foramen)และ lateral canal ในบางครั้งการถูกทำาลายของอวัยวะปริทันต์จึงอาจ มีจุดเริ่มต้น มาจากการติดเชื้อที่ปลายรากฟัน (จากการมีการ อักเสบของเนื้อเยื่อในโพรงฟัน: pulpitis) กลุ่มที่ VШ Developmental or acquired deformities and conditions แบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่ม ใหญ่ๆ คือ A. Localized tooth-related factors that modify or predispose to plaque-induced gingival diseases/periodontitis เป็นลักษณะเฉพาะที่ ที่เกี่ยวข้องกับฟัน ที่อาจจะส่งเสริม ให้เกิด plaque - induced gingival diseases/periodontitis ได้ง่ายและรุนแรงขึ้น 1. Tooth anatomic factors เช่น cervical enamel projection, palato-gingival groove เป็นต้น 2. Dental restorations/appliances ลักษณะของวัสดุบูรณะฟัน เช่น ขอบวัสดุอุดเกิน (overhang-margin) รูปร่างของการบูรณะ ที่ป่องเกินไป (overcontour) 3. Root fractures 4. Cervical root resorption and cemental tears B. Mucogingival deformities and conditions around teeth ความผิดปกติของอวัยวะปริทันต์ในกลุ่มนี้ เป็นความผิด ปกติที่เนื้อเยื่ออ่อน (ในส่วนของเหงือกและเยื่อเมือก) ซึ่งอาจจะ เป็นปัญหาในด้านความสวยงาม ขัดขวางการใส่ฟันให้มี ประสิทธิภาพ หรือมีความเสี่ยงที่จะทำาให้เกิดเหงือกร่น ความผิด ปกติเหล่านี้ไม่จำาเป็นต้องแก้ไขในทุกกรณี อย่างไรก็ดี ในกรณีที่ มีข้อบ่งชี้ชัดเจน วิธีการรักษาทางปริทันต์อาจสามารถจัดการ แก้ไขความผิดปกติเหล่านี้ให้ดีขึ้น เพื่อให้ได้สขภาพปริทันต์ที่ดี ุ ในระยะยาว ความผิดปกติเหล่านี้คือ 1. Gingival/soft tissue recession (เหงือกร่น) ซึ่งในบางกรณี สามารถทำาการรักษาโดยการปลูกเหงือกเพื่อปิดรากฟันได้ 2. Lack of keratinized gingival คือ การมีปริมาณเหงือกส่วน ที่มีเคอราตินปกคลุมน้อยเกินไป มีการศึกษาหลายการศึกษาที่ระบุ
  • 8. ว่าหากผู้ป่วยมีความกว้างของเหงือก โดยวัดจากขอบเหงือกถึง รอยต่อระหว่างเหงือกและเยื่อเมือกน้อยกว่า 2 มม. ร่วมกับการมี ขอบวัสดุบูรณะอยู่ใต้เหงือก ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถควบคุม คราบจุลินทรีย์ในบริเวณนี้ได้ดี โอกาสที่จะเกิดเหงือกร่นจะมีสูง 3. Decreased vestibular depth ภาวะที่ vestibule ตื้น อาจ จะทำาให้เกิดปัญหาในการใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ การทำา ศัลยกรรมเพิ่มความลึกของ vestibule อาจจำาเป็นในผู้ป่วยบาง รายก่อนการใส่ฟัน 4. Aberrant frenum/muscle position 5. Gingival excess เช่น pseudopocket, , excessive gingival display, gingival enlargement ลักษณะเหล่านี้ทำาให้ เมื่อผู้ป่วยยิ้มแล้วจะเห็นส่วนของเหงือกมากกว่าฟัน เรียก “ยิ้ม เหงือก” (gummy smile) 6. Abnormal color คือ เหงือกที่มีสีแตกต่างไปจากปกติ โดยที่ ไม่เป็นโรค เช่น ในคนผิวสีคลำ้า เหงือกมักจะมีเม็ดเมลานิน ชัดเจน ทำาให้มีลักษณะเป็นปื้นสีดำาๆ ในบริเวณเหงือกยึด (attached gingival) ได้ C. Mucogingival deformities and conditions on edentulous ridges ความผิดปกติของเหงือกและเยื่อเมือกในบริเวณสันเหงือกที่ ไม่มีฟันแล้ว อาจเป็นปัญหาในการใส่ฟัน ซึ่งในบางกรณีวิธีการ รักษาทางปริทันต์อาจช่วยแก้ไขให้สันเหงือกมีความสมบูรณ์ หรือ มีขนาดและรูปร่างที่เหมาะสมกับการใส่ฟัน เพื่อให้ได้ความมั่นคง ของฟันเทียม และมีความสวยงาม ลักษณะเหล่านี้คือ 1. Vertical and/or horizontal ridge deficiency กรณีที่มีสัน เหงือกยุบตัวลงหลังจากการถอนฟัน ซึ่งในบางครั้งทำาให้เกิด ความไม่สวยงามเมื่อจะใส่ฟันเทียม 2. Lack of gingival/keratinized tissue ปริมาณของเหงือก หรือ keratinized tissue มีน้อยมาก ในบริเวณสันเหงือกที่ไม่มี ฟัน เมื่อมีการใส่ฟันผู้ป่วยอาจจะเจ็บจากการเสียดสีของฟันเทียม ง่าย เนื่องจากไม่มีเหงือกที่แข็งแรอยู่ 3. Gingival/soft tissue largement สันเหงือกบริเวณที่ไม่มีฟัน มีการหนาตัวใหญ่กว่าปกติ 4. Aberrant frenum/muscle position มีกล้ามเนื้อหรือ frenum ยึดสูงบริเวณสันเหงือกที่ไม่มีฟัน 5. Decreased vestibular depth การที่มี vestibule ตื้น ทำาให้ใส่ฟันได้ไม่ดี 6. Abnormal color สีของสันเหงือกบริเวณที่ไม่มีฟันผิดปกติ
  • 9. D. Occlusal trauma 1. Primary occlusal trauma คือการเกิดการบาดเจ็บของ เนื้อเยื่อปริทันต์ที่เกิดจากการสบฟันที่มีขนาดแรงมากกว่าปกติ กระทำาที่ฟันที่มีอวัยวะปริทันต์ปกติ ทำาให้เกิดการสูเสียกระดูกเบ้า ฟันและมีฟันโยกได้ 2. Secondary occlusal trauma คือการเกิดการบาดเจ็บ ของเนื้อเยื่อปริทันต์ที่เกิดจากการสบฟันที่มีแรงขนาดปกติมาที่ฟัน ที่มีการลดลงของเนื้อเยื่อที่รองรับฟัน (reduced periodontium) จึงทำาให้เกิดการบาดเจ็บขึ้น มักจะพบฟันโยกร่วมกับมีร่องลึกปริ ทันต์และการสูญเสียกระดูกเบ้าฟัน