SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 16
Baixar para ler offline
1
1
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
„ เปนโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ
พุทธเลิศหลานภาลัย ในฐานะทรงเปนบุคคลสําคัญ
สรางขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2511 เพื่อเปนที่ระลึก และเฉลิม
พระเกียรติฉลองพระบรมราชสมภพครบรอบ 200
ปโดยมีจุดประสงคใหเปนศูนยกลางศิลปวัฒนธรรม
ไทยในรัชสมัยของพระองค และเพื่อใหเปนที่พักผอน
หยอนใจของประชาชนในทองถิ่นและจังหวัดใกลเคียง
นั้นดวย
2
2
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
แผนผังอุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
สถานที่ตั้งของอุทยานร.2 อยูติดกับวัดอัมพวันเจติยาราม ตําบลอัมพวา อําเภออัมพวา จังหวัด
สมุทรสงคราม เชื่อกันวาเคยเปนที่ตั้งนิวาสถานดั้งเดิมของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย เนื้อที่ 11
ไรของอุทยาน ร.2 แหงนี้ พระราชสมุทรเมธี อดีตเจาอาวาสวัดอัมพวันเจติยาราม เปนผูนอมเกลาฯ ถวายที่ดิน
ของบริเวณพระอารามให ดานหนึ่งติดกับถนนแมกลอง-บางนกแขวก สวนอีกดานหนึ่งติดริมแมน้ําแมกลอง
3
3
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พื้นที่ทั้งหมดประกอบดวย
สวนที่ 1 ลานจอดรถ เปนประการดานแรก เมื่อเลี้ยวรถผานรั้ว
โปรงเขามา ตองนํารถจอดยังที่จัดไวให เพราะในสวนพื้นที่
อื่นๆ นั้นไมอนุญาตนํารถเขาไป ซึ่งในปจจุบันไดจัดใหมีราน
จําหนายสินคาพื้นเมืองและผลไม
สวนที่ 3 คือ อาคารทรงไทย สรางขึ้นเพื่อแสดงใหเห็นลักษณะทางวัฒนธรรมและชีวิตความเปนอยูของชาวบาน
ไทยในสมัยรัตนโกสินทร ซึ่งมีทั้งหมด 4 หลัง เปนสวนพิพิธภัณฑ 3 หลัง และหอสมุดพระพุทธเลิศหลา
นภาลัย 1 หลัง
สวนที่ 2 โรงละครกลางแจง ทุกวันที่ 24 กุมภาพันธ ของ
ทุกๆป อันเปนวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระ
พุทธเลิศหลานภาลัย จะจัดใหมีการแสดงงานนาฏศิลปและ
ดนตรียังบริเวณนี้
4
4
สวนที่ 4 สวนพันธุไมในวรรณคดี มีพันธุไมนานาชนิด
ปลุกอยู 100 กวาชนิด เพื่อประโยชนแกการศึกษาและ
อนุรักษพันธุไม โดยเลือกพันธุไมจากบทประพันธใน
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย และบาง
ชนิดก็เปนพันธุไมหายาก
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
สวนสุดทาย ศาลาอเนกประสงค คือพื้นที่ติดริมแมน้ําแม
กลอง ซึ่งในการจัดวางผังเริ่มแรกคิดกันวาจะจัดทําบริเวณนี้
ใหเปนแหลงชุมชนคาขายทํานองตลาดน้ํา มีรานอาหารและ
แหลงชุมนุมจําหนายพืชผลเกษตรพื้นเมือง และงานศิลปหัต
กรรมพื้นบาน
5
5
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
วิเคราะหทางภูมิสถาปตยกรรม
มี open space ขนาดใหญเปนสนามหญาที่มีเนินโดยรอบ นอกจากจะทําหนาที่เปนลานแสดง
โขนแลวยังทําหนาที่เปนลานอเนกประสงคที่สามารถรองรับกิจกรรมตางๆไดอีกดวย เนื่องจากในการจัด
สวนนั้นมีการนําเสนอบทพระราชนิพนธของรัชกาลที่ 4 โดยมีงานประติมากรรมเปนตัวเลาเรื่อง จึงมี
การจัดสภาพตนไมโดยรอบใหเขากับเนื้อเรื่องนั้นๆ เชน บทพระราชนิพนธเรื่องไกรทองนั้นเปนเรื่องที่มี
เหตุการณเกิดขึ้นในน้ํา จึงมีการใชน้ําและพืชพันธุที่ขึ้นริมน้ํามาเปนตัวสรางบรรยากาศ
การจัดสวนเปนการจัดโดยเนนความเปนธรรมชาติ มีการนําไมในวรรคดีมาใชในการออกแบบ
6
6
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
ลักษณะเฉพาะของ
ลักษณะเฉพาะของสวนไทย
สวนไทยที่มีมาแตอดีต
ที่มีมาแตอดีต
•
• นอกจากไมดอก
นอกจากไมดอก มักปลูกไมผล
มักปลูกไมผล
•
• สวนขนาดใหญมักนิยมสรางอยูนอก
สวนขนาดใหญมักนิยมสรางอยูนอก
กําแพงวัง
กําแพงวัง/
/เมืองและมักเปนสวนธรรมชาติ
เมืองและมักเปนสวนธรรมชาติ
•
• สวนในบาน
สวนในบาน มักจัดไวนอกชานบาน
มักจัดไวนอกชานบาน
•
• สวนที่เปนสวนประกอบของ
สวนที่เปนสวนประกอบของ
สถาปตยกรรมถาวร
สถาปตยกรรมถาวร มักจะเปน
มักจะเปน
สวนไมดัด
สวนไมดัด และไมกระถาง
และไมกระถาง
•
• เขามอ
เขามอ-
- สวนภูเขาจําลอง
สวนภูเขาจําลอง-
-มีอยูในวัด
มีอยูในวัด วัง
วัง และตามพระอารามตางๆ
และตามพระอารามตางๆ
•
• สวนสมุนไพร
สวนสมุนไพร มักปลูกตามวัด
มักปลูกตามวัด เพื่อการรักษา
เพื่อการรักษา
•
• ในอดีต
ในอดีต ไมปรากฏสวนที่สรางขึ้นเพื่อใหเปนสวนสาธารณะอยางแทจริง
ไมปรากฏสวนที่สรางขึ้นเพื่อใหเปนสวนสาธารณะอยางแทจริง
7
7
ลักษณะเดนของสวนไทยที่สําคัญคือสวนไมดัด
เรื่องราวของสวนไมดัดและสวนไมญี่ปุน ก็มีความสําคัญอยูมิใชนอย กลาวกันวา
คือไทยนิยมใชไมดัดกันมานานแลว นับตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา การเลนไมดัดซึ่งถือ
วาเปนงานอดิเรกนั้น ไดเริ่มขึ้นมาจากพระภิกษุสงฆตามพระอารามกอน แลว
แพรหลายเขาไปในรั้วในวังเจานาย และตามบานราษฎรทั่วไปที่มีฐานะดี ในรัชกาลที่
2 การเลนไมดัดและไมญี่ปุนเปนไปอยางเฟองฟูมาก เรื่อยลงมาจนถึงขุนนางและ
สามัญชนผูมีอันจะกิน จางพากันสนใจเลนไมดัดและไมญี่ปุนกันอยางกวางขวาง
ความนิยมนี้ไดมีลวงเลยมาจนถึงรัชกาลที่ 3 ซึ่งปรากฏวา รัชกาลที่ 3 ทรงถือไมดัด
เปนงานอดิเรกของพระองค
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
8
8
สวนนอกชานเรือนบาน
จะประดับตกแตงดวยไมพรรณตางๆ ซึ่งปลูกไวในกระถาง อันมีไมดอกชนิดตางๆ เชน แกว จําป
จําปา สายหยุด ซอนกลิ่น ลําดวน มะลิซอน ยี่สุน กุหลาบ นมสวรรค ซึ่งมีดอกเปนชอสีแดง ไมเล็ก
หรือไมยอมเหลานี้จะปลูกไวในกระถางขนาดเล็ก สวนไมใหญเชน เกด แทงทวย อิน พิกุล มะขาม
ฯลฯ ก็จะนําตนที่ยังไมโต มาบังคับปลูกในกระถางที่มีขนาดเขื่องกวา สําหรับไมเถาที่มีดอกหอมก็จะ
ลงกระถางปลูกไวดานหลังของหอนั่งหรือไมก็ริมชาน ใหมันเลื้อยขึ้นไปขางบนรั้ว ออกดอกสงกลิ่น
หอมบางๆในตอนกลางคืน ไมผลก็จะมีปลูกบางเชน ทับทิม จะตั้งไวในทีที่รับแดดเสมอ นอกจากก็มี
พวกไมดัด เชน ตะโก มะสัง ตะขบ ขอย ซึ่งดัดเปนแบบตางๆ อยางนาดู ปลูกกระถาง เชนกัน
กระถางที่ใชปลูกของบาน คิดวาตองเปนกระถางเคลือบสีลายคราม และกระถางดินเผาเหลานี้ ไดรับ
การเผาเคลือบอยางดี ทั้งนี้เพื่อแสดงฐานะอันมั่นคง สวนอางปลูกบัวหรือเลี้ยงปลา ก็จัดวาไดรับการ
ตกแตงอยางดี ที่ชวยใหแสดงความนาชื่นชม มีทั้งอางกลมและอางรูปรีที่สั่งมาจากเมืองจีน ตั้งเรียงกัน
เปนหมดหมูเปนพวก หรือไมก็สลับกันไป อยางเปนระเบียบรอบๆ ชานทั้งภายนอก และชายใต
ชายคา
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
9
9
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
10
10
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
11
11
ความเชื่อที่มีผลตอการเลือกใชพันธุไม
คนไทยสมัยกอนจะถือเคล็ดการปลูกตนไมในบริเวณบานเปนอยางมาก ซึ่งเชื่อกันวา ทิศทั้ง 8 แตละ
ทิศ ถาปลูกตนไมตามชนิดที่บรรพบุรุษไดกําหนดไว ก็จะนําความสุขความสมบูรณพูลสุขแกคนที่อาศัย
อยูบนเรือนนั้น คนไทยโบราณไดกลาวไวดังนี้
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
ผิวจะกลาวภูมิหมูไม ปลูกไสวลอมเคหา
ปลูกไดโดยทิศา เจริญชื่นทุกคืนวัน
ไมกุมและสีสุก หมดสิ่งทุกขสําราญครัน
อาจารยทานสารสรรค ใหปลูกไวในหนบูรพ
กระทิงยอสารภี สามสิ่งนี้อยาใหสูญ
ปลูกไวบริบูรณ พูนเพิ่มทิศอาคเนย
ตะโกพลับมะมวง ลูกเปนพวงไมเกเร
ปลูกไวอยางไขวเขว คะเนแนนแดนทักษิณ
สะเดาและพิกุล อีกทั้งคูณเปนอาจิณ
ราชพฤกษเรงถวิล หามาปลูหรดี
พุทราอีกมะยม ลูกอุดมเปนสุขี
มะขมชมไพรี ใหปลูกไวประจิมนา
มะงั่วมะนาวพูด และมะกรูดกิ่งสาขา
เปนเครื่องสระเกษา ใหปลูกไวหนพายัพ
สมซาและสมปอย ปลูกไวหนอยจะมีทรัพย
มะเดื่อปลูกสัมทับ ประจําทิศทางอุดร
มะตูมและไมรวก สองสิ่งนี้สถาพร
อาจารยทานสั่งสอน ใหปลูกไวทิศอีสาน
12
12
สวนตนไมที่คนโบราณหามปลูกไวใกลตัวเรือน
สวนตนไมที่คนโบราณหามปลูกไวใกลตัวเรือน หรือแมแตมีไวมีบริเวณบานก็
หรือแมแตมีไวมีบริเวณบานก็
ไมสูดี
ไมสูดี ทานแนะไวดังนี้
ทานแนะไวดังนี้
จะกลาวพันธุหมูไม
จะกลาวพันธุหมูไม ไวใหไกลเคหะสถาน
ไวใหไกลเคหะสถาน
โพธิ์ไทรยูงยางตาล
โพธิ์ไทรยูงยางตาล ทั้งมะกอกและหวาแค
ทั้งมะกอกและหวาแค
สําโรงสลัดได
สําโรงสลัดได ไมงิ้วงาวอยาเหลียวแล
ไมงิ้วงาวอยาเหลียวแล
อยูใกลไมดีแน
อยูใกลไมดีแน โบราณหามไวหนักหนา
โบราณหามไวหนักหนา
เหลานี้มีอยูใกล
เหลานี้มีอยูใกล ถาเงาไมทับเคหา
ถาเงาไมทับเคหา
จะลําบากยากกายา
จะลําบากยากกายา ลูกหนีหนาเมียจากไกล
ลูกหนีหนาเมียจากไกล
ขุดขึ้นเสียใหสิ้น
ขุดขึ้นเสียใหสิ้น อยาดูหมิ่นจะมีภัย
อยาดูหมิ่นจะมีภัย
จึงจะสบายใจ
จึงจะสบายใจ เปนสุขาทุกราตรี
เปนสุขาทุกราตรี
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
13
13
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
14
14
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
15
15
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
16
16
อุทยานพระบรมราชานุสรณ
อุทยานพระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
แหลงที่มา
แหลงที่มา http
http://
://www
www.
.land
land.
.arch
arch.
.chula
chula.
.ac
ac.
.th
th/
/fieldtrip47
fieldtrip47/
/group7/11index
group7/11index.
.htm
htm

Mais conteúdo relacionado

Mais de WarongWonglangka

การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptxการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
WarongWonglangka
 

Mais de WarongWonglangka (20)

Landscape TheoryJA+JZ.pdf
Landscape TheoryJA+JZ.pdfLandscape TheoryJA+JZ.pdf
Landscape TheoryJA+JZ.pdf
 
Group1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptxGroup1_final review _ 171020.pptx
Group1_final review _ 171020.pptx
 
สนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptxสนามหลวง History2.pptx
สนามหลวง History2.pptx
 
Inthanond-weir-fish.pdf
Inthanond-weir-fish.pdfInthanond-weir-fish.pdf
Inthanond-weir-fish.pdf
 
Survey Workshop Playground
Survey Workshop PlaygroundSurvey Workshop Playground
Survey Workshop Playground
 
survey workshop
survey workshopsurvey workshop
survey workshop
 
Landscape Surveying Practice
Landscape Surveying PracticeLandscape Surveying Practice
Landscape Surveying Practice
 
NATURAL PLAYGROUND
NATURAL PLAYGROUNDNATURAL PLAYGROUND
NATURAL PLAYGROUND
 
Surveying Landscape Invention
Surveying Landscape InventionSurveying Landscape Invention
Surveying Landscape Invention
 
final survey.pdf
 final survey.pdf final survey.pdf
final survey.pdf
 
Landscape Survey study
Landscape Survey studyLandscape Survey study
Landscape Survey study
 
landscape survey
landscape surveylandscape survey
landscape survey
 
landscape study
landscape studylandscape study
landscape study
 
Survey Project CMU 1
Survey Project CMU 1Survey Project CMU 1
Survey Project CMU 1
 
Urban Forest Master Plan.pdf
Urban Forest Master Plan.pdfUrban Forest Master Plan.pdf
Urban Forest Master Plan.pdf
 
การวัดระยะทาง.pdf
การวัดระยะทาง.pdfการวัดระยะทาง.pdf
การวัดระยะทาง.pdf
 
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptxการดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
การดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ในงานภูมิทัศน์เมือง 1_บทนำ.pptx
 
CM moat Cul Lan .pdf
CM moat Cul Lan .pdfCM moat Cul Lan .pdf
CM moat Cul Lan .pdf
 
Lecture 1_landscape archi theory.pdf
Lecture 1_landscape archi theory.pdfLecture 1_landscape archi theory.pdf
Lecture 1_landscape archi theory.pdf
 
JIngan1.pptx
JIngan1.pptxJIngan1.pptx
JIngan1.pptx
 

Site Design