SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 36
Baixar para ler offline
ภาคผนวก
91




                                          กลุ่ม 1
                       เรื่อง การจัดทาบัญชีกองทุนหมู่บ้าน
                                      โดย
                                      นายผล ขันคา
                                   นางสาวจินตนา มานะโส
บทนา
          โครงการจัดตั้งกองทุนหมู่บานและชุ มชนเมือง เป็ นนโยบายหลักประการหนึ่งของรัฐบาล
                                    ้
เพื่อเป็ นการเสริ มสร้างกระบวนการพึ่งพาตนเองของหมู่บานและชุ มชนเมืองในด้านการเรี ยนรู้ การ
                                                         ้
สร้างและพัฒนาความคิดริ เริ่ ม การแก้ไขปั ญหาและเสริ มสร้างศักยภาพทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม
ของประชาชนในหมู่บานโดยรัฐบาลจัดตั้งกองทุนหมู่บาน กองทุนละ 1 ล้านบาทพร้อมเสริ มสร้าง
                        ้                              ้
และพัฒนาหมู่บานและชุ มชนเมืองให้มีขีดความสามารถในการจัดระบบบริ หารจัดการเงินกองทุน
                   ้
หมุนเวียนในหมู่บานและชุ มชนเมืองกันเอง ซึ่ งอยูภายใต้ความรับผิดชอบของหลายหน่วยงาน คือ
                     ้                             ่
กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทยและสานักนายกรัฐมนตรี โดยมุ่งหวังที่จะให้เป็ นเงินทุน
หมุนเวียนให้เกิดการผลิตและจาหน่ายอันส่ งผลไปถึงการเพิ่มอานาจซื้ อในระดับท้องถิ่น นโยบาย
กองทุนหมู่บานจะประสบผลสาเร็ จได้ตองประกอบด้วยหลักสาคัญ 4 ประการ คือ
              ้                         ้
           ประการที่ 1 ความพร้ อ มของหมู่ บ ้า นของคนและครั ว เรื อ นการควบคุ ม ดู แลกันเอง
ตลอดจนประการณ์ในการบริ หารจัดการกองทุนสังคมของหมู่บาน เช่น กลุ่มออมทรัพย์ ธนาคาร
                                                               ้
หมู่บาน กองทุนอาชีพ กองทุนสวัสดิการ เป็ นต้น
       ้
          ประการที่ 2 การบริ หารจัดการเงินกองทุนสังคมของหมู่บานในส่ วนที่เป็ นเงินอุดหนุ น
                                                                   ้
กองทุนหมู่บานและชุ มชนเมืองแห่ งชาติกบกองทุนทางสังคมของชุ มชนและกองทุนที่หน่ วยงาน
                ้                          ั
ราชการจัดตั้งขึ้น เพื่อให้กองทุนดังกล่าวมีการบริ หารจัดการให้สอดคล้องและเกื้อกูลกัน
          ประการที่ 3 การปฏิ รูป ระบบราชการแผ่นดิ นตามแนวทางให้หมู่บ ้านหรื อชุ ม ชนเมื อง
เป็ นศูนย์กลางในการพัฒนา การพัฒนาเป็ นของหมู่บานและชุ มชนเมืองโดยส่ วนราชการเป็ นผูเ้ ป็ น
                                                     ้
ผูสนับสนุนในด้านวิชาการและการจัดการกองทุน
  ้
           ประการที่ 4 การติดตามและประเมินผลโดยมีตวชี้ วดประสิ ทธิ ภาพของกองทุน ทั้งใน
                                                           ั ั
ด้านเศรษฐกิจสังคมและการพึ่งพาตนเองเพื่อความโปร่ งใส มีประสิ ทธิภาพ
          ปั ญหาจากการที่ ช าวบ้า นในหมู่บ ้า น เป็ นคณะกรรมการกองทุ นหมู่ บ ้า นและได้มี ก าร
แต่งตั้งให้บุคคลดังกล่าวทาหน้าที่ในการจัดทาบัญชี กองทุนหมู่บานซึ่ งผูจดทาบัญชี บางรายยังขาด
                                                                 ้   ้ั
92




ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทาบัญชี กองทุนหมู่บานที่ถูกต้อง กองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง
                                                               ้                                ้
เป็ นผูจดทารายงานฉบับนี้ ได้ตระหนักถึงปั ญหาดังกล่าว จึงกาหนดโครงการทารายงาน เรื่ องการ
        ้ั
จัดทาบัญชี กองทุนหมู่บานในพื้นที่
                             ้                      ตาบลห้วยสักขึ้นซึ่ งได้กาหนดการวางแผนของกองทุน
หมู่ บ ้า นสั น ป่ าเหี ย ง หมู่ ที่ 13 ต าบลห้ ว ยสั ก อ าเภอเมื อ งเชี ย งรายจัง หวัด เชี ย งรายและมี ก าร
แลกเปลี่ยนความรู ้ระหว่างอาจารย์ นักศึกษากับผูจดทาบัญชี กองทุนหมู่บานเพื่อเป็ นแนวทางการ
                                                           ้ั                       ้
ช่วยเหลือสาหรับผูจดทาบัญชีกองทุนหมู่บานที่ยงขาดความรู ้ในด้านดังกล่าวและเป็ นการสนับสนุ น
                        ้ั                        ้     ั
ให้อาจารย์และนักศึกษามีส่วนร่ วมในกิจกรรมของท้องถิ่นด้วย


ศึกษาวิธีการจัดทาบัญชีกองทุนหมู่บ้าน
          ความหมายกองทุนหมู่บ้านและชุ มชนเมือง
            กองทุนหมู่บานและชุมชนเมือง คือกองทุนที่เกิดขึ้นตามนโยบายของรัฐบาลได้จดสรรเงิน
                          ้                                                              ั
อุ ดหนุ นให้แก่ หมู่ บ ้า นและชุ ม ชนเมื องตามนโยบายของรั ฐบาลเพื่ อท าหน้า ที่ เ ป็ นแหล่ ง เงิ นทุ น
หมุนเวียนภายในหมู่บานและชุมชนเมืองโดยแบ่งออกเป็ น 2 ระดับกองทุน คือ
                            ้
            1. กองทุนหมู่บานและชุ มชนเมืองแห่ งชาติเป็ นกองทุนรวมในระดับชาติเพื่อจัดสรรให้แก่
                              ้
หมู่บานและชุมชนเมือง
      ้
            2. กองทุนหมู่บานและกองทุนชุ มชนเมือง คือกองทุนหมุนเวียนในหมู่บานและชุ มชน
                                ้                                                     ้
เมือง เมื่อเริ่ มก่อตั้งจะได้รับเงินอุดหนุนจากกองทุนหมู่บานและชุมชนเมืองแห่งชาติ หมู่บานและ
                                                          ้                                  ้
ชุมชนเมืองละประมาณ 1 ล้านบาทเพื่อให้ประชาชนหมู่บานและชุ มชนเมืองบริ หารจัดการกันเอง
                                                            ้
โดยรัฐบาลมีนโยบายเร่ งด่ วนในการจัดตั้งกองทุ นหมู่บานและชุ มชนเมื องแห่ งชาติ สาหรับเป็ น
                                                        ้
แหล่ งเงิ นทุ นหมุ นเวียนในหมู่บานและชุ มชนเมื องใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคม อี กทั้ง
                                     ้
เพื่อให้ทองถิ่นมีขีดความสามารถในการจัดการระบบและการบริ หารจัดการเงินกองทุนของตนเอง
          ้
เพื่อสร้างศัก ยภาพในการเสริ มสร้ างความเข้มแข็งด้านสังคมและด้านเศรษฐกิ จของประชาชนใน
หมู่บานและชุ มชนเมืองสู่ การพึ่งพาตนเองอย่างยังยืน อันเป็ นการกระตุนเศรษฐกิจฐานรากของ
        ้                                        ่                      ้
ประเทศ รวมทั้งเสริ มสร้างภูมิคุมกันทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในอนาคต
                                   ้
93




          วัตถุประสงค์ ของกองทุนหมู่บ้าน
          1. เป็ นแหล่ งเงิ นทุนหมุ นเวียนในหมู่บานและชุ มชนเมื องสาหรั บการลงทุนเพื่อพัฒนา
                                                 ้
อาชี พ สร้างงาน สร้างรายได้หรื อเพิ่มรายได้ การลดรายจ่าย การบรรเทาเหตุฉุกเฉิ นและจาเป็ น
เร่ งด่วนและสาหรับการนาไปสู่ การสร้างกองทุนสวัสดิภาพที่ดีแก่ประชาชนในหมู่บานหรื อชุมชน
                                                                                 ้
          2. ส่ งเสริ มและพัฒนาหมู่บานและชุ มชนเมืองให้มีขีดความสามารถในการจัดระบบและ
                                      ้
บริ หารจัดการเงินทุนของตนเอง
          3. เสริ มสร้างกระบวนการพึ่งพาตนเองของหมู่บานและชุ มชนเมืองในด้านการเรี ยนรู ้ การ
                                                      ้
สร้างและพัฒนาความคิดริ เริ่ ม เพื่อการแก้ไขปั ญหา และเสริ มสร้างศักยภาพ และส่ งเสริ มเศรษฐกิจ
พอเพียงในหมู่บานและชุมชนเมือง
                   ้
          4. กระตุนเศรษฐกิจในระดับฐานรากของประเทศ รวมทั้งเสริ มสร้างภูมิคุมกันทางเศรษฐกิจ
                     ้                                                         ้
และสังคมของประเทศในอนาคต
          5. เสริ มสร้ างศักยภาพและความเข้มแข็งทั้งทางเศรษฐกิ จและสังคมของประชาชนใน
หมู่บาน หรื อชุมชนเมือง กล่าวโดยสรุ ปแล้ว กองทุนหมู่บานและกองทุนชุ มชนเมืองเป็ นกองทุน
       ้                                                  ้
รวมในระดับชาติ เพื่อจัดสรรให้แก่หมู่บานและชุ มชนเมืองทุกแห่ ง ชุมชนละ 1 ล้านบาทเพื่อให้
                                           ้
ประชาชนบริ หารจัดการกันเอง ภายใต้ปรัชญา การร่ วมคิดดาเนินการ โดยกระบวนการประชา
สังคม และการเสริ มสร้างกระบวนการเรี ยนรู้และพัฒนาความคิ ดริ เริ่ มเพื่อเพิ่มศักยภาพและส่ งเสริ ม
เศรษฐกิจพอเพียงและบริ หารจัดการเงินกองทุนหมุนเวียน ให้นาไปสู่ การสร้างกองทุนสวัสดิการแก่
ประชาชนในหมู่บานหรื อชุ มชนของตน ซึ่ งจะนาไปสู่ ผลแห่ งการเป็ นภูมิคุมกันทางเศรษฐกิจและ
                       ้                                                   ้
สังคมของประเทศ และการพัฒนาที่ยงยืนต่อไป ในการดาเนินงานที่เกี่ยวกับกองทุนหมู่บานนั้น
                                        ั่                                          ้

        พืนทีเ่ ปาหมายในการดาเนินการกองทุนหมู่บ้าน
           ้ ้
        1. หมู่บานสันป่ าเหี ยง หมู่ที่ 13 และหมู่บานใหม่สันป่ าเหี ยง หมู่ที่ 25 ได้แก่พฒนาหมู่บาน
                   ้                                   ้                                 ั         ้
ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย ตาม พ.ร.บ. การปกครองท้องถิ่น
        กระบวนการกู้เงินจากกองทุนหมู่ บ้านสั นป่ าเหียง ซึ่ งได้รับการประเมินและได้รับการ
จัด สรรเงิ น ทุ น อุ ด หนุ น กองทุ น หมู่ บ ้า นแล้ว จะต้อ งมี ก ระบวนการของการกู้ยื ม กับ กองทุ น ซึ่ ง
                                      ้ื
รายละเอียดที่สมาชิกกองทุนจะขอกูยมดังนี้
        ผู้มีสิทธิก้ ูยมเงินกองทุนหมู่บ้านสั นป่ าเหียง ได้แก่ บุคคลต่อไปนี้
                       ื
        1. สมาชิกกลุ่ม/องค์กร ที่ข้ ึนทะเบียนเป็ นสมาชิกกองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง
                                                                        ้
        2. ปัจเจกบุคคล ซึ่ งเป็ นสมาชิกกองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง
                                                         ้
94




       3. ต้องปฏิ บติตามหลักเกณฑ์ /เงื่ อนไขและแบบฟอร์ มที่ คณะกรรมการกองทุ นหมู่บาน
                       ั                                                                     ้
กาหนดภายใต้ กรอบหลักเกณฑ์เงื่อนไขของคณะกรรมการหมู่บานสันป่ าเหี ยง
                                                               ้
        ประเภทการให้ ก้ ยม การกูยมเงินกองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง จาแนกประเภทได้ ดังนี้
                           ูื       ้ื                 ้
       1. พัฒนาอาชีพ
       2. สร้างงาน
       3. สร้าง และ/หรื อ เพิมรายได้
                                  ่
       4. ลดรายจ่าย
       5. อุตสาหกรรม และ/หรื อ วิสาหกิจขนาดเล็กในครัวเรื อน
       6. เพื่อการฉุกเฉิน
       ลักษณะการกู้ยม มี 2 ลักษณะ คือ
                         ื
       1. กูยมภายในหมู่บาน
              ้ื              ้
       2. กูยมภายในเครื อข่ายระหว่างหมู่บาน
              ้ื                              ้
       สั ดส่ วนวงเงินกู้ยืมเพื่อการฉุ กเฉิ นไม่ควรเกินร้อยละ 10 ส่ วนประเภทอื่นๆ ให้เป็ นไปตาม
ระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด
       ขั้นตอนในการให้ ก้ ูยม ในการกูยมเงินกองทุนหมู่บานและชุมชน มีข้ นตอนโดยสรุ ป ดังนี้
                                ื        ้ื                ้               ั
       1. ยืนคาขอกู/้ ยืม ต่อคณะกรรมการกองทุน
            ่
       2. คณะกรรมการกองทุนดาเนินการพิจารณา
       3. อนุมติ ั
       4. ทาสัญญา
       5. เปิ ดบัญชีออมทรัพย์
       6. โอนเงินเข้าบัญชี
       แหล่ งทีมาของงบประมาณกองทุนและกลไกการบริ หารกองทุน
                   ่
       แหล่งที่มาของงบประมาณกองทุนบ้านสันป่ าเหี ยง ประกอบด้วยเงินและทรัพย์สินดังนี้
       1. เงินที่ได้รับจัดสรรจากรัฐบาล จานวน 1 ล้านบาท
       2. เงินรายได้จากสมาชิกซึ่งมีหลายลักษณะ คือ
           2.1 ค่าธรรมเนียมแรกเข้าคนละ 5 บาท
           2.2 การถือครองหุ ้นๆ ละ 10 บาท
           2.3 เงินฝากสัจจะทุกเดือนๆ ละเท่าๆ กันในวงเงินไม่ต่ากว่า 10 บาท สู งสุ ดไม่เกิน 500
บาทต่อเดือนและสามารถเพิ่มยอดเงินฝาก สัจจะได้ปีละครั้ง
95




           2.4 เงินรับฝากจากสมาชิ กในวงเงินสู งสุ ดไม่เกินรายละ 5,000 บาท โดยสามารถฝากได้
ไม่จากัดจานวนในหนึ่งเดือน
           2.5 ดอกผลที่ได้จากการกูยม   ้ื
           2.6 ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากเงินกองทุน
           2.7 เงินหรื อทรัพย์สินที่มีผบริ จาคให้โดยปราศจากภาระผูกพัน
                                        ู้
           2.8 เงินสมทบจากกลุ่มหรื อองค์กรสมาชิก
           2.9 เงินกูจากแหล่งเงินกูต่างประเทศ เช่น กองทุนเพื่อการลงทุนทางสังคม (SIF) เงินกู้
                     ้               ้
เพื่อ ปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ (SAL) 13

           กลไกการบริ หารกองทุนหมู่บ้านสั นป่ าเหียง
           การพิจารณาอนุมติการใช้เงินกองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยงจะพิจารณาจากโครงการต่างๆ ที่
                                   ั                   ้
                               ้
สมาชิ กนาเสนอเพื่อขอกูยืมจากเงินกองทุน คณะกรรมการกองทุนจะมีการประชุ มร่ วมกันอย่าง
น้อยเดือนละ 1 ครั้ง โดยมีผปฏิบติงานที่ตองเตรี ยมการล่วงหน้าก่อนการประชุม คือ
                                     ู้ ั       ้
           1. เลขานุการ รวบรวมโครงการและเอกสารคาร้องต่าง ๆ เพื่อนามาจัดทาเป็ นระเบียบ วาระ
                                           ้
การประชุม ในกรณี ที่มีโครงการขอกูยืมกองทุนเป็ นจานวนมากต้องเรี ยงลาดับ ชื่อโครงการและ
เอกสาร เพื่อนาเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาตามลาดับ จัดเตรี ยม แฟ้ มเอกสารและออกจดหมาย
เชิญคณะกรรมการกองทุน
           2. เหรัญญิก จะต้องเตรี ยมจัดทาบัญชี รายรับและรายจ่าย จัดทางบดุลในแต่ละเดือนเพื่อแจ้ง
ให้ที่ประชุ มได้ทราบสถานะการเงิ นของเงิ นกองทุ นและรายละเอี ยดเกี่ ยวกับการใช้จ่ายเงิ นและ
รายรับที่ได้มา
           3. ประธานกรรมการกองทุน จะต้องเตรี ยมอ่านเอกสารต่างๆ ที่ฝ่ายเลขานุ การและ
เหรัญญิก จัดทาเพื่อจะได้ช้ ี แจงและแก้ปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิ ดขึ้นในระหว่างที่มีการประชุ ม
รายละเอียดที่เป็ นความรู ้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ ยวกับกองทุนหมู่บานที่กล่าวมานี้ จะเป็ นการเตรี ยม
                                                                           ้
ความพร้อมให้ผที่จะปฏิบติงานร่ วมกับประชาชนได้มีพ้ืนฐานความรู ้เกี่ยวกับการดาเนินงานกองทุน
                   ู้            ั
หมู่บานตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่ งจะช่ วยกระตุนเศรษฐกิจของหมู่บานและส่ งเสริ มภาวการณ์
        ้                                                ้                          ้
ว่างงานของบัณฑิตที่เป็ นกาลังสาคัญของประเทศชาติ การดาเนิ นงานในพื้นที่ต่างๆ ของแต่ละ
จัง หวัดที่ มี ก องทุ นหมู่ บ ้า นแล้วนั้นจาเป็ นจะต้องมี บุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถเข้า ไปช่ วย
ส่ งเสริ มและกระตุนให้เกิดกระบวนการตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่ งจาเป็ นต้องมีพ้ืนความรู ้เบื้องต้น
                      ้
ที่เกี่ยวกับกองทุนหมู่บานดังที่กล่าวมานี้
                         ้
96




การควบคุมการรับ-จ่ ายกองทุนบ้ านสั นป่ าเหียง
         เนื่ องจากกองทุนมีการดาเนิ นกิจกรรมหลายกิจกรรม เช่น กิจกรรมเงินกองทุนที่ได้รับการ
จัดสรรจากรัฐบาล หมู่บานละ 1 ล้านบาท เพื่อเป็ นแหล่งเงิ นทุนในการลงทุนสร้างอาชี พเสริ ม
                               ้
และสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนในชนบท และวิสาหกิจขนาดเล็กในครัวเรื อนและกิจกรรมด้านการ
ออมของสมาชิกในหมู่บานบ้านสันป่ าเหี ยง เช่น เงินฝากสัจจะ เงินค่าหุ ้น เงินรับฝาก เงินรับบริ จาค
                             ้
เงิ นสมทบจากกลุ่ มหรื อจากสมาชิ กและดอกเบี้ ยผลประโยชน์อื่นที่กองทุนได้รับอันเนื่ องมาจาก
กิ จกรรมด้า นการออมซึ่ งทั้ง กิ จ กรรมเงิ นทุ น 1 ล้า นบาทและกิ จกรรมด้า นการออม ต่ า งก็ มี
วัตถุ ประสงค์ร่วมกันประการหนึ่ ง คือเป็ นแหล่งเงิ นทุนในหมู่บานและชุ มชนเมือง สาหรับการ
                                                                     ้
ลงทุนเพื่อพัฒนาอาชีพ สร้างงานรายได้หรื อเพิ่มรายได้
         ดัง นั้ นเพื่ อ ให้ ก ารควบคุ ม การด าเนิ น งานกองทุ น เป็ นไปตามวัต ถุ ป ระสงค์ อ ย่ า งมี
ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผลและเป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับต่างๆ เพื่อความสะดวกในการ
ปฏิ บติงานการควบคุ มการตรวจสอบ ให้คณะกรรมการกองทุ นเป็ นบัญชี เงิ นฝากธนาคารกับ
       ั
ธนาคารที่คณะกรรมการกองทุนหมู่บานและชุมชนเมืองแห่งชาติกาหนดเป็ น 2 บัญชีดงนี้
                                         ้                                          ั
         1. ชื่ อบัญชี กองทุนหมู่บานและชุ มชนเมือง กองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง (บัญชีที่ 1) เพื่อรับ
                                    ้                              ้
โอนเงิน 1 ล้านบาทจากบัญชีกองทุนหมู่บานและชุมชนเมืองแห่ งชาติหรื อตามวงเงินที่ได้รับจัดสรร
                                             ้
จากคณะกรรมการและเพื่ อรั บเงิ นจากการชาระหนี้ จากลู กหนี้ (เงิ นต้นและดอกเบี้ ย) ที่ กู้จาก
เงินกองทุน 1 ล้านบาท
         2. ชื่อบัญชีเงินออมของสมาชิกกองทุน ออมทรัพย์หมู่บานสันป่ าเหี ยง (บัญชีที่ 2) เพื่อรับ
                                                                 ้
เงิ นจากสมาชิ ก ของกองทุนตามที่ ได้ตกลงที่ จะฝากเงิ นหรื อออมเงิ นกับกองทุ นหมู่ บา นเป็ นเงิ น
                                                                                        ้
                                                                                      ้
สะสมของสมาชิกและเพื่อรับเงินจากการชาระหนี้ จากลูกหนี้ (เงินต้นและดอกเบี้ย) ที่กูจากเงินออม
ของสมาชิก
                                                  ้
         บัญชี เงินฝากทั้ง 2 บัญชี จะจ่ายให้กูยืมแก่สมาชิ กของกองทุน ตามหลักเกณฑ์วิธีการที่
กาหนดใน ระเบียบข้อบังคับของคณะกรรมการกองทุนหมู่บานและภายในวงเงินที่คณะกรรมการ
                                                              ้
กองทุนหมู่บานและชุมชนเมืองแห่งชาติกาหนด คือวงเงินกูยืมรายหนึ่ งต้องไม่เกิน 20,000 บาท เว้น
                ้                                          ้
แต่ผูขอกูรายใดขอกูเ้ กิ ด 20,000 บาทและได้รับความเห็ นชอบจากที่ ประชุ มสมาชิ กจึงให้กูเ้ กิ น
      ้ ้
                                                       ้ ้
20,000 บาทได้แต่ตองไม่เกิ น 50,000 บาทโดยผูขอกูจะต้องเปิ ดบัญชี เงิ นฝากธนาคารประเภท
                          ้
ออมทรัพย์เพื่อรับโอนเงินที่ได้รับอนุ มติให้กูยืมจากธนาคารไปดาเนิ นการตามวัตถุประสงค์ของผูกู้
                                           ั   ้                                                  ้
ต่อไป
97




            การชาระคืนเงินกู้กองทุนหมู่บ้านสั นป่ าเหียง
            ผูกูจะต้องชาระคืนเงินกูพร้อมดอกเบี้ย โดยนาส่ งให้ที่คณะกรรมการหมู่บานที่ได้รับการ
               ้้                   ้                                                ้
                                                                                   ้
แต่งตั้ง เพื่อให้คณะกรรมการออกใบเสร็ จรับเงิน เพื่อเป็ นหลักฐานการชาระเงินกูคืนให้แก่สมาชิ ก
ผูกู้ เสร็ จแล้วคณะกรรมการกองทุนหมู่บานจะได้รวบรวมใบเสร็ จรับเงิน ไปทาบัญชี ลดยอดลูกหนี้
  ้                                        ้
       ้
เงินกูและทารายงานการเงินต่อไป ดังนี้
            1. บัญชี กองทุนหมู่บานและชุ มชนเมือง กองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง (บัญชีที่ 1) สาหรับ
                                  ้                            ้
ลูกหนี้ท่ีกเู้ งินจากกองทุน 1 ล้านบาท
            2. บัญชี เงินออมของสมาชิ กกองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง (บัญชีที่ 2) สาหรับลูกหนี้ ที่กูเ้ งิน
                                                     ้
จากเงินออมของ สมาชิกกองทุนหมู่บาน      ้
                                                            ั
            การรับรายรับทุกกรณี จะต้องออกใบเสร็ จรับเงินให้กบสมาชิ กทุกครั้ง เพื่อเป็ นหลักฐานใน
การลงบัญชี
            การรั บรายรับเป็ นเงินสด ให้คณะกรรมการกองทุนรวบรวมเงินนาฝากธนาคารทุกวันสิ้ น
วันหรื ออย่างช้าในวันถัดไป
            ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารหรื อผลประโยชน์ อื่น ที่กองทุนได้รับต้องนาไปบริ หารให้ เกิ ด
ประโยชน์แก่สมาชิ กและใช้จ่ายตามระเบียบข้อบังคับของกองทุน รวมทั้ง ทาบัญชี ควบคุมและ
รายงานตามแนวทางที่แนะนาในคู่มือหรื อตามวิธีการที่คณะกรรมการกองทุนหมู่บานกาหนด    ้
            สาหรับค่าใช้จ่ายดาเนิ นงานกองทุน หากมีความจาเป็ นต้องจ่ายและมีเงินดอกเพียงพอที่จะ
จ่าย จะต้องจ่ายตามอัตราและรายการที่คณะกรรมการกองทุนกาหนดและการจ่ายค่าใช้จ่ายทุ ก
รายการจะต้องมีใบเสร็ จรับเงิน เว้นแต่ผรับเงินจากกองทุนไม่สามารถออกใบเสร็ จรับเงินให้ได้
                                              ู้
ให้กองทุนทาใบสาคัญจ่ายทุกครั้งเพื่อเป็ นหลักฐานในการลงบัญชี

         การทาบัญชีและรายงาน
         ให้จดทาบัญชีและรายงานแยกเป็ น 2 ชุด ตามกิจกรรมของกองทุน คือ กิจกรรมกองทุน 1
              ั
ล้านบาท และกิจกรรมเงินออมของสมาชิกกองทุน ทุกครั้งที่มีการรับจ่ายเงินให้บนทึกบัญชี ควบคุม
                                                                                 ั
ให้ถูกต้องครบถ้วนเพื่อประโยชน์ดงนี้
                                 ั
         1. เพื่ อ ให้ค ณะกรรมการกองทุ นหมู่ บ ้า นและชุ ม ชนเมื อ งที่ รับ ผิด ชอบบริ ห ารจัดการ
เงินกองทุน ใช้ควบคุมการรับและจ่ายเงินให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
         2. เพื่อรายงานผลการดาเนินงานและฐานะการเงิน ประจาเดือนและรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง
ให้สมาชิกและสานักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บานแห่งชาติใช้ในการติดตามผลดาเนินงาน
                                                  ้
98




         3. เพื่อจัดทารายงานการเงิ นประจาปี แสดงผลการดาเนินการงานและฐานะทางการเงิน
ของกองทุ น ส่ ง ให้ ผู ้ต รวจสอบบัญ ชี ที่ ค ณะกรรมการก าหนดตรวจสอบและรายงานผลให้
คณะกรรมการทราบพร้อมกับประกาศเปิ ดเผยให้ประชาชนและสมาชิกทราบ
         วิธีการทาบัญชี กองทุน สาหรับกิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท
         การจัดทาบัญชีอย่างน้อยต้องมีสมุดบัญชี ทะเบียน และรายงานที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
         1. สมุ ดบัญชี เป็ นสมุ ดบัญชี ที่ ใ ช้บ นทึ กรายละเอี ย ดการรั บ และการจ่ ายเงิ นกองทุ น
                                                     ั
ประกอบด้วย
            1.1 สมุดบัญชีรายรับเงินกองทุน 1 ล้าน การรับเงินทุกรณี จะต้องนามาลงบัญชีในสมุด
บัญชีรายรับ เพื่อบันทึกควบคุมการรับเงินทุกประเภทเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์
            1.2 สมุดบัญชี รายจ่ายกองทุน 1 ล้านบาท การจ่ายเงินทุกกรณี จะต้องนามาลงบัญชี ใน
สมุดบัญชี รายจ่าย เพื่อบันทึกควบคุมการจ่ายเงินสดและการจ่ายเงินจากบัญชี เงินฝากธนาคารหรื อ
                                                        ั ้
การโอนเงินจากบัญชี เงิ นฝากธนาคารของกองทุนให้กบผูรับหรื อผูมีสิทธิ คาอธิ บายการบันทึก
                                                                     ้
รายการในสมุดบัญชีรายจ่ายกองทุน 1 ล้านบาท
         วิธีการทาบัญชี กองทุน
         สาหรับกิ จกรรมเงิ นออมของสมาชิ กกองทุน การจัดทาบัญชี อย่างน้อยต้องมีสมุดบัญชี
ทะเบียน และรายงานที่เกี่ยวข้องดังนี้
         1. สมุ ด บั ญชี เป็ นสมุ ดบัญชี ที่ ใ ช้บนทึ กรายละเอี ย ดการรั บ และการจ่ า ยเงิ นกองทุ น
                                                   ั
ประกอบด้วย
            1.1 สมุดบัญชีรายรับกองทุน (เงินออม) การรับเงินทุกกรณี จะต้องนามาลงบัญชีในสมุด
บัญชีรายรับเพื่อบันทึกควบคุมการรับเงินทุกประเภทเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์
            1.2 สมุดบัญชี รายจ่ายกองทุน (เงินออม) การจ่ายเงินทุกกรณี ท่ีจ่ายจากกองทุนเงินออม
จะต้องนามาลงบัญชี ในสมุ ดบัญชี รายจ่าย เพื่อบันทึกควบคุ มการจ่ายเงิ นสดและการจ่ายเงิ นจาก
                                                                                ั ้
บัญชีเงินฝากธนาคารหรื อการโอนเงินจากบัญชีเงินฝากธนาคารของกองทุนให้กบผูรับหรื อผูมีสิทธิ     ้
         2. ทะเบียน ประกอบด้ วย
            2.1 ทะเบียนคุมคาขอกู้
         ใช้บนทึกรายละเอียดเกี่ ยวกับจานวนผูที่มายื่นคาขอกู้ (ตามแบบที่คณะกรรมการกองทุน
              ั                                  ้
หมู่บานกาหนด) เพื่อสรุ ปลงเงินที่ขอกูและวงเงินที่คณะกรรมการกองทุนอนุ มติให้กูในแต่ละเดือน
     ้                               ้                                        ั     ้
แต่ละปี
99




          2.2 ทะเบียนคุมลูกหนี้รายตัว
                                    ้
         ใช้บนทึกควบคุมลูกหนี้เงินกูรายตัว เพื่อประโยชน์ในการควบคุมและติดตามหนี้ โดยแสดง
             ั
                                          ้
รายละเอียดต่างๆ ของลูกหนี้ เช่ นวงเงินกูการรับชาระหนี้ และยอกเงินคงเหลือ ทั้ง 2 ทะเบียน
                                                                            ้
ข้างต้น ให้ใช้รูปแบบและวิธีการบันทึกคุมลูกหนี้ เช่นเดียวกันทั้งที่เป็ นการกูจากเงินกงองทุน 1 ล้าน
บาท หรื อจากกองทุนเงินออมของสมาชิก คาอธิ บายวิธีการบันทึกทะเบียนคุมคาขอกู้
                                                                กองทุนหมูบานสันป่ าเหี ยง หมู่ที่ 13
                                                                                    ่ ้
                                                                           ทะเบียนคุมลูกหนี้รายตัว
        ชื่อ........................................................................ที่อยู.่ ..........................................................
        ...............................................................................................................................................
        เลขที่บญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ เลขที่............................................................
                    ั
        ชื่อผูคาประกัน (ถ้ามี)..................................................ที่อยู.่ ..................................................
                ้้
        ...............................................................................................................................ทรัพย์สินที่ใช้ค้ า
        ประกัน(กรณี คาประกันด้วยทรัพย์สิน).................................................
                                ้
        สัญญากูยมเลขที่……...............................ลงวันที่...........................จานวนกู.้ .........................บาท
                      ้ื
        เริ่ มชาระหนี้งวดแรกวันที่...........................ผ่อนชาระ...............เดือน เดือนละ…...........บาท อัตรา
        ดอกเบี้ยร้อยละ....................../ดอกเบี้ยเดือนละ.....................ค่าปรับร้อยละ................
                                                                                 ู ้ ู้
                                                        รายการจ่ายให้ผกและรับชาระหนี้
                                                       รับชาระหนี้                                                        คงค้าง
ว.ด.ป     ที่  จ่าย เงิน ดอกเบี้ย ค่าปรับ                                   รวม          เงิน       ดอกเบี้ย ค่าปรับ รวม                        หมาย
        เอกสาร ให้กู้ ต้น                                                                ต้น                                                    เหตุ
100




             2.3 ทะเบียนคุมเงินฝากสัจจะ/ค่าหุ น/เงินรับฝาก รายตัว
                                                ้
        ใช้บนทึ กควบคุ ม เงิ นสดที่ สมาชิ ก นามาฝากไว้กบ กองทุ นหมู่บ ้า นเพื่ อเป็ นเงิ นออมตาม
                 ั                                            ั
เงื่อนไขที่คณะกรรมการกองทุนกาหนดเพื่อประโยชน์ในการควบคุมและตรวจสอบกับยอดเงินฝาก
ธนาคาร และการจ่ายคืนให้แก่สมาชิก
            2.4 ทะเบียนคุมทรัพย์สินที่รับเป็ นค่าหุ น/บริ จาค
                                                    ้
        ใช้บนทึกรายละเอียดทรัพย์สินที่สมาชิ ขอชาระเป็ นค่าหุ นแทนเงินแต่จะไม่มีการบันทึกรับ
               ั                                                ้
ในสมุดราบรับจนกว่าจะมีการจาหน่ายทรัพย์สินนั้นจริ งๆ หรื อทรัพย์สินที่ได้จากการรับบริ จาคโดย
ปราศจากภาระผูกพัน
        รายการงบการเงิน ประกอบด้วย
        1. รายงานรายได้ค่าใช้จ่าย ประจาเดือน/ประจาปี เป็ นรายงานที่แสดงผลการดาเนินงาน
        2. รายงานงบดุล ประจาเดือน/ประจาปี เป็ นรายงานที่แสดงฐานะการเงินของกองทุน ณ วัน
ใดวันหนึ่ง พร้อมรายละเอียดประกอบงบดุล
        รายงานทั้ง 2 รายงาน ให้จดทาแยกชุด สาหรับ กิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท และกิจกรรม
                                   ั
เงินออมของสมาชิก เพื่อส่ งธนาคารออมสิ น / ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์กิจกรรมละ 1 ชุด
และเก็บรักษาไว้ที่สานักงาน 1 ชุด
                                       หมู่บ้าน บ้ านสันป่ าเหียง หมู่ที่ 13
                                              รายงานรายได้ค่าใช้จ่าย
                                สิ้นสุด ณ วันที่ 31 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2552
                                      สาหรับกิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท
        รายได้
                                    ู้ ื
                  ดอกเบี้ยจากการให้กยม                                         69,900.00 บาท
                  ค่าปรับ                                                              0
                  ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร                                           302.19
                  รายได้อื่น ๆ                                                         0
                                               รวมรายได้                       70,202.19
        ค่ าใช้ จ่าย
                    ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน ( ถ้ามี )                                      0
                    ดอกเบี้ยจ่าย                                                       0
                    ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ                                                   0
                                                รวมค่ าใช้ จ่าย                        0
                    รายได้ สูง ( ตา ) กว่ าค่ าใช้ จ่ายสุ ทธิ
                                   ่                                           70,202.19
101




         คาอธิบายการจัดรายงานรายได้ ค่าใช้ จ่าย สาหรับกิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท
         1. รายได้ ให้เก็บยอดรวมจากสมุดบัญชี รายรับกองทุน 1 ล้านบาท “ประเภทรายรับ” ทุก
ช่อง ไปแสดงไว้ในรายงาน ยกเว้น ช่อง รับเงินจัดสรรช่องจานวนผูกู้ และช่องเงินต้น
                                                                       ้
         2. ค่าใช้จ่าย ให้เก็บยอดรวมจากสมุดบัญชี รายจ่ายกองทุน 1 ล้านบาท “ประเภทรายจ่าย”
ทุกช่อง ไปแสดงไว้ในรายงาน ยกเว้นจ่ายให้กู้ และช่องจานวนผูกู้        ้
         3. นายอดรวมของรายได้ตามข้อ 1 หักด้วย ยอดรวมของค่าใช้จ่าย ตามข้อ 2 ตามแบบ
รายงานในหน้าถัดไป ผลต่างของรายได้และค่าใช้จ่ายจะแสดงถึ งผลการดาเนิ นงานว่ามีรายได้สูง
กว่าค่าใช้จ่าย หรื อ รายได้ต่ากว่าค่าใช้จ่ายซึ่ งในกรณี ทีมี่รายได้ต่ากว่าจะต้องแสดงตัวเลข ให้อยูใน
                                                                                                 ่
วงเล็บ เพื่อแสดงผลขาดทุน
                                    หมู่บ้าน บ้ านสันป่ าเหียง หมู่ที่ 13
                                                   งบดุล
                             สิ้นสุด ณ วันที่ 31 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2552
                                   สาหรับกิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท
                                                 สินทรัพย์
                    เงินสด                                                              0 บาท
                    เงินฝากธนาคาร                                              265,945.91
                    ลูกหนี้                                                  1,200,000.00
                                                      รวมสินทรัพย์           1,465,945.91
                                              หนีสินและทุน
                                                 ้
                    เงินกองทุนหมูบาน่ ้                                      1,300,000.00
                    รายได้สูง ( ต่า ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม                       165,945.91
                                                  รวมหนีสินและทุน
                                                        ้                    1,465,945.91
                       รายละเอียดประกอบงบดุล ( กิจกรรมกองทุน 1 ล้ านบาท )
                                  ประจาเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2552
    1      เงินสด                                                              บาท
                   ยอดยกมา                                                             0
                   บวก รวมรับเดือนนี้                                                  0
                   หัก รวมจ่ายเดือนนี้                                                 0
                   คงเหลือยกไป                                                         0
    2      เงินฝากธนาคาร
                   ยอดยกมา                                                      86,855.72
                   บวก รวมรับเดือนนี้                                        1,435,202.19
                                                           รวมรับ            1,522,057.91
102




                     หัก รวมจ่ายเดือนนี้                                     1,256,112.00
                     คงเหลือยกไป                                               265,945.91
    3      ลูกหนี้
                     ยอดยกมา                                                 1,165,000.00
                     บวก รวมจ่ายเดือนนี้                                     1,200,000.00
                                                              รวมจ่าย        2,365,000.00
                     หัก รวมรับเดือนนี้                                      1,165,000.00
                     คงเหลือยกไป                                             1,200,000.00



                     3.1 จานวนลูกหนี้
                         ณ ต้นเดือน                                            67           ราย
                         ให้กเู้ ดือนนี้                                       67           ราย
                         ชาระเงินครบแล้ว ( ถ้ามี )                             67           ราย
                         ณ สิ้นเดือน                                           67           ราย
    4      รายได้ สูง ( ตา ) กว่ าค่ าใช้ จ่ายสะสม
                          ่
                     ยอดยกมา                                                   95,743.72
                     รายได้สูง ( ต่า ) กว่าค่าใช้จ่ายเดือนนี้ ( ผลกาไร )       70,202.19
                     ยอดยกไป                                                  165,945.91


          การจัดทารายละเอียดประกอบงบดุล กิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท ยอดยกมาเดือนก่อน ของ
เงินสด เงินฝากธนาคารและลูกหนี้ เก็บยอดมาจากงบดุล เดือนก่อน
          ยอดรวมรับเดือนนี้ เก็บมาจากสมุดบัญชีรายรับ ช่องเงินสด ช่องเงินฝากธนาคารและช่อง
ลูกหนี้
          ยอดรวมจ่ ายเดือนนี้ เก็บมาจากสมุดบัญชีรายจ่าย ช่องเงินสด ช่องเงินฝากธนาคารและช่อง
ลูกหนี้ สาหรับจานวนรายของลูกหนี้ให้แสดงแยกเป็ น
          ลูกหนี้ ณ วันต้ นเดือน เก็บยอดมาจากรายละเอียดประกอบงบดุล เดือนก่อนจานวนลูกหนี้
ณ สิ้ นเดือน ลูกหนีให้ ก้ ู เดือนนี้ เก็บยอดจากสมุดบัญชีรายจ่าย ช่องจานวนผูกู้
                     ้                                                       ้
                                                      ้ ู้
          ลูกหนี้ ณ วันสิ้นเดือน เก็บยอดจานวนผูกจากทะเบียนคุมลูกหนี้รายตัวที่คงค้างชาระ
          รายได้ สูง (ต่า) กว่ าค่ าใช้ จ่ายสะสม เป็ นการแสดงยอดรายได้สูง (ต่า)กว่าค่าใช้จ่ายสะสมยก
มาจากเดื อนก่อนบวกรายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายหรื อหักรายได้ท่ีต่ ากว่าค่าใช้จ่ายซึ่ งเก็บยอดสุ ทธิ จาก
รายงานรายได้ค่าใช้จ่าย
103




การควบคุมตรวจสอบความถูกต้ องของการทาบัญชี
         คณะกรรมการกองทุน ควรตรวจสอบความถูกต้องของการทาบัญชี ทั้ง 2 กิ จกรรม
(กิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท และกิจกรรมเงินออมของสมาชิ กกองทุน) เป็ นระยะๆ อย่างสม่าเสมอ
และควบคุมดู แลการจัดเก็บเอกสารที่เกี่ ยวข้องกับการรั บและการจ่ายเงิ นทุ กประเภทให้ครบถ้วน
และเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยเพื่อความสะดวกในการค้นหา และตรวจสอบ
         1. การตรวจสอบความถูกต้ องของยอดเงินคงเหลือ
         คณะกรรการกองทุนสามารถทราบความเคลื่อนไหวของเงินกองทุน ณ วันใดวันหนึ่งได้
จากสมุดบัญชีรายรับและสมุดบัญชีรายจ่าย และควรตรวจสอบความถูกต้องของการลงบัญชี อย่าง
                                               ่
สม่าเสมอ รวมทั้งสามารถตรวจสอบได้วาเงิ นคงเหลือในสมุดบัญชี รายรับและสมุดบัญชี รายจ่าย
กับเงินคงเหลือที่เป็ นเงินสดในมือกับสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร (สมุดคู่ฝาก) ตรงกันหรื อไม่ทุกวัน
         วิธีตรวจสอบ
         ตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกรายการในสมุดบัญชีรายรับได้ดงนี้     ั
         - จานวนเงินในช่อง “เงินสด” และ “เงินฝากธนาคาร” แต่ละวันหรื อแต่ละเดือน เมื่อรวมกัน
แล้วจะต้องเท่ากับยอดรวมรายรับ และยอดรวมรายรับต้องเท่ากับช่องรายรับทุก ประเภทรวมกัน
ยกเว้นช่องจานวนผูกู้ ้
         - หากตรวจสอบแล้วยอดไม่เท่ากัน ให้ตรวจสอบความถูกต้องของการลงบัญชีในสมุดบัญชี
                                         ่
รายรับทุกครั้งที่มีการรับรายรับไม่วาจะเป็ นเงินสด หรื อเงินฝากธนาคารจะต้อง ลงบัญชี 3 ช่อง เช่น
                         ้ื
การรับชาระคืนเงินกูยมจะต้องลงบัญชี ช่อง “เงินฝากธนาคาร” 1 ช่อง และต้องแสดงประเภทรายรับ
ในช่อง “ประเภทรายรับ” คือ ช่อง “เงินต้น” “ดอกเบี้ ย” “ค่าปรับ(ถ้ามี)” รวมเป็ น 1 ช่องและช่อง
“รวมรายรับ” อีก 1 ช่ อง ดังนั้นหากลงบัญชี รายการใดรายการหนึ่ งไม่ครบถ้วนก็จะสามารถ
ตรวจสอบหาข้อผิดพลาด และดาเนินการให้ถูกต้องได้
         ตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกรายการในสมุดบัญชีรายจ่าย ณ สิ้ นวันหนึ่งๆ โดย
         - จานวนเงินในช่อง “เงินสด” และ “เงินฝากธนาคาร” แต่ละวันหรื อแต่ละเดือนเมื่อรวมกัน
แล้วจะต้องเท่ากับยอดรวมรายจ่ายและยอดรวมรายจ่ายต้องเท่ากับช่องรายจ่าย ทุกประเภทรวมกัน
ยกเว้นช่องจานวนผูกู้   ้
         - หากตรวจสอบแล้วยอดไม่เท่ากัน ให้ตรวจสอบความถูกต้องของการลงบัญชีในสมุดบัญชี
                                           ่
รายรับทุกครั้งที่มีการรับรายจ่ายไม่วาจะเป็ นเงินสดหรื อเงินฝากธนาคาร จะต้อง ลงบัญชี 3 ช่อง เช่น
                          ้ื      ู ้ ู้         ู้
การจ่ายชาระคืนเงินกูยมให้ผกที่ได้รับอนุมติให้กจากมติ คณะกรรมการกองทุนแล้ว จะต้องลงบัญชี
                                             ั
ช่อง “เงินฝากธนาคาร” 1 ช่อง และต้องแสดงประเภทรายจ่ายในช่อง “ประเภทรายจ่าย” คือ อีก 2
ช่อง คือ ช่อง “จ่ายให้กยม”   ู้ ื
104




และช่อง “รวมรายจ่าย ดังนั้นหากลงบัญชีรายการใดรายการหนึ่งไม่ครบถ้วนก็จะสามารถตรวจสอบ
หาข้อผิดพลาดและดาเนินการให้ถูกต้องได้
         ตรวจสอบยอดคงเหลือ ณ สิ้นวันโดย
         - นาช่อง “เงินสด” ในสมุดบัญชีราบรับหักด้วย ช่อง “เงินสด” ในสมุดบัญชีรายจ่ายยอด
คงเหลือจะต้องเท่ากับเงินสดในมือ
         - นาช่อง “เงินฝากธนาคาร” ในสมุดบัญชีรายรับหักด้วย ช่อง “เงินฝากธนาคาร” ในสมุด
บัญชีรายจ่ายยอดคงเหลือจะต้องเท่ากับยอดในสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร (สมุดคู่ฝาก)
         การตรวจสอบตามวิธีดังกล่ าวข้า งต้นหากปรากฏว่ามี ก ารบันทึ กรายการครบถ้วน แต่
ยอดเงินคงเหลือยังไม่ตรงกันให้ตรวจสอบหลักฐานการรับและจ่ายเงิน ณ วันนั้น ทุกฉบับกับสมุด
       ่
บัญชี วามีการนาหลักฐานมาบันทึกรายการครบถ้วนหรื อไม่ นอกจากนั้น ให้ตรวจสอบยอดเงินใน
สมุดบัญชี เงินฝากธนาคารว่าได้นาไปให้ ธนาคารปรับยอดเงิ นให้ถูกต้องเป็ นปั จจุบนตรงกับวันที่
                                                                                      ั
ตรวจสอบยอดกับยอดคงเหลือในสมุดบัญชีรายรับรายจ่ายหรื อไม่
         ตรวจสอบความถูกต้ องของการทางานรายงาน
ให้ตรวจสอบตามขั้นตอนและวิธีการทารายงานแต่ละประเภทในหัวข้อการทาบัญชีและรายงาน
         2. เอกสารที่เกียวข้ องกับการรับและการจ่ ายเงิน
                        ่
         เอกสารการรับและการจ่ายเงินเป็ นเอกสาระสาคัญ เนื่ องจากเป็ นหลักฐานที่แสดงว่าได้มี
การรับ และจ่ายเงินแล้ว ดังนั้น จึงต้องมีวธีการจัดเก็บที่ถูกต้องครบถ้วน เป็ นระเบียบ เพื่อให้สะดวก
                                         ิ
ในการค้นหา และตรวจสอบ และจะต้องเก็บไว้ในที่ที่ปลอดภัยโดยให้เก็บแยกเป็ นหมวดหมู่ ดังนี้
         สัญญากูเ้ งินและคาขอกู้ ควรเก็บเข้าแฟ้ มเรี ยงตามลาดับวันหรื อที่ หรื อเลขที่ของเอกสาร
         สาเนาใบเสร็ จรับเงิน และสาเนาใบสาคัญจ่ายเก็บเรี ยงตามเลขที่ เล่มที่ แยกแฟ้ ม หลักฐาน
รับ-จ่ายหากเป็ นไปได้ เมื่อผูรับผิดชอบการทาบัญชี ได้มี การนาไปบันทึกรายการในสมุดบัญชีแล้ว
                               ้
ควรมีการบันทึกว่า “ลงบัญชีแล้ว” พร้อมลงลายมือชื่ อและลงวันที่กากับไว้ดวย เพื่อจะได้ทราบว่ามี
                                                                            ้
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแล้ว
         ใบเสร็ จรับเงินจากบุคคลภายนอก (ถ้ามี) เก็บเรี ยงตามลาดับวันที่ที่มีการจ่ายเงิน และต้อง
เก็บแยกแฟ้ มสาเนาใบเสร็ จรับเงินและแฟ้ มสาเนาใบสาคัญจ่ายและมีการบันทึกว่าลงบัญชี ” พร้อม
ลงลายมือชื่อและวันที่กากับไว้ดวย  ้
         สาเนาหนังสื อแจ้งธนาคารให้โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผูกที่ได้รับอนุมติให้กู้
                                                                              ้ ู้         ั
ตามมติคณะกรรมการกองทุนเก็บเรี ยงตามลาดับวันที่ ดังตัวอย่างข้างล่างนี้
105




                                                        กองทุนหมู่บ้าน/ชุมชน....บ้ านสันป่ าเหียง......
                                                          ้                   ู ้ ู้    ่ ้
                                     หนังสื อสังจ่ายเงินกูและโอนเงินเข้าบัญชีผกกองทุนหมูบาน/ชุมชน
                                               ่
                                                  ่
                  บ้าน/ชุมชน บ้านสันป่ าเหี ยง หมูที่ 13 ตาบลห้วยสัก อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
                                                                                  วันที่ 24 ธันวาคม 2552
   ที่ทาการกองทุนหมู่บานสันป่ าเหียง หมู่ 13
                      ้
   เรื่ อง        ขอความร่ วมมือในการจ่ายเงินกู้ และโอนเงินกูเ้ ข้าบัญชีผกู้
                                                                         ู้
   เรี ยน         ผูจดการธนาคารออมสิ นสาขาเชียงราย
                    ้ั
   สิ่ งที่ส่งมาด้วย รายชื่อผูกเู้ งินของกองทุนหมู่บาน.....ตามเอกสารรายชื่อที่แนบมาด้วย.................
                              ้                     ้
                               ่ ้                                ่                              ้ ั
                  ด้วยกองทุนหมูบาน/ชุมชน...บ้านสันป่ าเหี ยง...หมูที่..13...ได้มีมติ อนุมติเงินกูให้กบสมาชิกของ
                                                                                         ั
   กองทุน เป็ นจานวนเงิน.....1,200,000-......บาท ( หนึ่งล้านสองแสนบาทถ้วน )
                                                                                      ่ ้
                  ดังนั้น จึงขอความร่ วมมือจากทางธนาคารถอนเงินจากบัญชีเงินฝากกองทุนหมูบาน / ชุมชน
   เลขที่บญชี.........05056165705-2.................ชื่อบัญชี.......... กองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง หมู่ที่ 13...................
          ั                                                                        ้
   จานวน.....................1,200,000- ..................บาท (.................... หนึ่งล้านสองแสนบาทถ้วน....................... )
   เข้าบัญชีเงินฝากของสมาชิก จานวน....... 67....... ราย ในวันที่...... 24 ธันวาคม 2552 ...... เพื่อนาไปใช้
   ให้เกิดประโยชน์ ต่อไป


                  จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาดาเนินการ
                                                                   ขอแสดงความนับถือ


    .......................................................................                      .......................................................................
                  ( พ.จ.อ.สนชัย สุริยะวงค์ )                                                               ( นางจันทร์สุย เพียรดารงศักดิ์ )
                                      ่ ้
             ตาแหน่ง...ประธานกองทุนหมูบาน                                                             ตาแหน่ง...รองประธานกองทุนหมู่บาน
                                                                                                                                    ้
                      ผูมีอานาจถอนเงินฝาก
                        ้                                                                                         ผูมีอานาจถอนเงินฝาก
                                                                                                                    ้
                                                                        สาหรับธนาคาร
    .................................................       .................................................           .................................................
   (.................................................) (.................................................)             (.................................................)
     .............../................./.............        .............../................./.............              .............../................./.............
                 ผูบนทึกบัญชี
                   ้ ั                                                        ผูตรวจ
                                                                                ้                                                         ผูอนุมติ
                                                                                                                                            ้ ั
                                                    ู ้ ู้
       หนังสื อจากธนาคารแจ้งการโอนเงินให้แก่ผกตามระละเอียดที่คณะกรรมการกองทุนแจ้ง
ธนาคารเก็บเรี ยงตามลาดับวันที่ ที่ได้รับแจ้งเพื่อตรวจสอบกับสาเนาหนังสื อแจ้งธนาคาร
106




                                                               ้ ู้               ู้
      หนังสื อแจ้งธนาคารให้โอนเงินเข้าบัญชี เงินฝากธนาคารของผูกที่ได้รับอนุมติให้กตามมติ
                                                                            ั
คณะกรรมการกองทุน เก็บเรี ยงตามลาดับวันที่ดงตัวอย่างข้างล่างนี้
                                          ั
                                               กองทุนหมู่บ้าน/ชุมชน........บ้ านสันป่ าเหียง........
                                                                                ้
                                   หนังสื อแจ้งความประสงค์การชาระคืนเงินกูสมาชิกกองทุนหมูบาน/ชุมชน   ่ ้
                                     หมูบาน/ชุมชน.....บ้านสันป่ าเหียง ....หมู่ที่....13.....ตาบลห้วยสัก......
                                          ่ ้
                                                       อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
                                                                                  วันที่ 22 ธันวาคม 2552
 ที่...........................................
 เรื่ อง การชาระคืนเงินกู้
 เรี ยน ผูจดการธนาคารออมสิ นสาขาเชียงราย กลางเวียง
          ้ั
                           ่ ้                                                             ้
              ด้วยกองทุนหมูบาน/ชุมชน....บ้านสันป่ าเหี ยง...............ได้รับชาระคืนเงินกูจากสมาชิก
 จานวน.....67.....ราย เป็ นเงินจานวน.......1,234,900.....บาท
 (..หนึ่ งล้านสองแสนสามหมื่นสี่ พนเก้าร้อยบาทถ้วน... )
                                 ั
                     เงินต้น จานวน....................1,165,000.............บาท
                     ดอกเบี้ย จานวน..........................69,900.............บาท
                                                                                        ่ ้
                     ดังนั้น จึงขอความร่ วมมือจากธนาคารรับเงินเพื่อโอนเข้าบัญชีกองทุนหมูบาน/ชุมชน
 บ้านสันป่ าเหี ยง เลขที่บญชี......05056165705-2.....จานวนเงิน....1,234,900..........บาท
                          ั
 (..หนึ่ งล้านสองแสนสามหมื่นสี่ พนเก้าร้อยบาทถ้วน.. ) และได้แนบใบบัญชีรายชื่อผูชาระคืนเงิน
                                     ั                                                  ้
   ้
 กูมาพร้อมแล้ว
                     จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาดาเนินการ
                                                                                      ขอแสดงความนับถือ


                                                                  ( ...................................................................... )
                                                         ประธานกรรมการกองทุนหมู่บาน/ชุมชน..บ้านสันป่ าเหี ยง
                                                                                 ้
                            สาหรับธนาคาร
              ธนาคารได้ โอนเงินเข้ าบัญชีเลขที่
         ..............................................................
      เป็ นเงิน..........................................บาท แล้ว
          .............................................................
                            ผูรับมอบอานาจ
                              ้
           ............/......................./.....................
107




           3. การยกยอดคงเหลือไปควบคุมในปี ต่ อไป
           เมื่อสิ้ นปี ให้ปิดบัญชี ในสมุดบัญชีในสมุดบัญชี รายรับ และสมุดบัญชี รายจ่ายเพื่อทางบ
รายได้ ค่ าใช้จ่ายประจาปี และงบดุ ล ส่ งให้ผูตรวจสอบบัญชี ที่คณะกรรมการกองทุ นแต่งตั้ง
                                                  ้
ตรวจสอบและรับรองงบแล้ว ในปี ถัดไปจะต้องยกยอดคงเหลือในสมุดบัญชีรายรับและสมุดบัญชี
รายจ่ายไปตั้งเป็ นยอดยกมาดังนี้ กิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท ยอดยกมาในสมุดบัญชีรายรับ คือ
เงินสด(ถ้ามี) เงินฝากธนาคาร เงินรับจัดสรรจากคณะกรรมการ ยอดยกมาในสมุดบัญชี รายจ่าย คือ
         ้                   ้้ ้
จ่ายให้กูยืมและจานวนผูกูดวย กิจกรรมเงินออมของสมาชิ กกองทุน ยอดยกมาในสมุดบัญชีรายรับ
คือ เงินสด (ถ้ามี) เงินฝากธนาคาร เงินรับฝาก ค่าหุ ้น ยอดยกมาในสมุดรายวันจ่าย คือจ่ายให้กู้ และ
            ้ ู้ ้
จานวนผูกดวย วิธีการตรวจสอบ ทั้ง 2 กิจกรรม
           - เงินสดและเงินฝากธนาคาร ยอดคงเหลื อยกมาจะต้องเท่ากับยอดรวมตั้งแต่ตนปี จนถึ ง
                                                                                       ้
เดือนธันวาคม (31 ธันวาคม) ในสมุดบัญชี รายรับหักด้วยยอดรวมตั้งแต่ตนปี จนถึงเดือนธันวาคม
                                                                         ้
(31 ธันวาคม) ในสมุดบัญชีรายจ่าย และเท่ากับยอดที่แสดงในงบดุล
           - เงินรับจัดสรรจากคณะกรรมการ เงินฝากสัจจะ เงินรับฝาก ค่าหุ ้น ยอดคงเหลือยกมา คือ
ยอดรวมตั้งแต่ตนปี จนถึงเดือนธันวาคม (31 ธันวาคม) ในสมุดบัญชีรายรับ และเท่ากับยอดที่แสดง
                     ้
ในงบดุล
                           ้
           - เงินจ่ายให้กูยืม คงเหลือยกมาจะต้องเท่ากับยอดรวมตั้งแต่ตนปี จนถึงเดือนธันวาคม (31
                                                                     ้
                                                ้
ธันวาคม) ในสมุดบัญชี รายจ่าย ช่อง “จ่ายให้กูยืม” หักด้วย ยอดรวมตั้งแต่ตนปี จนถึงเดือนธันวาคม
                                                                           ้
(31 ธันวาคม) ในสมุดบัญชีรายรับ ช่อง “รับคืนเงินกูยม” ้ื

         กองทุนหมู่บ้านนิติบุคคล เอกสารที่ตองจัดทา้
         1. แบบคาขอจดทะเบียน (แบบ กทบ.นิติบุคคล) เงื่อนไข : จะเป็ นโลโก้สี (ฉบับจริ ง) หรื อ
จะถ่ายเอกสารก็ได้ ให้ยึดแบบตามหนังสื อเล่มสี เขียวและในการกรอกข้อมูลในแบบจะพิมพ์หรื อ
เขียนตัวบรรจงก็ได้ ส่ วนรหัสกองทุนที่จะกรอก หากไม่ทราบขอให้ ดูที่สานักงานพัฒนาชุ มชน
อาเภอเมืองสรวง ผูลงนามในแบบจะต้องมีการมอบหมายในที่ประชุม และมีชื่อปรากฏในบันทึก
                     ้
การประชุม
         2. สาเนาสมุดบัญชี เงินฝากธนาคารที่ได้ รับโอนเงิน 1 ล้ านบาท และบัญชี เงินฝากอื่นๆ
( บัญชี ล้านที่ 1 บัญชี ล้านที่ 2 , บัญชี เงินออม ) เงื่อนไข : ให้ถ่ายสาเนาทุกบัญชี และทุกหน้าที่มีเงิน
เข้าออกพร้อมรับรองสาเนาถูกต้องทุกหน้า (หากกองทุนใดไม่มีบญชี ออมทรัพย์จะไม่สามารถจด
                                                                        ั
ทะเบียนนิติบุคคลได้)
8
8
8
8
8
8
8
8
8
8
8
8
8
8
8
8
8
8

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)Jaturapad Pratoom
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์S'kae Nfc
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"Pinmanas Kotcha
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาSornram Wicheislang
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
บันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาว
บันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาวบันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาว
บันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาวManit Wongmool
 
วิธีติดตั้ง Microsoft Office 365 ฟรี สำหรับ นศ. มข.
วิธีติดตั้ง Microsoft Office 365 ฟรี สำหรับ นศ. มข.วิธีติดตั้ง Microsoft Office 365 ฟรี สำหรับ นศ. มข.
วิธีติดตั้ง Microsoft Office 365 ฟรี สำหรับ นศ. มข.Pongkot Sae-li
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001Thidarat Termphon
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานKanin Thejasa
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด O-SOT Kanesuna POTATO
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2Pattama Poyangyuen
 

Mais procurados (20)

หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
 
บันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาว
บันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาวบันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาว
บันทึกข้อความรายงานผลการอบรมหนาว
 
วิธีติดตั้ง Microsoft Office 365 ฟรี สำหรับ นศ. มข.
วิธีติดตั้ง Microsoft Office 365 ฟรี สำหรับ นศ. มข.วิธีติดตั้ง Microsoft Office 365 ฟรี สำหรับ นศ. มข.
วิธีติดตั้ง Microsoft Office 365 ฟรี สำหรับ นศ. มข.
 
ชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วนชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วน
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
อัตราส่วน
อัตราส่วนอัตราส่วน
อัตราส่วน
 
สำรวจวิชาสอบอร
สำรวจวิชาสอบอรสำรวจวิชาสอบอร
สำรวจวิชาสอบอร
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Risk management
Risk managementRisk management
Risk management
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
 

Destaque

ผนวกประกอบ ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2...
ผนวกประกอบ ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2...ผนวกประกอบ ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2...
ผนวกประกอบ ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2...ตะหลึ่ง' ตึ่งโป๊ะ
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555ทับทิม เจริญตา
 
Cronología de la Coheteria, el Vuelo y la Exploración Espacial:1804 - William...
Cronología de la Coheteria, el Vuelo y la Exploración Espacial:1804 - William...Cronología de la Coheteria, el Vuelo y la Exploración Espacial:1804 - William...
Cronología de la Coheteria, el Vuelo y la Exploración Espacial:1804 - William...Champs Elysee Roldan
 
My lx business_executive_program_v4
My lx business_executive_program_v4My lx business_executive_program_v4
My lx business_executive_program_v4alayonruth
 

Destaque (20)

ผนวกประกอบ ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2...
ผนวกประกอบ ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2...ผนวกประกอบ ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2...
ผนวกประกอบ ระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการส่งกำลังสิ่งอุปกรณ์ประเภท 3 สายพลาธิการ พ.ศ.2...
 
3. p 70_-_p_72
3. p 70_-_p_723. p 70_-_p_72
3. p 70_-_p_72
 
ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของ
ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของ
ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของ
 
ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของ
ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของ
ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของ
 
ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของ
ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของ
ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของ
 
ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของ
ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของ
ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างของ
 
5.p 96 p-119
5.p 96 p-1195.p 96 p-119
5.p 96 p-119
 
โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2
โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2
โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2
 
8.p211 216
8.p211 2168.p211 216
8.p211 216
 
6.p 120 -_125
6.p 120 -_1256.p 120 -_125
6.p 120 -_125
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
 
Coders trust pitchdeck
Coders trust pitchdeck Coders trust pitchdeck
Coders trust pitchdeck
 
Cronología de la Coheteria, el Vuelo y la Exploración Espacial:1804 - William...
Cronología de la Coheteria, el Vuelo y la Exploración Espacial:1804 - William...Cronología de la Coheteria, el Vuelo y la Exploración Espacial:1804 - William...
Cronología de la Coheteria, el Vuelo y la Exploración Espacial:1804 - William...
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Review for Ch. 12
Review for Ch. 12Review for Ch. 12
Review for Ch. 12
 
Double page Process
Double page ProcessDouble page Process
Double page Process
 
Zotero manual
Zotero manualZotero manual
Zotero manual
 
Vacunasoptimas
VacunasoptimasVacunasoptimas
Vacunasoptimas
 
The Coder
The CoderThe Coder
The Coder
 
My lx business_executive_program_v4
My lx business_executive_program_v4My lx business_executive_program_v4
My lx business_executive_program_v4
 

Semelhante a 8

ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านthnaporn999
 
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่kalayaW
 
คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)
คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)
คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)Jirateep Jirateep
 
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีคู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีFishFly
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
โครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าวโครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าวJrd Babybox
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือboomlonely
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระtongsuchart
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54auy48
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53Link Standalone
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
การแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจน
การแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจนการแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจน
การแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจนnongruk
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพงโครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพงploy27866
 

Semelhante a 8 (20)

ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
 
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานกองทุนฯ ในพื้นที่
 
คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)
คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)
คู่มือสวัสดิการชุมชน 2558(เต็ม)
 
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีคู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
คู่มือการดำเนินงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
โครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าวโครงการธนาคารข้าว
โครงการธนาคารข้าว
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
 
ปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระปิดทองหลังพระ
ปิดทองหลังพระ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
ประกาศ อบตผลการดำเนินงานตามรัฐธรรมนูญ54
 
พัฒนาชุมชน
พัฒนาชุมชนพัฒนาชุมชน
พัฒนาชุมชน
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
การแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจน
การแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจนการแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจน
การแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจน
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
Se appl chapter 1
Se appl chapter 1Se appl chapter 1
Se appl chapter 1
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพงโครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
 

8

  • 2. 91 กลุ่ม 1 เรื่อง การจัดทาบัญชีกองทุนหมู่บ้าน โดย นายผล ขันคา นางสาวจินตนา มานะโส บทนา โครงการจัดตั้งกองทุนหมู่บานและชุ มชนเมือง เป็ นนโยบายหลักประการหนึ่งของรัฐบาล ้ เพื่อเป็ นการเสริ มสร้างกระบวนการพึ่งพาตนเองของหมู่บานและชุ มชนเมืองในด้านการเรี ยนรู้ การ ้ สร้างและพัฒนาความคิดริ เริ่ ม การแก้ไขปั ญหาและเสริ มสร้างศักยภาพทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ของประชาชนในหมู่บานโดยรัฐบาลจัดตั้งกองทุนหมู่บาน กองทุนละ 1 ล้านบาทพร้อมเสริ มสร้าง ้ ้ และพัฒนาหมู่บานและชุ มชนเมืองให้มีขีดความสามารถในการจัดระบบบริ หารจัดการเงินกองทุน ้ หมุนเวียนในหมู่บานและชุ มชนเมืองกันเอง ซึ่ งอยูภายใต้ความรับผิดชอบของหลายหน่วยงาน คือ ้ ่ กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทยและสานักนายกรัฐมนตรี โดยมุ่งหวังที่จะให้เป็ นเงินทุน หมุนเวียนให้เกิดการผลิตและจาหน่ายอันส่ งผลไปถึงการเพิ่มอานาจซื้ อในระดับท้องถิ่น นโยบาย กองทุนหมู่บานจะประสบผลสาเร็ จได้ตองประกอบด้วยหลักสาคัญ 4 ประการ คือ ้ ้ ประการที่ 1 ความพร้ อ มของหมู่ บ ้า นของคนและครั ว เรื อ นการควบคุ ม ดู แลกันเอง ตลอดจนประการณ์ในการบริ หารจัดการกองทุนสังคมของหมู่บาน เช่น กลุ่มออมทรัพย์ ธนาคาร ้ หมู่บาน กองทุนอาชีพ กองทุนสวัสดิการ เป็ นต้น ้ ประการที่ 2 การบริ หารจัดการเงินกองทุนสังคมของหมู่บานในส่ วนที่เป็ นเงินอุดหนุ น ้ กองทุนหมู่บานและชุ มชนเมืองแห่ งชาติกบกองทุนทางสังคมของชุ มชนและกองทุนที่หน่ วยงาน ้ ั ราชการจัดตั้งขึ้น เพื่อให้กองทุนดังกล่าวมีการบริ หารจัดการให้สอดคล้องและเกื้อกูลกัน ประการที่ 3 การปฏิ รูป ระบบราชการแผ่นดิ นตามแนวทางให้หมู่บ ้านหรื อชุ ม ชนเมื อง เป็ นศูนย์กลางในการพัฒนา การพัฒนาเป็ นของหมู่บานและชุ มชนเมืองโดยส่ วนราชการเป็ นผูเ้ ป็ น ้ ผูสนับสนุนในด้านวิชาการและการจัดการกองทุน ้ ประการที่ 4 การติดตามและประเมินผลโดยมีตวชี้ วดประสิ ทธิ ภาพของกองทุน ทั้งใน ั ั ด้านเศรษฐกิจสังคมและการพึ่งพาตนเองเพื่อความโปร่ งใส มีประสิ ทธิภาพ ปั ญหาจากการที่ ช าวบ้า นในหมู่บ ้า น เป็ นคณะกรรมการกองทุ นหมู่ บ ้า นและได้มี ก าร แต่งตั้งให้บุคคลดังกล่าวทาหน้าที่ในการจัดทาบัญชี กองทุนหมู่บานซึ่ งผูจดทาบัญชี บางรายยังขาด ้ ้ั
  • 3. 92 ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทาบัญชี กองทุนหมู่บานที่ถูกต้อง กองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง ้ ้ เป็ นผูจดทารายงานฉบับนี้ ได้ตระหนักถึงปั ญหาดังกล่าว จึงกาหนดโครงการทารายงาน เรื่ องการ ้ั จัดทาบัญชี กองทุนหมู่บานในพื้นที่ ้ ตาบลห้วยสักขึ้นซึ่ งได้กาหนดการวางแผนของกองทุน หมู่ บ ้า นสั น ป่ าเหี ย ง หมู่ ที่ 13 ต าบลห้ ว ยสั ก อ าเภอเมื อ งเชี ย งรายจัง หวัด เชี ย งรายและมี ก าร แลกเปลี่ยนความรู ้ระหว่างอาจารย์ นักศึกษากับผูจดทาบัญชี กองทุนหมู่บานเพื่อเป็ นแนวทางการ ้ั ้ ช่วยเหลือสาหรับผูจดทาบัญชีกองทุนหมู่บานที่ยงขาดความรู ้ในด้านดังกล่าวและเป็ นการสนับสนุ น ้ั ้ ั ให้อาจารย์และนักศึกษามีส่วนร่ วมในกิจกรรมของท้องถิ่นด้วย ศึกษาวิธีการจัดทาบัญชีกองทุนหมู่บ้าน ความหมายกองทุนหมู่บ้านและชุ มชนเมือง กองทุนหมู่บานและชุมชนเมือง คือกองทุนที่เกิดขึ้นตามนโยบายของรัฐบาลได้จดสรรเงิน ้ ั อุ ดหนุ นให้แก่ หมู่ บ ้า นและชุ ม ชนเมื องตามนโยบายของรั ฐบาลเพื่ อท าหน้า ที่ เ ป็ นแหล่ ง เงิ นทุ น หมุนเวียนภายในหมู่บานและชุมชนเมืองโดยแบ่งออกเป็ น 2 ระดับกองทุน คือ ้ 1. กองทุนหมู่บานและชุ มชนเมืองแห่ งชาติเป็ นกองทุนรวมในระดับชาติเพื่อจัดสรรให้แก่ ้ หมู่บานและชุมชนเมือง ้ 2. กองทุนหมู่บานและกองทุนชุ มชนเมือง คือกองทุนหมุนเวียนในหมู่บานและชุ มชน ้ ้ เมือง เมื่อเริ่ มก่อตั้งจะได้รับเงินอุดหนุนจากกองทุนหมู่บานและชุมชนเมืองแห่งชาติ หมู่บานและ ้ ้ ชุมชนเมืองละประมาณ 1 ล้านบาทเพื่อให้ประชาชนหมู่บานและชุ มชนเมืองบริ หารจัดการกันเอง ้ โดยรัฐบาลมีนโยบายเร่ งด่ วนในการจัดตั้งกองทุ นหมู่บานและชุ มชนเมื องแห่ งชาติ สาหรับเป็ น ้ แหล่ งเงิ นทุ นหมุ นเวียนในหมู่บานและชุ มชนเมื องใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคม อี กทั้ง ้ เพื่อให้ทองถิ่นมีขีดความสามารถในการจัดการระบบและการบริ หารจัดการเงินกองทุนของตนเอง ้ เพื่อสร้างศัก ยภาพในการเสริ มสร้ างความเข้มแข็งด้านสังคมและด้านเศรษฐกิ จของประชาชนใน หมู่บานและชุ มชนเมืองสู่ การพึ่งพาตนเองอย่างยังยืน อันเป็ นการกระตุนเศรษฐกิจฐานรากของ ้ ่ ้ ประเทศ รวมทั้งเสริ มสร้างภูมิคุมกันทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในอนาคต ้
  • 4. 93 วัตถุประสงค์ ของกองทุนหมู่บ้าน 1. เป็ นแหล่ งเงิ นทุนหมุ นเวียนในหมู่บานและชุ มชนเมื องสาหรั บการลงทุนเพื่อพัฒนา ้ อาชี พ สร้างงาน สร้างรายได้หรื อเพิ่มรายได้ การลดรายจ่าย การบรรเทาเหตุฉุกเฉิ นและจาเป็ น เร่ งด่วนและสาหรับการนาไปสู่ การสร้างกองทุนสวัสดิภาพที่ดีแก่ประชาชนในหมู่บานหรื อชุมชน ้ 2. ส่ งเสริ มและพัฒนาหมู่บานและชุ มชนเมืองให้มีขีดความสามารถในการจัดระบบและ ้ บริ หารจัดการเงินทุนของตนเอง 3. เสริ มสร้างกระบวนการพึ่งพาตนเองของหมู่บานและชุ มชนเมืองในด้านการเรี ยนรู ้ การ ้ สร้างและพัฒนาความคิดริ เริ่ ม เพื่อการแก้ไขปั ญหา และเสริ มสร้างศักยภาพ และส่ งเสริ มเศรษฐกิจ พอเพียงในหมู่บานและชุมชนเมือง ้ 4. กระตุนเศรษฐกิจในระดับฐานรากของประเทศ รวมทั้งเสริ มสร้างภูมิคุมกันทางเศรษฐกิจ ้ ้ และสังคมของประเทศในอนาคต 5. เสริ มสร้ างศักยภาพและความเข้มแข็งทั้งทางเศรษฐกิ จและสังคมของประชาชนใน หมู่บาน หรื อชุมชนเมือง กล่าวโดยสรุ ปแล้ว กองทุนหมู่บานและกองทุนชุ มชนเมืองเป็ นกองทุน ้ ้ รวมในระดับชาติ เพื่อจัดสรรให้แก่หมู่บานและชุ มชนเมืองทุกแห่ ง ชุมชนละ 1 ล้านบาทเพื่อให้ ้ ประชาชนบริ หารจัดการกันเอง ภายใต้ปรัชญา การร่ วมคิดดาเนินการ โดยกระบวนการประชา สังคม และการเสริ มสร้างกระบวนการเรี ยนรู้และพัฒนาความคิ ดริ เริ่ มเพื่อเพิ่มศักยภาพและส่ งเสริ ม เศรษฐกิจพอเพียงและบริ หารจัดการเงินกองทุนหมุนเวียน ให้นาไปสู่ การสร้างกองทุนสวัสดิการแก่ ประชาชนในหมู่บานหรื อชุ มชนของตน ซึ่ งจะนาไปสู่ ผลแห่ งการเป็ นภูมิคุมกันทางเศรษฐกิจและ ้ ้ สังคมของประเทศ และการพัฒนาที่ยงยืนต่อไป ในการดาเนินงานที่เกี่ยวกับกองทุนหมู่บานนั้น ั่ ้ พืนทีเ่ ปาหมายในการดาเนินการกองทุนหมู่บ้าน ้ ้ 1. หมู่บานสันป่ าเหี ยง หมู่ที่ 13 และหมู่บานใหม่สันป่ าเหี ยง หมู่ที่ 25 ได้แก่พฒนาหมู่บาน ้ ้ ั ้ ตามประกาศของกระทรวงมหาดไทย ตาม พ.ร.บ. การปกครองท้องถิ่น กระบวนการกู้เงินจากกองทุนหมู่ บ้านสั นป่ าเหียง ซึ่ งได้รับการประเมินและได้รับการ จัด สรรเงิ น ทุ น อุ ด หนุ น กองทุ น หมู่ บ ้า นแล้ว จะต้อ งมี ก ระบวนการของการกู้ยื ม กับ กองทุ น ซึ่ ง ้ื รายละเอียดที่สมาชิกกองทุนจะขอกูยมดังนี้ ผู้มีสิทธิก้ ูยมเงินกองทุนหมู่บ้านสั นป่ าเหียง ได้แก่ บุคคลต่อไปนี้ ื 1. สมาชิกกลุ่ม/องค์กร ที่ข้ ึนทะเบียนเป็ นสมาชิกกองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง ้ 2. ปัจเจกบุคคล ซึ่ งเป็ นสมาชิกกองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง ้
  • 5. 94 3. ต้องปฏิ บติตามหลักเกณฑ์ /เงื่ อนไขและแบบฟอร์ มที่ คณะกรรมการกองทุ นหมู่บาน ั ้ กาหนดภายใต้ กรอบหลักเกณฑ์เงื่อนไขของคณะกรรมการหมู่บานสันป่ าเหี ยง ้ ประเภทการให้ ก้ ยม การกูยมเงินกองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง จาแนกประเภทได้ ดังนี้ ูื ้ื ้ 1. พัฒนาอาชีพ 2. สร้างงาน 3. สร้าง และ/หรื อ เพิมรายได้ ่ 4. ลดรายจ่าย 5. อุตสาหกรรม และ/หรื อ วิสาหกิจขนาดเล็กในครัวเรื อน 6. เพื่อการฉุกเฉิน ลักษณะการกู้ยม มี 2 ลักษณะ คือ ื 1. กูยมภายในหมู่บาน ้ื ้ 2. กูยมภายในเครื อข่ายระหว่างหมู่บาน ้ื ้ สั ดส่ วนวงเงินกู้ยืมเพื่อการฉุ กเฉิ นไม่ควรเกินร้อยละ 10 ส่ วนประเภทอื่นๆ ให้เป็ นไปตาม ระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด ขั้นตอนในการให้ ก้ ูยม ในการกูยมเงินกองทุนหมู่บานและชุมชน มีข้ นตอนโดยสรุ ป ดังนี้ ื ้ื ้ ั 1. ยืนคาขอกู/้ ยืม ต่อคณะกรรมการกองทุน ่ 2. คณะกรรมการกองทุนดาเนินการพิจารณา 3. อนุมติ ั 4. ทาสัญญา 5. เปิ ดบัญชีออมทรัพย์ 6. โอนเงินเข้าบัญชี แหล่ งทีมาของงบประมาณกองทุนและกลไกการบริ หารกองทุน ่ แหล่งที่มาของงบประมาณกองทุนบ้านสันป่ าเหี ยง ประกอบด้วยเงินและทรัพย์สินดังนี้ 1. เงินที่ได้รับจัดสรรจากรัฐบาล จานวน 1 ล้านบาท 2. เงินรายได้จากสมาชิกซึ่งมีหลายลักษณะ คือ 2.1 ค่าธรรมเนียมแรกเข้าคนละ 5 บาท 2.2 การถือครองหุ ้นๆ ละ 10 บาท 2.3 เงินฝากสัจจะทุกเดือนๆ ละเท่าๆ กันในวงเงินไม่ต่ากว่า 10 บาท สู งสุ ดไม่เกิน 500 บาทต่อเดือนและสามารถเพิ่มยอดเงินฝาก สัจจะได้ปีละครั้ง
  • 6. 95 2.4 เงินรับฝากจากสมาชิ กในวงเงินสู งสุ ดไม่เกินรายละ 5,000 บาท โดยสามารถฝากได้ ไม่จากัดจานวนในหนึ่งเดือน 2.5 ดอกผลที่ได้จากการกูยม ้ื 2.6 ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากเงินกองทุน 2.7 เงินหรื อทรัพย์สินที่มีผบริ จาคให้โดยปราศจากภาระผูกพัน ู้ 2.8 เงินสมทบจากกลุ่มหรื อองค์กรสมาชิก 2.9 เงินกูจากแหล่งเงินกูต่างประเทศ เช่น กองทุนเพื่อการลงทุนทางสังคม (SIF) เงินกู้ ้ ้ เพื่อ ปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ (SAL) 13 กลไกการบริ หารกองทุนหมู่บ้านสั นป่ าเหียง การพิจารณาอนุมติการใช้เงินกองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยงจะพิจารณาจากโครงการต่างๆ ที่ ั ้ ้ สมาชิ กนาเสนอเพื่อขอกูยืมจากเงินกองทุน คณะกรรมการกองทุนจะมีการประชุ มร่ วมกันอย่าง น้อยเดือนละ 1 ครั้ง โดยมีผปฏิบติงานที่ตองเตรี ยมการล่วงหน้าก่อนการประชุม คือ ู้ ั ้ 1. เลขานุการ รวบรวมโครงการและเอกสารคาร้องต่าง ๆ เพื่อนามาจัดทาเป็ นระเบียบ วาระ ้ การประชุม ในกรณี ที่มีโครงการขอกูยืมกองทุนเป็ นจานวนมากต้องเรี ยงลาดับ ชื่อโครงการและ เอกสาร เพื่อนาเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาตามลาดับ จัดเตรี ยม แฟ้ มเอกสารและออกจดหมาย เชิญคณะกรรมการกองทุน 2. เหรัญญิก จะต้องเตรี ยมจัดทาบัญชี รายรับและรายจ่าย จัดทางบดุลในแต่ละเดือนเพื่อแจ้ง ให้ที่ประชุ มได้ทราบสถานะการเงิ นของเงิ นกองทุ นและรายละเอี ยดเกี่ ยวกับการใช้จ่ายเงิ นและ รายรับที่ได้มา 3. ประธานกรรมการกองทุน จะต้องเตรี ยมอ่านเอกสารต่างๆ ที่ฝ่ายเลขานุ การและ เหรัญญิก จัดทาเพื่อจะได้ช้ ี แจงและแก้ปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิ ดขึ้นในระหว่างที่มีการประชุ ม รายละเอียดที่เป็ นความรู ้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ ยวกับกองทุนหมู่บานที่กล่าวมานี้ จะเป็ นการเตรี ยม ้ ความพร้อมให้ผที่จะปฏิบติงานร่ วมกับประชาชนได้มีพ้ืนฐานความรู ้เกี่ยวกับการดาเนินงานกองทุน ู้ ั หมู่บานตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่ งจะช่ วยกระตุนเศรษฐกิจของหมู่บานและส่ งเสริ มภาวการณ์ ้ ้ ้ ว่างงานของบัณฑิตที่เป็ นกาลังสาคัญของประเทศชาติ การดาเนิ นงานในพื้นที่ต่างๆ ของแต่ละ จัง หวัดที่ มี ก องทุ นหมู่ บ ้า นแล้วนั้นจาเป็ นจะต้องมี บุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ้ ค วามสามารถเข้า ไปช่ วย ส่ งเสริ มและกระตุนให้เกิดกระบวนการตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่ งจาเป็ นต้องมีพ้ืนความรู ้เบื้องต้น ้ ที่เกี่ยวกับกองทุนหมู่บานดังที่กล่าวมานี้ ้
  • 7. 96 การควบคุมการรับ-จ่ ายกองทุนบ้ านสั นป่ าเหียง เนื่ องจากกองทุนมีการดาเนิ นกิจกรรมหลายกิจกรรม เช่น กิจกรรมเงินกองทุนที่ได้รับการ จัดสรรจากรัฐบาล หมู่บานละ 1 ล้านบาท เพื่อเป็ นแหล่งเงิ นทุนในการลงทุนสร้างอาชี พเสริ ม ้ และสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนในชนบท และวิสาหกิจขนาดเล็กในครัวเรื อนและกิจกรรมด้านการ ออมของสมาชิกในหมู่บานบ้านสันป่ าเหี ยง เช่น เงินฝากสัจจะ เงินค่าหุ ้น เงินรับฝาก เงินรับบริ จาค ้ เงิ นสมทบจากกลุ่ มหรื อจากสมาชิ กและดอกเบี้ ยผลประโยชน์อื่นที่กองทุนได้รับอันเนื่ องมาจาก กิ จกรรมด้า นการออมซึ่ งทั้ง กิ จ กรรมเงิ นทุ น 1 ล้า นบาทและกิ จกรรมด้า นการออม ต่ า งก็ มี วัตถุ ประสงค์ร่วมกันประการหนึ่ ง คือเป็ นแหล่งเงิ นทุนในหมู่บานและชุ มชนเมือง สาหรับการ ้ ลงทุนเพื่อพัฒนาอาชีพ สร้างงานรายได้หรื อเพิ่มรายได้ ดัง นั้ นเพื่ อ ให้ ก ารควบคุ ม การด าเนิ น งานกองทุ น เป็ นไปตามวัต ถุ ป ระสงค์ อ ย่ า งมี ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผลและเป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับต่างๆ เพื่อความสะดวกในการ ปฏิ บติงานการควบคุ มการตรวจสอบ ให้คณะกรรมการกองทุ นเป็ นบัญชี เงิ นฝากธนาคารกับ ั ธนาคารที่คณะกรรมการกองทุนหมู่บานและชุมชนเมืองแห่งชาติกาหนดเป็ น 2 บัญชีดงนี้ ้ ั 1. ชื่ อบัญชี กองทุนหมู่บานและชุ มชนเมือง กองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง (บัญชีที่ 1) เพื่อรับ ้ ้ โอนเงิน 1 ล้านบาทจากบัญชีกองทุนหมู่บานและชุมชนเมืองแห่ งชาติหรื อตามวงเงินที่ได้รับจัดสรร ้ จากคณะกรรมการและเพื่ อรั บเงิ นจากการชาระหนี้ จากลู กหนี้ (เงิ นต้นและดอกเบี้ ย) ที่ กู้จาก เงินกองทุน 1 ล้านบาท 2. ชื่อบัญชีเงินออมของสมาชิกกองทุน ออมทรัพย์หมู่บานสันป่ าเหี ยง (บัญชีที่ 2) เพื่อรับ ้ เงิ นจากสมาชิ ก ของกองทุนตามที่ ได้ตกลงที่ จะฝากเงิ นหรื อออมเงิ นกับกองทุ นหมู่ บา นเป็ นเงิ น ้ ้ สะสมของสมาชิกและเพื่อรับเงินจากการชาระหนี้ จากลูกหนี้ (เงินต้นและดอกเบี้ย) ที่กูจากเงินออม ของสมาชิก ้ บัญชี เงินฝากทั้ง 2 บัญชี จะจ่ายให้กูยืมแก่สมาชิ กของกองทุน ตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ กาหนดใน ระเบียบข้อบังคับของคณะกรรมการกองทุนหมู่บานและภายในวงเงินที่คณะกรรมการ ้ กองทุนหมู่บานและชุมชนเมืองแห่งชาติกาหนด คือวงเงินกูยืมรายหนึ่ งต้องไม่เกิน 20,000 บาท เว้น ้ ้ แต่ผูขอกูรายใดขอกูเ้ กิ ด 20,000 บาทและได้รับความเห็ นชอบจากที่ ประชุ มสมาชิ กจึงให้กูเ้ กิ น ้ ้ ้ ้ 20,000 บาทได้แต่ตองไม่เกิ น 50,000 บาทโดยผูขอกูจะต้องเปิ ดบัญชี เงิ นฝากธนาคารประเภท ้ ออมทรัพย์เพื่อรับโอนเงินที่ได้รับอนุ มติให้กูยืมจากธนาคารไปดาเนิ นการตามวัตถุประสงค์ของผูกู้ ั ้ ้ ต่อไป
  • 8. 97 การชาระคืนเงินกู้กองทุนหมู่บ้านสั นป่ าเหียง ผูกูจะต้องชาระคืนเงินกูพร้อมดอกเบี้ย โดยนาส่ งให้ที่คณะกรรมการหมู่บานที่ได้รับการ ้้ ้ ้ ้ แต่งตั้ง เพื่อให้คณะกรรมการออกใบเสร็ จรับเงิน เพื่อเป็ นหลักฐานการชาระเงินกูคืนให้แก่สมาชิ ก ผูกู้ เสร็ จแล้วคณะกรรมการกองทุนหมู่บานจะได้รวบรวมใบเสร็ จรับเงิน ไปทาบัญชี ลดยอดลูกหนี้ ้ ้ ้ เงินกูและทารายงานการเงินต่อไป ดังนี้ 1. บัญชี กองทุนหมู่บานและชุ มชนเมือง กองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง (บัญชีที่ 1) สาหรับ ้ ้ ลูกหนี้ท่ีกเู้ งินจากกองทุน 1 ล้านบาท 2. บัญชี เงินออมของสมาชิ กกองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง (บัญชีที่ 2) สาหรับลูกหนี้ ที่กูเ้ งิน ้ จากเงินออมของ สมาชิกกองทุนหมู่บาน ้ ั การรับรายรับทุกกรณี จะต้องออกใบเสร็ จรับเงินให้กบสมาชิ กทุกครั้ง เพื่อเป็ นหลักฐานใน การลงบัญชี การรั บรายรับเป็ นเงินสด ให้คณะกรรมการกองทุนรวบรวมเงินนาฝากธนาคารทุกวันสิ้ น วันหรื ออย่างช้าในวันถัดไป ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารหรื อผลประโยชน์ อื่น ที่กองทุนได้รับต้องนาไปบริ หารให้ เกิ ด ประโยชน์แก่สมาชิ กและใช้จ่ายตามระเบียบข้อบังคับของกองทุน รวมทั้ง ทาบัญชี ควบคุมและ รายงานตามแนวทางที่แนะนาในคู่มือหรื อตามวิธีการที่คณะกรรมการกองทุนหมู่บานกาหนด ้ สาหรับค่าใช้จ่ายดาเนิ นงานกองทุน หากมีความจาเป็ นต้องจ่ายและมีเงินดอกเพียงพอที่จะ จ่าย จะต้องจ่ายตามอัตราและรายการที่คณะกรรมการกองทุนกาหนดและการจ่ายค่าใช้จ่ายทุ ก รายการจะต้องมีใบเสร็ จรับเงิน เว้นแต่ผรับเงินจากกองทุนไม่สามารถออกใบเสร็ จรับเงินให้ได้ ู้ ให้กองทุนทาใบสาคัญจ่ายทุกครั้งเพื่อเป็ นหลักฐานในการลงบัญชี การทาบัญชีและรายงาน ให้จดทาบัญชีและรายงานแยกเป็ น 2 ชุด ตามกิจกรรมของกองทุน คือ กิจกรรมกองทุน 1 ั ล้านบาท และกิจกรรมเงินออมของสมาชิกกองทุน ทุกครั้งที่มีการรับจ่ายเงินให้บนทึกบัญชี ควบคุม ั ให้ถูกต้องครบถ้วนเพื่อประโยชน์ดงนี้ ั 1. เพื่ อ ให้ค ณะกรรมการกองทุ นหมู่ บ ้า นและชุ ม ชนเมื อ งที่ รับ ผิด ชอบบริ ห ารจัดการ เงินกองทุน ใช้ควบคุมการรับและจ่ายเงินให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน 2. เพื่อรายงานผลการดาเนินงานและฐานะการเงิน ประจาเดือนและรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง ให้สมาชิกและสานักงานคณะกรรมการกองทุนหมู่บานแห่งชาติใช้ในการติดตามผลดาเนินงาน ้
  • 9. 98 3. เพื่อจัดทารายงานการเงิ นประจาปี แสดงผลการดาเนินการงานและฐานะทางการเงิน ของกองทุ น ส่ ง ให้ ผู ้ต รวจสอบบัญ ชี ที่ ค ณะกรรมการก าหนดตรวจสอบและรายงานผลให้ คณะกรรมการทราบพร้อมกับประกาศเปิ ดเผยให้ประชาชนและสมาชิกทราบ วิธีการทาบัญชี กองทุน สาหรับกิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท การจัดทาบัญชีอย่างน้อยต้องมีสมุดบัญชี ทะเบียน และรายงานที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. สมุ ดบัญชี เป็ นสมุ ดบัญชี ที่ ใ ช้บ นทึ กรายละเอี ย ดการรั บ และการจ่ ายเงิ นกองทุ น ั ประกอบด้วย 1.1 สมุดบัญชีรายรับเงินกองทุน 1 ล้าน การรับเงินทุกรณี จะต้องนามาลงบัญชีในสมุด บัญชีรายรับ เพื่อบันทึกควบคุมการรับเงินทุกประเภทเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ 1.2 สมุดบัญชี รายจ่ายกองทุน 1 ล้านบาท การจ่ายเงินทุกกรณี จะต้องนามาลงบัญชี ใน สมุดบัญชี รายจ่าย เพื่อบันทึกควบคุมการจ่ายเงินสดและการจ่ายเงินจากบัญชี เงินฝากธนาคารหรื อ ั ้ การโอนเงินจากบัญชี เงิ นฝากธนาคารของกองทุนให้กบผูรับหรื อผูมีสิทธิ คาอธิ บายการบันทึก ้ รายการในสมุดบัญชีรายจ่ายกองทุน 1 ล้านบาท วิธีการทาบัญชี กองทุน สาหรับกิ จกรรมเงิ นออมของสมาชิ กกองทุน การจัดทาบัญชี อย่างน้อยต้องมีสมุดบัญชี ทะเบียน และรายงานที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. สมุ ด บั ญชี เป็ นสมุ ดบัญชี ที่ ใ ช้บนทึ กรายละเอี ย ดการรั บ และการจ่ า ยเงิ นกองทุ น ั ประกอบด้วย 1.1 สมุดบัญชีรายรับกองทุน (เงินออม) การรับเงินทุกกรณี จะต้องนามาลงบัญชีในสมุด บัญชีรายรับเพื่อบันทึกควบคุมการรับเงินทุกประเภทเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ 1.2 สมุดบัญชี รายจ่ายกองทุน (เงินออม) การจ่ายเงินทุกกรณี ท่ีจ่ายจากกองทุนเงินออม จะต้องนามาลงบัญชี ในสมุ ดบัญชี รายจ่าย เพื่อบันทึกควบคุ มการจ่ายเงิ นสดและการจ่ายเงิ นจาก ั ้ บัญชีเงินฝากธนาคารหรื อการโอนเงินจากบัญชีเงินฝากธนาคารของกองทุนให้กบผูรับหรื อผูมีสิทธิ ้ 2. ทะเบียน ประกอบด้ วย 2.1 ทะเบียนคุมคาขอกู้ ใช้บนทึกรายละเอียดเกี่ ยวกับจานวนผูที่มายื่นคาขอกู้ (ตามแบบที่คณะกรรมการกองทุน ั ้ หมู่บานกาหนด) เพื่อสรุ ปลงเงินที่ขอกูและวงเงินที่คณะกรรมการกองทุนอนุ มติให้กูในแต่ละเดือน ้ ้ ั ้ แต่ละปี
  • 10. 99 2.2 ทะเบียนคุมลูกหนี้รายตัว ้ ใช้บนทึกควบคุมลูกหนี้เงินกูรายตัว เพื่อประโยชน์ในการควบคุมและติดตามหนี้ โดยแสดง ั ้ รายละเอียดต่างๆ ของลูกหนี้ เช่ นวงเงินกูการรับชาระหนี้ และยอกเงินคงเหลือ ทั้ง 2 ทะเบียน ้ ข้างต้น ให้ใช้รูปแบบและวิธีการบันทึกคุมลูกหนี้ เช่นเดียวกันทั้งที่เป็ นการกูจากเงินกงองทุน 1 ล้าน บาท หรื อจากกองทุนเงินออมของสมาชิก คาอธิ บายวิธีการบันทึกทะเบียนคุมคาขอกู้ กองทุนหมูบานสันป่ าเหี ยง หมู่ที่ 13 ่ ้ ทะเบียนคุมลูกหนี้รายตัว ชื่อ........................................................................ที่อยู.่ .......................................................... ............................................................................................................................................... เลขที่บญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ เลขที่............................................................ ั ชื่อผูคาประกัน (ถ้ามี)..................................................ที่อยู.่ .................................................. ้้ ...............................................................................................................................ทรัพย์สินที่ใช้ค้ า ประกัน(กรณี คาประกันด้วยทรัพย์สิน)................................................. ้ สัญญากูยมเลขที่……...............................ลงวันที่...........................จานวนกู.้ .........................บาท ้ื เริ่ มชาระหนี้งวดแรกวันที่...........................ผ่อนชาระ...............เดือน เดือนละ…...........บาท อัตรา ดอกเบี้ยร้อยละ....................../ดอกเบี้ยเดือนละ.....................ค่าปรับร้อยละ................ ู ้ ู้ รายการจ่ายให้ผกและรับชาระหนี้ รับชาระหนี้ คงค้าง ว.ด.ป ที่ จ่าย เงิน ดอกเบี้ย ค่าปรับ รวม เงิน ดอกเบี้ย ค่าปรับ รวม หมาย เอกสาร ให้กู้ ต้น ต้น เหตุ
  • 11. 100 2.3 ทะเบียนคุมเงินฝากสัจจะ/ค่าหุ น/เงินรับฝาก รายตัว ้ ใช้บนทึ กควบคุ ม เงิ นสดที่ สมาชิ ก นามาฝากไว้กบ กองทุ นหมู่บ ้า นเพื่ อเป็ นเงิ นออมตาม ั ั เงื่อนไขที่คณะกรรมการกองทุนกาหนดเพื่อประโยชน์ในการควบคุมและตรวจสอบกับยอดเงินฝาก ธนาคาร และการจ่ายคืนให้แก่สมาชิก 2.4 ทะเบียนคุมทรัพย์สินที่รับเป็ นค่าหุ น/บริ จาค ้ ใช้บนทึกรายละเอียดทรัพย์สินที่สมาชิ ขอชาระเป็ นค่าหุ นแทนเงินแต่จะไม่มีการบันทึกรับ ั ้ ในสมุดราบรับจนกว่าจะมีการจาหน่ายทรัพย์สินนั้นจริ งๆ หรื อทรัพย์สินที่ได้จากการรับบริ จาคโดย ปราศจากภาระผูกพัน รายการงบการเงิน ประกอบด้วย 1. รายงานรายได้ค่าใช้จ่าย ประจาเดือน/ประจาปี เป็ นรายงานที่แสดงผลการดาเนินงาน 2. รายงานงบดุล ประจาเดือน/ประจาปี เป็ นรายงานที่แสดงฐานะการเงินของกองทุน ณ วัน ใดวันหนึ่ง พร้อมรายละเอียดประกอบงบดุล รายงานทั้ง 2 รายงาน ให้จดทาแยกชุด สาหรับ กิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท และกิจกรรม ั เงินออมของสมาชิก เพื่อส่ งธนาคารออมสิ น / ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์กิจกรรมละ 1 ชุด และเก็บรักษาไว้ที่สานักงาน 1 ชุด หมู่บ้าน บ้ านสันป่ าเหียง หมู่ที่ 13 รายงานรายได้ค่าใช้จ่าย สิ้นสุด ณ วันที่ 31 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2552 สาหรับกิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท รายได้ ู้ ื ดอกเบี้ยจากการให้กยม 69,900.00 บาท ค่าปรับ 0 ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร 302.19 รายได้อื่น ๆ 0 รวมรายได้ 70,202.19 ค่ าใช้ จ่าย ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน ( ถ้ามี ) 0 ดอกเบี้ยจ่าย 0 ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ 0 รวมค่ าใช้ จ่าย 0 รายได้ สูง ( ตา ) กว่ าค่ าใช้ จ่ายสุ ทธิ ่ 70,202.19
  • 12. 101 คาอธิบายการจัดรายงานรายได้ ค่าใช้ จ่าย สาหรับกิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท 1. รายได้ ให้เก็บยอดรวมจากสมุดบัญชี รายรับกองทุน 1 ล้านบาท “ประเภทรายรับ” ทุก ช่อง ไปแสดงไว้ในรายงาน ยกเว้น ช่อง รับเงินจัดสรรช่องจานวนผูกู้ และช่องเงินต้น ้ 2. ค่าใช้จ่าย ให้เก็บยอดรวมจากสมุดบัญชี รายจ่ายกองทุน 1 ล้านบาท “ประเภทรายจ่าย” ทุกช่อง ไปแสดงไว้ในรายงาน ยกเว้นจ่ายให้กู้ และช่องจานวนผูกู้ ้ 3. นายอดรวมของรายได้ตามข้อ 1 หักด้วย ยอดรวมของค่าใช้จ่าย ตามข้อ 2 ตามแบบ รายงานในหน้าถัดไป ผลต่างของรายได้และค่าใช้จ่ายจะแสดงถึ งผลการดาเนิ นงานว่ามีรายได้สูง กว่าค่าใช้จ่าย หรื อ รายได้ต่ากว่าค่าใช้จ่ายซึ่ งในกรณี ทีมี่รายได้ต่ากว่าจะต้องแสดงตัวเลข ให้อยูใน ่ วงเล็บ เพื่อแสดงผลขาดทุน หมู่บ้าน บ้ านสันป่ าเหียง หมู่ที่ 13 งบดุล สิ้นสุด ณ วันที่ 31 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2552 สาหรับกิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท สินทรัพย์ เงินสด 0 บาท เงินฝากธนาคาร 265,945.91 ลูกหนี้ 1,200,000.00 รวมสินทรัพย์ 1,465,945.91 หนีสินและทุน ้ เงินกองทุนหมูบาน่ ้ 1,300,000.00 รายได้สูง ( ต่า ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม 165,945.91 รวมหนีสินและทุน ้ 1,465,945.91 รายละเอียดประกอบงบดุล ( กิจกรรมกองทุน 1 ล้ านบาท ) ประจาเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2552 1 เงินสด บาท ยอดยกมา 0 บวก รวมรับเดือนนี้ 0 หัก รวมจ่ายเดือนนี้ 0 คงเหลือยกไป 0 2 เงินฝากธนาคาร ยอดยกมา 86,855.72 บวก รวมรับเดือนนี้ 1,435,202.19 รวมรับ 1,522,057.91
  • 13. 102 หัก รวมจ่ายเดือนนี้ 1,256,112.00 คงเหลือยกไป 265,945.91 3 ลูกหนี้ ยอดยกมา 1,165,000.00 บวก รวมจ่ายเดือนนี้ 1,200,000.00 รวมจ่าย 2,365,000.00 หัก รวมรับเดือนนี้ 1,165,000.00 คงเหลือยกไป 1,200,000.00 3.1 จานวนลูกหนี้ ณ ต้นเดือน 67 ราย ให้กเู้ ดือนนี้ 67 ราย ชาระเงินครบแล้ว ( ถ้ามี ) 67 ราย ณ สิ้นเดือน 67 ราย 4 รายได้ สูง ( ตา ) กว่ าค่ าใช้ จ่ายสะสม ่ ยอดยกมา 95,743.72 รายได้สูง ( ต่า ) กว่าค่าใช้จ่ายเดือนนี้ ( ผลกาไร ) 70,202.19 ยอดยกไป 165,945.91 การจัดทารายละเอียดประกอบงบดุล กิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท ยอดยกมาเดือนก่อน ของ เงินสด เงินฝากธนาคารและลูกหนี้ เก็บยอดมาจากงบดุล เดือนก่อน ยอดรวมรับเดือนนี้ เก็บมาจากสมุดบัญชีรายรับ ช่องเงินสด ช่องเงินฝากธนาคารและช่อง ลูกหนี้ ยอดรวมจ่ ายเดือนนี้ เก็บมาจากสมุดบัญชีรายจ่าย ช่องเงินสด ช่องเงินฝากธนาคารและช่อง ลูกหนี้ สาหรับจานวนรายของลูกหนี้ให้แสดงแยกเป็ น ลูกหนี้ ณ วันต้ นเดือน เก็บยอดมาจากรายละเอียดประกอบงบดุล เดือนก่อนจานวนลูกหนี้ ณ สิ้ นเดือน ลูกหนีให้ ก้ ู เดือนนี้ เก็บยอดจากสมุดบัญชีรายจ่าย ช่องจานวนผูกู้ ้ ้ ้ ู้ ลูกหนี้ ณ วันสิ้นเดือน เก็บยอดจานวนผูกจากทะเบียนคุมลูกหนี้รายตัวที่คงค้างชาระ รายได้ สูง (ต่า) กว่ าค่ าใช้ จ่ายสะสม เป็ นการแสดงยอดรายได้สูง (ต่า)กว่าค่าใช้จ่ายสะสมยก มาจากเดื อนก่อนบวกรายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายหรื อหักรายได้ท่ีต่ ากว่าค่าใช้จ่ายซึ่ งเก็บยอดสุ ทธิ จาก รายงานรายได้ค่าใช้จ่าย
  • 14. 103 การควบคุมตรวจสอบความถูกต้ องของการทาบัญชี คณะกรรมการกองทุน ควรตรวจสอบความถูกต้องของการทาบัญชี ทั้ง 2 กิ จกรรม (กิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท และกิจกรรมเงินออมของสมาชิ กกองทุน) เป็ นระยะๆ อย่างสม่าเสมอ และควบคุมดู แลการจัดเก็บเอกสารที่เกี่ ยวข้องกับการรั บและการจ่ายเงิ นทุ กประเภทให้ครบถ้วน และเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยเพื่อความสะดวกในการค้นหา และตรวจสอบ 1. การตรวจสอบความถูกต้ องของยอดเงินคงเหลือ คณะกรรการกองทุนสามารถทราบความเคลื่อนไหวของเงินกองทุน ณ วันใดวันหนึ่งได้ จากสมุดบัญชีรายรับและสมุดบัญชีรายจ่าย และควรตรวจสอบความถูกต้องของการลงบัญชี อย่าง ่ สม่าเสมอ รวมทั้งสามารถตรวจสอบได้วาเงิ นคงเหลือในสมุดบัญชี รายรับและสมุดบัญชี รายจ่าย กับเงินคงเหลือที่เป็ นเงินสดในมือกับสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร (สมุดคู่ฝาก) ตรงกันหรื อไม่ทุกวัน วิธีตรวจสอบ ตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกรายการในสมุดบัญชีรายรับได้ดงนี้ ั - จานวนเงินในช่อง “เงินสด” และ “เงินฝากธนาคาร” แต่ละวันหรื อแต่ละเดือน เมื่อรวมกัน แล้วจะต้องเท่ากับยอดรวมรายรับ และยอดรวมรายรับต้องเท่ากับช่องรายรับทุก ประเภทรวมกัน ยกเว้นช่องจานวนผูกู้ ้ - หากตรวจสอบแล้วยอดไม่เท่ากัน ให้ตรวจสอบความถูกต้องของการลงบัญชีในสมุดบัญชี ่ รายรับทุกครั้งที่มีการรับรายรับไม่วาจะเป็ นเงินสด หรื อเงินฝากธนาคารจะต้อง ลงบัญชี 3 ช่อง เช่น ้ื การรับชาระคืนเงินกูยมจะต้องลงบัญชี ช่อง “เงินฝากธนาคาร” 1 ช่อง และต้องแสดงประเภทรายรับ ในช่อง “ประเภทรายรับ” คือ ช่อง “เงินต้น” “ดอกเบี้ ย” “ค่าปรับ(ถ้ามี)” รวมเป็ น 1 ช่องและช่อง “รวมรายรับ” อีก 1 ช่ อง ดังนั้นหากลงบัญชี รายการใดรายการหนึ่ งไม่ครบถ้วนก็จะสามารถ ตรวจสอบหาข้อผิดพลาด และดาเนินการให้ถูกต้องได้ ตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกรายการในสมุดบัญชีรายจ่าย ณ สิ้ นวันหนึ่งๆ โดย - จานวนเงินในช่อง “เงินสด” และ “เงินฝากธนาคาร” แต่ละวันหรื อแต่ละเดือนเมื่อรวมกัน แล้วจะต้องเท่ากับยอดรวมรายจ่ายและยอดรวมรายจ่ายต้องเท่ากับช่องรายจ่าย ทุกประเภทรวมกัน ยกเว้นช่องจานวนผูกู้ ้ - หากตรวจสอบแล้วยอดไม่เท่ากัน ให้ตรวจสอบความถูกต้องของการลงบัญชีในสมุดบัญชี ่ รายรับทุกครั้งที่มีการรับรายจ่ายไม่วาจะเป็ นเงินสดหรื อเงินฝากธนาคาร จะต้อง ลงบัญชี 3 ช่อง เช่น ้ื ู ้ ู้ ู้ การจ่ายชาระคืนเงินกูยมให้ผกที่ได้รับอนุมติให้กจากมติ คณะกรรมการกองทุนแล้ว จะต้องลงบัญชี ั ช่อง “เงินฝากธนาคาร” 1 ช่อง และต้องแสดงประเภทรายจ่ายในช่อง “ประเภทรายจ่าย” คือ อีก 2 ช่อง คือ ช่อง “จ่ายให้กยม” ู้ ื
  • 15. 104 และช่อง “รวมรายจ่าย ดังนั้นหากลงบัญชีรายการใดรายการหนึ่งไม่ครบถ้วนก็จะสามารถตรวจสอบ หาข้อผิดพลาดและดาเนินการให้ถูกต้องได้ ตรวจสอบยอดคงเหลือ ณ สิ้นวันโดย - นาช่อง “เงินสด” ในสมุดบัญชีราบรับหักด้วย ช่อง “เงินสด” ในสมุดบัญชีรายจ่ายยอด คงเหลือจะต้องเท่ากับเงินสดในมือ - นาช่อง “เงินฝากธนาคาร” ในสมุดบัญชีรายรับหักด้วย ช่อง “เงินฝากธนาคาร” ในสมุด บัญชีรายจ่ายยอดคงเหลือจะต้องเท่ากับยอดในสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร (สมุดคู่ฝาก) การตรวจสอบตามวิธีดังกล่ าวข้า งต้นหากปรากฏว่ามี ก ารบันทึ กรายการครบถ้วน แต่ ยอดเงินคงเหลือยังไม่ตรงกันให้ตรวจสอบหลักฐานการรับและจ่ายเงิน ณ วันนั้น ทุกฉบับกับสมุด ่ บัญชี วามีการนาหลักฐานมาบันทึกรายการครบถ้วนหรื อไม่ นอกจากนั้น ให้ตรวจสอบยอดเงินใน สมุดบัญชี เงินฝากธนาคารว่าได้นาไปให้ ธนาคารปรับยอดเงิ นให้ถูกต้องเป็ นปั จจุบนตรงกับวันที่ ั ตรวจสอบยอดกับยอดคงเหลือในสมุดบัญชีรายรับรายจ่ายหรื อไม่ ตรวจสอบความถูกต้ องของการทางานรายงาน ให้ตรวจสอบตามขั้นตอนและวิธีการทารายงานแต่ละประเภทในหัวข้อการทาบัญชีและรายงาน 2. เอกสารที่เกียวข้ องกับการรับและการจ่ ายเงิน ่ เอกสารการรับและการจ่ายเงินเป็ นเอกสาระสาคัญ เนื่ องจากเป็ นหลักฐานที่แสดงว่าได้มี การรับ และจ่ายเงินแล้ว ดังนั้น จึงต้องมีวธีการจัดเก็บที่ถูกต้องครบถ้วน เป็ นระเบียบ เพื่อให้สะดวก ิ ในการค้นหา และตรวจสอบ และจะต้องเก็บไว้ในที่ที่ปลอดภัยโดยให้เก็บแยกเป็ นหมวดหมู่ ดังนี้ สัญญากูเ้ งินและคาขอกู้ ควรเก็บเข้าแฟ้ มเรี ยงตามลาดับวันหรื อที่ หรื อเลขที่ของเอกสาร สาเนาใบเสร็ จรับเงิน และสาเนาใบสาคัญจ่ายเก็บเรี ยงตามเลขที่ เล่มที่ แยกแฟ้ ม หลักฐาน รับ-จ่ายหากเป็ นไปได้ เมื่อผูรับผิดชอบการทาบัญชี ได้มี การนาไปบันทึกรายการในสมุดบัญชีแล้ว ้ ควรมีการบันทึกว่า “ลงบัญชีแล้ว” พร้อมลงลายมือชื่ อและลงวันที่กากับไว้ดวย เพื่อจะได้ทราบว่ามี ้ การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแล้ว ใบเสร็ จรับเงินจากบุคคลภายนอก (ถ้ามี) เก็บเรี ยงตามลาดับวันที่ที่มีการจ่ายเงิน และต้อง เก็บแยกแฟ้ มสาเนาใบเสร็ จรับเงินและแฟ้ มสาเนาใบสาคัญจ่ายและมีการบันทึกว่าลงบัญชี ” พร้อม ลงลายมือชื่อและวันที่กากับไว้ดวย ้ สาเนาหนังสื อแจ้งธนาคารให้โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผูกที่ได้รับอนุมติให้กู้ ้ ู้ ั ตามมติคณะกรรมการกองทุนเก็บเรี ยงตามลาดับวันที่ ดังตัวอย่างข้างล่างนี้
  • 16. 105 กองทุนหมู่บ้าน/ชุมชน....บ้ านสันป่ าเหียง...... ้ ู ้ ู้ ่ ้ หนังสื อสังจ่ายเงินกูและโอนเงินเข้าบัญชีผกกองทุนหมูบาน/ชุมชน ่ ่ บ้าน/ชุมชน บ้านสันป่ าเหี ยง หมูที่ 13 ตาบลห้วยสัก อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย วันที่ 24 ธันวาคม 2552 ที่ทาการกองทุนหมู่บานสันป่ าเหียง หมู่ 13 ้ เรื่ อง ขอความร่ วมมือในการจ่ายเงินกู้ และโอนเงินกูเ้ ข้าบัญชีผกู้ ู้ เรี ยน ผูจดการธนาคารออมสิ นสาขาเชียงราย ้ั สิ่ งที่ส่งมาด้วย รายชื่อผูกเู้ งินของกองทุนหมู่บาน.....ตามเอกสารรายชื่อที่แนบมาด้วย................. ้ ้ ่ ้ ่ ้ ั ด้วยกองทุนหมูบาน/ชุมชน...บ้านสันป่ าเหี ยง...หมูที่..13...ได้มีมติ อนุมติเงินกูให้กบสมาชิกของ ั กองทุน เป็ นจานวนเงิน.....1,200,000-......บาท ( หนึ่งล้านสองแสนบาทถ้วน ) ่ ้ ดังนั้น จึงขอความร่ วมมือจากทางธนาคารถอนเงินจากบัญชีเงินฝากกองทุนหมูบาน / ชุมชน เลขที่บญชี.........05056165705-2.................ชื่อบัญชี.......... กองทุนหมู่บานสันป่ าเหี ยง หมู่ที่ 13................... ั ้ จานวน.....................1,200,000- ..................บาท (.................... หนึ่งล้านสองแสนบาทถ้วน....................... ) เข้าบัญชีเงินฝากของสมาชิก จานวน....... 67....... ราย ในวันที่...... 24 ธันวาคม 2552 ...... เพื่อนาไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ ต่อไป จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาดาเนินการ ขอแสดงความนับถือ ....................................................................... ....................................................................... ( พ.จ.อ.สนชัย สุริยะวงค์ ) ( นางจันทร์สุย เพียรดารงศักดิ์ ) ่ ้ ตาแหน่ง...ประธานกองทุนหมูบาน ตาแหน่ง...รองประธานกองทุนหมู่บาน ้ ผูมีอานาจถอนเงินฝาก ้ ผูมีอานาจถอนเงินฝาก ้ สาหรับธนาคาร ................................................. ................................................. ................................................. (.................................................) (.................................................) (.................................................) .............../................./............. .............../................./............. .............../................./............. ผูบนทึกบัญชี ้ ั ผูตรวจ ้ ผูอนุมติ ้ ั ู ้ ู้ หนังสื อจากธนาคารแจ้งการโอนเงินให้แก่ผกตามระละเอียดที่คณะกรรมการกองทุนแจ้ง ธนาคารเก็บเรี ยงตามลาดับวันที่ ที่ได้รับแจ้งเพื่อตรวจสอบกับสาเนาหนังสื อแจ้งธนาคาร
  • 17. 106 ้ ู้ ู้ หนังสื อแจ้งธนาคารให้โอนเงินเข้าบัญชี เงินฝากธนาคารของผูกที่ได้รับอนุมติให้กตามมติ ั คณะกรรมการกองทุน เก็บเรี ยงตามลาดับวันที่ดงตัวอย่างข้างล่างนี้ ั กองทุนหมู่บ้าน/ชุมชน........บ้ านสันป่ าเหียง........ ้ หนังสื อแจ้งความประสงค์การชาระคืนเงินกูสมาชิกกองทุนหมูบาน/ชุมชน ่ ้ หมูบาน/ชุมชน.....บ้านสันป่ าเหียง ....หมู่ที่....13.....ตาบลห้วยสัก...... ่ ้ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย วันที่ 22 ธันวาคม 2552 ที่........................................... เรื่ อง การชาระคืนเงินกู้ เรี ยน ผูจดการธนาคารออมสิ นสาขาเชียงราย กลางเวียง ้ั ่ ้ ้ ด้วยกองทุนหมูบาน/ชุมชน....บ้านสันป่ าเหี ยง...............ได้รับชาระคืนเงินกูจากสมาชิก จานวน.....67.....ราย เป็ นเงินจานวน.......1,234,900.....บาท (..หนึ่ งล้านสองแสนสามหมื่นสี่ พนเก้าร้อยบาทถ้วน... ) ั เงินต้น จานวน....................1,165,000.............บาท ดอกเบี้ย จานวน..........................69,900.............บาท ่ ้ ดังนั้น จึงขอความร่ วมมือจากธนาคารรับเงินเพื่อโอนเข้าบัญชีกองทุนหมูบาน/ชุมชน บ้านสันป่ าเหี ยง เลขที่บญชี......05056165705-2.....จานวนเงิน....1,234,900..........บาท ั (..หนึ่ งล้านสองแสนสามหมื่นสี่ พนเก้าร้อยบาทถ้วน.. ) และได้แนบใบบัญชีรายชื่อผูชาระคืนเงิน ั ้ ้ กูมาพร้อมแล้ว จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาดาเนินการ ขอแสดงความนับถือ ( ...................................................................... ) ประธานกรรมการกองทุนหมู่บาน/ชุมชน..บ้านสันป่ าเหี ยง ้ สาหรับธนาคาร ธนาคารได้ โอนเงินเข้ าบัญชีเลขที่ .............................................................. เป็ นเงิน..........................................บาท แล้ว ............................................................. ผูรับมอบอานาจ ้ ............/......................./.....................
  • 18. 107 3. การยกยอดคงเหลือไปควบคุมในปี ต่ อไป เมื่อสิ้ นปี ให้ปิดบัญชี ในสมุดบัญชีในสมุดบัญชี รายรับ และสมุดบัญชี รายจ่ายเพื่อทางบ รายได้ ค่ าใช้จ่ายประจาปี และงบดุ ล ส่ งให้ผูตรวจสอบบัญชี ที่คณะกรรมการกองทุ นแต่งตั้ง ้ ตรวจสอบและรับรองงบแล้ว ในปี ถัดไปจะต้องยกยอดคงเหลือในสมุดบัญชีรายรับและสมุดบัญชี รายจ่ายไปตั้งเป็ นยอดยกมาดังนี้ กิจกรรมกองทุน 1 ล้านบาท ยอดยกมาในสมุดบัญชีรายรับ คือ เงินสด(ถ้ามี) เงินฝากธนาคาร เงินรับจัดสรรจากคณะกรรมการ ยอดยกมาในสมุดบัญชี รายจ่าย คือ ้ ้้ ้ จ่ายให้กูยืมและจานวนผูกูดวย กิจกรรมเงินออมของสมาชิ กกองทุน ยอดยกมาในสมุดบัญชีรายรับ คือ เงินสด (ถ้ามี) เงินฝากธนาคาร เงินรับฝาก ค่าหุ ้น ยอดยกมาในสมุดรายวันจ่าย คือจ่ายให้กู้ และ ้ ู้ ้ จานวนผูกดวย วิธีการตรวจสอบ ทั้ง 2 กิจกรรม - เงินสดและเงินฝากธนาคาร ยอดคงเหลื อยกมาจะต้องเท่ากับยอดรวมตั้งแต่ตนปี จนถึ ง ้ เดือนธันวาคม (31 ธันวาคม) ในสมุดบัญชี รายรับหักด้วยยอดรวมตั้งแต่ตนปี จนถึงเดือนธันวาคม ้ (31 ธันวาคม) ในสมุดบัญชีรายจ่าย และเท่ากับยอดที่แสดงในงบดุล - เงินรับจัดสรรจากคณะกรรมการ เงินฝากสัจจะ เงินรับฝาก ค่าหุ ้น ยอดคงเหลือยกมา คือ ยอดรวมตั้งแต่ตนปี จนถึงเดือนธันวาคม (31 ธันวาคม) ในสมุดบัญชีรายรับ และเท่ากับยอดที่แสดง ้ ในงบดุล ้ - เงินจ่ายให้กูยืม คงเหลือยกมาจะต้องเท่ากับยอดรวมตั้งแต่ตนปี จนถึงเดือนธันวาคม (31 ้ ้ ธันวาคม) ในสมุดบัญชี รายจ่าย ช่อง “จ่ายให้กูยืม” หักด้วย ยอดรวมตั้งแต่ตนปี จนถึงเดือนธันวาคม ้ (31 ธันวาคม) ในสมุดบัญชีรายรับ ช่อง “รับคืนเงินกูยม” ้ื กองทุนหมู่บ้านนิติบุคคล เอกสารที่ตองจัดทา้ 1. แบบคาขอจดทะเบียน (แบบ กทบ.นิติบุคคล) เงื่อนไข : จะเป็ นโลโก้สี (ฉบับจริ ง) หรื อ จะถ่ายเอกสารก็ได้ ให้ยึดแบบตามหนังสื อเล่มสี เขียวและในการกรอกข้อมูลในแบบจะพิมพ์หรื อ เขียนตัวบรรจงก็ได้ ส่ วนรหัสกองทุนที่จะกรอก หากไม่ทราบขอให้ ดูที่สานักงานพัฒนาชุ มชน อาเภอเมืองสรวง ผูลงนามในแบบจะต้องมีการมอบหมายในที่ประชุม และมีชื่อปรากฏในบันทึก ้ การประชุม 2. สาเนาสมุดบัญชี เงินฝากธนาคารที่ได้ รับโอนเงิน 1 ล้ านบาท และบัญชี เงินฝากอื่นๆ ( บัญชี ล้านที่ 1 บัญชี ล้านที่ 2 , บัญชี เงินออม ) เงื่อนไข : ให้ถ่ายสาเนาทุกบัญชี และทุกหน้าที่มีเงิน เข้าออกพร้อมรับรองสาเนาถูกต้องทุกหน้า (หากกองทุนใดไม่มีบญชี ออมทรัพย์จะไม่สามารถจด ั ทะเบียนนิติบุคคลได้)