SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 50
Baixar para ler offline
คู่มือภาษีอากร
“ธุรกิจก้าวหน้า ร้านขายยาสู่สากล”
สานักมาตรฐานการสอบบัญชีภาษีอากร
กรมสรรพากร
กันยายน 2559
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
คานา
ด้วยปัจจุบันผู้ประกอบการร้านขายยาหลายราย มีความประสงค์จะปรับสถานะจากบุคคลธรรมดา
เป็นนิติบุคคล เพื่อให้มีการจัดทาบัญชีและการเสียภาษีอากรเป็นไปอย่างมีระบบ ถูกต้องครบถ้วน และ
เป็นมาตรฐานเดียวกันในกลุ่มธุรกิจ ซึ่งจาเป็นต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการโอนกิจการ การจัดตั้ง
นิติบุคคล ความรู้ทางธุรกิจ การจัดทาบัญชี และการปฏิบัติหน้าที่ทางภาษีที่เกี่ยวข้องกับกิจการ
กรมสรรพากรจึงได้จัดทาคู่มือภาษีอากร “ธุรกิจก้าวหน้า ร้านขายยาสู่สากล” เพื่อเสริมสร้าง
ความเข้าใจแก่กิจการร้านขายยา ให้สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องครบถ้วนทั้งในทางบัญชีและทางภาษีอากร
ตามแต่ละกิจกรรมของธุรกิจ ทั้งนี้เนื้อหาส่วนใหญ่ตามคู่มือนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อมุ่งแก้ปัญหาตามลักษณะ
การดาเนินธุรกิจของกิจการร้านขายยา ซึ่งกรมสรรพากรได้ศึกษาจากประเด็นคาถามของผู้ประกอบการ
ร้านขายยาทั่วประเทศที่ทางสมาพันธ์พัฒนาคุณภาพร้านยาแห่งประเทศไทย (สพย.) ได้รวบรวมให้ไว้
จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
กรมสรรพากรหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือนี้จะเป็นประโยชน์ต่อกิจการร้านขายยาและผู้สนใจ ต่อไป
กรมสรรพากร
กันยายน 2559
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
สารบัญ
หน้า
1. การปรับตัวของผู้เสียภาษีสู่การบริหารจัดเก็บภาษีอากรยุคใหม่ของกรมสรรพากร
1.1 Digital Economy 1
1.2 ระบบการชาระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ 1
1.3 ธุรกรรมโปร่งใสตามกฎหมายป้องกันการฟอกเงิน 3
2. กิจกรรมหลักของร้านขายยา 4
3. รายได้และรายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับกิจการร้านขายยา 10
4. รูปแบบการประกอบกิจการ 12
5. การเสียภาษีอากร
5.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 12
5.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 14
5.3 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 15
5.4 ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 21
6. กรณีศึกษาการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล 22
7. การเปลี่ยนผ่านจากบุคคลธรรมดาเป็นนิติบุคคล
7.1 ประโยชน์ที่ได้รับ 27
7.2 การเลือกรูปแบบธุรกิจเป็นนิติบุคคล 29
7.3 หน้าที่ในการจัดทาบัญชีของนิติบุคคล 30
7.4 วิธีการโอนกิจการ 31
7.5 ภาระภาษีของผู้โอน 33
8. ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นของร้านขายยา
8.1 ด้านรายได้ 34
8.2 ด้านรายจ่าย 36
8.3 ด้านสินค้าคงเหลือ 40
8.4 ด้านการออกใบกากับภาษี 42
9. สิทธิประโยชน์ทางภาษี
9.1 การขายสินค้าในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ 42
9.2 รายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าจ้างให้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับบัญชี 44
9.3 รายจ่ายที่ได้จ่ายไปเพื่อการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม 44
9.4 ค่าใช้จ่ายในการอบรมพนักงาน 45
9.5 รายจ่ายเพื่อการลงทุนในทรัพย์สิน 46
- 1 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
คู่มือภาษีอากร
“ธุรกิจก้าวหน้า ร้านขายยาสู่สากล”
1. การปรับตัวของผู้เสียภาษีสู่การบริหารจัดเก็บภาษีอากรยุคใหม่ของกรมสรรพากร
1.1 Digital Economy
เศรษฐกิจดิจิทัล หรือ “Digital Economy” คือการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศให้ทันกับโลก
ในยุคปัจจุบัน โดยการนาเอาเทคโนโลยีและดิจิตอลเข้ามาใช้ ประกอบด้วย
(1) Knowledge Economy หรือเศรษฐกิจบนพื้นฐานของความรู้ที่ถูกวางให้มีการพัฒนาโดย
อาศัยความรู้ความสามารถที่เพิ่มขึ้นของบุคลากร
(2) Creative Economy การพัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ ที่มีเป้าหมายในการ
เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจด้วยการเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการผ่านทางนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์
1.2 ระบบการชาระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ
National e-Payment มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาระบบการชาระเงินของประเทศไทยให้สามารถ
รองรับธุรกรรมทางการเงินและกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment)
อย่างครบวงจร โดยเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2558 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบหลักการแผนยุทธศาสตร์
National e-Payment Master Plan ประกอบด้วย แผนงานสาคัญ 5 โครงการ ดังต่อไปนี้ ซึ่งเป็นหนึ่งใน
นโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจภาคการเงินที่จะช่วยขับเคลื่อนทุกภาคส่วนของประเทศก้าวสู่ความเป็น
Digital Economy
- 2 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
(1) โครงการที่ 1ระบบการชาระเงินแบบ AnyID(นานานาม)หรือปัจจุบันเรียกว่าPromptPay(พร้อมเพย์)
พัฒนาระบบการชาระเงินกลางของประเทศ ให้สามารถรองรับการโอนเงินระหว่างสถาบันการเงิน
โดยเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการโอนเงินหรือชาระเงินในปัจจุบันที่ใช้หมายเลขบัญชีธนาคาร ซึ่งมีตัวเลข
หลายหลักทาให้ยากต่อการจดจาและการสื่อสาร เปลี่ยนเป็นการชาระเงินหรือโอนเงินในระบบ Any ID ที่ทาได้
โดยใช้หมายเลขอื่นที่ผู้รับโอนได้ลงทะเบียนไว้กับสถาบันการเงิน ได้แก่ เลขบัตรประจาตัวประชาชน
หมายเลขโทรศัพท์มือถือ หมายเลขกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Wallet ID) เลขที่บัญชีธนาคาร หรือ
e-mail address เป็นรหัสผ่านในการชาระเงินหรือโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่ต้องใช้เงินสด
โครงการระยะแรก เริ่มในวันที่ 15 กรกฎาคม 2559 เป็นวันแรกที่ให้ประชาชนทั่วไป
ลงทะเบียน Any ID ผูกเลขที่บัญชีธนาคารกับหมายเลขโทรศัพท์มือถือ หรือเลขบัตรประจาตัวประชาชน
“1 บัญชีต่อ 1 หมายเลข” และวันที่ 1 มกราคม 2560 เป็นต้นไป กรมสรรพากรจะคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ผ่านระบบ Any ID
(2) โครงการที่ 2 การขยายการใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์
ส่งเสริมการใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีค่าธรรมเนียมต่าเพื่อทดแทนการใช้เงินสด ผ่านจุดรับชาระเงิน
ที่มีอุปกรณ์รับชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ที่หลากหลาย เช่น เครื่อง Electronic Data Capture (EDC)
เครื่องรูดบัตรมือถือ (Mobile Point of Sale (MPOS)) Mobile Application เป็นต้น ซึ่งในส่วนภาครัฐ
จะใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือในการจ่ายเงินสวัสดิการให้แก่ประชาชนโดยตรง และใช้เป็นช่องทาง
ในการส่งข้อมูลการซื้อขายและข้อมูลภาษีไปยังกรมสรรพากร
(3) โครงการที่ 3 ระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
พัฒนาการจัดทาและนาส่งข้อมูลใบกากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Tax Invoice) และใบเสร็จรับเงิน
อิเล็กทรอนิกส์ (e-Receipt) เพื่ออานวยความสะดวกและลดขั้นตอนในการจัดทาและการนาส่งรายงาน
ซึ่งจะแล้วเสร็จพร้อมใช้งานในเดือนมกราคม 2560 โดยกาหนดเวลาบังคับใช้ระบบ e-Tax Invoice ดังนี้
ผู้ประกอบการ ขนาดรายได้ เข้าระบบ e-Tax Invoice
ขนาดใหญ่ > 500 ล้านบาท
ภายใน 31 ธันวาคม 2560
ขนาดกลาง มากกว่า 30 ล้านบาท ถึง 500 ล้านบาท
ขนาดเล็ก มากกว่า 1.8 ล้านบาท ถึง 30 ล้านบาท ภายใน 31 ธันวาคม 2562
ขนาดไมโคร 1.8 ล้านบาท ภายใน 31 ธันวาคม 2564
จากการประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2559 ที่ผ่านมา คณะรัฐมนตรีมีมติ
อนุมัติหลักการร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่...) พ.ศ. …. เพื่อรองรับระบบภาษี
และเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการชาระเงิน
แบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment Master Plan) ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และให้ส่ง
สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล้วส่งให้คณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติพิจารณา ก่อนเสนอสภานิติบัญญัติแห่งชาติต่อไป โดยจะช่วยสนับสนุนในการอานวยความสะดวก
ลดขั้นตอน และลดต้นทุนการเสียภาษีของผู้มีหน้าที่เสียภาษี รวมทั้งการพัฒนาระบบการชาระเงินของ
ประเทศไทยให้เป็นแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) อย่างครบวงจร
- 3 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
(4) โครงการที่ 4 e-Payment ภาครัฐ
พัฒนาระบบฐานข้อมูลการให้ภาครัฐสามารถจ่ายเงินช่วยเหลือและสวัสดิการให้ประชาชน
ถูกกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งการเพิ่มช่องทางการรับชาระค่าบริการของหน่วยงานราชการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
(5) โครงการที่ 5 การให้ความรู้และส่งเสริมการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
เผยแพร่ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการชาระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ในภาพรวม
แก่ประชาชน รวมทั้ง ออกมาตรการจูงใจเพื่อกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนและเพิ่มปริมาณ
การชาระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์
1.3 ธุรกรรมโปร่งใสตามกฎหมายป้องกันการฟอกเงิน
ประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิกขององค์กรต่อต้านการฟอกเงินเอเชียแปซิฟิก (Anti-Pacific Group
on Money Laundering (APG)) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2544
ซึ่งในฐานะสมาชิกมีพันธกรณีที่ต้องเข้ารับการประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานสากลด้านการป้องกัน
ปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย (Anti-Money Laundering
and Combating the Financing of Terrorism : AML/CFT) โดยข้อแนะนาของ the Financial Action
Task Force (FATF)
FATF เป็นองค์การระหว่างรัฐ ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1989 โดยความเห็นชอบของที่ประชุม
สุดยอดกลุ่มประเทศ G7 จัดตั้งขึ้นมาเพื่อป้องกันการฟอกเงินและการสนับสนุนการเงินแก่ขบวนการ
ก่อการร้ายข้ามชาติ โดยเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2555 FATF ประกาศเพิ่มประเทศไทยเข้าเป็น 1 ใน 5
ประเทศ ที่มีความบกพร่องทางยุทธศาสตร์และไม่มีความคืบหน้าในการออกกฎหมายและกาหนด
หลักเกณฑ์ต่อต้านการฟอกเงินและการสนับสนุนการก่อการร้าย กลุ่มประเทศ 2 : Dark Grey List
จากรายงานการศึกษา เรื่อง ปัญหาและผลกระทบของประเทศไทยจากกรณี FATF ขึ้นบัญชีดา
โดยสายงานเศรษฐกิจ โลจิสติกส์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้รายงานว่า “สาหรับผลกระทบในปี 2556
และต่อเนื่องในระยะยาว หากประเทศไทยถูกจัดชั้นจาก FATF ไปสู่ระดับที่เป็นบัญชีดา Black List จะมี
ผลต่อการไม่สามารถดาเนินธุรกรรมทางการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งเศรษฐกิจไทยพึ่งพาภาคส่งออก ร้อยละ 70
ของ GDP ภาคนาเข้าร้อยละ 69 ของ GDP และภาคท่องเที่ยวและการลงทุนระหว่างประเทศรวมกัน
ประมาณร้อยละ 18-19 ของ GDP จะส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจของประเทศอย่างรุนแรง”
เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2559 คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบตามที่กระทรวงการคลังเสนอ
ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากรเพื่อรองรับการปฏิบัติตามมาตรฐานสากล
ด้านการป้องกันปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนการเงินแก่การก่อการร้ายของ FATF
ซึ่งประเทศไทยจะรับการประเมินดังกล่าวในปี 2559 นี้ โดยข้อแนะนาของ FATF ได้เสนอให้กาหนด
อาชญากรรมเกี่ยวกับภาษี (Tax Crimes Related to Direct Taxes and Indirect Taxes) เป็นความผิดมูลฐาน
ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
บทสรุป : จากการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยในอนาคตอันใกล้เพื่อให้ทันต่อโลกยุคปัจจุบัน
ข้างต้น ทาให้ข้อมูลในแต่ละธุรกรรมของภาคธุรกิจต้องมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างชัดแจ้งโดยผ่าน
ระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่กรมสรรพากร ถือเป็นการสนับสนุนให้การบริหารจัดเก็บภาษีของกรมสรรพากร
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและช่วยให้สามารถขยายฐานภาษีให้กลุ่มผู้มีหน้าที่เสียภาษีที่อยู่นอกระบบภาษี
ให้สามารถเข้าสู่ระบบการเสียภาษีได้ตรงกลุ่มเป้าหมาย จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ภาคธุรกิจต้องปรับตัว
ให้มีการจัดทาบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีเป็นไปอย่างมีระบบ ถูกต้องสมบูรณ์ โปร่งใส และ
สามารถตรวจสอบได้ในทุกกิจกรรมที่ดาเนินการ
- 4 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
2. กิจกรรมหลักของร้านขายยา
ที่มา: สานักยา (Bureau of Drug Control) ปี พ.ศ. 2557
การประกอบกิจการร้านขายยา อยู่ภายใต้การควบคุมของพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ดังนั้น
การเปิดร้านขายยาและให้บริการต้องขอใบอนุญาตขายยา ซึ่งต้องปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน
ของกฎกระทรวงการขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. 2556 จะกาหนดให้
ร้านยาทุกร้านต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพในการให้บริการภายใต้หลักวิธีปฏิบัติที่ดีในร้านยา ที่เรียกว่า
Good Pharmacy Practice หรือ GPP
ผู้ค้าส่ง
(Dealer)
ผู้นาเข้า
(Importer)
จานวน 920 ราย
ผู้ผลิต
(Manufacturer)
จานวน 1,134 ราย
ยาสาเร็จรูป
โรงพยาบาล
(Hospital)
คลินิก
(Clinic)
ร้านขายยา
(Drug Store)
จานวน 21,318 ราย
วัตถุดิบ ยาสาเร็จรูปยาสาเร็จรูป
- 5 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
ประเภท แบบคาขอ ใบอนุญาต
ขายยาแผนปัจจุบัน ข.ย. 1 ข.ย. 5
ขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไม่ใช่ยาอันตราย
หรือยาควบคุมพิเศษ
ข.ย. 2 ข.ย. 6
ขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จสาหรับสัตว์ ข.ย. 3 ข.ย. 7
ขายส่งยาแผนปัจจุบัน ข.ย. 4 ข.ย. 8
ขายยาเสพติดให้โทษประเภท 3 ย.ส. 3-1 จ.ย.ส. 3
การจัดทาบัญชีและรายงานต่าง ๆ ที่ร้านขายยาต้องจัดทา มีดังนี้
รายชื่อบัญชี กาหนดเวลาจัดทาบัญชี
ระยะเวลา
การเก็บบัญชี
ส่งรายงาน
อย.
แบบ ข.ย. 9 บัญชีการซื้อยา ทุกครั้งที่มีการซื้อยาแต่ละอย่าง 3 ปีนับแต่วันซื้อ -
แบบ ข.ย. 10 บัญชีการขายยา
ควบคุมพิเศษ
ทุกครั้งที่มีการขายยาควบคุมพิเศษ 3 ปีนับแต่วันขาย -
แบบ ข.ย. 11 บัญชีการขายยา
อันตรายเฉพาะรายการยาที่
เลขาธิการคณะกรรมการอาหาร
และยากาหนด
ทุกครั้งที่มีการขายยาอันตราย 3 ปีนับแต่วันขาย -
แบบ ข.ย. 12 บัญชีการขายยา
ตามใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพ
เวชกรรม ผู้ประกอบโรคศิลปะ หรือ
ผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์
ทุกครั้งที่มีการขายยาตามใบสั่งยา 3 ปีนับแต่วันขาย -
แบบ ข.ย. 13 รายงานการขาย
ยาตามที่เลขาธิการคณะกรรมการ
อาหารและยากาหนด
ทุก 4 เดือน ที่มีการขายยาตามที่
เลขาธิการคณะกรรมการอาหาร
และยากาหนด
- ภายใน30วัน
นับแต่วันที่
ครบกาหนด
4 เดือน
แบบ ร.ย.ส. 3 รายงานการขาย
ยาเสพติดให้โทษประเภท 3
รายเดือนและรายปีที่มีการขาย
ยาเสพติดให้โทษประเภท 3
- -
- 6 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
ตัวอย่าง แบบ ข.ย. 9
ตัวอย่าง แบบ ข.ย. 10
ตัวอย่าง แบบ ข.ย. 11
- 7 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
ตัวอย่าง แบบ ข.ย. 12
ตัวอย่าง แบบ ข.ย. 13
- 8 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
ตัวอย่าง แบบ ร.ย.ส. 3/เดือน
- 9 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
ตัวอย่าง แบบ ร.ย.ส. 3/ปี
สาหรับร้านยาคุณภาพที่ได้ทาสัญญาเข้าร่วมโครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่อเนื่อง
ของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) กับสมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย) เพื่อให้บริการ
คัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วน ตลอดจนการให้ความรู้และคาแนะนา
ในเรื่องต่าง ๆ เช่น การฝากครรภ์ การคุมกาเนิด เป็นต้น ก่อนส่งต่อผู้มีความเสี่ยงสูงเข้าสู่ระบบ
การรักษาพยาบาลตามสิทธิของผู้รับบริการ พร้อมกับข้อมูลด้วย ซึ่งทางร้านจะได้ค่าตอบแทนการเก็บข้อมูล
ตามโครงการฯ ดังนี้
- 10 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
ลาดับ กิจกรรมการเก็บข้อมูลรายงาน
รายงานละ
(บาท)
1 การคัดกรองความเสี่ยงในกลุ่มภาวะโรคเมตาบอลิก (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
และโรคอ้วน)
50
2 การติดตามผลการส่งต่อผู้มีความเสี่ยงเข้าสู่หน่วยบริการ ได้แก่ กลุ่มเสี่ยง
โรคเรื้อรัง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
50
3 การให้ความรู้ คาแนะนาและคาปรึกษาในกลุ่ม Metabolic Syndrome ครั้งที่ 1 50
4 การให้ความรู้ คาแนะนาและคาปรึกษาในกลุ่ม Metabolic Syndrome ครั้งที่ 2 50
5 กิจกรรมการคัดกรองและส่งต่อ มีความเสี่ยงเรื่องโรคที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์
ในกลุ่มเสี่ยงการติดเชื้อ HIV
50
6 กิจกรรมการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด 50
7 การคัดกรองโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน หรือ Stroke 50
8 การดูแลเรื่องการใช้ยา 100
9 การเยี่ยมบ้าน 1,000
10 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เสพยาสูบ (รายที่เลิกสาเร็จ) ไม่เกิน 2,500 บาท ต่อราย
สินค้าที่มีจาหน่ายในร้านขายยา จัดแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
(1) สินค้าที่ต้องให้เภสัชกรเป็นผู้ให้บริการส่งมอบ และทาบัญชีพร้อมลงลายมือชื่อกากับ เช่น
ยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ เป็นต้น
(2) สินค้าที่ผู้ให้บริการจะเป็นใครก็ได้ เช่น ยาสามัญประจาบ้าน สมุนไพร ยาแผนโบราณ อาหารเสริม
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร อุปกรณ์สาหรับแพทย์-ผู้ป่วย เวชสาอาง เป็นต้น
3. รายได้และรายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับกิจการร้านขายยา
รายได้ รายจ่าย
1. รายได้หลัก
1.1 การขายยา
1.2 ค่าส่งเสริมการขาย
1.3 ค่าบริการคัดกรองความเสี่ยง (ถ้ามี)
2. รายได้อื่น
2.1 ดอกเบี้ย
2.2 อื่น ๆ
1. ต้นทุนขาย
2. ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร
2.1 เงินเดือน
2.2 ค่าเช่า
2.3 ค่าน้าประปา ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์
2.4 ค่าใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม
(Licensed Pharmacy )
2.5 ค่าทาบัญชี ค่าสอบบัญชี
2.6 ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
2.7 อื่น ๆ
- 11 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
รายได้
 รายได้จากการขายยา เป็นรายได้ที่เกิดจากการซื้อมา-ขายไป โดยขายให้กับผู้ค้าปลีก หรือ
ผู้บริโภคทั่วไป
 รายได้จากการส่งเสริมการขาย ได้แก่ เงินอุดหนุน เงินสนับสนุน เงินช่วยเหลือ เงินส่วนลด
หรือเงินอื่นใดในลักษณะทานองเดียวกันที่ผู้ขายสินค้า ซึ่งเป็นผู้ผลิตหรือผู้จัดจาหน่ายได้จ่าย
ให้แก่ผู้ซื้อสินค้าซึ่งเป็นผู้แทนจาหน่ายที่ซื้อสินค้าโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะนาไปขายต่อ
 รายได้ค่าบริการในการคัดกรองเบื้องต้นกรณีทาสัญญาเข้าร่วมโครงการพัฒนาระบบการดูแล
ผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่อเนื่อง ของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) กับสมาคมเภสัชกรรม
ชุมชน (ประเทศไทย)
 รายได้อื่นที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการ ได้แก่
1. ดอกเบี้ยรับ
2. กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายทรัพย์สิน
รายจ่าย
 ต้นทุนขาย ประกอบด้วย สินค้าคงเหลือต้นงวด บวก ซื้อสินค้า หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด
 เงินเดือน ค่าจ้าง และประโยชน์เพิ่มอื่น ๆ เช่น ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้าน ค่าสวัสดิการ เป็นต้น
 ค่าเช่าอาคาร ที่นามาใช้เป็นสถานประกอบการ (กรณีใช้เป็นที่อยู่อาศัยด้วยให้เฉลี่ยเป็นค่าใช้จ่าย
ส่วนตัว)
 ค่าน้าประปา ค่าไฟฟ้า และค่าโทรศัพท์ (กรณีใช้เป็นที่อยู่อาศัยด้วยให้เฉลี่ยเป็นค่าใช้จ่ายส่วนตัว)
 ค่าใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม (Licensed Pharmacy) ปัจจุบันประมาณ 3,000.- บาท
ถึง 7,000.- บาทต่อเดือน
 ค่าทาบัญชี และ ค่าสอบบัญชี
 ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการ (ถ้ามี) เช่น ค่าซ่อมแซม เป็นต้น
- 12 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
4. รูปแบบการประกอบกิจการ
5. การเสียภาษีอากร
5.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
(1) ประเภทของเงินได้
ปัจจุบันร้านขายยามีรูปแบบการเสียภาษีที่มีสถานะทางกฎหมายเป็น “บุคคลธรรมดา” และ
เมื่อร้านขายยามีรายได้จากการขาย หรือได้รับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้รับที่สามารถคานวณได้
เป็นเงิน ซึ่งได้รับจริงตามเกณฑ์เงินสด ทางประมวลรัษฎากรเรียกว่า “เงินได้พึงประเมิน” ซึ่งผู้เป็นเจ้าของ
ร้านขายยาต้องนาเงินได้ดังกล่าวมารวมคานวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
รายได้จากการขายสินค้าที่ร้านขายยาได้รับ ถือว่าเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40
ประเภทที่ 8 เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง หรือการอื่นที่มิได้
ระบุในประเภท 1-7 ตามประมวลรัษฎากร
(2) การหักค่าใช้จ่าย
เมื่อผู้มีเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 สามารถเลือกหักค่าใช้จ่ายได้โดยวิธีใดวิธีหนึ่ง
ซึ่งประมวลรัษฎากรได้กาหนดวิธีการหักค่าใช้จ่ายไว้ 2 วิธี คือ
วิธีที่ 1 หักค่าใช้จ่ายเป็นเหมาได้ ร้อยละ 60 (อ้างอิงตามมติ ครม. วันที่ 9 สิงหาคม 2559
เริ่มใช้ในรอบปีภาษี 2560) หรือ
วิธีที่ 2 หักค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงตามความจาเป็นและสมควร ซึ่งต้องมีหลักฐานค่าใช้จ่าย
เพื่อเป็นการยืนยันว่าค่าใช้จ่ายดังกล่าวเกิดขึ้นและเกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการร้านขายยาจริง
(3) การหักค่าลดหย่อน อาทิ ค่าลดหย่อนส่วนตัว เบี้ยประกันชีวิต ค่าดอกเบี้ยกู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัย
เงินบริจาคสาธารณะกุศล
ร้านขายยา
บุคคลธรรมดา
ไม่เป็น
ผู้ประกอบการ
จดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
เป็นผู้ประกอบการ
จดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
นิติบุคคล
ไม่เป็น
ผู้ประกอบการ
จดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
เป็นผู้ประกอบการ
จดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
- 13 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
(4) คานวณเงินได้ หักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน คงเหลือเป็นเงินได้สุทธิคานวณภาษีตาม
อัตราภาษีเงินได้ ภาษีที่ต้องชาระ ให้เปรียบเทียบการคานวณภาษีจากเงินได้สุทธิกับภาษีที่คานวณจาก
ร้อยละ 0.5 ของเงินได้พึงประเมิน โดยเสียภาษีจากยอดที่คานวณได้สูงกว่า หักภาษีที่ชาระไว้แล้ว (ภาษีหัก
ณ ที่จ่าย หรือภาษีที่ชาระไว้แล้วตาม แบบ ภ.ง.ด.94)
ร้านขายยาที่มีเงินได้ และไม่ได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม มีหน้าที่ต้องจัดทาบัญชี
หรือรายงานรายได้และรายจ่ายเป็นประจาวัน โดยให้ทาเป็นภาษาไทย ถ้าทาเป็นภาษาต่างประเทศ
ให้มีภาษาไทยกากับ และให้ลงรายการในบัญชีหรือรายงานแสดงรายได้และรายจ่ายภายใน 3 วันทาการ
นับแต่วันที่มีรายได้หรือรายจ่าย ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 161)
เรื่อง กาหนดให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และมิได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดทาบัญชีหรือรายงานแสดงรายได้และรายจ่าย ลงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2549
(5) การยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี เป็นการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
(ภ.ง.ด.94) เฉพาะเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5-8 ที่ได้รับตั้งแต่เดือนมกราคมถึง
เดือนมิถุนายน โดยยื่นภายในเดือนกันยายนของปีภาษี (ภาษีที่เสียไว้นั้นสามารถ
นาไปหักออกจากภาษีที่ต้องชาระตอนสิ้นปีได้)
 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี เป็นการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
(ภ.ง.ด.90) ของเงินได้พึงประเมินทุกประเภทที่เจ้าของกิจการได้รับตลอดทั้งปีภาษี
(ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม) โดยยื่นภายในเดือนมีนาคมของปีถัดไป และ
นาภาษีครึ่งปี หรือ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ที่เสียไว้มาหักจากภาษีที่คานวณได้ คงเหลือ
เงินภาษีต้องชาระเพิ่ม/ชาระไว้เกิน
- 14 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
5.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคล
(1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกาไรสุทธิ
ตามประมวลรัษฎากร โดยคานวณตามเงื่อนไข ดังนี้
 รายได้จากกิจการหรือเนื่องจากกิจการที่ได้รับหรือพึงได้รับในรอบระยะเวลาบัญชี
ตามมาตรา 65 แห่งประมวลรัษฎากร
 หัก รายจ่ายและรายจ่ายพึงต้องจ่าย ในรอบระยะเวลาบัญชีตามมาตรา 65 ทวิ และ
มาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร
 ภาษีที่คานวณได้ คานวณจากกาไรสุทธิที่ต้องเสียภาษี คูณ ด้วยอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
เป็นภาษีที่ต้องชาระ หัก ภาษีที่ชาระไว้แล้ว ตามแบบ ภ.ง.ด. 51 และหรือภาษีหัก ณ ที่จ่าย
(ถ้ามี) คงเหลือเป็นภาษีชาระเพิ่มเติม หากผลการประกอบการขาดทุนสุทธิ ไม่มีภาษีต้องชาระ
และสามารถนาผลขาดทุนดังกล่าวเป็นรายจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีถัดไปได้ไม่เกิน
5 รอบระยะเวลาบัญชี
(2) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล มีหน้าที่ต้องจัดทาบัญชีงบดุล บัญชีทาการ บัญชีงบกาไรขาดทุน
โดยมีบุคคลตามมาตรา 3 สัตต ตรวจสอบและรับรองบัญชี และให้ยื่นพร้อมกับการยื่นแบบแสดงรายการ
ภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภ.ง.ด.50)
บุคคลตามมาตรา 3 สัตต หมายถึง ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี ประกอบด้วย
 ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (Certified Public Accountant : CPA) เป็นผู้ที่ขึ้นทะเบียนและ
ได้รับใบอนุญาตจากสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี
พ.ศ. 2547 สามารถตรวจสอบและรับรองงบการเงินของนิติบุคคลที่เป็นทั้งบริษัทและ
ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
 ผู้สอบบัญชีภาษีอากร (Tax Auditor : TA) เป็นผู้ที่ขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตจาก
กรมสรรพากร ตามคาสั่งกรมสรรพากร ที่ ท.ป. 98/2544ฯ สามารถตรวจสอบและ
รับรองงบการเงินของนิติบุคคลที่เป็นห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลขนาดเล็ก คือ ห้างหุ้นส่วน
จดทะเบียนที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยที่มีทุนไม่เกิน 5 ล้านบาท สินทรัพย์รวมไม่เกิน
30 ล้านบาท รายได้รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท
(3) การยื่นแบบแสดงรายได้ภาษีเงินได้นิติบุคคล
 การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี ตามแบบ ภ.ง.ด.51 ภายใน 2 เดือนนับจากวันสุดท้าย
ของทุก 6 เดือนแรกของรอบระยะเวลาบัญชี
(การยื่นแบบ ภ.ง.ด.51 ไม่ใช้บังคับกับรอบระยะเวลาบัญชีแรก หรือรอบระยะเวลาบัญชี
สุดท้ายน้อยกว่า 12 เดือน)
 การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลสิ้นปี ตามแบบ ภ.ง.ด.50 ภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้าย
ของรอบระยะเวลาบัญชี
- 15 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
5.3 ภาษีมูลค่าเพิ่ม
(1) กรณีที่ยังไม่เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่มีรายรับจากการขายสินค้า
หรือบริการเกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี ต้องยื่นคาขอจดทะเบียนเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.01) ภายใน 30 วันนับแต่วันที่มีรายรับเกิน หากกิจการที่ยังมีรายรับไม่ถึง 1.8 ล้านบาทต่อปี
แต่ประสงค์จะจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม สามารถยื่นขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ก่อนได้เช่นกัน
* หากกิจการมีรายรับถึงเกณฑ์ที่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่ไม่ได้จดทะเบียนภายใน
เวลาที่กาหนด จะมีผลดังนี้
 สาหรับรายรับส่วนที่เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี ผู้ประกอบการจะต้องชาระภาษีมูลค่าเพิ่ม
ด้วยตนเอง โดยไม่สามารถเรียกเก็บค่าภาษีมูลค่าเพิ่มจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการได้
 ไม่สามารถออกใบกากับภาษีได้เนื่องจากยังไม่ได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
 ต้องเสียเบี้ยปรับ 2 เท่าของเงินภาษีที่ต้องเสียในเดือนภาษีตลอดระยะเวลาที่ไม่ได้
จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือเป็นเงิน 1,000 บาทต่อเดือนภาษี แล้วแต่อย่างใด
จะมากกว่า
 เสียเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือน
 ไม่มีสิทธิ์นาภาษีมูลค่าเพิ่มที่ตนเองถูกผู้ประกอบการจดทะเบียนอื่นเรียกเก็บ มาถือ
เป็นภาษีซื้อหักออกจากภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องเสียได้
หมายเหตุ การขายยารักษาสัตว์ ฯลฯ ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 81 (จ) แห่งประมวลรัษฎากร
(2) การออกใบกากับภาษี
(2.1) ใบกากับภาษี คือ เอกสารหลักฐานสาคัญ ซึ่งผู้ประกอบการจดทะเบียนจะต้องจัดทา
และออกให้กับผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการทุกครั้งที่มีการขายสินค้า เพื่อแสดงมูลค่าของสินค้าและจานวน
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่เรียกเก็บหรือพึงเรียกเก็บจากผู้ซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง การขายสินค้าของร้านขายยามีหน้าที่
ต้องออกใบกากับภาษีพร้อมทั้งส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อในทันทีที่มีการส่งมอบสินค้าให้กับผู้ซื้อ
(2.2) ร้านขายยาที่มีลักษณะการประกอบกิจการแบบขายปลีกให้แก่ผู้บริโภคโดยตรง มีสิทธิ
ออกใบกากับภาษีอย่างย่อได้ โดยวิธีการเขียนจากแบบฟอร์มที่ตีพิมพ์จากโรงพิมพ์ หรือโดยใช้เครื่องบันทึก
การเก็บเงินก็ได้ แต่ต้องมีข้อความหรือรายการอย่างน้อย ดังนี้
 คาว่า “ใบกากับภาษีอย่างย่อ” ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด
 ชื่อหรือชื่อย่อ และเลขประจาตัวผู้เสียภาษีของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออก
ใบกากับภาษี
 หมายเลขลาดับของใบกากับภาษี และหมายเลขลาดับของเล่ม (ถ้ามี)
 ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ
 ราคาสินค้าหรือราคาค่าบริการ โดยต้องมีข้อความระบุชัดเจนว่าได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
ไว้แล้ว
 วัน เดือน ปี ที่ออกใบกากับภาษี
 ข้อความอื่นที่อธิบดีกาหนด
- 16 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
หากผู้ซื้อร้องขอใบกากับภาษีแบบเต็มรูปเพื่อนาไปเป็นหลักฐานในการขอคืนภาษีซื้อ
ผู้ประกอบการซึ่งเป็นผู้ขายต้องออกใบกากับภาษีแบบเต็มรูปให้กับผู้ซื้อทันที ซึ่งต้องมีรายการอย่างน้อย ดังนี้
 คาว่า “ใบกากับภาษี” ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด
 ชื่อ ที่อยู่ เลขประจาตัวผู้เสียภาษี และสถานประกอบการของผู้ประกอบการจดทะเบียน
ที่ออกใบกากับภาษี
 ชื่อที่อยู่ เลขประจาตัวผู้เสียภาษี และสถานประกอบการของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ
(ยกเว้นกรณีผู้ซื้อสินค้าเป็นผู้บริโภค และไม่ได้แจ้งเลขประจาตัวผู้เสียภาษีให้แก่
ผู้ขายสินค้า)
 หมายเลขลาดับของใบกากับภาษี และหมายเลขลาดับของเล่ม (ถ้ามี)
 ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ
 จานวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่คานวณจากมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ โดยให้แยกออก
จากมูลค่าของสินค้าและหรือของบริการให้ชัดแจ้ง
 วัน เดือน ปี ที่ออกใบกากับภาษี
 ข้อความอื่นที่อธิบดีกาหนด
ลขชื่ชื่อ
หรือชื่อย่อ และเลข
า
ค้ า ห รื อ ร า ค า
อย่างย่ออย่างย่อ
- 17 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
(2.3) ร้านขายยาที่ประสงค์จะใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงินเพื่อการออกใบกากับภาษีอย่างย่อ
ให้ยื่นคาขออนุมัติใช้ต่ออธิบดีกรมสรรพากร ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม
(ฉบับที่ 46) เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์การขออนุมัติใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงินเพื่อออกใบกากับภาษีอย่างย่อ
และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงิน ตามมาตรา 86/6 แห่งประมวลรัษฎากร
ลงวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2536
เครื่องบันทึกการเก็บเงินจะใช้บันทึกการเก็บเงินโดยตัวเองโดยไม่ต้องต่อเชื่อม หรือจะใช้
ต่อเชื่อมเข้ากับระบบคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื่นเป็นระบบ POSS (Point of Sale System) ก็ได้
แต่ห้ามผู้ประกอบการจดทะเบียน ซึ่งใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงินระบบ POSS ออกใบกากับภาษีอย่างย่อด้วยวิธี
การเขียน ยกเว้นกรณีที่เครื่องขัดข้องใช้การไม่ได้ เช่น เครื่องเสียหรือไฟฟ้าดับ โดยจะต้องประทับตราคาว่า
“เครื่องขัดข้อง” ไว้ในใบกากับภาษีอย่างย่อที่ออกด้วยวิธีการเขียนด้วย
กากับภาษีใบ
ชื่อ ที่อยู่
สำนักงำนใหญ่
สำนักงำนใหญ่
- 18 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
(3) การจัดทารายงานตามประมวลรัษฎากร
ผู้ประกอบการจดทะเบียน มีหน้าที่จัดทารายงานเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม ดังต่อไปนี้
1. รายงานภาษีขาย
1.1 ให้ลงรายการใบกากับภาษีแบบเต็มรูป ภายใน3วันทาการนับแต่วันที่ระบุไว้ในใบกากับภาษี
1.2 ให้ลงรายการใบกากับภาษีอย่างย่อ ภายใน 3 วันทาการนับแต่วันที่ระบุไว้ในใบกากับ
ภาษีอย่างย่อ หรือกรณีใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงินออกใบกากับภาษี ให้ลงรายการ
ภายใน 3 วันทาการนับแต่วันที่เครื่องบันทึกการเก็บเงินออกใบกากับภาษี เว้นแต่
ผู้ประกอบการจดทะเบียนใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงินแบบ POSS จะต้องจัดทารายงาน
ภาษีขายโดยอัตโนมัติทุกสิ้นวันทาการ
2. รายงานภาษีซื้อ ให้ลงรายการภายใน 3 วันทาการนับแต่วันที่ได้รับใบกากับภาษี
3. รายงานสินค้าและวัตถุดิบ ให้ลงรายการภายใน 3 วันทาการนับแต่วันที่รับมาหรือจ่ายไป
ซึ่งสินค้าหรือวัตถุดิบ
ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 89) เรื่อง กาหนดแบบหลักเกณฑ์ วิธีการและ
เงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดทารายงาน การลงรายการในรายงาน การเก็บใบกากับภาษีและเอกสารหลักฐานอื่นที่ใช้ประกอบการ
การลงรายงานภาษีซื้อ ตามมาตรา 87 และมาตรา 87/3 วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2542
ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ที่ประสงค์จะออกใบกากับภาษีอย่างย่อ
ด้วยเครื่องบันทึกการเก็บเงิน
1. ยื่นคาขอและเอกสารแนบ
1.1 คาขอ ภ.พ.06
1.2 คุณสมบัติของเครื่องบันทึกการเก็บเงิน และแผนผัง
การต่อเชื่อมเครื่องบันทึกการเก็บเงินกับอุปกรณ์อื่น
1.3 ตัวอย่างใบกากับภาษี และรายงานต่างๆ ที่ออกจาก
เครื่องบันทึกการเก็บเงิน
1.4 แผนผังการวางเครื่องบันทึกการเก็บเงิน ณ สถานประกอบการ
2. สถานที่ยื่นคาขอ
ยื่น ณ สานักงานสรรพากรพื้นที่ท้องที่
ที่สถานประกอบการตั้งอยู่
- 19 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
- 20 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
รายงานสินค้าและวัตถุดิบ
ชื่อผู้ประกอบการ…..บริษัท ร่ารวย จากัด…………… เลขประจาตัวผู้เสียภาษีอากร
ชื่อสถานประกอบการ……ร่ารวยฟาร์มาซี............. 0 0 1 5 5 5 0 0 0 1 2 3 5
ชื่อสินค้า/วัตถุดิบ......ยาแก้ไอตราเสือดา.............. สานักงานใหญ่ สาขาที่
0 0 0 0
ชนิด/ขนาด.......500cc...............................ปริมาณนับเป็น.....ขวด..............................
เลขที่ใบสาคัญ วัน/เดือน/ปี
ปริมาณสินค้า วัตถุดิบ
หมายเหตุ
รับ จ่าย คงเหลือ
ยอดยกมา 1/1/59 - - 350
001/0055 10/1/59 500 - 850
001/001 15/1/59 - 15 835
หมายเหตุ ผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทา
รายงานสินค้าและวัตถุดิบ แต่จะต้องทาการตรวจนับสินค้าคงเหลือ ณ วันที่ 30 มิถุนายนของปี และวันที่
31 ธันวาคมของปี และกรอกรายการสินค้าคงเหลือในแบบรายละเอียดสินค้าคงเหลือ โดยให้ถือว่า
แบบรายละเอียดสินค้าคงเหลือเป็นรายงานสินค้าและวัตถุดิบตามมาตรา 87(3) แห่งประมวลรัษฎากร
โดยต้องมีรายการและข้อความอย่างน้อย ดังนี้
- 21 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
5.4 ภาษีหัก ณ ที่จ่าย
กรณีผู้จ่ายเงินได้ที่เป็นบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลจ่ายเงินได้ ให้แก่ ผู้รับเงินได้ประเภท เงินเดือน
ค่าจ้างแรงงาน เบี้ยเลี้ยง โบนัส ฯลฯ ผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ทุกคราวที่มีการจ่ายเงิน
โดยคานวณตามมาตรา 48 แห่งประมวลรัษฎากร และนาส่งด้วยแบบ ภ.ง.ด.1 ภายใน 7 วันนับแต่วันสิ้นเดือน
ของเดือนที่จ่ายเงินได้พึงประเมิน
ผู้จ่ายเงินได้ที่เป็นนิติบุคคลจ่ายเงินได้ประเภท ค่าเช่า ค่าจ้างทาของ ค่าขนส่ง (ถ้ามี) ให้แก่ผู้รับเงินได้
ที่เป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย และนาส่งด้วยแบบ ภ.ง.ด.3
และหรือ ภ.ง.ด.53 ภายใน 7 วันนับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินได้พึงประเมิน
ตารางเงินได้พึงประเมิน การหักภาษี ณ ที่จ่ายและนาส่งภาษี
ลาดับ ประเภทเงินได้
อัตรา
ภาษี หัก
ณ ที่จ่าย
(ร้อยละ)
ผู้จ่ายเงินได้พึง
ประเมิน
ผู้รับเงินได้
พึงประเมิน
แบบแสดง
รายการ
กาหนดเวลา
การยื่นแบบ
แสดง
รายการภาษี
1 ม.40(1)เงินเดือนเบี้ยเลี้ยง
โบนัส ฯลฯ
ม.40(2)ค่านายหน้าฯลฯ
อัตรา
ก้าวหน้า
บุคคลธรรมดา
นิติบุคคล
บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.1
ภายใน
7 วันนับแต่
วันสิ้นเดือน
ของเดือน
ที่จ่ายเงินได้
พึงประเมิน
2 ม.40(5) ค่าเช่า 5 บุคคลธรรมดา บุคคลธรรมดา/
นิติบุคคล
ไม่หัก/
ไม่ยื่นแบบฯ
นิติบุคคล บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.3
นิติบุคคล ภ.ง.ด.53
3 ม.40(7) ค่าจ้างทาของ
(ผู้รับจ้างเป็นผู้จัดหาสัมภาระ)
3 บุคคลธรรมดา บุคคลธรรมดา/
นิติบุคคล
ไม่หัก/
ไม่ยื่นแบบฯ
นิติบุคคล บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.3
นิติบุคคล ภ.ง.ด.53
4 ม.40(8) ค่าขนส่ง 1 บุคคลธรรมดา บุคคลธรรมดา/
นิติบุคคล
ไม่หัก/
ไม่ยื่นแบบฯ
นิติบุคคล บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.3
นิติบุคคล ภ.ง.ด.53
- 22 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
6. กรณีศึกษาการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล
6.1 กรณีบุคคลธรรมดา คานวณภาษี 2 วิธี
(1) วิธีที่ 1คานวณจากเงินได้สุทธิ คานวณตามอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เลือกหักค่าใช้จ่ายได้ 2วิธี
 *หัก ค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาร้อยละ 60 (อ้างอิงตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 9 สิงหาคม
2559เริ่มใช้ในรอบปีภาษี 2560) หรือ
 หัก ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงตามความจาเป็นและสมควร
หมายเหตุ ** หักค่าลดหย่อนส่วนตัว 60,000 บาท และอัตราการคานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
(อ้างอิงตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ ๑๙ เมษายน 2559 เริ่มใช้ในรอบปีภาษี 2560)
(2) วิธีที่ 2 คานวณจากเงินได้พึงประเมิน คูณ ร้อยละ 0.5
ทั้งนี้การเสียภาษีจะต้องเลือกวิธีที่คานวณภาษีได้สูงกว่า โดยเปรียบเทียบระหว่างวิธีที่ 1 กับวิธีที่ 2
6.2 กรณีนิติบุคคล ตามข้อสมมติฐาน ดังนี้
(2) กรณีตัวอย่างที่ 1 ถึง 3
 เป็นนิติบุคคลที่จดแจ้งตามมาตรการการจัดทาบัญชีชุดเดียว ตามพระราชกาหนด
การยกเว้นและสนับสนุนการปฏิบัติการเกี่ยวกับภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร พ.ศ. 2558
 กิจการ SMEs ได้แก่ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีทุนจดทะเบียนชาระแล้ว ในวันสุดท้าย
ของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาท และมีรายได้จากการขายสินค้าและให้บริการ
ในรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 30 ล้านบาท ซึ่งได้รับสิทธิประโยชน์ในการยกเว้นและ
ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร
ว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 595) พ.ศ. 2558
(2) กรณีตัวอย่างที่ 4
 เป็นนิติบุคคลที่ไม่เข้าเงื่อนไข SMEs เนื่องจากมีรายได้จากการขายสินค้าและหรือ
ให้บริการ ในรอบระยะเวลาบัญชีเกิน 30 ล้านบาท
 เสียภาษีในอัตราทั่วไป ร้อยละ 20
- 23 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
กรณีตัวอย่างที่ 1
ยอดขายวันละ 5,000 บาท กาไรขั้นต้น 15% ต้นทุนขาย 85% เงินเดือนเภสัชกร 22,000 บาท/เดือน ค่าใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 5,000 บาท/เดือน
เงินเดือนพนักงาน 9,000 บาท/เดือน ค่าทาบัญชี 3,000 บาท/เดือน ค่าสอบบัญชี 10,000 บาท/ปี
บุคคลธรรมดา นิติบุคคล
หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา หักค่าใช้จ่ายตามความจาเป็นและสมควร
คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ : คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ : คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ :
วิธีที่ 1 เงินได้จากการขาย (5,000 บาท x 360 วัน) 1,800,000 วิธีที่ 1 เงินได้จากการขาย (5,000 บาท x 360 วัน) 1,800,000 เงินได้จากการขาย (5,000 บาท x 360 วัน) 1,800,000
หัก ค่าใช้จ่ายเหมา 60% * (1,080,000) หัก ค่าใช้จ่าย :- หัก ต้นทุนขาย 85% (1,530,000)
เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 720,000 ต้นทุนขาย 85% (1,530,000) กาไรขั้นต้น 15% 270,000
หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว ** (60,000) เงินเดือนเภสัชกร (22,000x12) (264,000) หัก เงินเดือนเภสัชกร (22,000x12) (264,000)
เงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษี 660,000 ค่าใบอนุญาตฯ (5,000x12) (60,000) ค่าใบอนุญาตฯ (5,000x12) (60,000)
คานวณภาษี ** เงินเดือนพนักงาน (9,000x12) (108,000) เงินเดือนพนักงาน (9,000x12) (108,000)
1 - 150,000 ยกเว้น - เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย (162,000) ค่าทาบัญชี (3,000x12) (36,000)
150,000 - 300,000 5% 7,500 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว ** (60,000) ค่าสอบบัญชี (10,000)
300,001 - 500,000 10% 20,000 เงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษี (222,000) กาไรสุทธิเพื่อเสียภาษี (208,000)
500,001 - 750,000 15% 24,000 คานวณภาษี ** คานวณภาษี
750,001 - 1,000,000 20% 1 - 150,000 ยกเว้น SMEs (จดแจ้งตามมาตรการบัญชีชุดเดียว)
1,000,001 - 2,000,000 25% 150,000 - 300,000 5% 0 - 300,000 ยกเว้น
2,000,001 - 5,000,000 30% 300,001 - 500,000 10% ตั้งแต่ 300,001 ขึ้นไป 10%
5,000,001 ขึ้นไป 35% 500,001 - 750,000 15% ภาษีที่คานวณได้ = -
ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 1 = 51,500 750,001 - 1,000,000 20%
1,000,001 - 2,000,000 25% หมายเหตุ ผลขาดทุน (208,000) สามารถนาไปเป็นค่าใช้จ่าย
2,000,001 - 5,000,000 30% ในรอบระยะเวลาบัญชีถัดไปไม่เกิน 5 รอบระยะเวลาบัญชี
5,000,001 ขึ้นไป 35%
ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 1 = -
วิธีที่ 2 เงินได้พึงประเมิน x 0.5% 1,800,000 x 0.5% วิธีที่ 2 เงินได้พึงประเมิน x 0.5% 1,800,000 x 0.5%
ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 2 = 9,000 ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 2 = 9,000
ภาษีที่ต้องเสีย 51,500 ภาษีที่ต้องเสีย 9,000 ภาษีที่ต้องเสีย -
- 24 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
กรณีตัวอย่างที่ 2
ยอดขายวันละ 20,000 บาท กาไรขั้นต้น 15% ต้นทุนขาย 85% เงินเดือนเภสัชกร 22,000 บาท/เดือน ค่าใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 5,000 บาท/เดือน
เงินเดือนพนักงาน 9,000 บาท/เดือน ค่าทาบัญชี 3,000 บาท/เดือน ค่าสอบบัญชี 10,000 บาท/ปี
บุคคลธรรมดา นิติบุคคล
หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา หักค่าใช้จ่ายตามความจาเป็นและสมควร
คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ : คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ : คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ :
วิธีที่ 1 เงินได้จากการขาย (20,000 บาท x 360 วัน) 7,200,000 วิธีที่ 1 เงินได้จากการขาย (20,000 บาท x 360 วัน) 7,200,000 เงินได้จากการขาย (20,000 บาท x 360 วัน) 7,200,000
หัก ค่าใช้จ่ายเหมา 60% * (4,320,000) หัก ค่าใช้จ่าย :- หัก ต้นทุนขาย 85% (6,120,000)
เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 2,880,000 ต้นทุนขาย 85% (6,120,000) กาไรขั้นต้น 15% 1,080,000
หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว ** (60,000) เงินเดือนเภสัชกร (22,000x12) (264,000) หัก เงินเดือนเภสัชกร (22,000x12) (264,000)
เงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษี 2,820,000 ค่าใบอนุญาตฯ (5,000x12) (60,000) ค่าใบอนุญาตฯ (5,000x12) (60,000)
คานวณภาษี ** เงินเดือนพนักงาน (9,000x12) (108,000) เงินเดือนพนักงาน (9,000x12) (108,000)
1 - 150,000 ยกเว้น - เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 648,000 ค่าทาบัญชี (3,000x12) (36,000)
150,000 - 300,000 5% 7,500 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว ** (60,000) ค่าสอบบัญชี (10,000)
300,001 - 500,000 10% 20,000 เงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษี 588,000 กาไรสุทธิเพื่อเสียภาษี 602,000
500,001 - 750,000 15% 37,500 คานวณภาษี ** คานวณภาษี
750,001 - 1,000,000 20% 50,000 1 - 150,000 ยกเว้น - SMEs (จดแจ้งตามมาตรการบัญชีชุดเดียว)
1,000,001 - 2,000,000 25% 250,000 150,000 - 300,000 5% 7,500 0 - 300,000 ยกเว้น -
2,000,001 - 5,000,000 30% 246,000 300,001 - 500,000 10% 20,000 ตั้งแต่ 300,001 ขึ้นไป 10% 30,200
5,000,001 ขึ้นไป 35% 500,001 - 750,000 15% 13,200 ภาษีที่คานวณได้ = 30,200
ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 1 = 611,000 750,001 - 1,000,000 20%
1,000,001 - 2,000,000 25%
2,000,001 - 5,000,000 30%
5,000,001 ขึ้นไป 35%
ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 1 = 40,700
วิธีที่ 2 เงินได้พึงประเมิน x 0.5% 7,200,000 x 0.5% วิธีที่ 2 เงินได้พึงประเมิน x 0.5% 7,200,000 x 0.5%
ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 2 = 36,000 ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 2 = 36,000
ภาษีที่ต้องเสีย 611,000 ภาษีที่ต้องเสีย 40,700 ภาษีที่ต้องเสีย 30,200
- 25 -
คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
กรณีตัวอย่างที่ 3
ยอดขายวันละ 50,000 บาท กาไรขั้นต้น 15% ต้นทุนขาย 85% เงินเดือนเภสัชกร 22,000 บาท/เดือน ค่าใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 5,000 บาท/เดือน
เงินเดือนพนักงาน 9,000 บาท/เดือน ค่าทาบัญชี 3,000 บาท/เดือน ค่าสอบบัญชี 10,000 บาท/ปี
บุคคลธรรมดา นิติบุคคล
หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา หักค่าใช้จ่ายตามความจาเป็นและสมควร
คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ : คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ : คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ :
วิธีที่ 1 เงินได้จากการขาย (50,000 บาท x 360 วัน) 18,000,000 วิธีที่ 1 เงินได้จากการขาย (50,000 บาท x 360 วัน) 18,000,000 เงินได้จากการขาย (50,000 บาท x 360 วัน) 18,000,000
หัก ค่าใช้จ่ายเหมา 60% * (10,800,000) หัก ค่าใช้จ่าย :- หัก ต้นทุนขาย 85% (15,300,000)
เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 7,200,000 ต้นทุนขาย 85% (15,300,000) กาไรขั้นต้น 15% 2,700,000
หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว ** (60,000) เงินเดือนเภสัชกร (22,000x12) (264,000) หัก เงินเดือนเภสัชกร (22,000x12) (264,000)
เงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษี 7,140,000 ค่าใบอนุญาตฯ (5,000x12) (60,000) ค่าใบอนุญาตฯ (5,000x12) (60,000)
คานวณภาษี ** เงินเดือนพนักงาน (9,000x12) (108,000) เงินเดือนพนักงาน (9,000x12) (108,000)
1 - 150,000 ยกเว้น - เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 2,268,000 ค่าทาบัญชี (3,000x12) (36,000)
150,000 - 300,000 5% 7,500 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว ** (60,000) ค่าสอบบัญชี (10,000)
300,001 - 500,000 10% 20,000 เงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษี 2,208,000 กาไรสุทธิเพื่อเสียภาษี 2,222,000
500,001 - 750,000 15% 37,500 คานวณภาษี ** คานวณภาษี
750,001 - 1,000,000 20% 50,000 1 - 150,000 ยกเว้น - SMEs (จดแจ้งตามมาตรการบัญชีชุดเดียว)
1,000,001 - 2,000,000 25% 250,000 150,000 - 300,000 5% 7,500 0 - 300,000 ยกเว้น -
2,000,001 - 5,000,000 30% 900,000 300,001 - 500,000 10% 20,000 ตั้งแต่ 300,001 ขึ้นไป 10% 192,200
5,000,001 ขึ้นไป 35% 749,000 500,001 - 750,000 15% 37,500 ภาษีที่คานวณได้ = 192,200
ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 1 = 2,014,000 750,001 - 1,000,000 20% 50,000
1,000,001 - 2,000,000 25% 250,000
2,000,001 - 5,000,000 30% 62,400
5,000,001 ขึ้นไป 35%
ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 1 = 427,400
วิธีที่ 2 เงินได้พึงประเมิน x 0.5% 18,000,000 x 0.5% วิธีที่ 2 เงินได้พึงประเมิน x 0.5% 18,000,000 x 0.5%
ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 2 = 90,000 ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 2 = 90,000
ภาษีที่ต้องเสีย 2,014,000 ภาษีที่ต้องเสีย 427,400 ภาษีที่ต้องเสีย 192,200
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา
คู่มือภาษีอากรร้านขายยา

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPการเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPUtai Sukviwatsirikul
 
Business Plan for Klungya chaingkhum
Business Plan for Klungya chaingkhumBusiness Plan for Klungya chaingkhum
Business Plan for Klungya chaingkhumUtai Sukviwatsirikul
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดtechno UCH
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineAiman Sadeeyamu
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Utai Sukviwatsirikul
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.Ziwapohn Peecharoensap
 
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agent
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agentการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agent
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic AgentAiman Sadeeyamu
 

Mais procurados (20)

Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPPการเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
การเตรียมตัวของร้านยาเพื่อรองรับกฎกระทรวง GPP
 
Business Plan for Klungya chaingkhum
Business Plan for Klungya chaingkhumBusiness Plan for Klungya chaingkhum
Business Plan for Klungya chaingkhum
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัดการดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
Business Model ตอนที่ 2: ร้านยาของเราทำอะไร? ทำอย่างไร? ขายให้ใคร? คุ้มหรือไม่?
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agent
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agentการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agent
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agent
 

Semelhante a คู่มือภาษีอากรร้านขายยา

ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccount
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccountตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccount
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccountNattakorn Sunkdon
 
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITIMC Institute
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019ETDAofficialRegist
 
Loadแนวข้อสอบ นักบัญชี กรมบัญชีกลาง
 Loadแนวข้อสอบ นักบัญชี กรมบัญชีกลาง Loadแนวข้อสอบ นักบัญชี กรมบัญชีกลาง
Loadแนวข้อสอบ นักบัญชี กรมบัญชีกลางnawaporn khamseanwong
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327CUPress
 
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการGuide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการUtai Sukviwatsirikul
 
Loadแนวข้อสอบ นิติกรปฏิบัติการ กรมบัญชีกลาง
 Loadแนวข้อสอบ นิติกรปฏิบัติการ กรมบัญชีกลาง Loadแนวข้อสอบ นิติกรปฏิบัติการ กรมบัญชีกลาง
Loadแนวข้อสอบ นิติกรปฏิบัติการ กรมบัญชีกลางnawaporn khamseanwong
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554TISA
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการเงินและบัญชี กรมสรรพสามิต
 Loadแนวข้อสอบ พนักงานการเงินและบัญชี กรมสรรพสามิต Loadแนวข้อสอบ พนักงานการเงินและบัญชี กรมสรรพสามิต
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการเงินและบัญชี กรมสรรพสามิตnawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ นิติกร กรมบัญชีกลาง
 Loadแนวข้อสอบ นิติกร กรมบัญชีกลาง Loadแนวข้อสอบ นิติกร กรมบัญชีกลาง
Loadแนวข้อสอบ นิติกร กรมบัญชีกลางnawaporn khamseanwong
 
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษีการวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษีChaiyong_SP
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)Link Standalone
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานสื่อสาร กรมสรรพสามิต
 Loadแนวข้อสอบ พนักงานสื่อสาร กรมสรรพสามิต Loadแนวข้อสอบ พนักงานสื่อสาร กรมสรรพสามิต
Loadแนวข้อสอบ พนักงานสื่อสาร กรมสรรพสามิตnawaporn khamseanwong
 
TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008
TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008
TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008Suton Rojanusorn
 

Semelhante a คู่มือภาษีอากรร้านขายยา (20)

ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccount
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccountตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccount
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccount
 
160214 drug shop association
160214 drug shop association160214 drug shop association
160214 drug shop association
 
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFITข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนานโยบาย Digital Economy ของ TFIT
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019
Value of e-Commerce Survey in Thailand 2019
 
Loadแนวข้อสอบ นักบัญชี กรมบัญชีกลาง
 Loadแนวข้อสอบ นักบัญชี กรมบัญชีกลาง Loadแนวข้อสอบ นักบัญชี กรมบัญชีกลาง
Loadแนวข้อสอบ นักบัญชี กรมบัญชีกลาง
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327
 
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการGuide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการ
Guide notes on writing a business plan ข้อแนะนำในการเขียนแผนธุรกิจ ภาคบริการ
 
Loadแนวข้อสอบ นิติกรปฏิบัติการ กรมบัญชีกลาง
 Loadแนวข้อสอบ นิติกรปฏิบัติการ กรมบัญชีกลาง Loadแนวข้อสอบ นิติกรปฏิบัติการ กรมบัญชีกลาง
Loadแนวข้อสอบ นิติกรปฏิบัติการ กรมบัญชีกลาง
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการเงินและบัญชี กรมสรรพสามิต
 Loadแนวข้อสอบ พนักงานการเงินและบัญชี กรมสรรพสามิต Loadแนวข้อสอบ พนักงานการเงินและบัญชี กรมสรรพสามิต
Loadแนวข้อสอบ พนักงานการเงินและบัญชี กรมสรรพสามิต
 
Loadแนวข้อสอบ นิติกร กรมบัญชีกลาง
 Loadแนวข้อสอบ นิติกร กรมบัญชีกลาง Loadแนวข้อสอบ นิติกร กรมบัญชีกลาง
Loadแนวข้อสอบ นิติกร กรมบัญชีกลาง
 
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษีการวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
การวิเคราะห์ต้นทุนทางภาษี
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานสื่อสาร กรมสรรพสามิต
 Loadแนวข้อสอบ พนักงานสื่อสาร กรมสรรพสามิต Loadแนวข้อสอบ พนักงานสื่อสาร กรมสรรพสามิต
Loadแนวข้อสอบ พนักงานสื่อสาร กรมสรรพสามิต
 
TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008
TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008
TARADQuickWeb Builder as of Dec 19,2008
 
Tpa
TpaTpa
Tpa
 
Ec961
Ec961Ec961
Ec961
 
Bank of Thailand Payment Report 08
Bank of Thailand Payment Report 08Bank of Thailand Payment Report 08
Bank of Thailand Payment Report 08
 
Eis
EisEis
Eis
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul

Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesUtai Sukviwatsirikul
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul (20)

Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 

คู่มือภาษีอากรร้านขายยา

  • 2. คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร คานา ด้วยปัจจุบันผู้ประกอบการร้านขายยาหลายราย มีความประสงค์จะปรับสถานะจากบุคคลธรรมดา เป็นนิติบุคคล เพื่อให้มีการจัดทาบัญชีและการเสียภาษีอากรเป็นไปอย่างมีระบบ ถูกต้องครบถ้วน และ เป็นมาตรฐานเดียวกันในกลุ่มธุรกิจ ซึ่งจาเป็นต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการโอนกิจการ การจัดตั้ง นิติบุคคล ความรู้ทางธุรกิจ การจัดทาบัญชี และการปฏิบัติหน้าที่ทางภาษีที่เกี่ยวข้องกับกิจการ กรมสรรพากรจึงได้จัดทาคู่มือภาษีอากร “ธุรกิจก้าวหน้า ร้านขายยาสู่สากล” เพื่อเสริมสร้าง ความเข้าใจแก่กิจการร้านขายยา ให้สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องครบถ้วนทั้งในทางบัญชีและทางภาษีอากร ตามแต่ละกิจกรรมของธุรกิจ ทั้งนี้เนื้อหาส่วนใหญ่ตามคู่มือนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อมุ่งแก้ปัญหาตามลักษณะ การดาเนินธุรกิจของกิจการร้านขายยา ซึ่งกรมสรรพากรได้ศึกษาจากประเด็นคาถามของผู้ประกอบการ ร้านขายยาทั่วประเทศที่ทางสมาพันธ์พัฒนาคุณภาพร้านยาแห่งประเทศไทย (สพย.) ได้รวบรวมให้ไว้ จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ กรมสรรพากรหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือนี้จะเป็นประโยชน์ต่อกิจการร้านขายยาและผู้สนใจ ต่อไป กรมสรรพากร กันยายน 2559
  • 3. คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร สารบัญ หน้า 1. การปรับตัวของผู้เสียภาษีสู่การบริหารจัดเก็บภาษีอากรยุคใหม่ของกรมสรรพากร 1.1 Digital Economy 1 1.2 ระบบการชาระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ 1 1.3 ธุรกรรมโปร่งใสตามกฎหมายป้องกันการฟอกเงิน 3 2. กิจกรรมหลักของร้านขายยา 4 3. รายได้และรายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับกิจการร้านขายยา 10 4. รูปแบบการประกอบกิจการ 12 5. การเสียภาษีอากร 5.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 12 5.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคล 14 5.3 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 15 5.4 ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 21 6. กรณีศึกษาการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล 22 7. การเปลี่ยนผ่านจากบุคคลธรรมดาเป็นนิติบุคคล 7.1 ประโยชน์ที่ได้รับ 27 7.2 การเลือกรูปแบบธุรกิจเป็นนิติบุคคล 29 7.3 หน้าที่ในการจัดทาบัญชีของนิติบุคคล 30 7.4 วิธีการโอนกิจการ 31 7.5 ภาระภาษีของผู้โอน 33 8. ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นของร้านขายยา 8.1 ด้านรายได้ 34 8.2 ด้านรายจ่าย 36 8.3 ด้านสินค้าคงเหลือ 40 8.4 ด้านการออกใบกากับภาษี 42 9. สิทธิประโยชน์ทางภาษี 9.1 การขายสินค้าในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ 42 9.2 รายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าจ้างให้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับบัญชี 44 9.3 รายจ่ายที่ได้จ่ายไปเพื่อการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม 44 9.4 ค่าใช้จ่ายในการอบรมพนักงาน 45 9.5 รายจ่ายเพื่อการลงทุนในทรัพย์สิน 46
  • 4. - 1 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร คู่มือภาษีอากร “ธุรกิจก้าวหน้า ร้านขายยาสู่สากล” 1. การปรับตัวของผู้เสียภาษีสู่การบริหารจัดเก็บภาษีอากรยุคใหม่ของกรมสรรพากร 1.1 Digital Economy เศรษฐกิจดิจิทัล หรือ “Digital Economy” คือการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศให้ทันกับโลก ในยุคปัจจุบัน โดยการนาเอาเทคโนโลยีและดิจิตอลเข้ามาใช้ ประกอบด้วย (1) Knowledge Economy หรือเศรษฐกิจบนพื้นฐานของความรู้ที่ถูกวางให้มีการพัฒนาโดย อาศัยความรู้ความสามารถที่เพิ่มขึ้นของบุคลากร (2) Creative Economy การพัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานความคิดสร้างสรรค์ ที่มีเป้าหมายในการ เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจด้วยการเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการผ่านทางนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ 1.2 ระบบการชาระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ National e-Payment มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาระบบการชาระเงินของประเทศไทยให้สามารถ รองรับธุรกรรมทางการเงินและกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) อย่างครบวงจร โดยเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2558 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบหลักการแผนยุทธศาสตร์ National e-Payment Master Plan ประกอบด้วย แผนงานสาคัญ 5 โครงการ ดังต่อไปนี้ ซึ่งเป็นหนึ่งใน นโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจภาคการเงินที่จะช่วยขับเคลื่อนทุกภาคส่วนของประเทศก้าวสู่ความเป็น Digital Economy
  • 5. - 2 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร (1) โครงการที่ 1ระบบการชาระเงินแบบ AnyID(นานานาม)หรือปัจจุบันเรียกว่าPromptPay(พร้อมเพย์) พัฒนาระบบการชาระเงินกลางของประเทศ ให้สามารถรองรับการโอนเงินระหว่างสถาบันการเงิน โดยเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการโอนเงินหรือชาระเงินในปัจจุบันที่ใช้หมายเลขบัญชีธนาคาร ซึ่งมีตัวเลข หลายหลักทาให้ยากต่อการจดจาและการสื่อสาร เปลี่ยนเป็นการชาระเงินหรือโอนเงินในระบบ Any ID ที่ทาได้ โดยใช้หมายเลขอื่นที่ผู้รับโอนได้ลงทะเบียนไว้กับสถาบันการเงิน ได้แก่ เลขบัตรประจาตัวประชาชน หมายเลขโทรศัพท์มือถือ หมายเลขกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Wallet ID) เลขที่บัญชีธนาคาร หรือ e-mail address เป็นรหัสผ่านในการชาระเงินหรือโอนเงินอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่ต้องใช้เงินสด โครงการระยะแรก เริ่มในวันที่ 15 กรกฎาคม 2559 เป็นวันแรกที่ให้ประชาชนทั่วไป ลงทะเบียน Any ID ผูกเลขที่บัญชีธนาคารกับหมายเลขโทรศัพท์มือถือ หรือเลขบัตรประจาตัวประชาชน “1 บัญชีต่อ 1 หมายเลข” และวันที่ 1 มกราคม 2560 เป็นต้นไป กรมสรรพากรจะคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ผ่านระบบ Any ID (2) โครงการที่ 2 การขยายการใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์ ส่งเสริมการใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่มีค่าธรรมเนียมต่าเพื่อทดแทนการใช้เงินสด ผ่านจุดรับชาระเงิน ที่มีอุปกรณ์รับชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ที่หลากหลาย เช่น เครื่อง Electronic Data Capture (EDC) เครื่องรูดบัตรมือถือ (Mobile Point of Sale (MPOS)) Mobile Application เป็นต้น ซึ่งในส่วนภาครัฐ จะใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือในการจ่ายเงินสวัสดิการให้แก่ประชาชนโดยตรง และใช้เป็นช่องทาง ในการส่งข้อมูลการซื้อขายและข้อมูลภาษีไปยังกรมสรรพากร (3) โครงการที่ 3 ระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พัฒนาการจัดทาและนาส่งข้อมูลใบกากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Tax Invoice) และใบเสร็จรับเงิน อิเล็กทรอนิกส์ (e-Receipt) เพื่ออานวยความสะดวกและลดขั้นตอนในการจัดทาและการนาส่งรายงาน ซึ่งจะแล้วเสร็จพร้อมใช้งานในเดือนมกราคม 2560 โดยกาหนดเวลาบังคับใช้ระบบ e-Tax Invoice ดังนี้ ผู้ประกอบการ ขนาดรายได้ เข้าระบบ e-Tax Invoice ขนาดใหญ่ > 500 ล้านบาท ภายใน 31 ธันวาคม 2560 ขนาดกลาง มากกว่า 30 ล้านบาท ถึง 500 ล้านบาท ขนาดเล็ก มากกว่า 1.8 ล้านบาท ถึง 30 ล้านบาท ภายใน 31 ธันวาคม 2562 ขนาดไมโคร 1.8 ล้านบาท ภายใน 31 ธันวาคม 2564 จากการประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2559 ที่ผ่านมา คณะรัฐมนตรีมีมติ อนุมัติหลักการร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่...) พ.ศ. …. เพื่อรองรับระบบภาษี และเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการชาระเงิน แบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment Master Plan) ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ และให้ส่ง สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล้วส่งให้คณะกรรมการประสานงานสภานิติบัญญัติ แห่งชาติพิจารณา ก่อนเสนอสภานิติบัญญัติแห่งชาติต่อไป โดยจะช่วยสนับสนุนในการอานวยความสะดวก ลดขั้นตอน และลดต้นทุนการเสียภาษีของผู้มีหน้าที่เสียภาษี รวมทั้งการพัฒนาระบบการชาระเงินของ ประเทศไทยให้เป็นแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) อย่างครบวงจร
  • 6. - 3 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร (4) โครงการที่ 4 e-Payment ภาครัฐ พัฒนาระบบฐานข้อมูลการให้ภาครัฐสามารถจ่ายเงินช่วยเหลือและสวัสดิการให้ประชาชน ถูกกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งการเพิ่มช่องทางการรับชาระค่าบริการของหน่วยงานราชการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (5) โครงการที่ 5 การให้ความรู้และส่งเสริมการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เผยแพร่ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการชาระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ในภาพรวม แก่ประชาชน รวมทั้ง ออกมาตรการจูงใจเพื่อกระตุ้นการเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนและเพิ่มปริมาณ การชาระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ 1.3 ธุรกรรมโปร่งใสตามกฎหมายป้องกันการฟอกเงิน ประเทศไทยได้เข้าเป็นสมาชิกขององค์กรต่อต้านการฟอกเงินเอเชียแปซิฟิก (Anti-Pacific Group on Money Laundering (APG)) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2544 ซึ่งในฐานะสมาชิกมีพันธกรณีที่ต้องเข้ารับการประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานสากลด้านการป้องกัน ปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย (Anti-Money Laundering and Combating the Financing of Terrorism : AML/CFT) โดยข้อแนะนาของ the Financial Action Task Force (FATF) FATF เป็นองค์การระหว่างรัฐ ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1989 โดยความเห็นชอบของที่ประชุม สุดยอดกลุ่มประเทศ G7 จัดตั้งขึ้นมาเพื่อป้องกันการฟอกเงินและการสนับสนุนการเงินแก่ขบวนการ ก่อการร้ายข้ามชาติ โดยเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2555 FATF ประกาศเพิ่มประเทศไทยเข้าเป็น 1 ใน 5 ประเทศ ที่มีความบกพร่องทางยุทธศาสตร์และไม่มีความคืบหน้าในการออกกฎหมายและกาหนด หลักเกณฑ์ต่อต้านการฟอกเงินและการสนับสนุนการก่อการร้าย กลุ่มประเทศ 2 : Dark Grey List จากรายงานการศึกษา เรื่อง ปัญหาและผลกระทบของประเทศไทยจากกรณี FATF ขึ้นบัญชีดา โดยสายงานเศรษฐกิจ โลจิสติกส์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้รายงานว่า “สาหรับผลกระทบในปี 2556 และต่อเนื่องในระยะยาว หากประเทศไทยถูกจัดชั้นจาก FATF ไปสู่ระดับที่เป็นบัญชีดา Black List จะมี ผลต่อการไม่สามารถดาเนินธุรกรรมทางการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งเศรษฐกิจไทยพึ่งพาภาคส่งออก ร้อยละ 70 ของ GDP ภาคนาเข้าร้อยละ 69 ของ GDP และภาคท่องเที่ยวและการลงทุนระหว่างประเทศรวมกัน ประมาณร้อยละ 18-19 ของ GDP จะส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจของประเทศอย่างรุนแรง” เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2559 คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากรเพื่อรองรับการปฏิบัติตามมาตรฐานสากล ด้านการป้องกันปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนการเงินแก่การก่อการร้ายของ FATF ซึ่งประเทศไทยจะรับการประเมินดังกล่าวในปี 2559 นี้ โดยข้อแนะนาของ FATF ได้เสนอให้กาหนด อาชญากรรมเกี่ยวกับภาษี (Tax Crimes Related to Direct Taxes and Indirect Taxes) เป็นความผิดมูลฐาน ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน บทสรุป : จากการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยในอนาคตอันใกล้เพื่อให้ทันต่อโลกยุคปัจจุบัน ข้างต้น ทาให้ข้อมูลในแต่ละธุรกรรมของภาคธุรกิจต้องมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างชัดแจ้งโดยผ่าน ระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่กรมสรรพากร ถือเป็นการสนับสนุนให้การบริหารจัดเก็บภาษีของกรมสรรพากร เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและช่วยให้สามารถขยายฐานภาษีให้กลุ่มผู้มีหน้าที่เสียภาษีที่อยู่นอกระบบภาษี ให้สามารถเข้าสู่ระบบการเสียภาษีได้ตรงกลุ่มเป้าหมาย จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ภาคธุรกิจต้องปรับตัว ให้มีการจัดทาบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชีเป็นไปอย่างมีระบบ ถูกต้องสมบูรณ์ โปร่งใส และ สามารถตรวจสอบได้ในทุกกิจกรรมที่ดาเนินการ
  • 7. - 4 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร 2. กิจกรรมหลักของร้านขายยา ที่มา: สานักยา (Bureau of Drug Control) ปี พ.ศ. 2557 การประกอบกิจการร้านขายยา อยู่ภายใต้การควบคุมของพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ดังนั้น การเปิดร้านขายยาและให้บริการต้องขอใบอนุญาตขายยา ซึ่งต้องปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน ของกฎกระทรวงการขออนุญาตและการออกใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน พ.ศ. 2556 จะกาหนดให้ ร้านยาทุกร้านต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพในการให้บริการภายใต้หลักวิธีปฏิบัติที่ดีในร้านยา ที่เรียกว่า Good Pharmacy Practice หรือ GPP ผู้ค้าส่ง (Dealer) ผู้นาเข้า (Importer) จานวน 920 ราย ผู้ผลิต (Manufacturer) จานวน 1,134 ราย ยาสาเร็จรูป โรงพยาบาล (Hospital) คลินิก (Clinic) ร้านขายยา (Drug Store) จานวน 21,318 ราย วัตถุดิบ ยาสาเร็จรูปยาสาเร็จรูป
  • 8. - 5 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร ประเภท แบบคาขอ ใบอนุญาต ขายยาแผนปัจจุบัน ข.ย. 1 ข.ย. 5 ขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จที่ไม่ใช่ยาอันตราย หรือยาควบคุมพิเศษ ข.ย. 2 ข.ย. 6 ขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จสาหรับสัตว์ ข.ย. 3 ข.ย. 7 ขายส่งยาแผนปัจจุบัน ข.ย. 4 ข.ย. 8 ขายยาเสพติดให้โทษประเภท 3 ย.ส. 3-1 จ.ย.ส. 3 การจัดทาบัญชีและรายงานต่าง ๆ ที่ร้านขายยาต้องจัดทา มีดังนี้ รายชื่อบัญชี กาหนดเวลาจัดทาบัญชี ระยะเวลา การเก็บบัญชี ส่งรายงาน อย. แบบ ข.ย. 9 บัญชีการซื้อยา ทุกครั้งที่มีการซื้อยาแต่ละอย่าง 3 ปีนับแต่วันซื้อ - แบบ ข.ย. 10 บัญชีการขายยา ควบคุมพิเศษ ทุกครั้งที่มีการขายยาควบคุมพิเศษ 3 ปีนับแต่วันขาย - แบบ ข.ย. 11 บัญชีการขายยา อันตรายเฉพาะรายการยาที่ เลขาธิการคณะกรรมการอาหาร และยากาหนด ทุกครั้งที่มีการขายยาอันตราย 3 ปีนับแต่วันขาย - แบบ ข.ย. 12 บัญชีการขายยา ตามใบสั่งยาของผู้ประกอบวิชาชีพ เวชกรรม ผู้ประกอบโรคศิลปะ หรือ ผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ ทุกครั้งที่มีการขายยาตามใบสั่งยา 3 ปีนับแต่วันขาย - แบบ ข.ย. 13 รายงานการขาย ยาตามที่เลขาธิการคณะกรรมการ อาหารและยากาหนด ทุก 4 เดือน ที่มีการขายยาตามที่ เลขาธิการคณะกรรมการอาหาร และยากาหนด - ภายใน30วัน นับแต่วันที่ ครบกาหนด 4 เดือน แบบ ร.ย.ส. 3 รายงานการขาย ยาเสพติดให้โทษประเภท 3 รายเดือนและรายปีที่มีการขาย ยาเสพติดให้โทษประเภท 3 - -
  • 9. - 6 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร ตัวอย่าง แบบ ข.ย. 9 ตัวอย่าง แบบ ข.ย. 10 ตัวอย่าง แบบ ข.ย. 11
  • 10. - 7 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร ตัวอย่าง แบบ ข.ย. 12 ตัวอย่าง แบบ ข.ย. 13
  • 11. - 8 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร ตัวอย่าง แบบ ร.ย.ส. 3/เดือน
  • 12. - 9 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร ตัวอย่าง แบบ ร.ย.ส. 3/ปี สาหรับร้านยาคุณภาพที่ได้ทาสัญญาเข้าร่วมโครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่อเนื่อง ของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) กับสมาคมเภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย) เพื่อให้บริการ คัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วน ตลอดจนการให้ความรู้และคาแนะนา ในเรื่องต่าง ๆ เช่น การฝากครรภ์ การคุมกาเนิด เป็นต้น ก่อนส่งต่อผู้มีความเสี่ยงสูงเข้าสู่ระบบ การรักษาพยาบาลตามสิทธิของผู้รับบริการ พร้อมกับข้อมูลด้วย ซึ่งทางร้านจะได้ค่าตอบแทนการเก็บข้อมูล ตามโครงการฯ ดังนี้
  • 13. - 10 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร ลาดับ กิจกรรมการเก็บข้อมูลรายงาน รายงานละ (บาท) 1 การคัดกรองความเสี่ยงในกลุ่มภาวะโรคเมตาบอลิก (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และโรคอ้วน) 50 2 การติดตามผลการส่งต่อผู้มีความเสี่ยงเข้าสู่หน่วยบริการ ได้แก่ กลุ่มเสี่ยง โรคเรื้อรัง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 50 3 การให้ความรู้ คาแนะนาและคาปรึกษาในกลุ่ม Metabolic Syndrome ครั้งที่ 1 50 4 การให้ความรู้ คาแนะนาและคาปรึกษาในกลุ่ม Metabolic Syndrome ครั้งที่ 2 50 5 กิจกรรมการคัดกรองและส่งต่อ มีความเสี่ยงเรื่องโรคที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มเสี่ยงการติดเชื้อ HIV 50 6 กิจกรรมการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง หอบหืด 50 7 การคัดกรองโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน หรือ Stroke 50 8 การดูแลเรื่องการใช้ยา 100 9 การเยี่ยมบ้าน 1,000 10 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เสพยาสูบ (รายที่เลิกสาเร็จ) ไม่เกิน 2,500 บาท ต่อราย สินค้าที่มีจาหน่ายในร้านขายยา จัดแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ (1) สินค้าที่ต้องให้เภสัชกรเป็นผู้ให้บริการส่งมอบ และทาบัญชีพร้อมลงลายมือชื่อกากับ เช่น ยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ เป็นต้น (2) สินค้าที่ผู้ให้บริการจะเป็นใครก็ได้ เช่น ยาสามัญประจาบ้าน สมุนไพร ยาแผนโบราณ อาหารเสริม ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร อุปกรณ์สาหรับแพทย์-ผู้ป่วย เวชสาอาง เป็นต้น 3. รายได้และรายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับกิจการร้านขายยา รายได้ รายจ่าย 1. รายได้หลัก 1.1 การขายยา 1.2 ค่าส่งเสริมการขาย 1.3 ค่าบริการคัดกรองความเสี่ยง (ถ้ามี) 2. รายได้อื่น 2.1 ดอกเบี้ย 2.2 อื่น ๆ 1. ต้นทุนขาย 2. ค่าใช้จ่ายขายและบริหาร 2.1 เงินเดือน 2.2 ค่าเช่า 2.3 ค่าน้าประปา ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ 2.4 ค่าใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม (Licensed Pharmacy ) 2.5 ค่าทาบัญชี ค่าสอบบัญชี 2.6 ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน 2.7 อื่น ๆ
  • 14. - 11 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร รายได้  รายได้จากการขายยา เป็นรายได้ที่เกิดจากการซื้อมา-ขายไป โดยขายให้กับผู้ค้าปลีก หรือ ผู้บริโภคทั่วไป  รายได้จากการส่งเสริมการขาย ได้แก่ เงินอุดหนุน เงินสนับสนุน เงินช่วยเหลือ เงินส่วนลด หรือเงินอื่นใดในลักษณะทานองเดียวกันที่ผู้ขายสินค้า ซึ่งเป็นผู้ผลิตหรือผู้จัดจาหน่ายได้จ่าย ให้แก่ผู้ซื้อสินค้าซึ่งเป็นผู้แทนจาหน่ายที่ซื้อสินค้าโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะนาไปขายต่อ  รายได้ค่าบริการในการคัดกรองเบื้องต้นกรณีทาสัญญาเข้าร่วมโครงการพัฒนาระบบการดูแล ผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่อเนื่อง ของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) กับสมาคมเภสัชกรรม ชุมชน (ประเทศไทย)  รายได้อื่นที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการ ได้แก่ 1. ดอกเบี้ยรับ 2. กาไรขาดทุนจากการจาหน่ายทรัพย์สิน รายจ่าย  ต้นทุนขาย ประกอบด้วย สินค้าคงเหลือต้นงวด บวก ซื้อสินค้า หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด  เงินเดือน ค่าจ้าง และประโยชน์เพิ่มอื่น ๆ เช่น ค่าอาหาร ค่าเช่าบ้าน ค่าสวัสดิการ เป็นต้น  ค่าเช่าอาคาร ที่นามาใช้เป็นสถานประกอบการ (กรณีใช้เป็นที่อยู่อาศัยด้วยให้เฉลี่ยเป็นค่าใช้จ่าย ส่วนตัว)  ค่าน้าประปา ค่าไฟฟ้า และค่าโทรศัพท์ (กรณีใช้เป็นที่อยู่อาศัยด้วยให้เฉลี่ยเป็นค่าใช้จ่ายส่วนตัว)  ค่าใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม (Licensed Pharmacy) ปัจจุบันประมาณ 3,000.- บาท ถึง 7,000.- บาทต่อเดือน  ค่าทาบัญชี และ ค่าสอบบัญชี  ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน  ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการ (ถ้ามี) เช่น ค่าซ่อมแซม เป็นต้น
  • 15. - 12 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร 4. รูปแบบการประกอบกิจการ 5. การเสียภาษีอากร 5.1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (1) ประเภทของเงินได้ ปัจจุบันร้านขายยามีรูปแบบการเสียภาษีที่มีสถานะทางกฎหมายเป็น “บุคคลธรรมดา” และ เมื่อร้านขายยามีรายได้จากการขาย หรือได้รับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้รับที่สามารถคานวณได้ เป็นเงิน ซึ่งได้รับจริงตามเกณฑ์เงินสด ทางประมวลรัษฎากรเรียกว่า “เงินได้พึงประเมิน” ซึ่งผู้เป็นเจ้าของ ร้านขายยาต้องนาเงินได้ดังกล่าวมารวมคานวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา รายได้จากการขายสินค้าที่ร้านขายยาได้รับ ถือว่าเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 ประเภทที่ 8 เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง หรือการอื่นที่มิได้ ระบุในประเภท 1-7 ตามประมวลรัษฎากร (2) การหักค่าใช้จ่าย เมื่อผู้มีเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 สามารถเลือกหักค่าใช้จ่ายได้โดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ซึ่งประมวลรัษฎากรได้กาหนดวิธีการหักค่าใช้จ่ายไว้ 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 หักค่าใช้จ่ายเป็นเหมาได้ ร้อยละ 60 (อ้างอิงตามมติ ครม. วันที่ 9 สิงหาคม 2559 เริ่มใช้ในรอบปีภาษี 2560) หรือ วิธีที่ 2 หักค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงตามความจาเป็นและสมควร ซึ่งต้องมีหลักฐานค่าใช้จ่าย เพื่อเป็นการยืนยันว่าค่าใช้จ่ายดังกล่าวเกิดขึ้นและเกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการร้านขายยาจริง (3) การหักค่าลดหย่อน อาทิ ค่าลดหย่อนส่วนตัว เบี้ยประกันชีวิต ค่าดอกเบี้ยกู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัย เงินบริจาคสาธารณะกุศล ร้านขายยา บุคคลธรรมดา ไม่เป็น ผู้ประกอบการ จดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่ม เป็นผู้ประกอบการ จดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่ม นิติบุคคล ไม่เป็น ผู้ประกอบการ จดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่ม เป็นผู้ประกอบการ จดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่ม
  • 16. - 13 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร (4) คานวณเงินได้ หักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน คงเหลือเป็นเงินได้สุทธิคานวณภาษีตาม อัตราภาษีเงินได้ ภาษีที่ต้องชาระ ให้เปรียบเทียบการคานวณภาษีจากเงินได้สุทธิกับภาษีที่คานวณจาก ร้อยละ 0.5 ของเงินได้พึงประเมิน โดยเสียภาษีจากยอดที่คานวณได้สูงกว่า หักภาษีที่ชาระไว้แล้ว (ภาษีหัก ณ ที่จ่าย หรือภาษีที่ชาระไว้แล้วตาม แบบ ภ.ง.ด.94) ร้านขายยาที่มีเงินได้ และไม่ได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม มีหน้าที่ต้องจัดทาบัญชี หรือรายงานรายได้และรายจ่ายเป็นประจาวัน โดยให้ทาเป็นภาษาไทย ถ้าทาเป็นภาษาต่างประเทศ ให้มีภาษาไทยกากับ และให้ลงรายการในบัญชีหรือรายงานแสดงรายได้และรายจ่ายภายใน 3 วันทาการ นับแต่วันที่มีรายได้หรือรายจ่าย ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 161) เรื่อง กาหนดให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และมิได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่ม จัดทาบัญชีหรือรายงานแสดงรายได้และรายจ่าย ลงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2549 (5) การยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา  ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี เป็นการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด.94) เฉพาะเงินได้พึงประเมินประเภทที่ 5-8 ที่ได้รับตั้งแต่เดือนมกราคมถึง เดือนมิถุนายน โดยยื่นภายในเดือนกันยายนของปีภาษี (ภาษีที่เสียไว้นั้นสามารถ นาไปหักออกจากภาษีที่ต้องชาระตอนสิ้นปีได้)  ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปี เป็นการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภ.ง.ด.90) ของเงินได้พึงประเมินทุกประเภทที่เจ้าของกิจการได้รับตลอดทั้งปีภาษี (ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม) โดยยื่นภายในเดือนมีนาคมของปีถัดไป และ นาภาษีครึ่งปี หรือ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ที่เสียไว้มาหักจากภาษีที่คานวณได้ คงเหลือ เงินภาษีต้องชาระเพิ่ม/ชาระไว้เกิน
  • 17. - 14 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร 5.2 ภาษีเงินได้นิติบุคคล (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกาไรสุทธิ ตามประมวลรัษฎากร โดยคานวณตามเงื่อนไข ดังนี้  รายได้จากกิจการหรือเนื่องจากกิจการที่ได้รับหรือพึงได้รับในรอบระยะเวลาบัญชี ตามมาตรา 65 แห่งประมวลรัษฎากร  หัก รายจ่ายและรายจ่ายพึงต้องจ่าย ในรอบระยะเวลาบัญชีตามมาตรา 65 ทวิ และ มาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร  ภาษีที่คานวณได้ คานวณจากกาไรสุทธิที่ต้องเสียภาษี คูณ ด้วยอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็นภาษีที่ต้องชาระ หัก ภาษีที่ชาระไว้แล้ว ตามแบบ ภ.ง.ด. 51 และหรือภาษีหัก ณ ที่จ่าย (ถ้ามี) คงเหลือเป็นภาษีชาระเพิ่มเติม หากผลการประกอบการขาดทุนสุทธิ ไม่มีภาษีต้องชาระ และสามารถนาผลขาดทุนดังกล่าวเป็นรายจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีถัดไปได้ไม่เกิน 5 รอบระยะเวลาบัญชี (2) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล มีหน้าที่ต้องจัดทาบัญชีงบดุล บัญชีทาการ บัญชีงบกาไรขาดทุน โดยมีบุคคลตามมาตรา 3 สัตต ตรวจสอบและรับรองบัญชี และให้ยื่นพร้อมกับการยื่นแบบแสดงรายการ ภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภ.ง.ด.50) บุคคลตามมาตรา 3 สัตต หมายถึง ผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี ประกอบด้วย  ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (Certified Public Accountant : CPA) เป็นผู้ที่ขึ้นทะเบียนและ ได้รับใบอนุญาตจากสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 สามารถตรวจสอบและรับรองงบการเงินของนิติบุคคลที่เป็นทั้งบริษัทและ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล  ผู้สอบบัญชีภาษีอากร (Tax Auditor : TA) เป็นผู้ที่ขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตจาก กรมสรรพากร ตามคาสั่งกรมสรรพากร ที่ ท.ป. 98/2544ฯ สามารถตรวจสอบและ รับรองงบการเงินของนิติบุคคลที่เป็นห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลขนาดเล็ก คือ ห้างหุ้นส่วน จดทะเบียนที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยที่มีทุนไม่เกิน 5 ล้านบาท สินทรัพย์รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท รายได้รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท (3) การยื่นแบบแสดงรายได้ภาษีเงินได้นิติบุคคล  การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี ตามแบบ ภ.ง.ด.51 ภายใน 2 เดือนนับจากวันสุดท้าย ของทุก 6 เดือนแรกของรอบระยะเวลาบัญชี (การยื่นแบบ ภ.ง.ด.51 ไม่ใช้บังคับกับรอบระยะเวลาบัญชีแรก หรือรอบระยะเวลาบัญชี สุดท้ายน้อยกว่า 12 เดือน)  การเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลสิ้นปี ตามแบบ ภ.ง.ด.50 ภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้าย ของรอบระยะเวลาบัญชี
  • 18. - 15 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร 5.3 ภาษีมูลค่าเพิ่ม (1) กรณีที่ยังไม่เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่มีรายรับจากการขายสินค้า หรือบริการเกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี ต้องยื่นคาขอจดทะเบียนเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.01) ภายใน 30 วันนับแต่วันที่มีรายรับเกิน หากกิจการที่ยังมีรายรับไม่ถึง 1.8 ล้านบาทต่อปี แต่ประสงค์จะจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม สามารถยื่นขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ก่อนได้เช่นกัน * หากกิจการมีรายรับถึงเกณฑ์ที่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่ไม่ได้จดทะเบียนภายใน เวลาที่กาหนด จะมีผลดังนี้  สาหรับรายรับส่วนที่เกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี ผู้ประกอบการจะต้องชาระภาษีมูลค่าเพิ่ม ด้วยตนเอง โดยไม่สามารถเรียกเก็บค่าภาษีมูลค่าเพิ่มจากผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการได้  ไม่สามารถออกใบกากับภาษีได้เนื่องจากยังไม่ได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่ม  ต้องเสียเบี้ยปรับ 2 เท่าของเงินภาษีที่ต้องเสียในเดือนภาษีตลอดระยะเวลาที่ไม่ได้ จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม หรือเป็นเงิน 1,000 บาทต่อเดือนภาษี แล้วแต่อย่างใด จะมากกว่า  เสียเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือน  ไม่มีสิทธิ์นาภาษีมูลค่าเพิ่มที่ตนเองถูกผู้ประกอบการจดทะเบียนอื่นเรียกเก็บ มาถือ เป็นภาษีซื้อหักออกจากภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องเสียได้ หมายเหตุ การขายยารักษาสัตว์ ฯลฯ ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 81 (จ) แห่งประมวลรัษฎากร (2) การออกใบกากับภาษี (2.1) ใบกากับภาษี คือ เอกสารหลักฐานสาคัญ ซึ่งผู้ประกอบการจดทะเบียนจะต้องจัดทา และออกให้กับผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการทุกครั้งที่มีการขายสินค้า เพื่อแสดงมูลค่าของสินค้าและจานวน ภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่เรียกเก็บหรือพึงเรียกเก็บจากผู้ซื้อสินค้าในแต่ละครั้ง การขายสินค้าของร้านขายยามีหน้าที่ ต้องออกใบกากับภาษีพร้อมทั้งส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อในทันทีที่มีการส่งมอบสินค้าให้กับผู้ซื้อ (2.2) ร้านขายยาที่มีลักษณะการประกอบกิจการแบบขายปลีกให้แก่ผู้บริโภคโดยตรง มีสิทธิ ออกใบกากับภาษีอย่างย่อได้ โดยวิธีการเขียนจากแบบฟอร์มที่ตีพิมพ์จากโรงพิมพ์ หรือโดยใช้เครื่องบันทึก การเก็บเงินก็ได้ แต่ต้องมีข้อความหรือรายการอย่างน้อย ดังนี้  คาว่า “ใบกากับภาษีอย่างย่อ” ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด  ชื่อหรือชื่อย่อ และเลขประจาตัวผู้เสียภาษีของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ออก ใบกากับภาษี  หมายเลขลาดับของใบกากับภาษี และหมายเลขลาดับของเล่ม (ถ้ามี)  ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ  ราคาสินค้าหรือราคาค่าบริการ โดยต้องมีข้อความระบุชัดเจนว่าได้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ไว้แล้ว  วัน เดือน ปี ที่ออกใบกากับภาษี  ข้อความอื่นที่อธิบดีกาหนด
  • 19. - 16 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร หากผู้ซื้อร้องขอใบกากับภาษีแบบเต็มรูปเพื่อนาไปเป็นหลักฐานในการขอคืนภาษีซื้อ ผู้ประกอบการซึ่งเป็นผู้ขายต้องออกใบกากับภาษีแบบเต็มรูปให้กับผู้ซื้อทันที ซึ่งต้องมีรายการอย่างน้อย ดังนี้  คาว่า “ใบกากับภาษี” ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด  ชื่อ ที่อยู่ เลขประจาตัวผู้เสียภาษี และสถานประกอบการของผู้ประกอบการจดทะเบียน ที่ออกใบกากับภาษี  ชื่อที่อยู่ เลขประจาตัวผู้เสียภาษี และสถานประกอบการของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ (ยกเว้นกรณีผู้ซื้อสินค้าเป็นผู้บริโภค และไม่ได้แจ้งเลขประจาตัวผู้เสียภาษีให้แก่ ผู้ขายสินค้า)  หมายเลขลาดับของใบกากับภาษี และหมายเลขลาดับของเล่ม (ถ้ามี)  ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ  จานวนภาษีมูลค่าเพิ่มที่คานวณจากมูลค่าของสินค้าหรือของบริการ โดยให้แยกออก จากมูลค่าของสินค้าและหรือของบริการให้ชัดแจ้ง  วัน เดือน ปี ที่ออกใบกากับภาษี  ข้อความอื่นที่อธิบดีกาหนด ลขชื่ชื่อ หรือชื่อย่อ และเลข า ค้ า ห รื อ ร า ค า อย่างย่ออย่างย่อ
  • 20. - 17 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร (2.3) ร้านขายยาที่ประสงค์จะใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงินเพื่อการออกใบกากับภาษีอย่างย่อ ให้ยื่นคาขออนุมัติใช้ต่ออธิบดีกรมสรรพากร ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 46) เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์การขออนุมัติใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงินเพื่อออกใบกากับภาษีอย่างย่อ และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงิน ตามมาตรา 86/6 แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2536 เครื่องบันทึกการเก็บเงินจะใช้บันทึกการเก็บเงินโดยตัวเองโดยไม่ต้องต่อเชื่อม หรือจะใช้ ต่อเชื่อมเข้ากับระบบคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อื่นเป็นระบบ POSS (Point of Sale System) ก็ได้ แต่ห้ามผู้ประกอบการจดทะเบียน ซึ่งใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงินระบบ POSS ออกใบกากับภาษีอย่างย่อด้วยวิธี การเขียน ยกเว้นกรณีที่เครื่องขัดข้องใช้การไม่ได้ เช่น เครื่องเสียหรือไฟฟ้าดับ โดยจะต้องประทับตราคาว่า “เครื่องขัดข้อง” ไว้ในใบกากับภาษีอย่างย่อที่ออกด้วยวิธีการเขียนด้วย กากับภาษีใบ ชื่อ ที่อยู่ สำนักงำนใหญ่ สำนักงำนใหญ่
  • 21. - 18 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร (3) การจัดทารายงานตามประมวลรัษฎากร ผู้ประกอบการจดทะเบียน มีหน้าที่จัดทารายงานเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม ดังต่อไปนี้ 1. รายงานภาษีขาย 1.1 ให้ลงรายการใบกากับภาษีแบบเต็มรูป ภายใน3วันทาการนับแต่วันที่ระบุไว้ในใบกากับภาษี 1.2 ให้ลงรายการใบกากับภาษีอย่างย่อ ภายใน 3 วันทาการนับแต่วันที่ระบุไว้ในใบกากับ ภาษีอย่างย่อ หรือกรณีใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงินออกใบกากับภาษี ให้ลงรายการ ภายใน 3 วันทาการนับแต่วันที่เครื่องบันทึกการเก็บเงินออกใบกากับภาษี เว้นแต่ ผู้ประกอบการจดทะเบียนใช้เครื่องบันทึกการเก็บเงินแบบ POSS จะต้องจัดทารายงาน ภาษีขายโดยอัตโนมัติทุกสิ้นวันทาการ 2. รายงานภาษีซื้อ ให้ลงรายการภายใน 3 วันทาการนับแต่วันที่ได้รับใบกากับภาษี 3. รายงานสินค้าและวัตถุดิบ ให้ลงรายการภายใน 3 วันทาการนับแต่วันที่รับมาหรือจ่ายไป ซึ่งสินค้าหรือวัตถุดิบ ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 89) เรื่อง กาหนดแบบหลักเกณฑ์ วิธีการและ เงื่อนไขเกี่ยวกับการจัดทารายงาน การลงรายการในรายงาน การเก็บใบกากับภาษีและเอกสารหลักฐานอื่นที่ใช้ประกอบการ การลงรายงานภาษีซื้อ ตามมาตรา 87 และมาตรา 87/3 วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร ลงวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2542 ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่ประสงค์จะออกใบกากับภาษีอย่างย่อ ด้วยเครื่องบันทึกการเก็บเงิน 1. ยื่นคาขอและเอกสารแนบ 1.1 คาขอ ภ.พ.06 1.2 คุณสมบัติของเครื่องบันทึกการเก็บเงิน และแผนผัง การต่อเชื่อมเครื่องบันทึกการเก็บเงินกับอุปกรณ์อื่น 1.3 ตัวอย่างใบกากับภาษี และรายงานต่างๆ ที่ออกจาก เครื่องบันทึกการเก็บเงิน 1.4 แผนผังการวางเครื่องบันทึกการเก็บเงิน ณ สถานประกอบการ 2. สถานที่ยื่นคาขอ ยื่น ณ สานักงานสรรพากรพื้นที่ท้องที่ ที่สถานประกอบการตั้งอยู่
  • 22. - 19 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร
  • 23. - 20 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร รายงานสินค้าและวัตถุดิบ ชื่อผู้ประกอบการ…..บริษัท ร่ารวย จากัด…………… เลขประจาตัวผู้เสียภาษีอากร ชื่อสถานประกอบการ……ร่ารวยฟาร์มาซี............. 0 0 1 5 5 5 0 0 0 1 2 3 5 ชื่อสินค้า/วัตถุดิบ......ยาแก้ไอตราเสือดา.............. สานักงานใหญ่ สาขาที่ 0 0 0 0 ชนิด/ขนาด.......500cc...............................ปริมาณนับเป็น.....ขวด.............................. เลขที่ใบสาคัญ วัน/เดือน/ปี ปริมาณสินค้า วัตถุดิบ หมายเหตุ รับ จ่าย คงเหลือ ยอดยกมา 1/1/59 - - 350 001/0055 10/1/59 500 - 850 001/001 15/1/59 - 15 835 หมายเหตุ ผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทา รายงานสินค้าและวัตถุดิบ แต่จะต้องทาการตรวจนับสินค้าคงเหลือ ณ วันที่ 30 มิถุนายนของปี และวันที่ 31 ธันวาคมของปี และกรอกรายการสินค้าคงเหลือในแบบรายละเอียดสินค้าคงเหลือ โดยให้ถือว่า แบบรายละเอียดสินค้าคงเหลือเป็นรายงานสินค้าและวัตถุดิบตามมาตรา 87(3) แห่งประมวลรัษฎากร โดยต้องมีรายการและข้อความอย่างน้อย ดังนี้
  • 24. - 21 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร 5.4 ภาษีหัก ณ ที่จ่าย กรณีผู้จ่ายเงินได้ที่เป็นบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลจ่ายเงินได้ ให้แก่ ผู้รับเงินได้ประเภท เงินเดือน ค่าจ้างแรงงาน เบี้ยเลี้ยง โบนัส ฯลฯ ผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ทุกคราวที่มีการจ่ายเงิน โดยคานวณตามมาตรา 48 แห่งประมวลรัษฎากร และนาส่งด้วยแบบ ภ.ง.ด.1 ภายใน 7 วันนับแต่วันสิ้นเดือน ของเดือนที่จ่ายเงินได้พึงประเมิน ผู้จ่ายเงินได้ที่เป็นนิติบุคคลจ่ายเงินได้ประเภท ค่าเช่า ค่าจ้างทาของ ค่าขนส่ง (ถ้ามี) ให้แก่ผู้รับเงินได้ ที่เป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล ผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย และนาส่งด้วยแบบ ภ.ง.ด.3 และหรือ ภ.ง.ด.53 ภายใน 7 วันนับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงินได้พึงประเมิน ตารางเงินได้พึงประเมิน การหักภาษี ณ ที่จ่ายและนาส่งภาษี ลาดับ ประเภทเงินได้ อัตรา ภาษี หัก ณ ที่จ่าย (ร้อยละ) ผู้จ่ายเงินได้พึง ประเมิน ผู้รับเงินได้ พึงประเมิน แบบแสดง รายการ กาหนดเวลา การยื่นแบบ แสดง รายการภาษี 1 ม.40(1)เงินเดือนเบี้ยเลี้ยง โบนัส ฯลฯ ม.40(2)ค่านายหน้าฯลฯ อัตรา ก้าวหน้า บุคคลธรรมดา นิติบุคคล บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.1 ภายใน 7 วันนับแต่ วันสิ้นเดือน ของเดือน ที่จ่ายเงินได้ พึงประเมิน 2 ม.40(5) ค่าเช่า 5 บุคคลธรรมดา บุคคลธรรมดา/ นิติบุคคล ไม่หัก/ ไม่ยื่นแบบฯ นิติบุคคล บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.3 นิติบุคคล ภ.ง.ด.53 3 ม.40(7) ค่าจ้างทาของ (ผู้รับจ้างเป็นผู้จัดหาสัมภาระ) 3 บุคคลธรรมดา บุคคลธรรมดา/ นิติบุคคล ไม่หัก/ ไม่ยื่นแบบฯ นิติบุคคล บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.3 นิติบุคคล ภ.ง.ด.53 4 ม.40(8) ค่าขนส่ง 1 บุคคลธรรมดา บุคคลธรรมดา/ นิติบุคคล ไม่หัก/ ไม่ยื่นแบบฯ นิติบุคคล บุคคลธรรมดา ภ.ง.ด.3 นิติบุคคล ภ.ง.ด.53
  • 25. - 22 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร 6. กรณีศึกษาการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล 6.1 กรณีบุคคลธรรมดา คานวณภาษี 2 วิธี (1) วิธีที่ 1คานวณจากเงินได้สุทธิ คานวณตามอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เลือกหักค่าใช้จ่ายได้ 2วิธี  *หัก ค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาร้อยละ 60 (อ้างอิงตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 9 สิงหาคม 2559เริ่มใช้ในรอบปีภาษี 2560) หรือ  หัก ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงตามความจาเป็นและสมควร หมายเหตุ ** หักค่าลดหย่อนส่วนตัว 60,000 บาท และอัตราการคานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (อ้างอิงตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ ๑๙ เมษายน 2559 เริ่มใช้ในรอบปีภาษี 2560) (2) วิธีที่ 2 คานวณจากเงินได้พึงประเมิน คูณ ร้อยละ 0.5 ทั้งนี้การเสียภาษีจะต้องเลือกวิธีที่คานวณภาษีได้สูงกว่า โดยเปรียบเทียบระหว่างวิธีที่ 1 กับวิธีที่ 2 6.2 กรณีนิติบุคคล ตามข้อสมมติฐาน ดังนี้ (2) กรณีตัวอย่างที่ 1 ถึง 3  เป็นนิติบุคคลที่จดแจ้งตามมาตรการการจัดทาบัญชีชุดเดียว ตามพระราชกาหนด การยกเว้นและสนับสนุนการปฏิบัติการเกี่ยวกับภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร พ.ศ. 2558  กิจการ SMEs ได้แก่ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีทุนจดทะเบียนชาระแล้ว ในวันสุดท้าย ของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาท และมีรายได้จากการขายสินค้าและให้บริการ ในรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 30 ล้านบาท ซึ่งได้รับสิทธิประโยชน์ในการยกเว้นและ ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 595) พ.ศ. 2558 (2) กรณีตัวอย่างที่ 4  เป็นนิติบุคคลที่ไม่เข้าเงื่อนไข SMEs เนื่องจากมีรายได้จากการขายสินค้าและหรือ ให้บริการ ในรอบระยะเวลาบัญชีเกิน 30 ล้านบาท  เสียภาษีในอัตราทั่วไป ร้อยละ 20
  • 26. - 23 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร กรณีตัวอย่างที่ 1 ยอดขายวันละ 5,000 บาท กาไรขั้นต้น 15% ต้นทุนขาย 85% เงินเดือนเภสัชกร 22,000 บาท/เดือน ค่าใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 5,000 บาท/เดือน เงินเดือนพนักงาน 9,000 บาท/เดือน ค่าทาบัญชี 3,000 บาท/เดือน ค่าสอบบัญชี 10,000 บาท/ปี บุคคลธรรมดา นิติบุคคล หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา หักค่าใช้จ่ายตามความจาเป็นและสมควร คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ : คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ : คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ : วิธีที่ 1 เงินได้จากการขาย (5,000 บาท x 360 วัน) 1,800,000 วิธีที่ 1 เงินได้จากการขาย (5,000 บาท x 360 วัน) 1,800,000 เงินได้จากการขาย (5,000 บาท x 360 วัน) 1,800,000 หัก ค่าใช้จ่ายเหมา 60% * (1,080,000) หัก ค่าใช้จ่าย :- หัก ต้นทุนขาย 85% (1,530,000) เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 720,000 ต้นทุนขาย 85% (1,530,000) กาไรขั้นต้น 15% 270,000 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว ** (60,000) เงินเดือนเภสัชกร (22,000x12) (264,000) หัก เงินเดือนเภสัชกร (22,000x12) (264,000) เงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษี 660,000 ค่าใบอนุญาตฯ (5,000x12) (60,000) ค่าใบอนุญาตฯ (5,000x12) (60,000) คานวณภาษี ** เงินเดือนพนักงาน (9,000x12) (108,000) เงินเดือนพนักงาน (9,000x12) (108,000) 1 - 150,000 ยกเว้น - เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย (162,000) ค่าทาบัญชี (3,000x12) (36,000) 150,000 - 300,000 5% 7,500 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว ** (60,000) ค่าสอบบัญชี (10,000) 300,001 - 500,000 10% 20,000 เงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษี (222,000) กาไรสุทธิเพื่อเสียภาษี (208,000) 500,001 - 750,000 15% 24,000 คานวณภาษี ** คานวณภาษี 750,001 - 1,000,000 20% 1 - 150,000 ยกเว้น SMEs (จดแจ้งตามมาตรการบัญชีชุดเดียว) 1,000,001 - 2,000,000 25% 150,000 - 300,000 5% 0 - 300,000 ยกเว้น 2,000,001 - 5,000,000 30% 300,001 - 500,000 10% ตั้งแต่ 300,001 ขึ้นไป 10% 5,000,001 ขึ้นไป 35% 500,001 - 750,000 15% ภาษีที่คานวณได้ = - ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 1 = 51,500 750,001 - 1,000,000 20% 1,000,001 - 2,000,000 25% หมายเหตุ ผลขาดทุน (208,000) สามารถนาไปเป็นค่าใช้จ่าย 2,000,001 - 5,000,000 30% ในรอบระยะเวลาบัญชีถัดไปไม่เกิน 5 รอบระยะเวลาบัญชี 5,000,001 ขึ้นไป 35% ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 1 = - วิธีที่ 2 เงินได้พึงประเมิน x 0.5% 1,800,000 x 0.5% วิธีที่ 2 เงินได้พึงประเมิน x 0.5% 1,800,000 x 0.5% ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 2 = 9,000 ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 2 = 9,000 ภาษีที่ต้องเสีย 51,500 ภาษีที่ต้องเสีย 9,000 ภาษีที่ต้องเสีย -
  • 27. - 24 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร กรณีตัวอย่างที่ 2 ยอดขายวันละ 20,000 บาท กาไรขั้นต้น 15% ต้นทุนขาย 85% เงินเดือนเภสัชกร 22,000 บาท/เดือน ค่าใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 5,000 บาท/เดือน เงินเดือนพนักงาน 9,000 บาท/เดือน ค่าทาบัญชี 3,000 บาท/เดือน ค่าสอบบัญชี 10,000 บาท/ปี บุคคลธรรมดา นิติบุคคล หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา หักค่าใช้จ่ายตามความจาเป็นและสมควร คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ : คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ : คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ : วิธีที่ 1 เงินได้จากการขาย (20,000 บาท x 360 วัน) 7,200,000 วิธีที่ 1 เงินได้จากการขาย (20,000 บาท x 360 วัน) 7,200,000 เงินได้จากการขาย (20,000 บาท x 360 วัน) 7,200,000 หัก ค่าใช้จ่ายเหมา 60% * (4,320,000) หัก ค่าใช้จ่าย :- หัก ต้นทุนขาย 85% (6,120,000) เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 2,880,000 ต้นทุนขาย 85% (6,120,000) กาไรขั้นต้น 15% 1,080,000 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว ** (60,000) เงินเดือนเภสัชกร (22,000x12) (264,000) หัก เงินเดือนเภสัชกร (22,000x12) (264,000) เงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษี 2,820,000 ค่าใบอนุญาตฯ (5,000x12) (60,000) ค่าใบอนุญาตฯ (5,000x12) (60,000) คานวณภาษี ** เงินเดือนพนักงาน (9,000x12) (108,000) เงินเดือนพนักงาน (9,000x12) (108,000) 1 - 150,000 ยกเว้น - เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 648,000 ค่าทาบัญชี (3,000x12) (36,000) 150,000 - 300,000 5% 7,500 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว ** (60,000) ค่าสอบบัญชี (10,000) 300,001 - 500,000 10% 20,000 เงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษี 588,000 กาไรสุทธิเพื่อเสียภาษี 602,000 500,001 - 750,000 15% 37,500 คานวณภาษี ** คานวณภาษี 750,001 - 1,000,000 20% 50,000 1 - 150,000 ยกเว้น - SMEs (จดแจ้งตามมาตรการบัญชีชุดเดียว) 1,000,001 - 2,000,000 25% 250,000 150,000 - 300,000 5% 7,500 0 - 300,000 ยกเว้น - 2,000,001 - 5,000,000 30% 246,000 300,001 - 500,000 10% 20,000 ตั้งแต่ 300,001 ขึ้นไป 10% 30,200 5,000,001 ขึ้นไป 35% 500,001 - 750,000 15% 13,200 ภาษีที่คานวณได้ = 30,200 ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 1 = 611,000 750,001 - 1,000,000 20% 1,000,001 - 2,000,000 25% 2,000,001 - 5,000,000 30% 5,000,001 ขึ้นไป 35% ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 1 = 40,700 วิธีที่ 2 เงินได้พึงประเมิน x 0.5% 7,200,000 x 0.5% วิธีที่ 2 เงินได้พึงประเมิน x 0.5% 7,200,000 x 0.5% ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 2 = 36,000 ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 2 = 36,000 ภาษีที่ต้องเสีย 611,000 ภาษีที่ต้องเสีย 40,700 ภาษีที่ต้องเสีย 30,200
  • 28. - 25 - คู่มือนี้เป็นเพียงคู่มือและตัวอย่างเพื่อเสริมความเข้าใจ ซึ่งอาจไม่ครอบคลุมและใช้อ้างอิงได้ทุกกรณี I กรมสรรพากร กรณีตัวอย่างที่ 3 ยอดขายวันละ 50,000 บาท กาไรขั้นต้น 15% ต้นทุนขาย 85% เงินเดือนเภสัชกร 22,000 บาท/เดือน ค่าใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม 5,000 บาท/เดือน เงินเดือนพนักงาน 9,000 บาท/เดือน ค่าทาบัญชี 3,000 บาท/เดือน ค่าสอบบัญชี 10,000 บาท/ปี บุคคลธรรมดา นิติบุคคล หักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมา หักค่าใช้จ่ายตามความจาเป็นและสมควร คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ : คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ : คานวณภาษีเงินได้ดังนี้ : วิธีที่ 1 เงินได้จากการขาย (50,000 บาท x 360 วัน) 18,000,000 วิธีที่ 1 เงินได้จากการขาย (50,000 บาท x 360 วัน) 18,000,000 เงินได้จากการขาย (50,000 บาท x 360 วัน) 18,000,000 หัก ค่าใช้จ่ายเหมา 60% * (10,800,000) หัก ค่าใช้จ่าย :- หัก ต้นทุนขาย 85% (15,300,000) เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 7,200,000 ต้นทุนขาย 85% (15,300,000) กาไรขั้นต้น 15% 2,700,000 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว ** (60,000) เงินเดือนเภสัชกร (22,000x12) (264,000) หัก เงินเดือนเภสัชกร (22,000x12) (264,000) เงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษี 7,140,000 ค่าใบอนุญาตฯ (5,000x12) (60,000) ค่าใบอนุญาตฯ (5,000x12) (60,000) คานวณภาษี ** เงินเดือนพนักงาน (9,000x12) (108,000) เงินเดือนพนักงาน (9,000x12) (108,000) 1 - 150,000 ยกเว้น - เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 2,268,000 ค่าทาบัญชี (3,000x12) (36,000) 150,000 - 300,000 5% 7,500 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว ** (60,000) ค่าสอบบัญชี (10,000) 300,001 - 500,000 10% 20,000 เงินได้สุทธิเพื่อเสียภาษี 2,208,000 กาไรสุทธิเพื่อเสียภาษี 2,222,000 500,001 - 750,000 15% 37,500 คานวณภาษี ** คานวณภาษี 750,001 - 1,000,000 20% 50,000 1 - 150,000 ยกเว้น - SMEs (จดแจ้งตามมาตรการบัญชีชุดเดียว) 1,000,001 - 2,000,000 25% 250,000 150,000 - 300,000 5% 7,500 0 - 300,000 ยกเว้น - 2,000,001 - 5,000,000 30% 900,000 300,001 - 500,000 10% 20,000 ตั้งแต่ 300,001 ขึ้นไป 10% 192,200 5,000,001 ขึ้นไป 35% 749,000 500,001 - 750,000 15% 37,500 ภาษีที่คานวณได้ = 192,200 ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 1 = 2,014,000 750,001 - 1,000,000 20% 50,000 1,000,001 - 2,000,000 25% 250,000 2,000,001 - 5,000,000 30% 62,400 5,000,001 ขึ้นไป 35% ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 1 = 427,400 วิธีที่ 2 เงินได้พึงประเมิน x 0.5% 18,000,000 x 0.5% วิธีที่ 2 เงินได้พึงประเมิน x 0.5% 18,000,000 x 0.5% ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 2 = 90,000 ภาษีที่คานวณได้ตามวิธีที่ 2 = 90,000 ภาษีที่ต้องเสีย 2,014,000 ภาษีที่ต้องเสีย 427,400 ภาษีที่ต้องเสีย 192,200