SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 170
Baixar para ler offline
การเพิมขีดความสามารถในการบริหารสิ นค้ าคงคลังและการวางแผนการตลาด
่
ในธุรกิจร้ านขายยา : กรณีศึกษาร้ านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี
Increase Inventory In Management And Marketing Planning
In Drugs Store : A case of Kapookya Drugs Udonthani

ปวีณา ทับภูมี
ปัทมา เชื้อกรุงเทพ
อัจฉรา หาญกล้า

รายงานสั มมนาการจัดการ หลักสู ตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2551
การเพิมขีดความสามารถในการบริหารสิ นค้ าคงคลังและการวางแผนการตลาด
่
ในธุรกิจร้ านขายยา : กรณีศึกษาร้ านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี
Increase Inventory In Management And Marketing Planning
In Drugs Store : A case of Kapookya Drugs Udonthani

ปวีณา ทับภูมี
ปัทมา เชื้อกรุงเทพ
อัจฉรา หาญกล้า

รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา 961 493 สั มมนาการจัดการ
หลักสู ตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการ
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2551
ใบรับรองรายงานสั มมนาการจัดการ
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หลักสู ตร
บริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการ
ชื่อโครงการ

:

การเพิ่มขีดความสามารถในการบริ หารสิ นค้าคงคลังและการวางแผนการตลาด
ในธุรกิจร้านขายยา: กรณี ศึกษาร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี

ชื่อผู้จดทาโครง
ั

:

นางสาวปวีณา ทับภูมี
นางสาวปั ทมา เชื้อกรุ งเทพ

รหัสประจาตัว
รหัสประจาตัว

483210856-5
483210858-1

นางสาวอัจฉรา หาญกล้า

รหัสประจาตัว

483210892-1

คณะกรรมการสอบประเมินโครงการ
ผูช่วยศาสตราจารย์อารี ย ์ นัยพินิจ
้
ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร.นวลฉวี แสงชัย
้
อาจารย์ภทรขวัญ พิลางาม
ั
อาจารย์สุกานดา ฟองย้อย
อาจารย์ภทรวดี เพิ่มวณิ ชกุล
ั
อาจารย์ ทปรึกษารายงานการค้ นคว้ าอิสระ
ี่
.................................................อาจารย์ที่ปรึ กษา
(อาจารย์ภทรวดี เพิ่มวณิ ชกุล)
ั
...................................................ที่ปรึ กษาองค์กร
(พันตรี .ภญ.อนุตรตรี ย ์ ศรี กลวงษ์)
ุ
กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาเรื่ อง “การเพิ่มขีดความสามารถในการบริ หารสิ นค้าคงคลังและการวางแผนการตลาดในธุรกิจ
ร้านขายยา : กรณี ศึกษาร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี ” รายงานฉบับนี้เสร็ จสาเร็ จลุล่วงไปได้ดวยดี เพราะได้รับ
้
ความกรุ ณาอย่างสูงรวมถึงคาแนะนาจากอาจารย์ภทรวดี เพิ่มวณิ ชกุล ซึ่งเป็ นอาจารย์ที่ปรึ กษา และผูช่วย
ั
้
ศาสตราจารย์อารี ย ์ นัยพินิจ ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร. นวลฉวี แสงชัย อาจารย์ภทรขวัญ พิลางาม และอาจารย์
้
ั
สุกานดา ฟองย้อย ที่ปรึ กษาร่ วมในการศึกษาทารายงานสัมมนาในครั้งนี้ ซึ่งท่านอาจารย์ทุกท่านได้กรุ ณาสละเวลา
ให้คาปรึ กษาและข้อเสนอแนะสาหรับการจัดทาวิจยฉบับนี้ให้เสร็ จสมบูรณ์
ั
ขอขอบพระคุณ พันตรี .ภญ.อนุตรตรี ย ์ ศรี กลวงษ์ ผูประกอบการร้านกระปุกยาที่ให้ความอนุเคราะห์
ุ
้
และให้ความร่ วมมืออย่างดีในการให้รายละเอียดข้อมูลที่เป็ นเนื้อหาสาคัญในการศึกษาวิจยครั้งนี้ รวมทั้งพนักงาน
ั
ร้านกระปุกยาทุกท่านขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงมา ณ ที่น้ ี
ขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ และครอบครัวของคณะผูจดทาที่คอยให้ความช่วยเหลือสนับสนุนและ
้ั
ั ้ั
่
เป็ นกาลังใจที่สาคัญให้กบผูจดทาตลอดระยะเวลาที่ผานมา และขอขอบพระคุณเพื่อนนักศึกษาสาขาการจัดการรุ่ น
ที่ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่นทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือและเป็ นกาลังใจที่ดีตลอดมา

ปวีณา ทับภูมี
ปั ทมา เชื้อกรุ งเทพ
อัจฉรา หาญกล้า
ปวีณา ทับภูมี, ปั ทมา เชื้อกรุ งเทพ และอัจฉรา หาญกล้า. การเพิ่มขีดความสามารถในการบริ หารสิ นค้าคงคลัง
และการวางแผนการตลาดในธุรกิจร้านขายยา : กรณี ศึกษาร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี . รายงาน
สัมมนาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงการ : อาจารย์ภทรวดี เพิ่มวณิ ชกุล
ั

บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริ หารสิ นค้าคงคลังและการวางแผน
ั
การตลาดในธุรกิจร้านขายยา : กรณี ศึกษาร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี โดยทาการวิเคราะห์ปัญหาจากการ
ดาเนินงาน จากการวิเคราะห์โดยแผนภาพก้างปลาพบว่าร้านกระปุกยามีปัญหา 2 ด้าน คือ 1) ด้านสิ นค้าคงคลัง มี
การจัดเก็บสิ นค้าไม่เป็ นหมวดหมู่ ยากต่อการค้นหาและเสี ยเวลาการให้บริ การลูกค้า ร้านขาดการบันทึกและการ
ตรวจสอบข้อมูลสิ นค้าคงคลัง ไม่มีการจัดระบบหมุนเวียนสิ นค้าเข้าออก ทาให้เกิดปั ญหาต่าง ๆ ตามมา เช่น
ปั ญหายาขาดคลังหรื อยาค้างคลังมากเกินความจาเป็ น และยังขาดการวางแผนในการสังซื้อสิ นค้าที่ดี ทาให้ไม่
่
ทราบจานวนสิ นค้าคงคลังที่หมุนเวียนอยู่ 2) ด้านการตลาด ร้านยังขาดการวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาดและขาด
การประชาสัมพันธ์ร้านทาให้ร้านยังไม่เป็ นที่รู้จกของลูกค้ากลุ่มเป้ าหมาย ดังนั้นจึงได้ทาการแก้ไขปั ญหาโดยนา
ั
เครื่ องมือการจัดการมาวิเคราะห์และนาแนวคิด 5ส.มาช่วยในการจัดเก็บสิ นค้าที่ไม่เป็ นหมวดหมู่ ให้ดียงขึ้นเพื่อ
ิ่
ลดระยะเวลาในการค้นหาสิ นค้า นาสต๊อกการ์ดมาจัดการระบบสิ นค้าคงคลัง ร้านมีการตรวจนับและจดบันทึก
สม่าเสมอพร้อมทั้งนาหลักการสิ นค้าเข้าก่อนออกก่อนมาช่วยในระบบหมุนเวียนสิ นค้าคงคลัง เพื่อควบคุมปริ มาณ
สิ นค้าคงคลังให้มีประสิ ทธิภาพมากยิงขึ้น และมีการวางแผนการสังซื้อที่ดี โดยทราบปริ มาณจุดสังซื้อที่ประหยัด
่
่
่
สุดที่สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านสิ นค้าคงคลังได้เป็ นอย่างดี และด้านการตลาดได้วเิ คราะห์สภาพแวดล้อมทาง
การตลาด การแข่งขันในธุรกิจร้านขายยา วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรคของร้าน และสารวจ
ภาคสนามจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี เพื่อเป็ นข้อมูลในการวางแผนกลยุทธ์ทาง
การตลาด กาหนดตลาดเป้ าหมาย วิเคราะห์พฤติกรรมผูบริ โภคและการวางแผนการตลาดให้เหมาะสมกับร้าน
้
่
กระปุกยา โดยมีวตถุประสงค์ทางการตลาดเพื่อเพิมยอดขายไม่นอยกว่า 5% เมื่อเทียบกับปี ที่ผานมา จากการแก้ไข
ั
้
่
ปั ญหาดังกล่าว ทาให้ร้านกระปุกยามีการจัดสิ นค้าเป็ นหมวดหมู่สามารถลดระยะเวลาในการค้นหาสิ นค้าได้ มีการ
บันทึกและตรวจสอบข้อมูลสิ นค้าคงคลังอย่างสม่าเสมอ มีระบบหมุนเวียนสิ นค้า เข้าก่อนออกก่อน มีระบบการ
วางแผนในการสังซื้อที่ดีทาให้สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านสิ นค้าคงคลังได้ และกิจกรรมทางการตลาดที่ชดเจนที่ทา
ั
่
ให้ร้านสามารถเพิ่มยอดขายบรรลุวตถุประสงค์ได้
ั
สารบัญ

หน้ า
บทที่ 1 บทนา
1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา
1.2 กรอบแนวความคิด
1.3 วัตถุประสงค์
1.4 ขอบเขตของการวิจย
ั
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง
ั
2.1 ใบตรวจสอบ (Check Sheet)
2.2 แผนผังสาเหตุและผล (Cause and Effect Diagram)
2.3 แนวความคิดเรื่ องหลักการ 5ส.
2.4 หลักการแบ่งหมวดหมู่และชนิดของยา
2.5 แนวความคิดเรื่ องสิ นค้าคงคลัง
2.6 สภาพแวดล้อมทัวไป (General Environment)
่
2.7 การวิเคราะห์ (SWOT Analysis)
2.8 การวิเคราะห์การแข่งขันในธุรกิจโดยใช้ (Five Forces Model) 19
2.9 การวิเคราะห์พฤติกรรมผูบริ โภค
้
2.10 การตลาดตามเป้ าหมาย (Target marketing หรื อ STP marketing)
2.11 ทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix :4Ps)
2.12 แนวความคิดกลยุทธ์การจัดผังร้านค้าปลีก (Store design)
2.13 งานวิจยที่เกี่ยวข้อง
ั
บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา
3.1 ประชากร
3.2 กลุ่มตัวอย่าง
3.3 พื้นที่ทาการวิจย
ั
3.4 ขอบเขตเนื้อหาที่วจย
ิั
3.5 การเก็บรวบรวมข้อมูลการศึกษา
3.6 เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมการวิจย
ั
3.7 การวิเคราะห์ขอมูลและแปรผลข้อมูล
้

1
3
4
4
4
5
6
7
10
12
12
16
18
21
24
26
28
32
35
35
36
36
37
38
38
สารบัญ(ต่ อ)

หน้ า
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอมูล
้
4.1 ผลการวิเคราะห์ปัญหา
4.2 การแก้ไขปั ญหาสิ นค้าคงคลัง
4.3 การแก้ไขปั ญหาด้านการตลาด
4.3.1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทัวไป
่
4.3.2 การวิเคราะห์เชิงการแข่งขัน
4.3.3 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร
4.3.4 การวิเคราะห์คู่แข่งขัน
4.3.5 ผลการวิเคราะห์ขอมูลจากแบบสอบถาม
้
4.3.6 การวิเคราะห์ตลาดตามเป้ าหมาย
4.3.7 แผนกลยุทธ์ทางการตลาด
บทที่ 5 สรุ ปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
5.1 สรุ ปผลการศึกษา
5.2 แผนสารอง
5.3 ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณ์ผประกอบการ
ู้
ภาคผนวก ข แบบสารวจเพื่อศึกษาปั ญหาร้านกระปุกยา ( Check Sheet)
ภาคผนวก ค พื้นฐานของการกาหนดคู่แข่งขัน
ภาคผนวก ง ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าจังหวัดอุดรธานี
ภาคผนวก จ แสดงแผนที่ร้านกระปุกยาและคู่แข่งขัน
ภาคผนวก ฉ รายชื่อร้านขายยาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี
จังหวัดอุดรธานี
ภาคผนวก ช รหัสสิ นค้าร้านกระปุกยา
ภาคผนวก ซ ตารางแสดงรายการบันทึกสิ นค้า (สต๊อกการ์ด)
ภาคผนวก ฌ แบบสอบถาม “แบบสอบถาม “การศึกษาพฤติกรรมในการซื้อผลิตภัณฑ์
ของผูบริ โภคจากร้านขายยา ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี
้
จังหวัดอุดรธานี”

39
41
60
60
62
63
66
68
74
76
90
92
93
96
99
102
105
107
110
112
116
118
127
สารบัญ(ต่ อ)

ภาคผนวก ญ อัตราเงินเดือนแรกบรรจุตามคุณวุฒิ
ภาคผนวก ฎ งบกาไรขาดทุนของร้านกระปุกยา
ภาคผนวก ฏ แสดงแนวโน้มยอดขายของร้านกระปุกยา
ภาคผนวก ฐ แสดงแนวโน้มยอดขายผลิตภัณฑ์แต่ละประเภท
ของร้านกระปุกยา
ภาคผนวก ฑ การจัดผังร้านยา
ภาคผนวก ฒ ข้อจากัดในการโฆษณายา
ภาคผนวก ณ ร้านยาคุณภาพ
ประวัติผศึกษา
ู้

หน้ า
131
133
136
139
142
148
151
158
สารบัญตาราง

ตารางที่ 1 แสดงขั้นตอนกิจกรรม 5ส.
ตารางที่ 2 แสดงคาถาม 7 คาถาม (6W 1H) เพื่อค้นหาคาตอบ 7 ประการ
ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริ โภค
้
ตารางที่ 3 แสดงการกาหนดโควตาในการแจกแบบสอบถามของร้านกระปุกยาทั้ง 3 สาขา
ตารางที่ 4 แสดงผลการสังเกตการณ์จบเวลาการค้นหาสิ นค้าโดยเฉลี่ย
ั
ตารางที่ 5 แสดงการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของพนักงานร้านกระปุกยา
ตารางที่ 6 ข้อมูลที่ใช้ในการคานวณตัวอย่างยา 10 รายการ
ในการสังซื้อด้วย
EOQ Model53
่
ตารางที่ 7 ต้นทุนรวมของตัวอย่างยา 10 รายการ ก่อนใช้ EOQ Model
ตารางที่ 8 ต้นทุนรวมของตัวอย่างยา 10 รายการ หลังใช้ EOQ Model
ตารางที่ 9 มูลค่าที่ลดลงด้านค่าใช้จ่ายยาคงคลังของตัวอย่างยา 10 รายการ
เมื่อใช้ทฤษฎี EOQ
ตารางที่ 10 รู ปแบบการคานวณหาปริ มาณการสังซื้อที่ประหยัดที่สุด
่
ตารางที่ 11 แสดงปริ มาณการสังซื้อที่ประหยัดและระดับของสิ นค้าคงเหลือที่ตองทาการสังซื้อใหม่
้
่
่
ตารางที่ 12 แสดงประชากรแยกตามอายุ เพศ จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2551
ตารางที่ 13 แสดงผลการวิเคราะห์การแข่งขันโดยใช้ Five forces Model
ตารางที่ 14 แสดงรายชื่อร้านคู่แข่งขันของร้านกระปุกยา 1
ตารางที่ 15 แสดงจุดแข็ง จุดอ่อน ของร้านคู่แข่งขันของร้านกระปุกยา 1
ตารางที่ 16 แสดงรายชื่อร้านคู่แข่งขันของร้านกระปุกยา 2
ตารางที่ 17 แสดงรายชื่อร้านคู่แข่งขันของร้านกระปุกยา 3
ตารางที่ 18 แสดงจุดแข็ง จุดอ่อน ของร้านคู่แข่งขันของร้านกระปุกยา 3
ตารางที่ 19 แสดงจานวนและร้อยละจากกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ
รายได้ต่อเดือน
ตารางที่ 20 แสดงจานวนและร้อยละจากกลุ่มตัวอย่างตามพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์จาก
ร้านขายยาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี
ตารางที่ 21 แสดงจานวนและร้อยละจากกลุ่มตัวอย่างตามพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์จาก
ร้านกระปุกยาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี
ตารางที่ 22 แสดงหลักเกณฑ์ในการแบ่งส่วนตลาดร้านกระปุกยา
ตารางที่ 23 แสดงคะแนนสะสมเพื่อและของรางวัล

หน้ า
11
22
37
41
47
54
55
56
57
59
60
60
63
66
67
67
67
68
68
69
71
73
74
สารบัญตาราง(ต่ อ)
หน้ า
ตารางที่ 24 แสดงแผนระยะการดาเนินกิจกรรมทางตลาด
ตารางที่ 25 แสดงเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงยอดขายของร้านกระปุกยา 1
ตารางที่ 26 แสดงเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงยอดขายของร้านกระปุกยา 2
ตารางที่ 27 แสดงเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงยอดขายของร้านกระปุกยา 3
ตารางที่ 28 แสดงการตรวจสอบรายการ Check sheet : ก่อนดาเนินงาน
ตารางที่ 29 แสดงการตรวจสอบรายการ Check sheet : หลังดาเนินงาน
ตารางที่ 30 รายชื่อร้านขายยาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี
ตารางที่ 31 รหัสสิ นค้าร้านกระปุกยา
ตารางที่ 32 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาจัด
ตารางที่ 33 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :ปฎิชีวนะ
ตารางที่ 34 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :แก้ปวด
ตารางที่ 35 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :กลุ่มผิวหนัง
ตารางที่ 36 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :ตา
ตารางที่ 37 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :เกลือแร่
ตารางที่ 38 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :ทางเดินอาหาร
ตารางที่ 39 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :ฮอร์โมน
ตารางที่ 40 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :หอบหื ด
ตารางที่ 41 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :แก้ไอ
ตารางที่ 42 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :ยาน้ า
ตารางที่ 43 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :อื่นๆ
ตารางที่ 44 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง อุปกรณ์การแพทย์
ตารางที่ 45 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร
ตารางที่ 46 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง เครื่ องสาอาง
ตารางที่ 47 แสดงการเปลี่ยนแปลงของยอดขายรายไตรมาสของร้านกระปุกยา 1
ปี พ.ศ. 2550-2551
ตารางที่ 48 แสดงการเปลี่ยนแปลงของยอดขายรายไตรมาสของร้านกระปุกยา 2
ปี พ.ศ. 2550-2551
ตารางที่ 49 แสดงยอดขายผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทของร้านกระปุกยา 1 ปี พ.ศ. 2550-2551
ตารางที่ 50 แสดงยอดขายผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทของร้านกระปุกยา 2 ปี พ.ศ. 2550-2551

83
84
85
87
89
103
104
113
117
119
120
120
120
121
121
121
122
122
123
123
124
125
126
137
138
140
141
สารบัญภาพ

ภาพที่ 1
ภาพที่ 2
ภาพที่ 3
ภาพที่ 4
ภาพที่ 5
ภาพที่ 6
ภาพที่ 7
ภาพที่ 8
ภาพที่ 9
ภาพที่ 10
ภาพที่ 11
ภาพที่ 12
ภาพที่ 13
ภาพที่ 14
ภาพที่ 15
ภาพที่ 16
ภาพที่ 17
ภาพที่ 18
ภาพที่ 19
ภาพที่ 20
ภาพที่ 21
ภาพที่ 22
ภาพที่ 23
ภาพที่ 24
ภาพที่ 25
ภาพที่ 26
ภาพที่ 27

กรอบแนวความคิด
แสดงตัวอย่างใบตรวจสอบ Check sheet
แสดงการจัดทาแผนผังสาเหตุและผล
แ สดงเส้นระดับหรื อจุดของสิ นค้าคงคลังซึ่งต้องทาการสังซื้อสิ นค้าใหม่
่
แสดงภาพประกอบ Five - forces Model
แสดงการจัดผังในลักษณะเส้นตรงตามแนวยาว
แสดงการจัดผังในลักษณะที่สอดคล้องรอบบรรจบ
การจัดทาแผนผังร้านค้าแบบตาข่าย Grid Layout
การจัดแผนผังร้านแบบคู่แข่ง Racek Layout
แสดงแผนผังภาพก้างปลา
แสดงการจัดผังร้านกระปุกยาสาขา 1
แสดงการจัดผังร้านกระปุกยาสาขา 2
แสดงการจัดผังร้านกระปุกยาสาขา 3
ตัวอย่างรายการบันทึกสิ นค้าสต๊อกการ์ดยาเรี ยกหา :กลุ่มยาปฏิชีวนะ
ตัวอย่างรายการบันทึกสิ นค้าสต๊อกการ์ดยาเรี ยกหา :กลุ่มยาปฏิชีวนะ
โดยใช้ทฤษฎี First in First out
ระบบการบริ หารสิ นค้าคงคลังโดยใช้ทฤษฎี FIFO
แสดงการจัดผังร้านกระปุกยา
ใบปลิวพร้อมคูปองส่วนลด
ชุดสุขภาพพร้อมดูแลคุณ :ชุดขาวใส
ชุดสุขภาพพร้อมดูแลคุณ :ชุดขาวใส ไร้ริ้วรอย
ชุดสุขภาพพร้อมดูแลคุณ :ชุดบารุ งร่ างกาย
แผนผังการทางานของคลังสิ นค้าก่อนปรับปรุ ง
แผนผังการทางานของคลังสิ นค้าหลังปรับปรุ ง
แสดงแผนที่ร้านกระปุกยาและคู่แข่งขัน
แสดงเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของยอดขายรายไตรมาสของร้านกระปุกยา 1
ปี พ.ศ. 2550-2551
แสดงเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของยอดขายรายไตรมาสของร้านกระปุกยา 2
แสดงเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของยอดขายผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทของ

หน้ า
3
7
9
15
20
29
29
30
30
40
43
44
45
48
48
49
78
80
81
81
82
93
94
111
137
138
140
ร้านกระปุกยา 1

สารบัญภาพ(ต่ อ)

ภาพที่ 28 แสดงเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของยอดขายผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทของ
ร้านกระปุกยา 2

หน้ า
141
1

บทที่ 1
บทนา

1.1กก ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
่
ปั จจัยสี่ ถือว่ามีความสาคัญต่อการดารงชีวตของมนุษย์ ได้แก่ อาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยูอาศัย และยารักษา
ิ
โรค และเป็ นที่ยอมรับโดยทัวไปแล้วว่า "ยา" เป็ นสิ่ งที่ใช้ในการบาบัด รักษา หรื อป้ องกันโรค จากสัดส่วนของ
่
การกระจายยาในประเทศไทยพบว่า ส่วนใหญ่ยาจะกระจายไปสู่ผบริ โภคผ่านทางโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน
ู้
ร้อยละ 58 และร้านขายยาก็เป็ นอีกแหล่งหนึ่งที่ทาหน้าที่ในการกระจายยาไปสู่ผบริ โภค ที่มีสดส่วนสูงถึงร้อยละ
ู้
ั
่
32 (กองควบคุมยา. 2544:24) ดังนั้นร้านขายยาจึงถือได้วามีความสาคัญในฐานะที่เป็ นแหล่งในการกระจายยา
ไปสู่ผบริ โภคที่สาคัญอีกแหล่งหนึ่ง โดยผูที่ทาหน้าที่ในการดูแลการกระจายยาดังกล่าวก็คือ เภสัชกรประจาร้าน
ู้
้
ขายยา
่
ร้านขายยา ถือได้วาเป็ นอีกทางเลือกสาหรับผูบริ โภค ที่จะหาซื้อยามารับประทานเพื่อบรรเทาอาการของ
้
ั
โรคต่างๆ ผูประกอบธุรกิจร้านขายยาต้องหากลยุทธ์ต่างๆมาเพื่อช่วยส่งเสริ มการขายให้กบร้าน เพื่อไม่ให้
้
ยอดขายของร้านลดลง พร้อมทั้งในขณะนี้สภาพการแข่งขันทางร้านขายยามีมาก ได้แก่ การเปิ ดร้านใหม่ การขยาย
สาขา เป็ นต้น สภาวะแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ ต่างมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างชัดเจน ส่งผลให้ธุรกิจต่าง ๆ
่
ต้องหันกลับมามองหาตัวเอง เพื่อให้มีการปรับตัว และพัฒนาธุรกิจเพื่อความอยูรอดของธุรกิจ และธุรกิจร้าน
ขายยาก็เช่นเดียวกัน ที่ตองหันมามองในเรื่ องของมาตรฐานในการให้บริ การด้านยา และการให้คาปรึ กษาทาง
้
สุขภาพที่ดี ให้แก่ลูกค้าที่เป็ นผูบริ โภค
้
่
ร้านกระปุกยา เป็ นร้านขายยาแผนปั จจุบน ตั้งอยูในเขตเทศบาลเมืองอุดรธานี เปิ ดดาเนินการเมื่อ พ.ศ.
ั
2549 โดย พันตรี .ภญ.อนุตรตรี ย ์ ศรี กลวงษ์ ปั จจุบนร้านกระปุกยามีท้ งหมด 3 สาขา ได้แก่
ุ
ั
ั
ร้านกระปุกยา 1 เลขที่ 19 / 16 ซอยทองคาอุทิศ ตาบลหมากแข้ง อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี
ร้านกระปุกยา 2 ตลาดเริ่ มอุดม ล็อก I3 ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี
ร้านกระปุกยา3 (ตรงข้ามมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี) ห้องแถวศูนย์นกศึกษาวิชาทหาร ห้องที่ 10 ถนน
ั
ทหาร ตาบลหมากแข้ง อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี
โดยแต่ละร้านนั้น มีผช่วยเภสัชกรประจาร้านทั้ง 3 ร้าน ร้านกระปุกยา มีหน้าที่หลัก คือ การให้บริ การด้าน
ู้
่
ยา จัดจ่ายและให้คาปรึ กษาด้านยาแก่ผมารับบริ การ จากการดาเนินการที่ผานมา พบว่ายอดขายของทางร้านมี
ู้
แนวโน้มที่ลดลง และพบปั ญหาที่เกิดขึ้นจากการวิเคราะห์ปัญหาของร้านกระปุกยา พบว่ามีปัญหาของร้านที่
เกิดขึ้น ดังนี้
1.กกการจัดเก็บสิ นค้าไม่เป็ นหมวดหมู่
2.กกไม่มีการบันทึกข้อมูลสิ นค้าเนื่องจากขาดการตรวจนับสิ นค้าคงคลัง
3.กกไม่มีการจัดระบบหมุนเวียนสิ นค้าเข้าออก
2

4.กกขาดการวางแผนในการสังซื้อ
่
5.กกยอดขายของร้านมีแนวโน้มที่ลดลง
6.กกขาดการวิเคราะห์สภาพทางการตลาด คู่แข่งขัน ของร้านกระปุกยา
7.กกขาดการส่งเสริ มทางด้านตลาดและการโฆษณาประชาสัมพันธ์ร้านกระปุกยา
ปั ญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าวข้างต้น ทาให้เกิดการสูญเสี ยขึ้นทั้งทางตรงและทางอ้อม ได้แก่ การจัดกลุ่มยา จัด
ประเภทยาไม่เป็ นหมวดหมู่ ยากต่อการค้นหา ยาขาดคลังสิ นค้า ทาให้ไม่มียาให้บริ การแก่ผที่มาใช้บริ การ เกิด
ู้
ผลเสี ยแก่ผมารับบริ การ ส่วนทางด้านปั ญหายาหมดอายุจะทาให้ทางร้านสูญเสี ยค่าใช้จ่ายโดยเปล่าประโยชน์ และ
ู้
ทางอ้อมได้แก่ ปั ญหายาค้างคลังทาให้ค่าใช้จ่ายบางส่วนเป็ นต้นทุนจมกับยาเหล่านี้ นอกจากนี้ยงต้องสูญเสี ย
ั
ค่าใช้จ่ายไปกับการเก็บรักษายาค้างคลัง ทาให้มีผลกระทบต่อยอดขายของทางร้านกระปุกยา มีแนวโน้มที่ลดลง
่
โดยดูจากยอดขายที่เกิดขึ้นในช่วงที่ผานมา ประกอบกับมีคู่แข่งขัน และขาดการส่งเสริ มทางการตลาด ดังนั้น เพื่อ
มิให้ผประกอบธุรกิจร้านยาประสบปั ญหาที่รุนแรงจึงควรมีการศึกษาเตรี ยมความพร้อมล่วงหน้าเพื่อหาวิธีบริ หาร
ู้
่
จัดการร้านยาให้อยูรอดได้ และหาโอกาสในการทาธุรกิจต่อ โดยให้ผประกอบการได้มีโอกาสขยายหรื อ
ู้
ปรับเปลี่ยนการบริ หารจัดการอย่างมีระบบ มีแผนธุรกิจที่ชดเจน ป้ องกันปั ญหาความล้มเหลวในธุรกิจ
ั
จากปั ญหาดังกล่าวข้างต้น สามารถแก้ไขได้ หากทางร้าน กระปุกยา มีการบริ หารจัดการคลังยาอย่างมี
ประสิ ทธิภาพและดีข้ ึนกว่าเดิม ดังนั้น กลุ่มผูศึกษาจึงสนใจที่จะศึกษาในเรื่ อง เรื่ อง การเพิ่มขีดความสามารถใน
้
การบริ หารสิ นค้าคงคลังและการวางแผนการตลาดในธุรกิจร้านขายยา : กรณี ศึกษาร้านกระปุกยา จังหวัด
อุดรธานี ขึ้นเพื่อเป็ นข้อมูลเบื้องต้น และแนวทางแก่ผประกอบการ พร้อมทั้งหาแนวทาง ในป้ องกันปัญหาที่จะ
ู้

เกิดตาม
3

1.2dกกรอบแนวความคิด
ร้ านกระปุกยาขาดขีดความสามารถในการบริหารสินค้ าคงคลัง
และขาดการวางแผนการตลาด

ด้ านการบริหารสินค้ าคงคลัง
1.การจัดเก็บสิ นค้าไม่เป็ น
หมวดหมู่
2.ไม่มีการบันทึกข้อมูลสิ นค้า
เนื่องจากขาดการตรวจนับสิ นค้า
คงคลัง
3.ไม่มีการจัดระบบหมุนเวียน
สิ นค้าเข้าออก
4.ขาดการวางแผนการสังซื้อ
่

ด้ านการตลาด
1.มียอดขายลดลง
2.ขาดการวิเคราะห์สภาพทาง
การตลาด คู่แข่งขัน ของร้าน
กระปุกยา
3.ขาดการส่งเสริ มทางด้าน
ตลาดและการโฆษณา
ประชาสัมพันธ์ร้านกระปุกยา

1.นาแนวความคิด ระบบ 5ส. มา.
ใช้จดการสิ นค้าคงคลัง
ั
2.ตรวจนับสิ นค้าคงคลัง โดยจัดทา
สต็อกการ์ด(Stock Card)
3.ระบบหมุนเวียนสิ นค้าเข้าก่อนออกก่อน(First-in First-out)
4.EOQ ช่วยบริ หารระบบสิ นค้าคง
คลังเพื่อวางแผนการสังซื้อและ
่
ช่วยลดค่าใช้จ่าย

1.สภาพแวดล้อมทัวไป
่
2. สภาพแวดล้อมเชิงการเข่งขัน
3. สภาพภายในและภายนอก
องค์กร
4. การวิเคราะห์ตลาดเป้ าหมาย
5. แบบสอบถาม

ช่วยในการจัดหมวดหมู่สินค้า
การเพิมขีดความสามารถในการบริหารสินค้ าคงคลังและการวางแผนการตลาด
่
ในธุรกิจร้ านกระปุกยา
ภาพที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการศึกษา
4

1.3กกวัตถุประสงค์
1.3.1กกเพื่อบริ หารระบบสิ นค้าคงคลังร้านกระปุกยา ให้สามารถลดปริ มาณค่าใช้จ่ายด้านสิ นค้าคงคลัง
1.3.2กกเพื่อวางแผนการจัดซื้อสิ นค้าของร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี
1.3.3กกเพื่อการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด คู่แข่งขันในธุรกิจ
1.3.4กกเพื่อกาหนดแผนกลยุทธ์การตลาดของร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี
่
1.3.5กกเพื่อเพิ่มยอดขายร้านกระปุกยา 5% เมื่อเทียบกับยอดขายปี ที่ผานมา

1.4ddขอบเขตและข้ อจากัดในการดาเนินงาน
1.4.1กกขอบเขตด้านพื้นที่ และประชากร การศึกษาครั้งนี้ มีขอบเขตดังนี้
1.4.1.1กกองค์กรที่ศึกษา ร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี
1.4.1.2กกผูประกอบการและพนักงานร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี 4 คน
้
1.4.1.3กกลูกค้ากลุ่มเป้ าหมายร้านกระปุกยา เขตเทศบาลนครอุดรธานี
1.4.2กกขอบเขตด้านเนื้อหาที่ทาการศึกษา
1.4.2.1กกด้านการบริ หาร การศึกษาที่มุ่งจะศึกษาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการบริ หารงานในธุรกิจ
ร้านยาโดยใช้ทฤษฏีที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบในการวิเคราะห์คนหาปั ญหา เพื่อหาสาเหตุของปั ญหา กาหนด
้
แนวทางแก้ไขสิ นค้าคงคลัง และการจัดการภายในองค์กร
1.4.2.2กกด้านการตลาด เป็ นการศึกษาถึงสภาพตลาดและคู่แข่งขันของร้านกระปุกยา จังหวัด
อุดรธานี พฤติกรรมผูบริ โภค ปั จจัยที่มีอิทธิผลต่อการตัดสิ นใจเลือกใช้บริ การร้านยา เพื่อนาไปวางแผนกลยุทธ์
้
ทางการตลาดและจัดทาแผนการตลาดของร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี
1.4.3กกขอบเขตด้านระยะเวลา
เดือนพฤศจิกายน 2551 ถึง มกราคม 2552

1.5กกประโยชน์ ทคาดว่าจะได้ รับ
ี่
1.5.1
สามารถนาไปใช้ในการบริ หารคลังยาของร้านกระปุกยา ให้มีประสิ ทธิภาพมากยิงขึ้น เช่น
่
แยกกลุ่มยาลดจานวนยาค้างคลัง ลดจานวนยาหมดอายุ เป็ นต้น
1.5.2 สามารถปรับปรุ งแผนผังร้านของร้านกระปุกยาให้เป็ นหมวดหมู่และมีความชัดเจนมากยิงขึ้น
่
1.5.3 นาข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ใช้ในการกาหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
1.5.4 เพื่อเพิ่มยอดขายของร้านกระปุกยา
1.5.5 สามารถขยายฐานลูกค้าผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารได้เพิ่มมากขึ้น
1.5.6
ให้ กลุ่ม ผูศึกษาสามารถนาความรู ้ที่ได้รับไปพัฒนาและประยุกต์ใช้ เป็ นแนวทางในการ
้
ประกอบอาชีพในอนาคต
1.5.7 เป็ นแนวทางในการเพิมขีดความสามารถทางการแข่งขันในธุรกิจอื่นๆ ต่อไป
่
5

1.6กกนิยามศัพท์เฉพาะ
่
1.6.1กกสิ นค้าคงคลัง หมายถึง ยาที่อยูในคลังสิ นค้า
1.6.2กกยาค้างคลัง หมายถึง ยาที่ไม่มีการถูกนาไปใช้นานกว่า 6 เดือน
1.6.3กกการบริ หารยาคงคลัง หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ยวกับการเก็บรักษายาคงคลังให้มีขนาดและ
ประเภทของยาในปริ มาณที่เหมาะสม โดยจะต้องพิจารณาถึงความสมดุลระหว่างความต้องการของผูใช้บริ การ
้
ต้นทุน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับยาคงคลัง
1.6.4กกประสิ ทธิภาพ หมายถึง
การใช้ทรัพยากรในการดาเนินงานโดยมีสิ่งมุ่งหวังถึงผลสาเร็ จและใช้
่
ทรัพยากรน้อยที่สุดและการดาเนินการเป็ นไปอย่างประหยัดไม่วาจะเป็ นระยะเวลา ทรัพยากร แรงงาน รวมทั้งสิ่ ง
ต่าง ๆ ที่ตองใช้ในการดาเนินการนั้น ๆ ให้เป็ นผลสาเร็ จและถูกต้อง (http://th.wikipedia.orglwiki/)
้
1.6.5กกหลักเภสัชวิทยา หมายถึง การแบ่งหมวดหมู่ยาตามวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ “ยา” หรื อ “สารเคมี” อื่นๆ
ที่ออกฤทธิ์หรื อมีผลต่อสิ่ งมีชีวต (สุวฒน์ วิมลวัฒนาวัฒน์,2547 : 8)
ิ
ั
1.6.6กกยา หมายถึง วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับการใช้ในการวิเคราะห์ บาบัด บรรเทา รักษาหรื อป้ องกันโรค
หรื อความเจ็บป่ วยของมนุษย์และสัตว์ (กนิษฐา กล่อมเกลา, 2542 : 1)
1.6.7กกยาเรี ยกหา หมายถึง ยาที่ลูกค้าหรื อผูป่วยที่มาซื้อยานั้นสามารถบอกชื่อยาที่ตองการได้ โดยอาจจะ
้
้
เป็ นยาแผนปั จจุบน ยาสมุนไพร หรื อยาแผนโบราณ เป็ นต้น
ั
ั
1.6.8กกยาจัด หมายถึง ยาที่ลูกค้าหรื อผูป่วยเดินเข้ามาที่ร้านยาโดยบอกอาการต่าง ๆ ให้กบเภสัชกรทราบ
้
และเป็ นผูจดหายาให้ พร้อมทั้งบอกแนะนาถึงวิธีการใช้ยาอีกด้วย
้ั
1.6.9กกยาตามใบสังแพทย์ หมายถึง ยาที่ลูกค้าหรื อผูป่วย นาใบสังแพทย์จากโรงพยาบาลหรื อคลินิก มา
้
่
่
ซื้อยาตามร้านขายยาแผนปั จจุบน
ั
1.6.10กผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร หมายถึง
ผลิตภัณฑ์ที่ทานนอกเหนือจากการกินอาหารปกติ ซึ่งมี
่
สารอาหารหรื อสารอื่นที่เป็ นองค์ประกอบอยูในรู ปแบบ เม็ด แค็ปซูล ผง เกล็ด ของเหลวหรื อลักษณะอื่นซึ่งไม่ใช่
รู ปแบบอาหารปกติ แก่ผบริ โภคที่คาดหวังประโยชน์ทางด้านส่งเสริ มสุขภาพ
ู้
1.6.11กระบบ Frist in Frist out (วิธีเข้าก่อนออกก่อน ) หมายถึง สิ นค้าชิ้นใดซื้อมาก่อน จะเป็ นชิ้นที่ถูก
ขายไปก่อน ต้นทุนของสิ นค้าที่ขายได้จึงเป็ นของสิ นค้าที่ซ้ือมาก่อนชิ้นอื่นในขณะนั้น(กิตติภูมิ มีประดิษฐ์,
2550 : 44)
1.6.12กแผนการตลาด หมายถึง รายละเอียดขั้นตอนการบริ หารกิจกรรมทางการตลาดที่ครอบคลุมการ
วิเคราะห์ การวางแผน การปฏิบติตามแผน การควบคุม และจะต้องทาให้บรรลุเป้ าหมายตามระยะเวลาที่กาหนด
ั
่
โดยอยูภายใต้งบประมาณ ทรัพยากร สภาวะแวดล้อมที่เป็ นของร้านกระปุกยา
1.6.13กขีดความสามารถ หมายถึง บุคลิกลักษณะหรื อการแสดงออกของ พฤติกรรมของพนักงานทุกคน
ในองค์การ ที่สะท้อนให้เห็นถึงความรู ้ ทักษะ ทัศนคติ ความเชื่อ และอุปนิสยของคนในองค์การโดยรวม ถ้า
ั
พนักงานทุกคนในองค์การมีขีดความสามารถประเภทนี้ ก็จะมีส่วนที่จะช่วยสนับสนุนให้องค์การบรรลุเป้ าหมาย
ตามวิสยทัศน์ได้ ขีดความสามารถชนิดนี้จะถูกกาหนดจากวิสยทัศน์ พันธกิจ เป้ าหมายหลัก หรื อกลยุทธ์ของ
ั
ั
องค์การ
6

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
่

การศึกษาเรื่ อง การเพิ่มขีดความสามารถในการบริ หารสิ นค้าคงคลังและการวางแผนการตลาดในธุรกิจ
ร้านขายยา : กรณี ศึกษาร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี ได้ทาการศึกษาค้นคว้าถึงวรรณกรรมและผลงานวิจยที่
ั
เกี่ยวข้องและนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการศึกษา ซึ่งวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องมีดงนี้
ั
2.1กกใบตรวจสอบ(Check Sheet)
2.2กกแผนผังสาเหตุและผล (Cause and Effect Diagram)
2.3กกแนวความคิดเรื่ องหลักการ 5ส.
2.4กกหลักการแบ่งหมวดหมู่และชนิดของยา
2.5กกแนวความคิดเรื่ องสิ นค้าคงคลัง
2.6กกสภาพแวดล้อมทัวไป (General Environment)
่
2.7กกการวิเคราะห์ SWOT Analysis
2.8กกการวิเคราะห์การแข่งขันในธุรกิจโดยใช้ Five Forces Model
2.9กกการวิเคราะห์พฤติกรรมผูบริ โภค
้
2.10กการตลาดตามเป้ าหมาย (Target marketing หรื อ STP marketing)
2.11กทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix :4Ps)
2.12กแนวความคิดกลยุทธ์การจัดผังร้านค้าปลีก (Store design)
2.13กงานวิจยที่เกี่ยวข้อง
ั

2.1กกใบตรวจสอบ (Check Sheet)
ใบตรวจสอบ (Check Sheet) คือ แบบฟอร์ม ตาราง แผนภาพ แผนภูมิเพื่อใช้บนทึกข้อมูลที่ตองการ
ั
้
- ออกแบบใบตรวจสอบให้เหมาะกับจุดประสงค์การใช้งาน
- ผูบนทึกสามารถกรอกง่าย สะดวก ไม่ซบซ้อน เข้าใจง่าย
้ ั
ั
- ควรใช้การมองเห็น (Visual) อื่น ๆ เข้าช่วย เช่น แสดงเป็ นภาพ ใช้สี สัญลักษณ์
- ควรให้พนักงานกรอกเองน้อยที่สุด เพราะถ้ายิงเขียนมากก็มีโอกาสผิดพลาดมาก (พนักงานความรู ้
่
น้อยต้องเร่ งทางาน, มีพ้ืนฐาน ต่างกัน)
- มีหวข้อเด่นชัดว่าใช้ที่กระบวนการใด
ั
- วัน เดือน ปี เวลา ผูกรอกข้อมูล
้
- มีพ้ืนที่ให้กรอกพอเพียง
- กาหนดหน่วยวัดชัดเจน
7

ดังนั้นควรออกแบบให้ทุกคน ทุกระดับการศึกษา เข้าใจตรงกัน ซึ่งโดยทัวไปอาจใช้ใบตรวจสอบเพื่อ
่
จุดมุ่งหมายดังนี้
- เพื่อจดบันทึกผลการตรวจวัด
- เพื่อบันทึกของเสี ย
- เพื่อแสดงตาแหน่งการเกิดจุดบกพร่ อง
- เพื่อแสดงสาเหตุของความบกพร่ อง
- เพื่อแสดงสาเหตุของความบกพร่ อง
- เพื่อแสดงสาเหตุของความบกพร่ อง (สันติชย ชีวสุทธิศิลป์ . 2547)
ั

Defect

Day
1
////
///

2
3
4
A
/
//
B
//
////
/
C
///
//
ภาพที่ 2 แสดงตัวอย่างใบตรวจสอบ (Check Sheet) ที่มา : สันติชย ชีวสุทธิศิลป์ . 2547,
ั
เครื่ องมือคุณภาพ 7 ประการ
การประยุกต์ใช้แนวคิด ได้นาแนวคิดใบตรวจสอบ ( Check Sheet) มาช่วยในการค้นปั ญหาเบื้องต้นของ
ร้านกระปุกยาเพื่อหาวิธีการแก้ไขปั ญหาให้เหมาะสม โดยนามาใช้ร่วมกับการสัมภาษณ์ผประกอบการและ
ู้
พนักงานของร้านกระปุกยา

2.2กกแผนผังสาเหตุและผล (Cause and Effect Diagram)
แผนผังสาเหตุและผล หรื อคุนเคยกับแผนผังสาเหตุและผล ในชื่อของ “ผังก้างปลา (
้
Fish Bone
้
Diagram)” เนื่องจากหน้าตาแผนภูมิมีลกษณะคล้ายปลาที่เหลือแต่กาง หรื ออาจรู ้จกในชื่อของแผนผังอิชิกาว่า
ั
ั
(Ishikawa Diagram) คือผังที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปั ญหา ( Problem) กับสาเหตุท้ งหมดที่เป็ นไปได้ที่อาจ
ั
่
ก่อให้เกิดปั ญหานั้น (Possible Cause) โดยแบ่งเป็ นสาเหตุหลัก สาเหตุยอย สาเหตุรอง
2.2.1กกวิธีการสร้ างแผนผังสาเหตุและผลหรือผังก้ างปลา
สิ่ งสาคัญในการสร้างแผนผัง คือ ต้องทาเป็ นทีม เป็ นกลุ่ม โดยใช้ข้ นตอน 6 ขั้นตอนดังต่อไปนี้
ั
2.2.1.1กกกาหนดประโยคปั ญหาที่หวปลา
ั
2.2.1.2กกกาหนดกลุ่มปั จจัยที่จะทาให้เกิดปั ญหานั้นๆ
2.2.1.3กกระดมสมองเพื่อหาสาเหตุในแต่ละปั จจัย
2.2.1.4กกหาสาเหตุหลักของปั ญหา
2.2.1.5กกจัดลาดับความสาคัญของสาเหตุ
8

2.2.1.6กกใช้แนวทางการปรับปรุ งที่จาเป็ น
2.2.2กกการกาหนดปัจจัยบนก้ างปลา
เราสามารถที่จะกาหนดกลุ่มปั จจัยอะไรก็ได้ แต่ตองมันใจว่ากลุ่มที่เรากาหนดไว้เป็ นปั จจัยนั้น
้ ่
สามารถที่จะช่วยให้เราแยกแยะและกาหนดสาเหตุต่างๆ ได้อย่างเป็ นระบบ และเป็ นเหตุเป็ นผลโดยส่วนมาก
มักจะใช้หลักการ 4M 1E เป็ นกลุ่มปั จจัย (Factors) เพื่อจะนาไปสู่การแยกแยะสาเหตุต่างๆ ซึ่ง 4M 1E นี้มาจาก
M - Man คนงาน หรื อพนักงาน หรื อบุคลากร
M - Machine เครื่ องจักรหรื ออุปกรณ์อานวยความสะดวก
M - Material วัตถุดิบหรื ออะไหล่ อุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ในกระบวนการ
M - Method กระบวนการทางาน
E - Environment อากาศ สถานที่ ความสว่าง และบรรยากาศการ – ทางาน
่
แต่ไม่ได้หมายความว่า การกาหนดก้างปลาจะต้องใช้ 4M 1E เสมอไป เพราะหากเราไม่ได้อยูใน
กระบวนการผลิตแล้ว ปั จจัยนาเข้า ( input) ในกระบวนการก็จะเปลี่ยนไป เช่น ปั จจัยการนาเข้าเป็ น 4 P ได้แก่
Place , Procedure, People และ Policy หรื อเป็ น 4S Surrounding, Supplier, System และ Skill ก็ได้ หรื ออาจจะ
้
เป็ น MILK Management, Information, Leadership, Knowledge ก็ได้ นอกจากนั้น หากกลุ่มที่ใช้กางปลามี
่
ประสบการณ์ในปั ญหาที่เกิดขึ้นอยูแล้ว ก็สามารถที่จะกาหนดกลุ่ม ปั จจัยใหม่ให้เหมาะสมกับปั ญหาตั้งแต่แรก
เลยก็ได้ เช่นกัน
2.2.3กกการกาหนดหัวข้ อปัญหาทีหัวปลา
่
การกาหนดหัวข้อปั ญหาควรกาหนดให้ชดเจนและมีความเป็ นไปได้ ซึ่งหากเรากาหนดประโยค
ั
ปั ญหานี้ไม่ชดเจนตั้งแต่แรกแล้ว จะทาให้เราใช้เวลามากในการค้นหา สาเหตุ และจะใช้เวลานานในการทาผัง
ั
ก้างปลา
การกาหนดปั ญหาที่หวปลา เช่น อัตราของเสี ย อัตราชัวโมงการทางานของคนที่ไม่มีประสิ ทธิภาพ
ั
่
่
อัตราการเกิดอุบติเหตุ หรื ออัตราต้นทุนต่อสิ นค้าหนึ่งชิ้น เป็ นต้น ซึ่งจะเห็นได้วาควรกาหนดหัวข้อปั ญหาเชิงลบ
ั
้
เทคนิคการระดมความคิดเพื่อจะได้กางปลาที่ละเอียดสวยงาม คือ การถาม ทาไม ทาไม ทาไม ใน
การเขียนแต่ละก้างย่อยๆ
9

ปั จจัย

ปั จจัย

กระดูกสันหลัง

ปั ญหา
สาเหตุหลัก

สาเหตุรอง
่
สาเหตุยอยๆ

ปั จจัย

ปั จจัย
สาเหตุ

่
สาเหตุยอย

ผลลัพธ์

ภาพที่ 3 แสดงการจัดทาแผนผังสาเหตุและผล ที่มา : สันติชย ชีวสุทธิศิลป์ . 2547,
ั
เครื่ องมือคุณภาพ 7 ประการ
ผังก้ างปลาประกอบด้ วยส่ วนต่ างๆ ดังต่ อไปนี้
่ ั
ส่วนปั ญหาหรื อผลลัพธ์ (Problem or Effect) ซึ่งจะแสดงอยูที่หวปลา ส่วนสาเหตุ (Causes) จะ
สามารถแยกย่อยออกได้อีกเป็ น
- ปั จจัย (Factors) ที่ส่งผลกระทบต่อปั ญหา (หัวปลา)
- สาเหตุหลัก
่
- สาเหตุยอย
ซึ่งสาเหตุของปั ญหา จะเขียนไว้ในก้างปลาแต่ละก้าง ก้างย่อยเป็ นสาเหตุของก้างรองและก้าง
รองเป็ นสาเหตุของก้างหลัก เป็ นต้น
หลักการเบื้องต้นของแผนภูมิ ก้างปลา ( Fishbone Diagram) คือ การใส่ชื่อของปั ญหาที่ตองการ
้
วิเคราะห์ ลงทางด้านขวาสุดหรื อซ้ายสุดของแผนภูมิ โดยมีเส้นหลักตามแนวยาวของกระดูกสันหลัง จากนั้นใส่
ชื่อของปั ญหาย่อย ซึ่งเป็ นสาเหตุของปั ญหาหลัก 3 - 6 หัวข้อ โดยลากเป็ นเส้นก้างปลา (Sub-Bone) ทามุมเฉี ยง
จากเส้นหลัก เส้นก้างปลาแต่ละเส้นให้ใส่ชื่อของสิ่ งที่ทาให้เกิดปั ญหานั้นขึ้นมา ระดับของปั ญหาสามารถ
แบ่งย่อยลงไปได้อีก ถ้าปั ญหานั้นยังมีสาเหตุที่เป็ นองค์ประกอบย่อยลงไปอีก โดยทัวไปมักจะมีการแบ่งระดับ
่
่
ของสาเหตุยอยลงไปมากที่สุด 4 – 5 ระดับ เมื่อมีขอมูลในแผนภูมิที่สมบูรณ์แล้ว จะทาให้มองเห็นภาพของ
้
องค์ประกอบทั้งหมด ที่จะเป็ นสาเหตุของปั ญหาที่เกิดขึ้น
ข้ อดี
้
1.กกไม่ตองเสี ยเวลาแยกความคิดต่าง ๆ ที่กระจัดกระจายของแต่ละสมาชิก แผนภูมิกางปลาจะช่วย
้
รวบรวมความคิดของสมาชิกในทีม
10

่
2.กกทาให้ทราบสาเหตุหลัก ๆ และสาเหตุยอย ๆ ของปั ญหา ทาให้ทราบสาเหตุที่แท้จริ งของ
ปั ญหา ซึ่งทาให้เราสามารถแก้ปัญหาได้ถูกวิธี
ข้ อเสีย
้
1.กกความคิดไม่อิสระเนื่องจากมีแผนภูมิกางปลาเป็ นตัวกาหนด ซึ่งความคิดของสมาชิกในทีม
่
้
จะมารวมอยูที่แผนภูมิกางปลา
้
2.กกต้องอาศัยผูที่มีความสามารถสูง จึงจะสามารถใช้แผนภูมิกางปลาในการระดมความคิด
้
้
่
ในการศึกษาครั้งนี้ ได้นาแผนภูมิกางปลา มาใช้ในการวิเคราะห์หาสาเหตุหลัก และสาเหตุยอย ๆ ของ
้
ปั ญหาที่เกิดขึ้นในร้านกระปุกยา โดยแผนภูมิกางปลาจะทาให้สามารถมองเห็นภาพรวมของปั ญหาในแง่ของ
สาเหตุได้อย่างชัดเจนและมีระเบียบเพราะสาเหตุต่าง ๆ จะถูกแบ่งไว้เป็ นกลุ่มอย่างชัดเจน

2.3กกแนวความคิดเรื่องหลักการ 5ส.
กิจกรรม 5ส. (5S) เป็ นระบบการทากิจกรรมเพื่อส่งเสริ มด้านคุณภาพ ประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญ 5
ขั้นตอน ซึ่งมีการปฏิบติอย่างต่อเนื่อง ถือว่าเป็ นการปูพ้ืนฐานสาหรับการปรับปรุ งเพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพ เช่น
ั
ด้านการผลิต คุณภาพต้นทุน การจัดส่ง ความปลอดภัย ขวัญกาลังใจ และสภาพแวดล้อมในการทางาน เป็ นต้น
การปฏิบติกิจกรรม 5ส.โดยให้พนักงานมีส่วนร่ วมในการใช้ความคิดสร้างสรรค์ ทาให้มีการปรับปรุ ง
ั
อย่างต่อเนื่องและเกิดการทางานที่สะดวก ง่ายดาย และรวดเร็ วยิงขึ้น เมื่อทา 5ส. ไปนาน ๆ จะสร้างนิสยให้
ั
่
เป็ นคนมีระเบียบวินย และรู ้จกรักษาสภาพแวดล้อมของสังคมให้น่าอยู่ ดังนั้นเมื่อมีววฒนาการหรื อมีการนา
ั
ั
ิั
ความรู ้เทคนิคใหม่ๆ มาใช้เพื่อเพิมผลผลิตก็จะทาได้ดีข้ ึนส่งผลให้การบริ หารงานมีประสิ ทธิภาพผล ซึ่งจะส่งผล
่
ต่อคุณภาพโดยรวมในที่สุด กิจกรรม 5ส.อาจเปรี ยบเทียบกับ 5S ของญี่ปุ่น โดยแสดงขั้นตอนต่างๆ ดังตารางที่ 1
11

กิจกรรม
สะสาง
(SEIRI)
สะดวก
(SEITON)

สะอาด
(SEISO)

สุขลักษณะ
(SEIKETSU)
สร้างนิสย
ั
(SHITSUKE)

ตารางที่ 1 แสดงขั้นตอนกิจกรรม 5ส. ที่มา : สุรัสวดี ราชกุลชัย 2547,
การวางแผนและการควบคุมการบริ หาร
วิธีการปฏิบัติ
วัตถุประสงค์ ในการปฏิบัติ
ขจัดของที่ไม่ได้ใช้ออกจากบริ เวณสถานที่ สร้างจิตสานึกของการเป็ นนักพัฒนาหรื อ
ทางาน โดยทิ้งหรื อเก็บแยกออกไป
ผูทาความสะอาดด้วยตนเอง
้
จัดวางสิ่ งของที่ตองการให้เป็ นระเบียบมี
้
ระบบ สะดวกในการหยิบใช้

สร้างจิตสานึกของการเป็ นพนักงานหรื อนัก
วางระบบงาน

ตรวจสอบทาความสะอาดเครื่ องจักร
สร้างจิตสานึกของการเป็ นพนักงาน
อุปกรณ์ และสถานที่ทางาน เพื่อขจัด
ข้อบกพร่ องหรื อสิ่ งสกปรกต่างๆ และหมัน
่
ดูแลรักษา
การดูแลสถานที่ทางานให้สะอาดปลอดภัย สร้างจิตสานึกเรื่ องความปลอดภัย
ต่อสุขภาพอนามัย
การสร้างสังคมที่มีวนยและปฏิบติตาม
ิ ั
ั
กฎระเบียบอย่างเคร่ งครัด

สร้างจิตสานึกความเป็ นคนที่มีระเบียบวินย
ั
และฝึ กปฏิบติตามกฎเกณฑ์จนกลายเป็ น
ั
นิสย
ั

ข้ อดี
1.กกบรรยากาศและสภาพแวดล้อมการทางานดีข้ ึน
2.กกทาให้สถานที่ทางานเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย
3.กกพนักงานมีขวัญและกาลังใจในการทางาน
ั
4.กกสร้างจิตสานึกให้กบพนักงานเพื่อที่จะนาไปสู่การปรับปรุ ง
ข้ อเสีย
1.กกในการนาไปปฏิบติช่วงแรก อาจเกิดการต่อต้านจากพนักงาน
ั
2.กกพนักงานไม่ยอมรับการมีหน้าที่ความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้น
ในการศึกษาครั้งนี้ ได้นาหลักการ 5ส. มาประยุกต์ใช้ในการปรับปรุ งระบบสิ นค้าคงคลังของ
ร้านกระปุกยา เพื่อให้เกิดความสะดวกต่อการใช้งานและการควบคุมดูแลมากยิงขึ้น โดยหลักการ 5ส. ถือว่าเป็ น
่
ส่วนหนึ่งของงานประจา ไม่ใช่เป็ นการเพิ่มงาน ซึ่งจะทาให้เกิดการสร้างนิสย สร้างสภาพแวดล้อมการทางานที่ดี
ั
12

2.4กกหลักการแบ่ งหมวดหมู่และชนิดของยา
หลักการแบ่งหมวดหมู่และชนิดของยา ตามหลักเภสัชวิทยาการเรี ยกชื่อยาแต่ละตัวจะประกอบด้วยกัน 3
ชื่อ(กนิษฐา กล่อมเกลา. 2547 : 400) คือ
2.4.1กกชื่อสามัญทางยา (Generic Name) จัดเป็ นชื่อที่สาคัญที่สุด เพราะเป็ นชื่อที่ถูกตั้งเพื่อเป็ นมาตรฐาน
ั ่
ในการสื่ อสาร แทนที่จะใช้ชื่อทางเคมี ซึ่งเป็ นชื่อที่ยาวมากซับซ้อน นอกจากนี้ยงเป็ นชื่อที่ใช้กนทัวโลก จะมี
ั
ยกเว้นสาหรับยาบางตัวเท่านั้น ได้แก่ Paracetamol ที่ USA เรี ยกว่า Acetaminophen 4
2.4.2กกชื่อทางเคมี (Chemical Name) เป็ นชื่อที่ต้ งขึ้นตามระบบวิธีต้ งชื่อทางวิทยาศาสต ร์ จากชื่อนี้
ั
ั
สามารถแสดงให้เห็นว่า ยานั้นมีโครงสร้างอย่างไร ชื่อนี้จะเป็ นชื่อที่ยาวมากใช้เป็ นชื่ออ้างอิงทางวิทยาศาสต ร์
่
เช่น Ergotamine tartrate มีชื่อทางเคมี วา Ergotaman-3',6', 18trione,12'-hydroxy-2'-methyl-5'-(phenyl-methyl),(5'(alpha))-,[R-(R*,R*)] 2 ,3dihydroxybutanedioate(2:1)(tartrate).
2.4.3กกชื่อทางการค้ า (Trade Name) เป็ นชื่อที่บริ ษทผูขายตั้งขึ้นเอง เพื่อให้เรี ยกง่ายและใช้ในการ โฆษณา
ั ้
โดยผูใช้ยาเรี ยกหาจะใช้ชื่อทางการค้าแทน รู ปแบบของยาอาจแบ่งได้เป็ น ชนิดต่าง ๆ ดังนี้
้
2.4.3.1กกกลุ่มยาปฏิชีวนะ
2.4.3.2กกกลุ่มยาแก้ปวด แก้อกเสบ
ั
2.4.3.3กกกลุ่มยาโรคผิวหนัง
2.4.3.4กกกลุ่มยาตา
2.4.3.5กกกลุ่มเกลือแร่ และวิตามิน
2.4.3.6กกกลุ่มยาระบบทางเดินอาหาร
2.4.3.7กกกลุ่มยาฮอร์โมน
2.4.3.8กกกลุ่มยาโรคหอบหื ด
2.4.3.9กกกลุ่มยาแก้ไอ
2.4.3.10กกกลุ่มยาน้ า
2.4.3.11กกกลุ่มอื่น ๆ ทัวไป
่
ในการศึกษาครั้งนี้ ได้นาหลักเภสัชวิทยา มาใช้ในการแบ่งหมวดหมู่และชนิดของยา เพื่อนาไปใช้
ในการจัดหมวดหมู่สินค้าของร้านกระปุกยาให้ถูกต้องตามหลักการดังกล่าว

2.5กกแนวความคิดเรื่องสิ นค้ าคงคลัง
2.5.1กกต้ นทุนสินค้ าคงคลัง (Inventory Costs) ประกอบด้วยต้นทุน 3 ส่วนด้วยกัน คือ
2.5.1.1กกต้นทุนเก็บสิ นค้า ( Carrying /Holding Costs) หมายถึง ค่าใช้จ่ายในการเก็บสิ นค้าซึ่ง
ค่าใช้จ่ายนี้จะแปรผันไปตามจานวนของสิ นค้าและระยะเวลาที่เก็บสิ นค้า หากเก็บสิ นค้าไว้นานเท่าใดต้นทุนเก็บ
สิ นค้าก็จะเพิ่มสูงขึ้นเท่านั้น ผูดาเนินการต้องจัดหาเงินทุนเพื่อรองรับค่าสิ นค้าที่เก็บ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เช่น
้
13

สถานที่เก็บสิ นค้า ตูทาความเย็น ไฟฟ้ า ยามรักษาการ สิ นค้าเสื่ อมสภาพ สิ นค้าตกรุ่ น (ล้าสมัย) สิ นค้าสูญหาย
้
สิ นค้าชารุ ด เป็ นต้น
2.5.1.2กกต้นทุนสังสิ นค้า ( Ordering Costs) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ใช้ไปในการจัดหาสิ นค้า
่
ต้นทุนสังสิ นค้าจะแปรผันตามจานวนครั้งที่สง เช่น ค่าขนส่งสิ นค้า ค่าใช้จ่ายในการตรวจนับ เป็ นต้น
ั่
่
2.5.1.3กกต้นทุนจากการขาดสิ นค้า ( Shortage Costs) ต้นทุนจากการขาดสิ นค้าหรื อไม่มีสินค้า
จาหน่ายเมื่อลูกค้าต้องการซื้อ ซึ่งทาให้ลูกค้าเกิดความไม่พึงพอใจ และเสี ยโอกาสในการขาย
2.5.2กกหน้ าทีของสินค้ าคงคลัง (ประสงค์ ประณี ตพลกรัง,2543 : 252)
่
2.5.2.1กกเป็ นการจัดแยกประเภทสิ นค้าอย่างเป็ นหมวดหมู่และบริ หารสิ นค้าคงคลัง จะช่วยให้
สามารถ จัดส่งสิ นค้าให้แก่ลูกค้าได้ทนเวลา
ั
2.5.2.2กกทาให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างผูขายหรื อผูมอบกับผูผลิต และผูผลิตกับลูกค้า
้
้
้
้
2.5.2.3กกได้รับประโยชน์จากส่วนลด เนื่องจากโดยทัวไปแล้วการสังซื้อสิ นค้า จานวนมากจะได้
่
่
ราคาต่อหน่วยที่ต่าลง
2.5.2.4กกป้ องกันปั ญหาจากสภาวะเงินเฟ้ อ และภาวการณ์ข้ ึนราคาของสิ นค้า เนื่องจากมีการ
จัดเก็บสิ นค้าไปคลังตลอดเวลา
2.5.2.5กกป้ องกันปั ญหาความไม่แน่นอนจากการส่งมอบ อันเนื่องมาจากสภาพดินฟ้ า อากาศ
ปั ญหาด้านคุณภาพของสิ นค้า หรื อปั ญหา จากแผนกผูส่งมอบที่มีคุณภาพไม่ได้ มาตรฐานและอื่นๆ
้
2.5.2.6กกช่วยให้งานผลิตเป็ นไปอย่างต่อเนื่องไม่ติดขัด ไม่มีปัญหาการขาดแคลน วัตถุดิบ
หรื อไม่มีสินค้าคงคลังระหว่างผลิต เป็ นต้น
2.5.3กกประเภทของสินค้ าคงคลัง (Types of Inventory) แบ่งได้ดงนี้
ั
2.5.3.1กกสิ นค้าคงคลังที่เป็ นวัตถุดิบ ( Raw Material Inventory) คือ สิ นค้าที่ซ้ือเข้ามาเพื่อ เข้าสู่
กระบวนการผลิต ซึ่งมีความสัมพันธ์โดยตรงกับผูส่งมอบ ดังนั้น ควรเลือกผูส่งมอบที่มีความแน่นอนในเรื่ อง
้
้
คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ปริ มาณและความตรงต่อเวลาในกาจัดส่ง
่
2.5.3.2กกสิ นค้าคงคลังระหว่างการผลิต ( Work-in-Process : (WIP) Inventory) คือ สิ นค้าที่ผาน
กระบวนการผลิตมาบ้างแล้ว แต่ยงไม่เสร็ จสิ้นครบตามกระบวนการผลิต นันคือต้องรอเข้ากระบวนการถัดไป
ั
่
เพื่อครบรอบเวลาของการผลิต (Cycle Time)
2.5.3.3กกสิ นค้าคงคลังประเภทอะไหล่สาหรับการซ่อมบารุ ง Maintenance/Repair/Operating :
(MROS) คือ กลุ่มสิ นค้าประเภทอะไหล่ และอุปกรณ์ที่จาเป็ นต้องมีสารองไว้เพื่องาน ส่วนบารุ ง ทั้งนี้เพื่อ
ป้ องกันไม่ให้เกิดภาวะอะไหล่ขาดแคลน หรื อหาซื้อไม่ได้ใน ยามอุปกรณ์ชารุ ดเสี ยหาย
2.5.3.4กกสิ นค้าคงคลังประเภทสิ นค้าสาเร็ จรู ป ( Finished Goods Inventory คือ กลุ่มสิ นค้าที่
ผ่านกระบวนการผลิตขั้นสุดท้ายแล้ว มีความพร้อมที่จะส่งขายทันที ทาการเก็บรักษาเพื่อสารองไว้ขายให้ลูกค้า
ได้ตลอดเวลา และนับว่าเป็ นทรัพย์สินของบริ ษท
ั
14

2.5.4กกการบริหารสินค้ าคงคลัง (Inventory Management)
เป็ นการตัดสิ นใจเกี่ยวกับการเก็บรักษาสิ นค้าคงคลังให้มีขนาดและประเภทของสิ นค้าในปริ มาณ
ที่เหมาะสม โดยจะต้องพิจารณาถึงความสมดุลระหว่างความต้องการของตลาด ต้นทุน และค่าใช้จ่ายที่
เกี่ยวข้องกับสิ นค้าคงคลัง ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับปั จจัย 2 ประการ คือ
2.5.4.1กกระดับหรื อจุดของสิ นค้าคงคลังซึ่งต้องทาการสังซื้อสิ นค้าใหม่ (Reorder Point)
่
2.5.4.2กกปริ มาณการสังซื้อที่ประหยัดที่สุด (Economic Order Quantity)
่
2.5.5กกEOQ Model (Economic Order Quantity Model)
เป็ นจุดที่ตนทุนการเก็บรักษา และ ต้นทุน การสังซื้อมีค่าเท่ากัน และต้นทุนสิ นค้าคงเหลือ
้
่
่
ทั้งหมดมีค่าต่าสุด ซึ่งเป็ นจานวนคงที่ของ ปริ มาณในคาสังซื้อ และอยูในนโยบายของจุดสังซื้อ ( Order Point
่
่
Policies) เป็ นเทคนิคที่ นิยมใช้มากที่สุด เนื่องจากสามารถทาความเข้าใจและนาไปใช้ได้ง่าย อย่างไรก็ตาม
่
การนาไป ประยุกต์ใช้จะต้องอยูภายใต้สมมติฐาน ดังต่อไปนี้
2.5.5.1กกปริ มาณความต้องการของลูกค้า มีความแน่นอน เกิดขึ้นสม่าเสมอและมีความอิสระ
2.5.5.2กกระยะเวลารอคอย ( Lead Time) หรื อเวลาระหว่างการออกใบสังซื้อจนกระทังได้รับ
่
่
สิ นค้า มีความคงที่และแน่นอน
2.5.5.3กกรอบเวลาของการรับสิ นค้า มีความแน่นอน เช่น ทุกวันที่ 10 ของแต่ละเดือน
2.5.5.4กกต้นทุนแปรผันและต้นทุนคงที่มีค่าคงที่
2.5.5.5กกไม่มีภาวะขาดแคลนสิ นค้าจากผูขาย ( Supplier) ต้นทุนต่าสุด(Minimizing Costs) เป็ น
้
การบริ หารที่ทาให้ตนทุนการผลิตรวมต่าที่สุด ซึ่งเป็ นวัตถุประสงค์หลักของโมเดล การควบคุมสิ นค้าคงเหลือ
้
มีความสัมพันธ์โดยตรงกับต้นทุนการจัดเตรี ยมการผลิต (หรื อต้นทุนการสังซื้อ) และต้นทุนการเก็บรักษา ส่วน
่
ต้นทุนอื่น ๆ เช่น ราคาสิ นค้านั้นจัดให้เป็ นต้นทุนคงที่ ดังนั้น หากสามารถลดต้นทุนการจัดเตรี ยมการผลิต
(หรื อต้นทุนการสังซื้อ) และต้นทุนการเก็บรักษาได้ ก็จะสามารถทาให้ตนทุนรวมลดต่าลงได้
้
่
2.5.5.6กกEOQ Model (Economic Order Quantity Model) มีข้ นตอนการคานวณดังนี้
ั
(1)กกคานวณหาต้นทุนในการสังซื้อ
่
(2)กกคานวณหาต้นทุนในการเก็บรักษา
(3)กกกาหนดให้ตนทุนการสังซื้อเท่ากับต้นทุนการเก็บรักษาเนื่องจาก
้
่
ต้นทุนรวม = ต้นทุนการสังซื้อ + ต้นทุนการเก็บรักษา
่
d Total Cost = 0 จะได้ค่าต่าสุ ด
เมื่อ
dQ

ดังนั้น ต้นทุนการสังซื้อจึงเท่ากับต้นทุนการเก็บรักษา
่
(4)กกแก้สมการตามที่ได้จากข้อที่ 4.5.6.3เพื่อให้ได้ปริ มาณการสังซื้อที่ประหยัดที่สุด
่
กาหนดตัวแปรต่าง ๆ ดังนี้
Q =กกปริ มาณการสังซื้อในแต่ละครั้ง (หน่วย/ครั้ง)
่
Q* = กกปริ มาณการสังซื้อที่ประหยัดที่สุดในแต่ละครั้ง (หน่วย/ครั้ง)
่
D =กกปริ มาณความต้องการสิ นค้าต่อปี (หน่วย/ปี )
S =กกค่าใช้จ่ายในการสังซื้อในแต่ละครั้ง (บาท/ครั้ ง)
่
15

H =กกค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาต่อหน่วยต่อปี (บาท/หน่วย/ปี )
W =กกจานวนวันทางานทั้งหมด (วัน)
N =กกจานวนครั้งของการสังซื้อตลอดทั้งปี (ครั้ ง/ปี )
่

ขั้นตอนที่ 1 ต้นทุนในการสังซื้อ =
่

D
S
Q
ขั้นตอนที่ 2 ต้นทุนในการเก็บรักษา = D H
2

……………. สมการที่ 1

ขั้นตอนที่ 3 ต้นทุนการสังซื้อ = ต้นทุนในการเก็บรักษา
่
D = D
H
S

……………. สมการที่ 3

Q

……………. สมการที่ 2

2

ขั้นตอนที่ 4 ปริ มาณการสังซื้อที่ประหยัดในแต่ละครั้ง (Q*) =
่
จานวนการสังซื้อตลอดทั้งปี (ครั้ ง) (N) =
่

……..………สมการที่ 4
……………. สมการที่ 5

D
Q*

ระยะเวลาระหว่างสังซื้อแต่ละครั้ง (วัน/ครั้ ง) T =
่

2 DS
H

จานวนทางานทั้งหมด (วัน) (W)
จานวนครั้งของการสังซื้อตลอดทั้ง(ครั้ ง)(N)
่
T=

w
n

……………. สมการที่ 6

Reorder Point (ROP) เป็ นระดับหรื อจุดของสิ นค้าคงคลัง ซึ่งต้องทาการสังซื้อสิ นค้าใหม่
่
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya
Krapookya

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...
กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...
กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...WaruneeThanitsorn
 
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ DrDanai Thienphut
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจInterlocking block
ตัวอย่างแผนธุรกิจInterlocking blockตัวอย่างแผนธุรกิจInterlocking block
ตัวอย่างแผนธุรกิจInterlocking blockNattakorn Sunkdon
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกarm_smiley
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
แผนธุรกิจ กระบะกระดาษ
แผนธุรกิจ กระบะกระดาษแผนธุรกิจ กระบะกระดาษ
แผนธุรกิจ กระบะกระดาษTeerapon Chamket
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)Nattakorn Sunkdon
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร Punyapon Tepprasit
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)Nattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่Utai Sukviwatsirikul
 
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...Punyapon Tepprasit
 

Mais procurados (20)

กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...
กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...
กลยุทธ์ทางการตลาดที่ใช้ในการปฏิบัติการของธุรกิจนำเที่ยวภายในประเทศ ในเขตจังหว...
 
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hoursตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
ตัวอย่างแผนธุรกิจMinimart25 hours
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจInterlocking block
ตัวอย่างแผนธุรกิจInterlocking blockตัวอย่างแผนธุรกิจInterlocking block
ตัวอย่างแผนธุรกิจInterlocking block
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
แผนธุรกิจ กระบะกระดาษ
แผนธุรกิจ กระบะกระดาษแผนธุรกิจ กระบะกระดาษ
แผนธุรกิจ กระบะกระดาษ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
 
1223363069 minimart 25 hours
1223363069 minimart 25 hours1223363069 minimart 25 hours
1223363069 minimart 25 hours
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
 
Week6
Week6Week6
Week6
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
 
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
 

Semelhante a Krapookya

(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓Utai Sukviwatsirikul
 
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014Utai Sukviwatsirikul
 
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยUtai Sukviwatsirikul
 
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลอนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลUtai Sukviwatsirikul
 
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...Utai Sukviwatsirikul
 
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkok
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkokStrategy for drugstore and herbal shop in bangkok
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkokUtai Sukviwatsirikul
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาDMS Library
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพUtai Sukviwatsirikul
 
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...Utai Sukviwatsirikul
 
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการพฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการUtai Sukviwatsirikul
 
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014Utai Sukviwatsirikul
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ Utai Sukviwatsirikul
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่supatra39
 
แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง
แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้างแนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง
แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้างUtai Sukviwatsirikul
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์tra thailand
 

Semelhante a Krapookya (20)

Pharmacy ayudya
Pharmacy ayudyaPharmacy ayudya
Pharmacy ayudya
 
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
(ร่าง) รายงานการประชุมคณะทำงานยกร่างกหมายลำดับรอง ครั้งที่ ๓
 
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014Greeen bus plan   green restuarant 15 june 2014
Greeen bus plan green restuarant 15 june 2014
 
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
 
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูลอนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
อนาคตร้านยากับ AEC โดย กรกนก โอภาสตระกูล
 
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...
 
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkok
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkokStrategy for drugstore and herbal shop in bangkok
Strategy for drugstore and herbal shop in bangkok
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
 
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพการพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
การพัฒนาร้านยาเข้าสุ่ร้านยาคุณภาพ
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
Week 7
Week 7Week 7
Week 7
 
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
รายงานการสำรวจความพร้อมของผู้ประกอบการร้านยาต่อการเป็นร้านยาคุณภาพตาม ประกาศ(...
 
8428 16977-1-sm
8428 16977-1-sm8428 16977-1-sm
8428 16977-1-sm
 
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการพฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
พฤติกรรมการซื้อยา จากร้านขายยาของผู้บริโ ภคในอําเภอพระประแดง สมทุรปราการ
 
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
 
แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง
แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้างแนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง
แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesUtai Sukviwatsirikul
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 

Krapookya

  • 1. การเพิมขีดความสามารถในการบริหารสิ นค้ าคงคลังและการวางแผนการตลาด ่ ในธุรกิจร้ านขายยา : กรณีศึกษาร้ านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี Increase Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs Store : A case of Kapookya Drugs Udonthani ปวีณา ทับภูมี ปัทมา เชื้อกรุงเทพ อัจฉรา หาญกล้า รายงานสั มมนาการจัดการ หลักสู ตรบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2551
  • 2. การเพิมขีดความสามารถในการบริหารสิ นค้ าคงคลังและการวางแผนการตลาด ่ ในธุรกิจร้ านขายยา : กรณีศึกษาร้ านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี Increase Inventory In Management And Marketing Planning In Drugs Store : A case of Kapookya Drugs Udonthani ปวีณา ทับภูมี ปัทมา เชื้อกรุงเทพ อัจฉรา หาญกล้า รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา 961 493 สั มมนาการจัดการ หลักสู ตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2551
  • 3. ใบรับรองรายงานสั มมนาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น หลักสู ตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ชื่อโครงการ : การเพิ่มขีดความสามารถในการบริ หารสิ นค้าคงคลังและการวางแผนการตลาด ในธุรกิจร้านขายยา: กรณี ศึกษาร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี ชื่อผู้จดทาโครง ั : นางสาวปวีณา ทับภูมี นางสาวปั ทมา เชื้อกรุ งเทพ รหัสประจาตัว รหัสประจาตัว 483210856-5 483210858-1 นางสาวอัจฉรา หาญกล้า รหัสประจาตัว 483210892-1 คณะกรรมการสอบประเมินโครงการ ผูช่วยศาสตราจารย์อารี ย ์ นัยพินิจ ้ ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร.นวลฉวี แสงชัย ้ อาจารย์ภทรขวัญ พิลางาม ั อาจารย์สุกานดา ฟองย้อย อาจารย์ภทรวดี เพิ่มวณิ ชกุล ั อาจารย์ ทปรึกษารายงานการค้ นคว้ าอิสระ ี่ .................................................อาจารย์ที่ปรึ กษา (อาจารย์ภทรวดี เพิ่มวณิ ชกุล) ั ...................................................ที่ปรึ กษาองค์กร (พันตรี .ภญ.อนุตรตรี ย ์ ศรี กลวงษ์) ุ
  • 4. กิตติกรรมประกาศ การศึกษาเรื่ อง “การเพิ่มขีดความสามารถในการบริ หารสิ นค้าคงคลังและการวางแผนการตลาดในธุรกิจ ร้านขายยา : กรณี ศึกษาร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี ” รายงานฉบับนี้เสร็ จสาเร็ จลุล่วงไปได้ดวยดี เพราะได้รับ ้ ความกรุ ณาอย่างสูงรวมถึงคาแนะนาจากอาจารย์ภทรวดี เพิ่มวณิ ชกุล ซึ่งเป็ นอาจารย์ที่ปรึ กษา และผูช่วย ั ้ ศาสตราจารย์อารี ย ์ นัยพินิจ ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร. นวลฉวี แสงชัย อาจารย์ภทรขวัญ พิลางาม และอาจารย์ ้ ั สุกานดา ฟองย้อย ที่ปรึ กษาร่ วมในการศึกษาทารายงานสัมมนาในครั้งนี้ ซึ่งท่านอาจารย์ทุกท่านได้กรุ ณาสละเวลา ให้คาปรึ กษาและข้อเสนอแนะสาหรับการจัดทาวิจยฉบับนี้ให้เสร็ จสมบูรณ์ ั ขอขอบพระคุณ พันตรี .ภญ.อนุตรตรี ย ์ ศรี กลวงษ์ ผูประกอบการร้านกระปุกยาที่ให้ความอนุเคราะห์ ุ ้ และให้ความร่ วมมืออย่างดีในการให้รายละเอียดข้อมูลที่เป็ นเนื้อหาสาคัญในการศึกษาวิจยครั้งนี้ รวมทั้งพนักงาน ั ร้านกระปุกยาทุกท่านขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงมา ณ ที่น้ ี ขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ และครอบครัวของคณะผูจดทาที่คอยให้ความช่วยเหลือสนับสนุนและ ้ั ั ้ั ่ เป็ นกาลังใจที่สาคัญให้กบผูจดทาตลอดระยะเวลาที่ผานมา และขอขอบพระคุณเพื่อนนักศึกษาสาขาการจัดการรุ่ น ที่ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่นทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือและเป็ นกาลังใจที่ดีตลอดมา ปวีณา ทับภูมี ปั ทมา เชื้อกรุ งเทพ อัจฉรา หาญกล้า
  • 5. ปวีณา ทับภูมี, ปั ทมา เชื้อกรุ งเทพ และอัจฉรา หาญกล้า. การเพิ่มขีดความสามารถในการบริ หารสิ นค้าคงคลัง และการวางแผนการตลาดในธุรกิจร้านขายยา : กรณี ศึกษาร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี . รายงาน สัมมนาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงการ : อาจารย์ภทรวดี เพิ่มวณิ ชกุล ั บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการบริ หารสิ นค้าคงคลังและการวางแผน ั การตลาดในธุรกิจร้านขายยา : กรณี ศึกษาร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี โดยทาการวิเคราะห์ปัญหาจากการ ดาเนินงาน จากการวิเคราะห์โดยแผนภาพก้างปลาพบว่าร้านกระปุกยามีปัญหา 2 ด้าน คือ 1) ด้านสิ นค้าคงคลัง มี การจัดเก็บสิ นค้าไม่เป็ นหมวดหมู่ ยากต่อการค้นหาและเสี ยเวลาการให้บริ การลูกค้า ร้านขาดการบันทึกและการ ตรวจสอบข้อมูลสิ นค้าคงคลัง ไม่มีการจัดระบบหมุนเวียนสิ นค้าเข้าออก ทาให้เกิดปั ญหาต่าง ๆ ตามมา เช่น ปั ญหายาขาดคลังหรื อยาค้างคลังมากเกินความจาเป็ น และยังขาดการวางแผนในการสังซื้อสิ นค้าที่ดี ทาให้ไม่ ่ ทราบจานวนสิ นค้าคงคลังที่หมุนเวียนอยู่ 2) ด้านการตลาด ร้านยังขาดการวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาดและขาด การประชาสัมพันธ์ร้านทาให้ร้านยังไม่เป็ นที่รู้จกของลูกค้ากลุ่มเป้ าหมาย ดังนั้นจึงได้ทาการแก้ไขปั ญหาโดยนา ั เครื่ องมือการจัดการมาวิเคราะห์และนาแนวคิด 5ส.มาช่วยในการจัดเก็บสิ นค้าที่ไม่เป็ นหมวดหมู่ ให้ดียงขึ้นเพื่อ ิ่ ลดระยะเวลาในการค้นหาสิ นค้า นาสต๊อกการ์ดมาจัดการระบบสิ นค้าคงคลัง ร้านมีการตรวจนับและจดบันทึก สม่าเสมอพร้อมทั้งนาหลักการสิ นค้าเข้าก่อนออกก่อนมาช่วยในระบบหมุนเวียนสิ นค้าคงคลัง เพื่อควบคุมปริ มาณ สิ นค้าคงคลังให้มีประสิ ทธิภาพมากยิงขึ้น และมีการวางแผนการสังซื้อที่ดี โดยทราบปริ มาณจุดสังซื้อที่ประหยัด ่ ่ ่ สุดที่สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านสิ นค้าคงคลังได้เป็ นอย่างดี และด้านการตลาดได้วเิ คราะห์สภาพแวดล้อมทาง การตลาด การแข่งขันในธุรกิจร้านขายยา วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรคของร้าน และสารวจ ภาคสนามจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี เพื่อเป็ นข้อมูลในการวางแผนกลยุทธ์ทาง การตลาด กาหนดตลาดเป้ าหมาย วิเคราะห์พฤติกรรมผูบริ โภคและการวางแผนการตลาดให้เหมาะสมกับร้าน ้ ่ กระปุกยา โดยมีวตถุประสงค์ทางการตลาดเพื่อเพิมยอดขายไม่นอยกว่า 5% เมื่อเทียบกับปี ที่ผานมา จากการแก้ไข ั ้ ่ ปั ญหาดังกล่าว ทาให้ร้านกระปุกยามีการจัดสิ นค้าเป็ นหมวดหมู่สามารถลดระยะเวลาในการค้นหาสิ นค้าได้ มีการ บันทึกและตรวจสอบข้อมูลสิ นค้าคงคลังอย่างสม่าเสมอ มีระบบหมุนเวียนสิ นค้า เข้าก่อนออกก่อน มีระบบการ วางแผนในการสังซื้อที่ดีทาให้สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านสิ นค้าคงคลังได้ และกิจกรรมทางการตลาดที่ชดเจนที่ทา ั ่ ให้ร้านสามารถเพิ่มยอดขายบรรลุวตถุประสงค์ได้ ั
  • 6. สารบัญ หน้ า บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา 1.2 กรอบแนวความคิด 1.3 วัตถุประสงค์ 1.4 ขอบเขตของการวิจย ั 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง ั 2.1 ใบตรวจสอบ (Check Sheet) 2.2 แผนผังสาเหตุและผล (Cause and Effect Diagram) 2.3 แนวความคิดเรื่ องหลักการ 5ส. 2.4 หลักการแบ่งหมวดหมู่และชนิดของยา 2.5 แนวความคิดเรื่ องสิ นค้าคงคลัง 2.6 สภาพแวดล้อมทัวไป (General Environment) ่ 2.7 การวิเคราะห์ (SWOT Analysis) 2.8 การวิเคราะห์การแข่งขันในธุรกิจโดยใช้ (Five Forces Model) 19 2.9 การวิเคราะห์พฤติกรรมผูบริ โภค ้ 2.10 การตลาดตามเป้ าหมาย (Target marketing หรื อ STP marketing) 2.11 ทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix :4Ps) 2.12 แนวความคิดกลยุทธ์การจัดผังร้านค้าปลีก (Store design) 2.13 งานวิจยที่เกี่ยวข้อง ั บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษา 3.1 ประชากร 3.2 กลุ่มตัวอย่าง 3.3 พื้นที่ทาการวิจย ั 3.4 ขอบเขตเนื้อหาที่วจย ิั 3.5 การเก็บรวบรวมข้อมูลการศึกษา 3.6 เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมการวิจย ั 3.7 การวิเคราะห์ขอมูลและแปรผลข้อมูล ้ 1 3 4 4 4 5 6 7 10 12 12 16 18 21 24 26 28 32 35 35 36 36 37 38 38
  • 7. สารบัญ(ต่ อ) หน้ า บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอมูล ้ 4.1 ผลการวิเคราะห์ปัญหา 4.2 การแก้ไขปั ญหาสิ นค้าคงคลัง 4.3 การแก้ไขปั ญหาด้านการตลาด 4.3.1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทัวไป ่ 4.3.2 การวิเคราะห์เชิงการแข่งขัน 4.3.3 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกองค์กร 4.3.4 การวิเคราะห์คู่แข่งขัน 4.3.5 ผลการวิเคราะห์ขอมูลจากแบบสอบถาม ้ 4.3.6 การวิเคราะห์ตลาดตามเป้ าหมาย 4.3.7 แผนกลยุทธ์ทางการตลาด บทที่ 5 สรุ ปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 5.1 สรุ ปผลการศึกษา 5.2 แผนสารอง 5.3 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณ์ผประกอบการ ู้ ภาคผนวก ข แบบสารวจเพื่อศึกษาปั ญหาร้านกระปุกยา ( Check Sheet) ภาคผนวก ค พื้นฐานของการกาหนดคู่แข่งขัน ภาคผนวก ง ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าจังหวัดอุดรธานี ภาคผนวก จ แสดงแผนที่ร้านกระปุกยาและคู่แข่งขัน ภาคผนวก ฉ รายชื่อร้านขายยาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ภาคผนวก ช รหัสสิ นค้าร้านกระปุกยา ภาคผนวก ซ ตารางแสดงรายการบันทึกสิ นค้า (สต๊อกการ์ด) ภาคผนวก ฌ แบบสอบถาม “แบบสอบถาม “การศึกษาพฤติกรรมในการซื้อผลิตภัณฑ์ ของผูบริ โภคจากร้านขายยา ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี ้ จังหวัดอุดรธานี” 39 41 60 60 62 63 66 68 74 76 90 92 93 96 99 102 105 107 110 112 116 118 127
  • 8. สารบัญ(ต่ อ) ภาคผนวก ญ อัตราเงินเดือนแรกบรรจุตามคุณวุฒิ ภาคผนวก ฎ งบกาไรขาดทุนของร้านกระปุกยา ภาคผนวก ฏ แสดงแนวโน้มยอดขายของร้านกระปุกยา ภาคผนวก ฐ แสดงแนวโน้มยอดขายผลิตภัณฑ์แต่ละประเภท ของร้านกระปุกยา ภาคผนวก ฑ การจัดผังร้านยา ภาคผนวก ฒ ข้อจากัดในการโฆษณายา ภาคผนวก ณ ร้านยาคุณภาพ ประวัติผศึกษา ู้ หน้ า 131 133 136 139 142 148 151 158
  • 9. สารบัญตาราง ตารางที่ 1 แสดงขั้นตอนกิจกรรม 5ส. ตารางที่ 2 แสดงคาถาม 7 คาถาม (6W 1H) เพื่อค้นหาคาตอบ 7 ประการ ที่เกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริ โภค ้ ตารางที่ 3 แสดงการกาหนดโควตาในการแจกแบบสอบถามของร้านกระปุกยาทั้ง 3 สาขา ตารางที่ 4 แสดงผลการสังเกตการณ์จบเวลาการค้นหาสิ นค้าโดยเฉลี่ย ั ตารางที่ 5 แสดงการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของพนักงานร้านกระปุกยา ตารางที่ 6 ข้อมูลที่ใช้ในการคานวณตัวอย่างยา 10 รายการ ในการสังซื้อด้วย EOQ Model53 ่ ตารางที่ 7 ต้นทุนรวมของตัวอย่างยา 10 รายการ ก่อนใช้ EOQ Model ตารางที่ 8 ต้นทุนรวมของตัวอย่างยา 10 รายการ หลังใช้ EOQ Model ตารางที่ 9 มูลค่าที่ลดลงด้านค่าใช้จ่ายยาคงคลังของตัวอย่างยา 10 รายการ เมื่อใช้ทฤษฎี EOQ ตารางที่ 10 รู ปแบบการคานวณหาปริ มาณการสังซื้อที่ประหยัดที่สุด ่ ตารางที่ 11 แสดงปริ มาณการสังซื้อที่ประหยัดและระดับของสิ นค้าคงเหลือที่ตองทาการสังซื้อใหม่ ้ ่ ่ ตารางที่ 12 แสดงประชากรแยกตามอายุ เพศ จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2551 ตารางที่ 13 แสดงผลการวิเคราะห์การแข่งขันโดยใช้ Five forces Model ตารางที่ 14 แสดงรายชื่อร้านคู่แข่งขันของร้านกระปุกยา 1 ตารางที่ 15 แสดงจุดแข็ง จุดอ่อน ของร้านคู่แข่งขันของร้านกระปุกยา 1 ตารางที่ 16 แสดงรายชื่อร้านคู่แข่งขันของร้านกระปุกยา 2 ตารางที่ 17 แสดงรายชื่อร้านคู่แข่งขันของร้านกระปุกยา 3 ตารางที่ 18 แสดงจุดแข็ง จุดอ่อน ของร้านคู่แข่งขันของร้านกระปุกยา 3 ตารางที่ 19 แสดงจานวนและร้อยละจากกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือน ตารางที่ 20 แสดงจานวนและร้อยละจากกลุ่มตัวอย่างตามพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์จาก ร้านขายยาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี ตารางที่ 21 แสดงจานวนและร้อยละจากกลุ่มตัวอย่างตามพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์จาก ร้านกระปุกยาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี ตารางที่ 22 แสดงหลักเกณฑ์ในการแบ่งส่วนตลาดร้านกระปุกยา ตารางที่ 23 แสดงคะแนนสะสมเพื่อและของรางวัล หน้ า 11 22 37 41 47 54 55 56 57 59 60 60 63 66 67 67 67 68 68 69 71 73 74
  • 10. สารบัญตาราง(ต่ อ) หน้ า ตารางที่ 24 แสดงแผนระยะการดาเนินกิจกรรมทางตลาด ตารางที่ 25 แสดงเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงยอดขายของร้านกระปุกยา 1 ตารางที่ 26 แสดงเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงยอดขายของร้านกระปุกยา 2 ตารางที่ 27 แสดงเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงยอดขายของร้านกระปุกยา 3 ตารางที่ 28 แสดงการตรวจสอบรายการ Check sheet : ก่อนดาเนินงาน ตารางที่ 29 แสดงการตรวจสอบรายการ Check sheet : หลังดาเนินงาน ตารางที่ 30 รายชื่อร้านขายยาในเขตเทศบาลนครอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ตารางที่ 31 รหัสสิ นค้าร้านกระปุกยา ตารางที่ 32 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาจัด ตารางที่ 33 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :ปฎิชีวนะ ตารางที่ 34 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :แก้ปวด ตารางที่ 35 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :กลุ่มผิวหนัง ตารางที่ 36 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :ตา ตารางที่ 37 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :เกลือแร่ ตารางที่ 38 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :ทางเดินอาหาร ตารางที่ 39 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :ฮอร์โมน ตารางที่ 40 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :หอบหื ด ตารางที่ 41 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :แก้ไอ ตารางที่ 42 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :ยาน้ า ตารางที่ 43 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ยาเรี ยกหา :อื่นๆ ตารางที่ 44 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง อุปกรณ์การแพทย์ ตารางที่ 45 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง ผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร ตารางที่ 46 แสดงรายการบันทึกสิ นค้าคงคลัง เครื่ องสาอาง ตารางที่ 47 แสดงการเปลี่ยนแปลงของยอดขายรายไตรมาสของร้านกระปุกยา 1 ปี พ.ศ. 2550-2551 ตารางที่ 48 แสดงการเปลี่ยนแปลงของยอดขายรายไตรมาสของร้านกระปุกยา 2 ปี พ.ศ. 2550-2551 ตารางที่ 49 แสดงยอดขายผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทของร้านกระปุกยา 1 ปี พ.ศ. 2550-2551 ตารางที่ 50 แสดงยอดขายผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทของร้านกระปุกยา 2 ปี พ.ศ. 2550-2551 83 84 85 87 89 103 104 113 117 119 120 120 120 121 121 121 122 122 123 123 124 125 126 137 138 140 141
  • 11. สารบัญภาพ ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3 ภาพที่ 4 ภาพที่ 5 ภาพที่ 6 ภาพที่ 7 ภาพที่ 8 ภาพที่ 9 ภาพที่ 10 ภาพที่ 11 ภาพที่ 12 ภาพที่ 13 ภาพที่ 14 ภาพที่ 15 ภาพที่ 16 ภาพที่ 17 ภาพที่ 18 ภาพที่ 19 ภาพที่ 20 ภาพที่ 21 ภาพที่ 22 ภาพที่ 23 ภาพที่ 24 ภาพที่ 25 ภาพที่ 26 ภาพที่ 27 กรอบแนวความคิด แสดงตัวอย่างใบตรวจสอบ Check sheet แสดงการจัดทาแผนผังสาเหตุและผล แ สดงเส้นระดับหรื อจุดของสิ นค้าคงคลังซึ่งต้องทาการสังซื้อสิ นค้าใหม่ ่ แสดงภาพประกอบ Five - forces Model แสดงการจัดผังในลักษณะเส้นตรงตามแนวยาว แสดงการจัดผังในลักษณะที่สอดคล้องรอบบรรจบ การจัดทาแผนผังร้านค้าแบบตาข่าย Grid Layout การจัดแผนผังร้านแบบคู่แข่ง Racek Layout แสดงแผนผังภาพก้างปลา แสดงการจัดผังร้านกระปุกยาสาขา 1 แสดงการจัดผังร้านกระปุกยาสาขา 2 แสดงการจัดผังร้านกระปุกยาสาขา 3 ตัวอย่างรายการบันทึกสิ นค้าสต๊อกการ์ดยาเรี ยกหา :กลุ่มยาปฏิชีวนะ ตัวอย่างรายการบันทึกสิ นค้าสต๊อกการ์ดยาเรี ยกหา :กลุ่มยาปฏิชีวนะ โดยใช้ทฤษฎี First in First out ระบบการบริ หารสิ นค้าคงคลังโดยใช้ทฤษฎี FIFO แสดงการจัดผังร้านกระปุกยา ใบปลิวพร้อมคูปองส่วนลด ชุดสุขภาพพร้อมดูแลคุณ :ชุดขาวใส ชุดสุขภาพพร้อมดูแลคุณ :ชุดขาวใส ไร้ริ้วรอย ชุดสุขภาพพร้อมดูแลคุณ :ชุดบารุ งร่ างกาย แผนผังการทางานของคลังสิ นค้าก่อนปรับปรุ ง แผนผังการทางานของคลังสิ นค้าหลังปรับปรุ ง แสดงแผนที่ร้านกระปุกยาและคู่แข่งขัน แสดงเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของยอดขายรายไตรมาสของร้านกระปุกยา 1 ปี พ.ศ. 2550-2551 แสดงเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของยอดขายรายไตรมาสของร้านกระปุกยา 2 แสดงเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของยอดขายผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทของ หน้ า 3 7 9 15 20 29 29 30 30 40 43 44 45 48 48 49 78 80 81 81 82 93 94 111 137 138 140
  • 12. ร้านกระปุกยา 1 สารบัญภาพ(ต่ อ) ภาพที่ 28 แสดงเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของยอดขายผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทของ ร้านกระปุกยา 2 หน้ า 141
  • 13. 1 บทที่ 1 บทนา 1.1กก ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา ่ ปั จจัยสี่ ถือว่ามีความสาคัญต่อการดารงชีวตของมนุษย์ ได้แก่ อาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยูอาศัย และยารักษา ิ โรค และเป็ นที่ยอมรับโดยทัวไปแล้วว่า "ยา" เป็ นสิ่ งที่ใช้ในการบาบัด รักษา หรื อป้ องกันโรค จากสัดส่วนของ ่ การกระจายยาในประเทศไทยพบว่า ส่วนใหญ่ยาจะกระจายไปสู่ผบริ โภคผ่านทางโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน ู้ ร้อยละ 58 และร้านขายยาก็เป็ นอีกแหล่งหนึ่งที่ทาหน้าที่ในการกระจายยาไปสู่ผบริ โภค ที่มีสดส่วนสูงถึงร้อยละ ู้ ั ่ 32 (กองควบคุมยา. 2544:24) ดังนั้นร้านขายยาจึงถือได้วามีความสาคัญในฐานะที่เป็ นแหล่งในการกระจายยา ไปสู่ผบริ โภคที่สาคัญอีกแหล่งหนึ่ง โดยผูที่ทาหน้าที่ในการดูแลการกระจายยาดังกล่าวก็คือ เภสัชกรประจาร้าน ู้ ้ ขายยา ่ ร้านขายยา ถือได้วาเป็ นอีกทางเลือกสาหรับผูบริ โภค ที่จะหาซื้อยามารับประทานเพื่อบรรเทาอาการของ ้ ั โรคต่างๆ ผูประกอบธุรกิจร้านขายยาต้องหากลยุทธ์ต่างๆมาเพื่อช่วยส่งเสริ มการขายให้กบร้าน เพื่อไม่ให้ ้ ยอดขายของร้านลดลง พร้อมทั้งในขณะนี้สภาพการแข่งขันทางร้านขายยามีมาก ได้แก่ การเปิ ดร้านใหม่ การขยาย สาขา เป็ นต้น สภาวะแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ ต่างมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างชัดเจน ส่งผลให้ธุรกิจต่าง ๆ ่ ต้องหันกลับมามองหาตัวเอง เพื่อให้มีการปรับตัว และพัฒนาธุรกิจเพื่อความอยูรอดของธุรกิจ และธุรกิจร้าน ขายยาก็เช่นเดียวกัน ที่ตองหันมามองในเรื่ องของมาตรฐานในการให้บริ การด้านยา และการให้คาปรึ กษาทาง ้ สุขภาพที่ดี ให้แก่ลูกค้าที่เป็ นผูบริ โภค ้ ่ ร้านกระปุกยา เป็ นร้านขายยาแผนปั จจุบน ตั้งอยูในเขตเทศบาลเมืองอุดรธานี เปิ ดดาเนินการเมื่อ พ.ศ. ั 2549 โดย พันตรี .ภญ.อนุตรตรี ย ์ ศรี กลวงษ์ ปั จจุบนร้านกระปุกยามีท้ งหมด 3 สาขา ได้แก่ ุ ั ั ร้านกระปุกยา 1 เลขที่ 19 / 16 ซอยทองคาอุทิศ ตาบลหมากแข้ง อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ร้านกระปุกยา 2 ตลาดเริ่ มอุดม ล็อก I3 ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ร้านกระปุกยา3 (ตรงข้ามมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี) ห้องแถวศูนย์นกศึกษาวิชาทหาร ห้องที่ 10 ถนน ั ทหาร ตาบลหมากแข้ง อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี โดยแต่ละร้านนั้น มีผช่วยเภสัชกรประจาร้านทั้ง 3 ร้าน ร้านกระปุกยา มีหน้าที่หลัก คือ การให้บริ การด้าน ู้ ่ ยา จัดจ่ายและให้คาปรึ กษาด้านยาแก่ผมารับบริ การ จากการดาเนินการที่ผานมา พบว่ายอดขายของทางร้านมี ู้ แนวโน้มที่ลดลง และพบปั ญหาที่เกิดขึ้นจากการวิเคราะห์ปัญหาของร้านกระปุกยา พบว่ามีปัญหาของร้านที่ เกิดขึ้น ดังนี้ 1.กกการจัดเก็บสิ นค้าไม่เป็ นหมวดหมู่ 2.กกไม่มีการบันทึกข้อมูลสิ นค้าเนื่องจากขาดการตรวจนับสิ นค้าคงคลัง 3.กกไม่มีการจัดระบบหมุนเวียนสิ นค้าเข้าออก
  • 14. 2 4.กกขาดการวางแผนในการสังซื้อ ่ 5.กกยอดขายของร้านมีแนวโน้มที่ลดลง 6.กกขาดการวิเคราะห์สภาพทางการตลาด คู่แข่งขัน ของร้านกระปุกยา 7.กกขาดการส่งเสริ มทางด้านตลาดและการโฆษณาประชาสัมพันธ์ร้านกระปุกยา ปั ญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าวข้างต้น ทาให้เกิดการสูญเสี ยขึ้นทั้งทางตรงและทางอ้อม ได้แก่ การจัดกลุ่มยา จัด ประเภทยาไม่เป็ นหมวดหมู่ ยากต่อการค้นหา ยาขาดคลังสิ นค้า ทาให้ไม่มียาให้บริ การแก่ผที่มาใช้บริ การ เกิด ู้ ผลเสี ยแก่ผมารับบริ การ ส่วนทางด้านปั ญหายาหมดอายุจะทาให้ทางร้านสูญเสี ยค่าใช้จ่ายโดยเปล่าประโยชน์ และ ู้ ทางอ้อมได้แก่ ปั ญหายาค้างคลังทาให้ค่าใช้จ่ายบางส่วนเป็ นต้นทุนจมกับยาเหล่านี้ นอกจากนี้ยงต้องสูญเสี ย ั ค่าใช้จ่ายไปกับการเก็บรักษายาค้างคลัง ทาให้มีผลกระทบต่อยอดขายของทางร้านกระปุกยา มีแนวโน้มที่ลดลง ่ โดยดูจากยอดขายที่เกิดขึ้นในช่วงที่ผานมา ประกอบกับมีคู่แข่งขัน และขาดการส่งเสริ มทางการตลาด ดังนั้น เพื่อ มิให้ผประกอบธุรกิจร้านยาประสบปั ญหาที่รุนแรงจึงควรมีการศึกษาเตรี ยมความพร้อมล่วงหน้าเพื่อหาวิธีบริ หาร ู้ ่ จัดการร้านยาให้อยูรอดได้ และหาโอกาสในการทาธุรกิจต่อ โดยให้ผประกอบการได้มีโอกาสขยายหรื อ ู้ ปรับเปลี่ยนการบริ หารจัดการอย่างมีระบบ มีแผนธุรกิจที่ชดเจน ป้ องกันปั ญหาความล้มเหลวในธุรกิจ ั จากปั ญหาดังกล่าวข้างต้น สามารถแก้ไขได้ หากทางร้าน กระปุกยา มีการบริ หารจัดการคลังยาอย่างมี ประสิ ทธิภาพและดีข้ ึนกว่าเดิม ดังนั้น กลุ่มผูศึกษาจึงสนใจที่จะศึกษาในเรื่ อง เรื่ อง การเพิ่มขีดความสามารถใน ้ การบริ หารสิ นค้าคงคลังและการวางแผนการตลาดในธุรกิจร้านขายยา : กรณี ศึกษาร้านกระปุกยา จังหวัด อุดรธานี ขึ้นเพื่อเป็ นข้อมูลเบื้องต้น และแนวทางแก่ผประกอบการ พร้อมทั้งหาแนวทาง ในป้ องกันปัญหาที่จะ ู้ เกิดตาม
  • 15. 3 1.2dกกรอบแนวความคิด ร้ านกระปุกยาขาดขีดความสามารถในการบริหารสินค้ าคงคลัง และขาดการวางแผนการตลาด ด้ านการบริหารสินค้ าคงคลัง 1.การจัดเก็บสิ นค้าไม่เป็ น หมวดหมู่ 2.ไม่มีการบันทึกข้อมูลสิ นค้า เนื่องจากขาดการตรวจนับสิ นค้า คงคลัง 3.ไม่มีการจัดระบบหมุนเวียน สิ นค้าเข้าออก 4.ขาดการวางแผนการสังซื้อ ่ ด้ านการตลาด 1.มียอดขายลดลง 2.ขาดการวิเคราะห์สภาพทาง การตลาด คู่แข่งขัน ของร้าน กระปุกยา 3.ขาดการส่งเสริ มทางด้าน ตลาดและการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ร้านกระปุกยา 1.นาแนวความคิด ระบบ 5ส. มา. ใช้จดการสิ นค้าคงคลัง ั 2.ตรวจนับสิ นค้าคงคลัง โดยจัดทา สต็อกการ์ด(Stock Card) 3.ระบบหมุนเวียนสิ นค้าเข้าก่อนออกก่อน(First-in First-out) 4.EOQ ช่วยบริ หารระบบสิ นค้าคง คลังเพื่อวางแผนการสังซื้อและ ่ ช่วยลดค่าใช้จ่าย 1.สภาพแวดล้อมทัวไป ่ 2. สภาพแวดล้อมเชิงการเข่งขัน 3. สภาพภายในและภายนอก องค์กร 4. การวิเคราะห์ตลาดเป้ าหมาย 5. แบบสอบถาม ช่วยในการจัดหมวดหมู่สินค้า การเพิมขีดความสามารถในการบริหารสินค้ าคงคลังและการวางแผนการตลาด ่ ในธุรกิจร้ านกระปุกยา ภาพที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดในการศึกษา
  • 16. 4 1.3กกวัตถุประสงค์ 1.3.1กกเพื่อบริ หารระบบสิ นค้าคงคลังร้านกระปุกยา ให้สามารถลดปริ มาณค่าใช้จ่ายด้านสิ นค้าคงคลัง 1.3.2กกเพื่อวางแผนการจัดซื้อสิ นค้าของร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี 1.3.3กกเพื่อการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด คู่แข่งขันในธุรกิจ 1.3.4กกเพื่อกาหนดแผนกลยุทธ์การตลาดของร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี ่ 1.3.5กกเพื่อเพิ่มยอดขายร้านกระปุกยา 5% เมื่อเทียบกับยอดขายปี ที่ผานมา 1.4ddขอบเขตและข้ อจากัดในการดาเนินงาน 1.4.1กกขอบเขตด้านพื้นที่ และประชากร การศึกษาครั้งนี้ มีขอบเขตดังนี้ 1.4.1.1กกองค์กรที่ศึกษา ร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี 1.4.1.2กกผูประกอบการและพนักงานร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี 4 คน ้ 1.4.1.3กกลูกค้ากลุ่มเป้ าหมายร้านกระปุกยา เขตเทศบาลนครอุดรธานี 1.4.2กกขอบเขตด้านเนื้อหาที่ทาการศึกษา 1.4.2.1กกด้านการบริ หาร การศึกษาที่มุ่งจะศึกษาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการบริ หารงานในธุรกิจ ร้านยาโดยใช้ทฤษฏีที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบในการวิเคราะห์คนหาปั ญหา เพื่อหาสาเหตุของปั ญหา กาหนด ้ แนวทางแก้ไขสิ นค้าคงคลัง และการจัดการภายในองค์กร 1.4.2.2กกด้านการตลาด เป็ นการศึกษาถึงสภาพตลาดและคู่แข่งขันของร้านกระปุกยา จังหวัด อุดรธานี พฤติกรรมผูบริ โภค ปั จจัยที่มีอิทธิผลต่อการตัดสิ นใจเลือกใช้บริ การร้านยา เพื่อนาไปวางแผนกลยุทธ์ ้ ทางการตลาดและจัดทาแผนการตลาดของร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี 1.4.3กกขอบเขตด้านระยะเวลา เดือนพฤศจิกายน 2551 ถึง มกราคม 2552 1.5กกประโยชน์ ทคาดว่าจะได้ รับ ี่ 1.5.1 สามารถนาไปใช้ในการบริ หารคลังยาของร้านกระปุกยา ให้มีประสิ ทธิภาพมากยิงขึ้น เช่น ่ แยกกลุ่มยาลดจานวนยาค้างคลัง ลดจานวนยาหมดอายุ เป็ นต้น 1.5.2 สามารถปรับปรุ งแผนผังร้านของร้านกระปุกยาให้เป็ นหมวดหมู่และมีความชัดเจนมากยิงขึ้น ่ 1.5.3 นาข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ใช้ในการกาหนดกลยุทธ์ทางการตลาด 1.5.4 เพื่อเพิ่มยอดขายของร้านกระปุกยา 1.5.5 สามารถขยายฐานลูกค้าผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารได้เพิ่มมากขึ้น 1.5.6 ให้ กลุ่ม ผูศึกษาสามารถนาความรู ้ที่ได้รับไปพัฒนาและประยุกต์ใช้ เป็ นแนวทางในการ ้ ประกอบอาชีพในอนาคต 1.5.7 เป็ นแนวทางในการเพิมขีดความสามารถทางการแข่งขันในธุรกิจอื่นๆ ต่อไป ่
  • 17. 5 1.6กกนิยามศัพท์เฉพาะ ่ 1.6.1กกสิ นค้าคงคลัง หมายถึง ยาที่อยูในคลังสิ นค้า 1.6.2กกยาค้างคลัง หมายถึง ยาที่ไม่มีการถูกนาไปใช้นานกว่า 6 เดือน 1.6.3กกการบริ หารยาคงคลัง หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ยวกับการเก็บรักษายาคงคลังให้มีขนาดและ ประเภทของยาในปริ มาณที่เหมาะสม โดยจะต้องพิจารณาถึงความสมดุลระหว่างความต้องการของผูใช้บริ การ ้ ต้นทุน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับยาคงคลัง 1.6.4กกประสิ ทธิภาพ หมายถึง การใช้ทรัพยากรในการดาเนินงานโดยมีสิ่งมุ่งหวังถึงผลสาเร็ จและใช้ ่ ทรัพยากรน้อยที่สุดและการดาเนินการเป็ นไปอย่างประหยัดไม่วาจะเป็ นระยะเวลา ทรัพยากร แรงงาน รวมทั้งสิ่ ง ต่าง ๆ ที่ตองใช้ในการดาเนินการนั้น ๆ ให้เป็ นผลสาเร็ จและถูกต้อง (http://th.wikipedia.orglwiki/) ้ 1.6.5กกหลักเภสัชวิทยา หมายถึง การแบ่งหมวดหมู่ยาตามวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ “ยา” หรื อ “สารเคมี” อื่นๆ ที่ออกฤทธิ์หรื อมีผลต่อสิ่ งมีชีวต (สุวฒน์ วิมลวัฒนาวัฒน์,2547 : 8) ิ ั 1.6.6กกยา หมายถึง วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับการใช้ในการวิเคราะห์ บาบัด บรรเทา รักษาหรื อป้ องกันโรค หรื อความเจ็บป่ วยของมนุษย์และสัตว์ (กนิษฐา กล่อมเกลา, 2542 : 1) 1.6.7กกยาเรี ยกหา หมายถึง ยาที่ลูกค้าหรื อผูป่วยที่มาซื้อยานั้นสามารถบอกชื่อยาที่ตองการได้ โดยอาจจะ ้ ้ เป็ นยาแผนปั จจุบน ยาสมุนไพร หรื อยาแผนโบราณ เป็ นต้น ั ั 1.6.8กกยาจัด หมายถึง ยาที่ลูกค้าหรื อผูป่วยเดินเข้ามาที่ร้านยาโดยบอกอาการต่าง ๆ ให้กบเภสัชกรทราบ ้ และเป็ นผูจดหายาให้ พร้อมทั้งบอกแนะนาถึงวิธีการใช้ยาอีกด้วย ้ั 1.6.9กกยาตามใบสังแพทย์ หมายถึง ยาที่ลูกค้าหรื อผูป่วย นาใบสังแพทย์จากโรงพยาบาลหรื อคลินิก มา ้ ่ ่ ซื้อยาตามร้านขายยาแผนปั จจุบน ั 1.6.10กผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ทานนอกเหนือจากการกินอาหารปกติ ซึ่งมี ่ สารอาหารหรื อสารอื่นที่เป็ นองค์ประกอบอยูในรู ปแบบ เม็ด แค็ปซูล ผง เกล็ด ของเหลวหรื อลักษณะอื่นซึ่งไม่ใช่ รู ปแบบอาหารปกติ แก่ผบริ โภคที่คาดหวังประโยชน์ทางด้านส่งเสริ มสุขภาพ ู้ 1.6.11กระบบ Frist in Frist out (วิธีเข้าก่อนออกก่อน ) หมายถึง สิ นค้าชิ้นใดซื้อมาก่อน จะเป็ นชิ้นที่ถูก ขายไปก่อน ต้นทุนของสิ นค้าที่ขายได้จึงเป็ นของสิ นค้าที่ซ้ือมาก่อนชิ้นอื่นในขณะนั้น(กิตติภูมิ มีประดิษฐ์, 2550 : 44) 1.6.12กแผนการตลาด หมายถึง รายละเอียดขั้นตอนการบริ หารกิจกรรมทางการตลาดที่ครอบคลุมการ วิเคราะห์ การวางแผน การปฏิบติตามแผน การควบคุม และจะต้องทาให้บรรลุเป้ าหมายตามระยะเวลาที่กาหนด ั ่ โดยอยูภายใต้งบประมาณ ทรัพยากร สภาวะแวดล้อมที่เป็ นของร้านกระปุกยา 1.6.13กขีดความสามารถ หมายถึง บุคลิกลักษณะหรื อการแสดงออกของ พฤติกรรมของพนักงานทุกคน ในองค์การ ที่สะท้อนให้เห็นถึงความรู ้ ทักษะ ทัศนคติ ความเชื่อ และอุปนิสยของคนในองค์การโดยรวม ถ้า ั พนักงานทุกคนในองค์การมีขีดความสามารถประเภทนี้ ก็จะมีส่วนที่จะช่วยสนับสนุนให้องค์การบรรลุเป้ าหมาย ตามวิสยทัศน์ได้ ขีดความสามารถชนิดนี้จะถูกกาหนดจากวิสยทัศน์ พันธกิจ เป้ าหมายหลัก หรื อกลยุทธ์ของ ั ั องค์การ
  • 18. 6 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ การศึกษาเรื่ อง การเพิ่มขีดความสามารถในการบริ หารสิ นค้าคงคลังและการวางแผนการตลาดในธุรกิจ ร้านขายยา : กรณี ศึกษาร้านกระปุกยา จังหวัดอุดรธานี ได้ทาการศึกษาค้นคว้าถึงวรรณกรรมและผลงานวิจยที่ ั เกี่ยวข้องและนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการศึกษา ซึ่งวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องมีดงนี้ ั 2.1กกใบตรวจสอบ(Check Sheet) 2.2กกแผนผังสาเหตุและผล (Cause and Effect Diagram) 2.3กกแนวความคิดเรื่ องหลักการ 5ส. 2.4กกหลักการแบ่งหมวดหมู่และชนิดของยา 2.5กกแนวความคิดเรื่ องสิ นค้าคงคลัง 2.6กกสภาพแวดล้อมทัวไป (General Environment) ่ 2.7กกการวิเคราะห์ SWOT Analysis 2.8กกการวิเคราะห์การแข่งขันในธุรกิจโดยใช้ Five Forces Model 2.9กกการวิเคราะห์พฤติกรรมผูบริ โภค ้ 2.10กการตลาดตามเป้ าหมาย (Target marketing หรื อ STP marketing) 2.11กทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix :4Ps) 2.12กแนวความคิดกลยุทธ์การจัดผังร้านค้าปลีก (Store design) 2.13กงานวิจยที่เกี่ยวข้อง ั 2.1กกใบตรวจสอบ (Check Sheet) ใบตรวจสอบ (Check Sheet) คือ แบบฟอร์ม ตาราง แผนภาพ แผนภูมิเพื่อใช้บนทึกข้อมูลที่ตองการ ั ้ - ออกแบบใบตรวจสอบให้เหมาะกับจุดประสงค์การใช้งาน - ผูบนทึกสามารถกรอกง่าย สะดวก ไม่ซบซ้อน เข้าใจง่าย ้ ั ั - ควรใช้การมองเห็น (Visual) อื่น ๆ เข้าช่วย เช่น แสดงเป็ นภาพ ใช้สี สัญลักษณ์ - ควรให้พนักงานกรอกเองน้อยที่สุด เพราะถ้ายิงเขียนมากก็มีโอกาสผิดพลาดมาก (พนักงานความรู ้ ่ น้อยต้องเร่ งทางาน, มีพ้ืนฐาน ต่างกัน) - มีหวข้อเด่นชัดว่าใช้ที่กระบวนการใด ั - วัน เดือน ปี เวลา ผูกรอกข้อมูล ้ - มีพ้ืนที่ให้กรอกพอเพียง - กาหนดหน่วยวัดชัดเจน
  • 19. 7 ดังนั้นควรออกแบบให้ทุกคน ทุกระดับการศึกษา เข้าใจตรงกัน ซึ่งโดยทัวไปอาจใช้ใบตรวจสอบเพื่อ ่ จุดมุ่งหมายดังนี้ - เพื่อจดบันทึกผลการตรวจวัด - เพื่อบันทึกของเสี ย - เพื่อแสดงตาแหน่งการเกิดจุดบกพร่ อง - เพื่อแสดงสาเหตุของความบกพร่ อง - เพื่อแสดงสาเหตุของความบกพร่ อง - เพื่อแสดงสาเหตุของความบกพร่ อง (สันติชย ชีวสุทธิศิลป์ . 2547) ั Defect Day 1 //// /// 2 3 4 A / // B // //// / C /// // ภาพที่ 2 แสดงตัวอย่างใบตรวจสอบ (Check Sheet) ที่มา : สันติชย ชีวสุทธิศิลป์ . 2547, ั เครื่ องมือคุณภาพ 7 ประการ การประยุกต์ใช้แนวคิด ได้นาแนวคิดใบตรวจสอบ ( Check Sheet) มาช่วยในการค้นปั ญหาเบื้องต้นของ ร้านกระปุกยาเพื่อหาวิธีการแก้ไขปั ญหาให้เหมาะสม โดยนามาใช้ร่วมกับการสัมภาษณ์ผประกอบการและ ู้ พนักงานของร้านกระปุกยา 2.2กกแผนผังสาเหตุและผล (Cause and Effect Diagram) แผนผังสาเหตุและผล หรื อคุนเคยกับแผนผังสาเหตุและผล ในชื่อของ “ผังก้างปลา ( ้ Fish Bone ้ Diagram)” เนื่องจากหน้าตาแผนภูมิมีลกษณะคล้ายปลาที่เหลือแต่กาง หรื ออาจรู ้จกในชื่อของแผนผังอิชิกาว่า ั ั (Ishikawa Diagram) คือผังที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปั ญหา ( Problem) กับสาเหตุท้ งหมดที่เป็ นไปได้ที่อาจ ั ่ ก่อให้เกิดปั ญหานั้น (Possible Cause) โดยแบ่งเป็ นสาเหตุหลัก สาเหตุยอย สาเหตุรอง 2.2.1กกวิธีการสร้ างแผนผังสาเหตุและผลหรือผังก้ างปลา สิ่ งสาคัญในการสร้างแผนผัง คือ ต้องทาเป็ นทีม เป็ นกลุ่ม โดยใช้ข้ นตอน 6 ขั้นตอนดังต่อไปนี้ ั 2.2.1.1กกกาหนดประโยคปั ญหาที่หวปลา ั 2.2.1.2กกกาหนดกลุ่มปั จจัยที่จะทาให้เกิดปั ญหานั้นๆ 2.2.1.3กกระดมสมองเพื่อหาสาเหตุในแต่ละปั จจัย 2.2.1.4กกหาสาเหตุหลักของปั ญหา 2.2.1.5กกจัดลาดับความสาคัญของสาเหตุ
  • 20. 8 2.2.1.6กกใช้แนวทางการปรับปรุ งที่จาเป็ น 2.2.2กกการกาหนดปัจจัยบนก้ างปลา เราสามารถที่จะกาหนดกลุ่มปั จจัยอะไรก็ได้ แต่ตองมันใจว่ากลุ่มที่เรากาหนดไว้เป็ นปั จจัยนั้น ้ ่ สามารถที่จะช่วยให้เราแยกแยะและกาหนดสาเหตุต่างๆ ได้อย่างเป็ นระบบ และเป็ นเหตุเป็ นผลโดยส่วนมาก มักจะใช้หลักการ 4M 1E เป็ นกลุ่มปั จจัย (Factors) เพื่อจะนาไปสู่การแยกแยะสาเหตุต่างๆ ซึ่ง 4M 1E นี้มาจาก M - Man คนงาน หรื อพนักงาน หรื อบุคลากร M - Machine เครื่ องจักรหรื ออุปกรณ์อานวยความสะดวก M - Material วัตถุดิบหรื ออะไหล่ อุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ในกระบวนการ M - Method กระบวนการทางาน E - Environment อากาศ สถานที่ ความสว่าง และบรรยากาศการ – ทางาน ่ แต่ไม่ได้หมายความว่า การกาหนดก้างปลาจะต้องใช้ 4M 1E เสมอไป เพราะหากเราไม่ได้อยูใน กระบวนการผลิตแล้ว ปั จจัยนาเข้า ( input) ในกระบวนการก็จะเปลี่ยนไป เช่น ปั จจัยการนาเข้าเป็ น 4 P ได้แก่ Place , Procedure, People และ Policy หรื อเป็ น 4S Surrounding, Supplier, System และ Skill ก็ได้ หรื ออาจจะ ้ เป็ น MILK Management, Information, Leadership, Knowledge ก็ได้ นอกจากนั้น หากกลุ่มที่ใช้กางปลามี ่ ประสบการณ์ในปั ญหาที่เกิดขึ้นอยูแล้ว ก็สามารถที่จะกาหนดกลุ่ม ปั จจัยใหม่ให้เหมาะสมกับปั ญหาตั้งแต่แรก เลยก็ได้ เช่นกัน 2.2.3กกการกาหนดหัวข้ อปัญหาทีหัวปลา ่ การกาหนดหัวข้อปั ญหาควรกาหนดให้ชดเจนและมีความเป็ นไปได้ ซึ่งหากเรากาหนดประโยค ั ปั ญหานี้ไม่ชดเจนตั้งแต่แรกแล้ว จะทาให้เราใช้เวลามากในการค้นหา สาเหตุ และจะใช้เวลานานในการทาผัง ั ก้างปลา การกาหนดปั ญหาที่หวปลา เช่น อัตราของเสี ย อัตราชัวโมงการทางานของคนที่ไม่มีประสิ ทธิภาพ ั ่ ่ อัตราการเกิดอุบติเหตุ หรื ออัตราต้นทุนต่อสิ นค้าหนึ่งชิ้น เป็ นต้น ซึ่งจะเห็นได้วาควรกาหนดหัวข้อปั ญหาเชิงลบ ั ้ เทคนิคการระดมความคิดเพื่อจะได้กางปลาที่ละเอียดสวยงาม คือ การถาม ทาไม ทาไม ทาไม ใน การเขียนแต่ละก้างย่อยๆ
  • 21. 9 ปั จจัย ปั จจัย กระดูกสันหลัง ปั ญหา สาเหตุหลัก สาเหตุรอง ่ สาเหตุยอยๆ ปั จจัย ปั จจัย สาเหตุ ่ สาเหตุยอย ผลลัพธ์ ภาพที่ 3 แสดงการจัดทาแผนผังสาเหตุและผล ที่มา : สันติชย ชีวสุทธิศิลป์ . 2547, ั เครื่ องมือคุณภาพ 7 ประการ ผังก้ างปลาประกอบด้ วยส่ วนต่ างๆ ดังต่ อไปนี้ ่ ั ส่วนปั ญหาหรื อผลลัพธ์ (Problem or Effect) ซึ่งจะแสดงอยูที่หวปลา ส่วนสาเหตุ (Causes) จะ สามารถแยกย่อยออกได้อีกเป็ น - ปั จจัย (Factors) ที่ส่งผลกระทบต่อปั ญหา (หัวปลา) - สาเหตุหลัก ่ - สาเหตุยอย ซึ่งสาเหตุของปั ญหา จะเขียนไว้ในก้างปลาแต่ละก้าง ก้างย่อยเป็ นสาเหตุของก้างรองและก้าง รองเป็ นสาเหตุของก้างหลัก เป็ นต้น หลักการเบื้องต้นของแผนภูมิ ก้างปลา ( Fishbone Diagram) คือ การใส่ชื่อของปั ญหาที่ตองการ ้ วิเคราะห์ ลงทางด้านขวาสุดหรื อซ้ายสุดของแผนภูมิ โดยมีเส้นหลักตามแนวยาวของกระดูกสันหลัง จากนั้นใส่ ชื่อของปั ญหาย่อย ซึ่งเป็ นสาเหตุของปั ญหาหลัก 3 - 6 หัวข้อ โดยลากเป็ นเส้นก้างปลา (Sub-Bone) ทามุมเฉี ยง จากเส้นหลัก เส้นก้างปลาแต่ละเส้นให้ใส่ชื่อของสิ่ งที่ทาให้เกิดปั ญหานั้นขึ้นมา ระดับของปั ญหาสามารถ แบ่งย่อยลงไปได้อีก ถ้าปั ญหานั้นยังมีสาเหตุที่เป็ นองค์ประกอบย่อยลงไปอีก โดยทัวไปมักจะมีการแบ่งระดับ ่ ่ ของสาเหตุยอยลงไปมากที่สุด 4 – 5 ระดับ เมื่อมีขอมูลในแผนภูมิที่สมบูรณ์แล้ว จะทาให้มองเห็นภาพของ ้ องค์ประกอบทั้งหมด ที่จะเป็ นสาเหตุของปั ญหาที่เกิดขึ้น ข้ อดี ้ 1.กกไม่ตองเสี ยเวลาแยกความคิดต่าง ๆ ที่กระจัดกระจายของแต่ละสมาชิก แผนภูมิกางปลาจะช่วย ้ รวบรวมความคิดของสมาชิกในทีม
  • 22. 10 ่ 2.กกทาให้ทราบสาเหตุหลัก ๆ และสาเหตุยอย ๆ ของปั ญหา ทาให้ทราบสาเหตุที่แท้จริ งของ ปั ญหา ซึ่งทาให้เราสามารถแก้ปัญหาได้ถูกวิธี ข้ อเสีย ้ 1.กกความคิดไม่อิสระเนื่องจากมีแผนภูมิกางปลาเป็ นตัวกาหนด ซึ่งความคิดของสมาชิกในทีม ่ ้ จะมารวมอยูที่แผนภูมิกางปลา ้ 2.กกต้องอาศัยผูที่มีความสามารถสูง จึงจะสามารถใช้แผนภูมิกางปลาในการระดมความคิด ้ ้ ่ ในการศึกษาครั้งนี้ ได้นาแผนภูมิกางปลา มาใช้ในการวิเคราะห์หาสาเหตุหลัก และสาเหตุยอย ๆ ของ ้ ปั ญหาที่เกิดขึ้นในร้านกระปุกยา โดยแผนภูมิกางปลาจะทาให้สามารถมองเห็นภาพรวมของปั ญหาในแง่ของ สาเหตุได้อย่างชัดเจนและมีระเบียบเพราะสาเหตุต่าง ๆ จะถูกแบ่งไว้เป็ นกลุ่มอย่างชัดเจน 2.3กกแนวความคิดเรื่องหลักการ 5ส. กิจกรรม 5ส. (5S) เป็ นระบบการทากิจกรรมเพื่อส่งเสริ มด้านคุณภาพ ประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญ 5 ขั้นตอน ซึ่งมีการปฏิบติอย่างต่อเนื่อง ถือว่าเป็ นการปูพ้ืนฐานสาหรับการปรับปรุ งเพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพ เช่น ั ด้านการผลิต คุณภาพต้นทุน การจัดส่ง ความปลอดภัย ขวัญกาลังใจ และสภาพแวดล้อมในการทางาน เป็ นต้น การปฏิบติกิจกรรม 5ส.โดยให้พนักงานมีส่วนร่ วมในการใช้ความคิดสร้างสรรค์ ทาให้มีการปรับปรุ ง ั อย่างต่อเนื่องและเกิดการทางานที่สะดวก ง่ายดาย และรวดเร็ วยิงขึ้น เมื่อทา 5ส. ไปนาน ๆ จะสร้างนิสยให้ ั ่ เป็ นคนมีระเบียบวินย และรู ้จกรักษาสภาพแวดล้อมของสังคมให้น่าอยู่ ดังนั้นเมื่อมีววฒนาการหรื อมีการนา ั ั ิั ความรู ้เทคนิคใหม่ๆ มาใช้เพื่อเพิมผลผลิตก็จะทาได้ดีข้ ึนส่งผลให้การบริ หารงานมีประสิ ทธิภาพผล ซึ่งจะส่งผล ่ ต่อคุณภาพโดยรวมในที่สุด กิจกรรม 5ส.อาจเปรี ยบเทียบกับ 5S ของญี่ปุ่น โดยแสดงขั้นตอนต่างๆ ดังตารางที่ 1
  • 23. 11 กิจกรรม สะสาง (SEIRI) สะดวก (SEITON) สะอาด (SEISO) สุขลักษณะ (SEIKETSU) สร้างนิสย ั (SHITSUKE) ตารางที่ 1 แสดงขั้นตอนกิจกรรม 5ส. ที่มา : สุรัสวดี ราชกุลชัย 2547, การวางแผนและการควบคุมการบริ หาร วิธีการปฏิบัติ วัตถุประสงค์ ในการปฏิบัติ ขจัดของที่ไม่ได้ใช้ออกจากบริ เวณสถานที่ สร้างจิตสานึกของการเป็ นนักพัฒนาหรื อ ทางาน โดยทิ้งหรื อเก็บแยกออกไป ผูทาความสะอาดด้วยตนเอง ้ จัดวางสิ่ งของที่ตองการให้เป็ นระเบียบมี ้ ระบบ สะดวกในการหยิบใช้ สร้างจิตสานึกของการเป็ นพนักงานหรื อนัก วางระบบงาน ตรวจสอบทาความสะอาดเครื่ องจักร สร้างจิตสานึกของการเป็ นพนักงาน อุปกรณ์ และสถานที่ทางาน เพื่อขจัด ข้อบกพร่ องหรื อสิ่ งสกปรกต่างๆ และหมัน ่ ดูแลรักษา การดูแลสถานที่ทางานให้สะอาดปลอดภัย สร้างจิตสานึกเรื่ องความปลอดภัย ต่อสุขภาพอนามัย การสร้างสังคมที่มีวนยและปฏิบติตาม ิ ั ั กฎระเบียบอย่างเคร่ งครัด สร้างจิตสานึกความเป็ นคนที่มีระเบียบวินย ั และฝึ กปฏิบติตามกฎเกณฑ์จนกลายเป็ น ั นิสย ั ข้ อดี 1.กกบรรยากาศและสภาพแวดล้อมการทางานดีข้ ึน 2.กกทาให้สถานที่ทางานเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย 3.กกพนักงานมีขวัญและกาลังใจในการทางาน ั 4.กกสร้างจิตสานึกให้กบพนักงานเพื่อที่จะนาไปสู่การปรับปรุ ง ข้ อเสีย 1.กกในการนาไปปฏิบติช่วงแรก อาจเกิดการต่อต้านจากพนักงาน ั 2.กกพนักงานไม่ยอมรับการมีหน้าที่ความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้น ในการศึกษาครั้งนี้ ได้นาหลักการ 5ส. มาประยุกต์ใช้ในการปรับปรุ งระบบสิ นค้าคงคลังของ ร้านกระปุกยา เพื่อให้เกิดความสะดวกต่อการใช้งานและการควบคุมดูแลมากยิงขึ้น โดยหลักการ 5ส. ถือว่าเป็ น ่ ส่วนหนึ่งของงานประจา ไม่ใช่เป็ นการเพิ่มงาน ซึ่งจะทาให้เกิดการสร้างนิสย สร้างสภาพแวดล้อมการทางานที่ดี ั
  • 24. 12 2.4กกหลักการแบ่ งหมวดหมู่และชนิดของยา หลักการแบ่งหมวดหมู่และชนิดของยา ตามหลักเภสัชวิทยาการเรี ยกชื่อยาแต่ละตัวจะประกอบด้วยกัน 3 ชื่อ(กนิษฐา กล่อมเกลา. 2547 : 400) คือ 2.4.1กกชื่อสามัญทางยา (Generic Name) จัดเป็ นชื่อที่สาคัญที่สุด เพราะเป็ นชื่อที่ถูกตั้งเพื่อเป็ นมาตรฐาน ั ่ ในการสื่ อสาร แทนที่จะใช้ชื่อทางเคมี ซึ่งเป็ นชื่อที่ยาวมากซับซ้อน นอกจากนี้ยงเป็ นชื่อที่ใช้กนทัวโลก จะมี ั ยกเว้นสาหรับยาบางตัวเท่านั้น ได้แก่ Paracetamol ที่ USA เรี ยกว่า Acetaminophen 4 2.4.2กกชื่อทางเคมี (Chemical Name) เป็ นชื่อที่ต้ งขึ้นตามระบบวิธีต้ งชื่อทางวิทยาศาสต ร์ จากชื่อนี้ ั ั สามารถแสดงให้เห็นว่า ยานั้นมีโครงสร้างอย่างไร ชื่อนี้จะเป็ นชื่อที่ยาวมากใช้เป็ นชื่ออ้างอิงทางวิทยาศาสต ร์ ่ เช่น Ergotamine tartrate มีชื่อทางเคมี วา Ergotaman-3',6', 18trione,12'-hydroxy-2'-methyl-5'-(phenyl-methyl),(5'(alpha))-,[R-(R*,R*)] 2 ,3dihydroxybutanedioate(2:1)(tartrate). 2.4.3กกชื่อทางการค้ า (Trade Name) เป็ นชื่อที่บริ ษทผูขายตั้งขึ้นเอง เพื่อให้เรี ยกง่ายและใช้ในการ โฆษณา ั ้ โดยผูใช้ยาเรี ยกหาจะใช้ชื่อทางการค้าแทน รู ปแบบของยาอาจแบ่งได้เป็ น ชนิดต่าง ๆ ดังนี้ ้ 2.4.3.1กกกลุ่มยาปฏิชีวนะ 2.4.3.2กกกลุ่มยาแก้ปวด แก้อกเสบ ั 2.4.3.3กกกลุ่มยาโรคผิวหนัง 2.4.3.4กกกลุ่มยาตา 2.4.3.5กกกลุ่มเกลือแร่ และวิตามิน 2.4.3.6กกกลุ่มยาระบบทางเดินอาหาร 2.4.3.7กกกลุ่มยาฮอร์โมน 2.4.3.8กกกลุ่มยาโรคหอบหื ด 2.4.3.9กกกลุ่มยาแก้ไอ 2.4.3.10กกกลุ่มยาน้ า 2.4.3.11กกกลุ่มอื่น ๆ ทัวไป ่ ในการศึกษาครั้งนี้ ได้นาหลักเภสัชวิทยา มาใช้ในการแบ่งหมวดหมู่และชนิดของยา เพื่อนาไปใช้ ในการจัดหมวดหมู่สินค้าของร้านกระปุกยาให้ถูกต้องตามหลักการดังกล่าว 2.5กกแนวความคิดเรื่องสิ นค้ าคงคลัง 2.5.1กกต้ นทุนสินค้ าคงคลัง (Inventory Costs) ประกอบด้วยต้นทุน 3 ส่วนด้วยกัน คือ 2.5.1.1กกต้นทุนเก็บสิ นค้า ( Carrying /Holding Costs) หมายถึง ค่าใช้จ่ายในการเก็บสิ นค้าซึ่ง ค่าใช้จ่ายนี้จะแปรผันไปตามจานวนของสิ นค้าและระยะเวลาที่เก็บสิ นค้า หากเก็บสิ นค้าไว้นานเท่าใดต้นทุนเก็บ สิ นค้าก็จะเพิ่มสูงขึ้นเท่านั้น ผูดาเนินการต้องจัดหาเงินทุนเพื่อรองรับค่าสิ นค้าที่เก็บ และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เช่น ้
  • 25. 13 สถานที่เก็บสิ นค้า ตูทาความเย็น ไฟฟ้ า ยามรักษาการ สิ นค้าเสื่ อมสภาพ สิ นค้าตกรุ่ น (ล้าสมัย) สิ นค้าสูญหาย ้ สิ นค้าชารุ ด เป็ นต้น 2.5.1.2กกต้นทุนสังสิ นค้า ( Ordering Costs) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ใช้ไปในการจัดหาสิ นค้า ่ ต้นทุนสังสิ นค้าจะแปรผันตามจานวนครั้งที่สง เช่น ค่าขนส่งสิ นค้า ค่าใช้จ่ายในการตรวจนับ เป็ นต้น ั่ ่ 2.5.1.3กกต้นทุนจากการขาดสิ นค้า ( Shortage Costs) ต้นทุนจากการขาดสิ นค้าหรื อไม่มีสินค้า จาหน่ายเมื่อลูกค้าต้องการซื้อ ซึ่งทาให้ลูกค้าเกิดความไม่พึงพอใจ และเสี ยโอกาสในการขาย 2.5.2กกหน้ าทีของสินค้ าคงคลัง (ประสงค์ ประณี ตพลกรัง,2543 : 252) ่ 2.5.2.1กกเป็ นการจัดแยกประเภทสิ นค้าอย่างเป็ นหมวดหมู่และบริ หารสิ นค้าคงคลัง จะช่วยให้ สามารถ จัดส่งสิ นค้าให้แก่ลูกค้าได้ทนเวลา ั 2.5.2.2กกทาให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างผูขายหรื อผูมอบกับผูผลิต และผูผลิตกับลูกค้า ้ ้ ้ ้ 2.5.2.3กกได้รับประโยชน์จากส่วนลด เนื่องจากโดยทัวไปแล้วการสังซื้อสิ นค้า จานวนมากจะได้ ่ ่ ราคาต่อหน่วยที่ต่าลง 2.5.2.4กกป้ องกันปั ญหาจากสภาวะเงินเฟ้ อ และภาวการณ์ข้ ึนราคาของสิ นค้า เนื่องจากมีการ จัดเก็บสิ นค้าไปคลังตลอดเวลา 2.5.2.5กกป้ องกันปั ญหาความไม่แน่นอนจากการส่งมอบ อันเนื่องมาจากสภาพดินฟ้ า อากาศ ปั ญหาด้านคุณภาพของสิ นค้า หรื อปั ญหา จากแผนกผูส่งมอบที่มีคุณภาพไม่ได้ มาตรฐานและอื่นๆ ้ 2.5.2.6กกช่วยให้งานผลิตเป็ นไปอย่างต่อเนื่องไม่ติดขัด ไม่มีปัญหาการขาดแคลน วัตถุดิบ หรื อไม่มีสินค้าคงคลังระหว่างผลิต เป็ นต้น 2.5.3กกประเภทของสินค้ าคงคลัง (Types of Inventory) แบ่งได้ดงนี้ ั 2.5.3.1กกสิ นค้าคงคลังที่เป็ นวัตถุดิบ ( Raw Material Inventory) คือ สิ นค้าที่ซ้ือเข้ามาเพื่อ เข้าสู่ กระบวนการผลิต ซึ่งมีความสัมพันธ์โดยตรงกับผูส่งมอบ ดังนั้น ควรเลือกผูส่งมอบที่มีความแน่นอนในเรื่ อง ้ ้ คุณภาพของผลิตภัณฑ์ ปริ มาณและความตรงต่อเวลาในกาจัดส่ง ่ 2.5.3.2กกสิ นค้าคงคลังระหว่างการผลิต ( Work-in-Process : (WIP) Inventory) คือ สิ นค้าที่ผาน กระบวนการผลิตมาบ้างแล้ว แต่ยงไม่เสร็ จสิ้นครบตามกระบวนการผลิต นันคือต้องรอเข้ากระบวนการถัดไป ั ่ เพื่อครบรอบเวลาของการผลิต (Cycle Time) 2.5.3.3กกสิ นค้าคงคลังประเภทอะไหล่สาหรับการซ่อมบารุ ง Maintenance/Repair/Operating : (MROS) คือ กลุ่มสิ นค้าประเภทอะไหล่ และอุปกรณ์ที่จาเป็ นต้องมีสารองไว้เพื่องาน ส่วนบารุ ง ทั้งนี้เพื่อ ป้ องกันไม่ให้เกิดภาวะอะไหล่ขาดแคลน หรื อหาซื้อไม่ได้ใน ยามอุปกรณ์ชารุ ดเสี ยหาย 2.5.3.4กกสิ นค้าคงคลังประเภทสิ นค้าสาเร็ จรู ป ( Finished Goods Inventory คือ กลุ่มสิ นค้าที่ ผ่านกระบวนการผลิตขั้นสุดท้ายแล้ว มีความพร้อมที่จะส่งขายทันที ทาการเก็บรักษาเพื่อสารองไว้ขายให้ลูกค้า ได้ตลอดเวลา และนับว่าเป็ นทรัพย์สินของบริ ษท ั
  • 26. 14 2.5.4กกการบริหารสินค้ าคงคลัง (Inventory Management) เป็ นการตัดสิ นใจเกี่ยวกับการเก็บรักษาสิ นค้าคงคลังให้มีขนาดและประเภทของสิ นค้าในปริ มาณ ที่เหมาะสม โดยจะต้องพิจารณาถึงความสมดุลระหว่างความต้องการของตลาด ต้นทุน และค่าใช้จ่ายที่ เกี่ยวข้องกับสิ นค้าคงคลัง ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับปั จจัย 2 ประการ คือ 2.5.4.1กกระดับหรื อจุดของสิ นค้าคงคลังซึ่งต้องทาการสังซื้อสิ นค้าใหม่ (Reorder Point) ่ 2.5.4.2กกปริ มาณการสังซื้อที่ประหยัดที่สุด (Economic Order Quantity) ่ 2.5.5กกEOQ Model (Economic Order Quantity Model) เป็ นจุดที่ตนทุนการเก็บรักษา และ ต้นทุน การสังซื้อมีค่าเท่ากัน และต้นทุนสิ นค้าคงเหลือ ้ ่ ่ ทั้งหมดมีค่าต่าสุด ซึ่งเป็ นจานวนคงที่ของ ปริ มาณในคาสังซื้อ และอยูในนโยบายของจุดสังซื้อ ( Order Point ่ ่ Policies) เป็ นเทคนิคที่ นิยมใช้มากที่สุด เนื่องจากสามารถทาความเข้าใจและนาไปใช้ได้ง่าย อย่างไรก็ตาม ่ การนาไป ประยุกต์ใช้จะต้องอยูภายใต้สมมติฐาน ดังต่อไปนี้ 2.5.5.1กกปริ มาณความต้องการของลูกค้า มีความแน่นอน เกิดขึ้นสม่าเสมอและมีความอิสระ 2.5.5.2กกระยะเวลารอคอย ( Lead Time) หรื อเวลาระหว่างการออกใบสังซื้อจนกระทังได้รับ ่ ่ สิ นค้า มีความคงที่และแน่นอน 2.5.5.3กกรอบเวลาของการรับสิ นค้า มีความแน่นอน เช่น ทุกวันที่ 10 ของแต่ละเดือน 2.5.5.4กกต้นทุนแปรผันและต้นทุนคงที่มีค่าคงที่ 2.5.5.5กกไม่มีภาวะขาดแคลนสิ นค้าจากผูขาย ( Supplier) ต้นทุนต่าสุด(Minimizing Costs) เป็ น ้ การบริ หารที่ทาให้ตนทุนการผลิตรวมต่าที่สุด ซึ่งเป็ นวัตถุประสงค์หลักของโมเดล การควบคุมสิ นค้าคงเหลือ ้ มีความสัมพันธ์โดยตรงกับต้นทุนการจัดเตรี ยมการผลิต (หรื อต้นทุนการสังซื้อ) และต้นทุนการเก็บรักษา ส่วน ่ ต้นทุนอื่น ๆ เช่น ราคาสิ นค้านั้นจัดให้เป็ นต้นทุนคงที่ ดังนั้น หากสามารถลดต้นทุนการจัดเตรี ยมการผลิต (หรื อต้นทุนการสังซื้อ) และต้นทุนการเก็บรักษาได้ ก็จะสามารถทาให้ตนทุนรวมลดต่าลงได้ ้ ่ 2.5.5.6กกEOQ Model (Economic Order Quantity Model) มีข้ นตอนการคานวณดังนี้ ั (1)กกคานวณหาต้นทุนในการสังซื้อ ่ (2)กกคานวณหาต้นทุนในการเก็บรักษา (3)กกกาหนดให้ตนทุนการสังซื้อเท่ากับต้นทุนการเก็บรักษาเนื่องจาก ้ ่ ต้นทุนรวม = ต้นทุนการสังซื้อ + ต้นทุนการเก็บรักษา ่ d Total Cost = 0 จะได้ค่าต่าสุ ด เมื่อ dQ ดังนั้น ต้นทุนการสังซื้อจึงเท่ากับต้นทุนการเก็บรักษา ่ (4)กกแก้สมการตามที่ได้จากข้อที่ 4.5.6.3เพื่อให้ได้ปริ มาณการสังซื้อที่ประหยัดที่สุด ่ กาหนดตัวแปรต่าง ๆ ดังนี้ Q =กกปริ มาณการสังซื้อในแต่ละครั้ง (หน่วย/ครั้ง) ่ Q* = กกปริ มาณการสังซื้อที่ประหยัดที่สุดในแต่ละครั้ง (หน่วย/ครั้ง) ่ D =กกปริ มาณความต้องการสิ นค้าต่อปี (หน่วย/ปี ) S =กกค่าใช้จ่ายในการสังซื้อในแต่ละครั้ง (บาท/ครั้ ง) ่
  • 27. 15 H =กกค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาต่อหน่วยต่อปี (บาท/หน่วย/ปี ) W =กกจานวนวันทางานทั้งหมด (วัน) N =กกจานวนครั้งของการสังซื้อตลอดทั้งปี (ครั้ ง/ปี ) ่ ขั้นตอนที่ 1 ต้นทุนในการสังซื้อ = ่ D S Q ขั้นตอนที่ 2 ต้นทุนในการเก็บรักษา = D H 2 ……………. สมการที่ 1 ขั้นตอนที่ 3 ต้นทุนการสังซื้อ = ต้นทุนในการเก็บรักษา ่ D = D H S ……………. สมการที่ 3 Q ……………. สมการที่ 2 2 ขั้นตอนที่ 4 ปริ มาณการสังซื้อที่ประหยัดในแต่ละครั้ง (Q*) = ่ จานวนการสังซื้อตลอดทั้งปี (ครั้ ง) (N) = ่ ……..………สมการที่ 4 ……………. สมการที่ 5 D Q* ระยะเวลาระหว่างสังซื้อแต่ละครั้ง (วัน/ครั้ ง) T = ่ 2 DS H จานวนทางานทั้งหมด (วัน) (W) จานวนครั้งของการสังซื้อตลอดทั้ง(ครั้ ง)(N) ่ T= w n ……………. สมการที่ 6 Reorder Point (ROP) เป็ นระดับหรื อจุดของสิ นค้าคงคลัง ซึ่งต้องทาการสังซื้อสิ นค้าใหม่ ่