SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 109
Baixar para ler offline
See discussions, stats, and author profiles for this publication at: https://www.researchgate.net/publication/264348295
Injuries and Deaths Caused by Box Jellyfish and Portuguese Man-of-War:
Treatment and Prevention.
Book · July 2014
CITATIONS
3
READS
73
1 author:
Lakkana Thaikruea
Chiang Mai University
57 PUBLICATIONS   283 CITATIONS   
SEE PROFILE
All content following this page was uploaded by Lakkana Thaikruea on 09 July 2017.
The user has requested enhancement of the downloaded file.
i
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจาก
แมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
Treatment and Prevention of Injuries and Deaths Caused by
Box jellyfish and Portuguese man-of-war
ii
ผู้แต่ง ลักขณา ไทยเครือ (Lakkana Thaikruea)
พ.บ., Cert of FETP, M.S. (Epidemiology), PhD.(Epidemiology of Infectious Diseases)
พจมาน ศิริอารยาภรณ์ (Potjaman Siriarayaporn)
พ.บ., Cert of FETP, ส.ม., DrPH.
ชื่อเรื่อง การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน
Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
ครั้งที่พิมพ์ 2
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 52000
โทร. 053-945270 โทรสาร 053-217144
ส�ำนักพิมพ์ โรงพิมพ์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 52000
โทร. 053-945270 โทรสาร 053-217144
เดือน/ปีที่พิมพ์ ตุลาคม พ.ศ. 2557
จ�ำนวนหน้า 91
ISBN 978-616-361-506-0
ลิขสิทธ์ ลักขณา ไทยเครือ และ พจมาน ศิริอารยาภรณ์
จ�ำนวน 500 เล่ม
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
ลักขณา ไทยเครือ, พจมาน ศิริอารยาภรณ์.
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน
Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war.-- : ลักขณา ไทยเครือ, 2557
91.
1. . I. ชื่อเรื่อง.
ISBN 978-616-361-506-0
iii
ค�ำอุทิศ
ii
คําอุทิศ
ตลอดเวลาหลายปที่ทุมเทแรงกายแรงใจสืบสวนสอบสวนคนควาหาคําตอบและหนทางแกปญหาภัยจาก
แมงกะพรุนพิษ มีลมลุกคลุกคลานบางครา แสนเหนื่อยลากายาสั่นไหวในบางครั้ง สุดสลดหดหูเมื่อความรูแลกมาดวย
การบาดเจ็บลมตาย ทวาดวยกําลังใจอันยิ่งใหญจากครอบครัว แล น้ําจิตน้ําใจในมวลหมูมิตร เปนแรงผลักดัน
ประคับประคองใหเรากาวมาสูจุดนี้
ขอบุญกุศลที่เกิดจากวิทยาทานถึงแกทานทั้งหลายที่มีสวนรวมในกาลนี้เทอญ
รองศาสตราจารย ดร.พญ.ลักขณา ไทยเครือ
ดร.พญ.พจมาน ศิริอารยาภรณ
iv
ค�ำนิยม
คงจะเกือบห้าหกปีแล้วที่คุณหมอพจมานและคุณหมอลักขณาพยายามท�ำเรื่องการป้องกันการบาดเจ็บ
เสียชีวิตจากแมงกะพรุนกล่องและแมงกะพรุนหัวขวดในประเทศไทย
ผมจ�ำได้ว่าตอนนั้นผมเป็นผู้อ�ำนวยการส�ำนักระบาดวิทยาซึ่งยังสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แต่ละเดือนจะมีการประชุมผู้บริหารระดับปลัด รองปลัด ผู้ตรวจ และผู้แทนกรมต่าง ๆ เป็นหน้าที่ของส�ำนักระบาด
วิทยาต้องน�ำเสนอสถานการณ์โรคระบาดหรือภัยที่คุกคามชีวิตคนไทย ผมได้รับข้อมูลจากคุณหมอพจมานว่า
มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเสียชีวิตจากแมงกะพรุนกล่อง แม้จะมีรายงานเพียงรายเดียวแต่พอสอบสวนไป ก็พบ
ว่าน่าจะมีรายอื่น ๆ อีก เพียงแต่ไม่มีการรายงานเป็นเรื่องเป็นราว จึงได้เสนอเรื่องนี้ไปในที่ประชุม และโดยปกติ
เมื่อทราบปัญหาแล้วก็ต้องหาทางแก้ไข
การแก้ไขนั้นต้องอาศัยความรู้ทางวิชาการ การศึกษาวิจัยเพิ่มเติม ความร่วมมือกับหน่วยงานวิชาการ
ในประเทศ การติดต่อประสานงานกับผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่เขาเจอก่อนเราเช่นออสเตรเลีย
เพื่อให้เข้าใจถ่องแท้ถึงธรรมชาติการอยู่อาศัยของแมงกะพรุนเจ้าปัญหา อาการ และการแก้ไขพิษเบื้องต้น
รวมถึงข้อเสนอว่าประชาชนจะท�ำอะไรได้บ้างในการป้องกันตนเอง ท้องถิ่นควรมีบทบาทอย่างไร การท่องเที่ยว
จะช่วยอะไรได้บ้าง จะถ่วงสมดุลระหว่างการให้ค�ำเตือนกับความตื่นตระหนกอย่างไร
ต้องขอบคุณความพยายามของคุณหมอพจมาน คุณหมอลักขณา และคณะทุกคน ที่กัดติด เกาะแน่น
กับปัญหาเรื่องนี้ ไม่ดูถูกดูแคลนว่าเป็นเรื่องที่เล็กเมื่อเทียบกับปัญหาที่มีคนป่วยคนตายเป็นพันเป็นหมื่น หนังสือ
ที่ปรากฏนี้จึงเป็นผลพวงของการท�ำงานอย่างอุตสาหะวิริยะและเป็นตัวอย่างที่ดีของนักวิชาการที่พยายามแก้ปัญหา
เชื่อมั่นว่าข้อมูลต่าง ๆ จะเป็นประโยชน์กับผู้สนใจ วงการแพทย์ วงการสาธารณสุข วงการวิชาการ และ
กับประเทศไทย
							
	 ค�ำนวณ อึ้งชูศักดิ์
							 	 นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ
								 กรมควบคุมโรค
v
ค�ำน�ำ
ตั้งแต่เรียนแพทย์มานานหลายสิบปีและด�ำน�้ำมานับครั้งไม่ถ้วน เพิ่งมาทราบว่ามีแมงกะพรุนที่ท�ำให้
ตายได้ภายในเวลาไม่กี่นาทีในเมืองไทย แม้แต่นักชีววิทยาทางทะเลที่รู้จักร่วมงานกันก็ยังไม่เคยพบเคยเห็น
เริ่มจากองค์ความรู้ที่เป็นศูนย์ผู้เขียนและหมู่คณะด�ำเนินการเฝ้าระวังเฉพาะกาลขึ้นตามชายฝั่งทะเลทั้งสองน่านน�้ำ
ติดตามสอบสวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตทั้งรายเก่าและใหม่ทบทวนเวชระเบียนจากโรงพยาบาลในพื้นที่ชายฝั่งทะเล
จัดตั้งเครือข่ายแมงกะพรุนพิษ และศึกษาวิจัยร่วมกับการเก็บตัวอย่างแมงกะพรุนของสถาบันวิจัยและพัฒนา
ทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเล และ ป่าชายเลน และศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทั้งห้าแห่ง
ของกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงไปปรึกษาผู้เชี่ยวชาญที่ประเทศออสเตรเลีย จนพบว่า
Box jellyfish (แมงกะพรุนกล่อง) ที่ท�ำให้ตายได้มีอยู่จริง อีกทั้งยังพบ Portuguese-man-of-war (แมงกะพรุน
หัวขวด) ในน่านน�้ำทะเลไทยด้วย ซึ่งพิษของมันมีฤทธิ์ถึงตายได้เหมือนกัน นอกจากนั้น ยังพบว่าผู้บาดเจ็บและ
เสียชีวิตจากพิษของแมงกะพรุนมีจ�ำนวนมากกว่าที่คิด และเรื่องนี้เกิดขึ้นมานานแล้ว เพียงแต่ไม่ทราบในหมู่
นักวิชาการ บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชนส่วนใหญ่ ทั้งนี้การปฐมพยาบาลอย่างรวดเร็วและเหมาะสม
จะช่วยเพิ่มโอกาสในการรอดตายสูงมาก อีกทั้งเป็นวิธีการง่าย ๆ ต้นทุนต�่ำมากเมื่อเทียบกับชีวิตคนทั้งคน
การช่วยที่ผิดวิธีนอกจากไม่ช่วยอะไรแล้วยังเพิ่มโอกาสตายมากขึ้น เนื่องจากวิธีช่วยที่นิยมท�ำในเมืองไทย
เมื่อน�ำมาใช้กับแมงกะพรุนกล่องกลับเป็นการยิ่งเร่งให้ยิงเข็มพิษมากขึ้น รวมถึงการวินิจฉัยและรักษาที่ผิด
อาจท�ำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ดังนั้นความรู้ที่ถูกต้องจึงเป็นหัวใจส�ำคัญอันน�ำมาสู่การเขียนหนังสือเล่มนี้
ผู้เขียนรวบรวมเนื้อหาจากประสบการณ์ตรงตลอดระยะเวลาห้าหกปีที่ผ่านมาทบทวนต�ำราและปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
จากประเทศออสเตรเลีย มาเรียบเรียงเป็นหนังสือเผยแพร่ความรู้และแบ่งปันประสบการณ์ที่ผู้อ่านสามารถน�ำไป
ใช้ได้เอง ทั้งนี้ ยินดีน้อมรับข้อแนะน�ำและข้อมูลใหม่ ๆ จากผู้รู้ เพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้ดียิ่งขึ้นเป็นล�ำดับ อันจะ
ยังประโยชน์ต่อสาธารณชนต่อไป
การด�ำเนินงานไม่ได้ราบรื่นเสมอไปเพราะเป็นเรื่องละเอียดอ่อน มีผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หลายหมู่เหล่าในแต่ละระดับทั้งภายในและต่างประเทศ มีความขัดแย้งทางวิชาการ มีความอ่อนไหวของการเมือง
และการทูต รวมถึงไม่มีเครื่องมือในการตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการในประเทศไทย ทว่า ยังมีความช่วยเหลือ
ของภาคีเครือข่าย ผู้บังคับบัญชาที่ให้การสนับสนุน และที่ส�ำคัญคือความขยันอดทนเพียรพยายามของคณะท�ำงาน
จึงสามารถลุล่วงมาด้วยดีมีประโยชน์แก่ผู้คนทั้งหลาย
รองศาสตราจารย์ ดอกเตอร์ แพทย์หญิงลักขณา ไทยเครือ
ดอกเตอร์ แพทย์หญิงพจมาน ศิริอารยาภรณ์
vi
กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบพระคุณผู้สนับสนุนทุกท่านและทุกหน่วยงานที่ท�ำให้งานส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่
- สถานประกอบการโรงแรมและที่พักตากอากาศ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น เทศบาล สมาคม
ท่องเที่ยว ชมรมท่องเที่ยว สมาคมโรงแรม ชมรมเรือหางยาว ชมรมหน่วยกู้ชีพ ชาวประมงใน
จังหวัดตราด สุราษฎร์ธานี สตูล ภูเก็ต กระบี่ และเพชรบุรี
- สถานพยาบาลทั้งรัฐและเอกชนใน 23 จังหวัด ชายฝั่งทะเลไทย
- ส�ำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
- คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ดร.สมชัย บุศราวิช พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- ดร.จรัสศรี อ๋างตันญา และคณะท�ำงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเล
อันดามัน จังหวัดภูเก็ต ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง อ่าวไทยตอนบน
จังหวัดสมุทรสาคร ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยฝั่งตะวันออก
จังหวัดระยอง ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนกลาง จังหวัดชุมพร
และศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนล่างจังหวัดสงขลาสถาบันวิจัย
และพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเล และป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- เจ้าหน้าที่ภาคสนาม พญ.รจนา วัฒนรังสรรค์ (นายแพทย์ช�ำนาญการ) นางพรรณราย
สมิตสุวรรณ (นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการ) นส.หัทยา กาญจนสมบัติ (ผู้ช่วยนักวิจัย
ภาคสนาม) นส.กรรณิการ์ หมอนพังเทียม (นักวิชาการสาธารณสุข) นส.ศิณีนาถ กุลาวงศ์
(นักวิชาการสาธารณสุข) นส.อกนิษฐ์ โพธิ์ศรี (นักวิชาการสาธารณสุข) และ นส.จันทร์จิรา ดีไพร
(ผู้ประสานงานโครงการ)
- คณะผู้เชี่ยวชาญจากประเทศออสเตรเลีย Associate Professor Peter J. Fenner จาก School of
Public Health, James Cook University, Dr Lisa-Ann Gershwin ผู้อ�ำนวยการ Australian Marine
Stinger Advisory Services, Dr Ken Winkel ผู้อ�ำนวยการ the Australian Venom Research Unit,
University of Melbourne, Mr Kim Moss ผู้เชี่ยวชาญการท�ำตาข่ายติดตั้งในทะเล และ Professor
Bart J Currie แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาแมงกะพรุนพิษ Menzies School of Health Research,
Royal Darwin Hospital Campus
- Mr John Lippmann ผู้อ�ำนวยการใหญ่ Divers Alert Network (DAN) ASIA-PACIFIC นักข่าว
จากประเทศออสเตรเลีย Mr Andrew Jones
vii
		 	 	 รองศาสตราจารย์ ดอกเตอร์ แพทย์หญิงลักขณา ไทยเครือ
			 	 การศึกษา	
				 2531	 แพทยศาสตรบัณฑิต จาก คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
				 2534	 CertificateofFieldEpidemiologyTrainingProgramจากส�ำนักระบาดวิทยา
					 กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับองค์การอนามัยโลก (WHO) และ Centers
for 						 Disease Control and Prevention (CDC) สหรัฐอเมริกา
				 2538 	 Master of Science สาขาระบาดวิทยา จาก School of Public Health,
						 University of California, Los Angeles, สหรัฐอเมริกา
ผู้นิพนธ์
vii
ผูนิพนธ
รองศาสตราจารย ดอกเตอร แพทยหญิงลักขณา ไทยเครือ
การศึกษา
2531 แพทยศาสตรบัณฑิต จาก คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
2534 Certificate of Field Epidemiology Training Program จาก
สํานักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข รวมกับองคการอนามัยโลก
(WHO) และ Centers for Disease Control and Prevention (CDC) สหรัฐอเมริกา
2538 Master of Science สาขาระบาดวิทยา จาก School of Public Health,
University of California, Los Angeles, สหรัฐอเมริกา
2538 หนังสืออนุมัติ สาขาเวชศาสตรปองกัน แขนงระบาดวิทยา จาก แพทยสภา
2546 ปริญญาเอกสาขาระบาดวิทยาโรคติดเชื้อ จาก Johns Hopkins Bloomberg School of Public Health, Johns
Hopkins University, Baltimore, Maryland, สหรัฐอเมริกา
2546 A Course for Teachers and Practitioners of Epidemiologic Computing: CDC and Emory University,
Atlanta, Georgia, สหรัฐอเมริกา
ประวัติการทํางาน
2531-2533 แพทย โรงพยาบาลอมกอย โรงพยาบาลพราว และ โรงพยาบาลเชียงดาว เชียงใหม
2533-2541 แพทย สอนแพทยประจําบาน สาขาเวชศาสตรปองกัน แขนงระบาดวิทยา (FETP) กระทรวง
สาธารณสุขไทย รวมกับองคการอนามัยโลก และ CDC สหรัฐอเมริกา
2541- ปจจุบัน รองศาสตราจารย ภาควิชาเวชศาสตรชุมชน คณะแพทยศาสตรเชียงใหม
ผูเชี่ยวชาญ/ที่ปรึกษา/วิทยากร (บางสวน)
1. International course on Epi Info program ของกระทรวงสาธารณสุขไทย รวมกับ WHO 2544-ปจจุบัน
2. Epidemic Preparedness and Response ของ National Institute of Epidemiology, Chennai, Tamil Nadu, India
รวมกับ WHO/SEARO, 2544-2545
3. International FETP ของ กระทรวงสาธารณสุขไทย รวมกับ WHO และ CDC สหรัฐอเมริกา 2547 – ปจจุบัน
4. Setting Priorities using Information on Cost Effectiveness ของ International collaborative research project.
กระทรวงสาธารณสุขไทย รวมกับ School of Population Health, the University of Queensland, ออสเตรเลีย
2546 –2548
5. Training on Epidemiology, Research Methodology and Biostatistics ของ WHO รวมกับ Democratic People’s
Republic of Korea 2548-2549
6. Assessment of Current Situation on Emergency Preparedness for the Health Sector and Communities in
Phuket, Thailand ของ WHO รวมกับ สํานักงานสาธารณสุขภูเก็ต 2549- 2550
7. Cholera outbreak investigation หลักสูตร Epidemiology in Action course ของ CDC สหรัฐอเมริกา รวมกับ
กระทรวงสาธารณสุขกัมพูชา the Asian Development Bank, WHO, Emory University, Institut Pasteur du
Cambodge, และ US Naval Medical Research Unit-2, 2550
2538	 หนังสืออนุมัติ สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงระบาดวิทยา จาก แพทยสภา
2546	 ปริญญาเอกสาขาระบาดวิทยาโรคติดเชื้อ จาก Johns Hopkins Bloomberg School of Public Health, Johns Hopkins
	 University, Baltimore, Maryland, สหรัฐอเมริกา
2546	 A Course for Teachers and Practitioners of Epidemiologic Computing: CDC and Emory University, Atlanta, Georgia,
	 สหรัฐอเมริกา
ประวัติการท�ำงาน
2531-2533	 แพทย์ โรงพยาบาลอมก๋อย โรงพยาบาลพร้าว และ โรงพยาบาลเชียงดาว เชียงใหม่
2533-2541 	 แพทย์ สอนแพทย์ประจ�ำบ้าน สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงระบาดวิทยา (FETP) กระทรวงสาธารณสุขไทย
		 ร่วมกับองค์การอนามัยโลก และ CDC สหรัฐอเมริกา
2541- ปัจจุบัน	 รองศาสตราจารย์ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์เชียงใหม่
ผู้เชี่ยวชาญ/ที่ปรึกษา/วิทยากร (บางส่วน)
1. International course on Epi Info program ของกระทรวงสาธารณสุขไทย ร่วมกับ WHO 2544-ปัจจุบัน
2. Epidemic Preparedness and Response ของ National Institute of Epidemiology, Chennai, Tamil Nadu, India ร่วมกับ WHO/
SEARO, 2544-2545
3. International FETP ของ กระทรวงสาธารณสุขไทย ร่วมกับ WHO และ CDC สหรัฐอเมริกา 2547 – ปัจจุบัน
4. Setting Priorities using Information on Cost Effectiveness ของ International collaborative research project. กระทรวง
สาธารณสุขไทย ร่วมกับ School of Population Health, the University of Queensland, ออสเตรเลีย 2546 –2548
5. Training on Epidemiology, Research Methodology and Biostatistics ของ WHO ร่วมกับ Democratic People’s Republic of
Korea 2548-2549
6. Assessment of Current Situation on Emergency Preparedness for the Health Sector and Communities in Phuket, Thailand
ของ WHO ร่วมกับ ส�ำนักงานสาธารณสุขภูเก็ต 2549- 2550
7. Cholera outbreak investigation หลักสูตร Epidemiology in Action course ของ CDC สหรัฐอเมริกา ร่วมกับ กระทรวง
สาธารณสุขกัมพูชา the Asian Development Bank, WHO, Emory University, Institut Pasteur du Cambodge, และ US Naval
Medical Research Unit-2, 2550
viii
8. Avian Influenza Training Module ส�ำหรับประเทศในเอเชีย ของ CDC สหรัฐอเมริกา 2550
9. Information System of Earthquake-Tsunami in southern provinces Thailand, 2548-2550
10. หลักสูตรการท�ำแผนยุทธศาสตร์โรคติดต่อทางอาหารและน�้ำ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 2550-2554
11. หลักสูตรการท�ำแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการของโรคไม่ติดต่อและโรคติดต่อทางอาหารและน�้ำ กรมควบคุมโรค กระทรวง
สาธารณสุข 2553-2554
12. The 5th TEPHINET Southeast Asia and Western Pacific Bi-Regional Scientific Conference, Seoul, Korea, 2009
13. ปัญหาแมงกะพรุนพิษในประเทศไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุขไทย University of
Melbourne และ Surf Life Saving Australia 2551-ปัจจุบัน
14. Documentation on best practices of event based surveillance in the member countries in the SEA Region: ของ
WHO 2556-2557
15. หลักสูตร Strategic Thinking for Excellent Management (STEM) ส�ำหรับผู้บริหาร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2557
รางวัล
1. รางวัลที่ 3 ในการประชุมวิชาการมหกรรมคุณภาพประจ�ำปี 2557, เชียงใหม่ ของศูนย์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาล ร่วมกับ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) เรื่อง ตัวชี้วัดและ “เส้นสายท�ำนายเสี่ยงหัวใจ”
ที่ใช้ในการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงต่อโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดด้วยตนเอง
2. รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นสาขาวิชาการ พ.ศ. 2556 ของ สมาคมศิษย์เก่าเรยีนาเชลีเชียงใหม่
3. The winner of RCOPT Research Contest Award 2011. Title “The Effect of Binaural Beat Audio on Operative Anxiety in
Patients Undergoing Local Anesthesia for Ophthalmic Surgery”: Vichitvejpaisal P, Thaikruea L, Klaphajone J, Tantong
A, Wiwatwongwana D. Faculty of Medicine, Chiang Mai University.
4. Excellence Award (runner up). Award of Hospital Management Asia. Title “Music therapy for physically disabled children”
Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital entered under Corporate Social Responsibility (CSR) Project category. Hospital
Management Asia (HMA) 2011 Singapore: Chiang Mai Medicine Faculty, Srisangwan School, Chiang Mai Rajabhat
University, and Payap University
5. รางวัลดีเด่นคุณภาพการให้บริการประชาชน จากส�ำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาระบบข้าราชการ ด้านนวัตกรรมการให้
บริการ เรื่อง ดนตรีบ�ำบัด จาก ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 2553 ร่วมกับ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงเรียน
ศรีสังวาลย์เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยพายัพ
6. รางวัลผลงานวิชาการดีเด่นการน�ำเสนอผลงานวิชาการแบบโปสเตอร์กลุ่มโรคไม่ติดต่อในงานการสัมมนาวิชาการควบคุมโรค
ประจ�ำปี 2553 กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เรื่องโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดของผู้ป่วย
โรคความดันโลหิตสูง ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง โดย มนูญ ศรีเพ็ชรสัย, ลักขณา ไทยเครือ, จามรี อุทัยรัตน์ และ
คณะ จาก ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา
7. รางวัลชนะเลิศ มหกรรม KM Day ครั้งที่ 1 คณะแพทย์ศาสตร์เชียงใหม่ 2552 เรื่อง ดนตรีบ�ำบัดเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพ
ทางกายของผู้พิการ ร่วมกับ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงเรียนศรีสังวาลย์เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วิทยาลัย
ดุริยศิลป์ มหาวิทยาลัยพายัพ
ix
8. รางวัลโปสเตอร์ดีสาขาสาธารณสุขเรื่องเปรียบเทียบ WSR ดัชนีมวลกาย รอบเอว และร้อยละไขมันในร่างกาย เพื่อบ่งบอก
ภาวะความดันโลหิตสูงและเบาหวานในประชากรอายุ 40 ปีขึ้นไป ต.หนองควาย เชียงใหม่ งานประชุมวิชาการวันมหิดล
ครั้งที่ 32 คณะแพทย์ศาสตร์เชียงใหม่ 2551
9. รางวัลเชิดชูเกียรติผู้ที่ได้รับรางวัลวิจัยในสาขาต่างๆงานประชุมวิชาการวันมหิดลครั้งที่32คณะแพทยศาสตร์เชียงใหม่2551
10. รางวัลชนะเลิศ การเสนอผลงานวิชาการแบบบรรยาย จาก การสัมมนาวิชาการป้องกันควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ประจ�ำปี2551ณศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทคบางนากทม.เรื่องการบริหารงานโรงพยาบาลโดยใช้หลักBalanced
Scorecard และระบาดวิทยา จังหวัดระยอง พ.ศ. 2547-2549 ร่วมกับ สุนทร ศรีทา โรงพยาบาลกรุงเทพระยอง
11. The third runner up for proposal: Southern Health System Research Institute; 2004. Title: Effect of brown rice on blood
cholesterol level among teachers in Talang district, Phuket: Chiang Mai Medicine Faculty and Talang hospital, Phuket.
12. The 1999 John Snow Award for Excellence in Science: CDC, Atlanta, USA; 1998. Title: Food borne Botulism from
home-canned bamboo shoots in a province of Thailand, 1998. Wongwatcharapaiboon P, Thaikruea L, Sriprasert P, et al.
13. รองชนะเลิศ อันดับ 2 การเสนอผลงานวิชาการ 2541 ของ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง Evaluation of a
Community-based Thalassemia Prevention and Control Program, Chiangrai Province Thailand 1993-1996 ร่วมกับ
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
14. Excellent presentation: The Fourth Annual Scientific Conference, Permanent Secretary Office, Min. of Public Health,
ChiangRai;1991.เรื่องRiskbehaviorandHIVinfectionamongclientsattendingSTDclinic,KhonKaenCenter6,1990-1991.
หนังสือ (บางส่วน)
1. ลักขณา ไทยเครือ. คู่มือวิเคราะห์ข้อมูลสาธารณสุขโดยใช้ Epi Info version 6 (ระบาดวิทยาเชิงปฏิบัติการณ์). กรุงเทพ:
เรือนแก้วการพิมพ์; 2539 ISBN 974-7762-50-1
2. ลักขณา ไทยเครือ, องอาจ เจริญสุข. โรคติดเชื้อที่น�ำด้วยแมลง. ใน: การสอบสวนการระบาดของโรคติดเชื้อประเทศไทย.
กรุงเทพ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์; 2543
3. ลักขณา ไทยเครือ. คู่มือการใช้โปรแกรม Epi Info version 2000 (เล่ม 2). กรุงเทพ: องค์การรับส่งสินค้าและ โรงพิมพ์ ร.ส.พ.
พัสดุภัณฑ์; 2545. ISBN 974-91806-5-8.
4. ลักขณา ไทยเครือ. บทเรียนเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิถล่มไทย กรณีข้อมูลข่าวสาร. เชียงใหม่; ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด เชียงใหม่
พิมพ์สวย; 2549. ISBN 974-656-860-4
5. ลักขณา ไทยเครือ. แนวทางการน�ำเสนอผลงานวิชาการและโครงร่างวิจัย. เชียงใหม่: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่; 2549. ISBN 974-656-691-9
6. ลักขณา ไทยเครือ. Data Analysis and Management Using Epi Info for Windows: Practical Points. (English and Thai
versions) นนทบุรี: มูลนิธิสุชาติ เจตนเสน; 2551. ISBN 978-974-13-6855-6
7. ลักขณา ไทยเครือ. บทที่ 3 รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา. บทที่ 5 การมีปัจจัยรบกวนและอคติ. และ บทที่ 8
การสอบสวนทางระบาดวิทยา. ใน: พื้นฐานระบาดวิทยา. บรรณาธิการ ค�ำนวณ อึ้งชูศักดิ์, กรุงเทพ: โรงพิมพ์แคนนา
กราฟฟิค; 2557 ISBN 978-616-91574-1-0
x
ดอกเตอร แพทยหญิงพจมาน ศิริอารยาภรณ
การศึกษา
2533 แพทยศาสตรบัณฑิต จาก คณะแพทยศาสตร สงขลานครินทร
2538 Certificate of Field Epidemiology Training Program (FETP) จาก
สํานักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข รวมกับองคการอนามัยโลก
และ Centers for Disease Control and Prevention (CDC) สหรัฐอเมริกา
2539 ปริญญาโท สาธารณสุขศาสตร มหาบัณฑิต (สาธารณสุขทั่วไป) จาก
มหาวิทยาลัยมหิดล
2539 วุฒิบัตร สาขาเวชศาสตรปองกัน แขนงระบาดวิทยา จาก แพทยสภา
2544 Doctorate of Public Health จาก London School of Hygiene and Tropical Medicine ประเทศอังกฤษ
ประวัติการทํางาน
2533 -2536 แพทย โรงพยาบาลตะกั่วปา จังหวัดพังงา
2539-2553 แพทย สอนแพทยประจําบาน สาขาเวชศาสตรปองกัน แขนงระบาดวิทยา (FETP) กระทรวง
สาธารณสุขไทย รวมกับองคการอนามัยโลก และ CDC สหรัฐอเมริกา
2554- ปจจุบัน นายแพทยเชี่ยวชาญ หัวหนากลุมสอบสวน ตอบโตภาวะฉุกเฉิน และประสานกฎอนามัยระหวาง
ประเทศ สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
บทความวิชาการตีพิมพ
1. Siriarayapon P, Yanai H, Glynn JR, Yanpaisarn S, Uthaivoravit W. The Evolving Epidemiology of HIV infection
and Tuberculosis in Northern Thailand. JAIDS. 2002;31(1):80-9.
2. Lee NE, Siriarayapon P, Tappero J, et al. SARS Mobile Response Team Investigators. Infection control
practices for SARS in Lao People's Democratic Republic, Taiwan, and Thailand: experience from mobile
SARS containment teams, 2003. Am J Infect Control. 2004;32(7):377-83.
3. Tin Tin A, Siriarayapon P. Typhoid fever outbreak in Mayada Township, Mandalay Division, Myanmar,
September 2000. J Med Assoc Thai. 2004;87(4):395-9.
4. Kongkaew W, Siriarayaporn P, Leelayoova S, et al. Autochthonous visceral leishmaniasis: a report of a
second case in Thailand. Southeast Asian J Trop Med Public Health. 2007;38(1):8-12.
5. Sreng B1, Touch S, Sovann L, Heng S, Rathmony H, Huch C, Chea N, Kosal S, Siriarayaporn P,
Pathanapornpandh N, Rehmet S, Cavailler P, Vong S, Bushy P. A description of influenza-like illness (ILI)
sentinel surveillance in Cambodia, 2006-2008. Southeast Asian J Trop Med Public Health. 2010;41(1):97-
104.
6. ดิเรก สุดแดน, วราลักษณ ตังคณะกุล, มนูศิลป ศิริมาตย, นิคม สุนทร, ไพบูลย ทนันไชย, สลักจิต ชุติวิเวกพงษ,
มุทิตะ ชลามาตย, พจมาน ศิริอารยาภรณ. ปจจัยที่มีผลตอการเปนโรคฉี่หนูหลังจากอุทกภัยครั้งใหญจังหวัด
นาน, เดือนสิงหาคม - กันยายน พ.ศ. 2549. รายงานเฝาระวังประจําสัปดาห; 39: 161-165 .
		 	 	 ดอกเตอร์ แพทย์หญิงพจมาน ศิริอารยาภรณ์
			 	 การศึกษา	
				 2533	 แพทยศาสตรบัณฑิต จาก คณะแพทยศาสตร์ สงขลานครินทร์
				 2538	 Certificate of Field Epidemiology Training Program (FETP) จาก
					 ส�ำนักระบาดวิทยากระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับองค์การอนามัยโลกและ
					 Centers for Disease Control and Prevention (CDC) สหรัฐอเมริกา	
				 2539 	 ปริญญาโท สาธารณสุขศาสตร์ มหาบัณฑิต (สาธารณสุขทั่วไป) จาก
						 มหาวิทยาลัยมหิดล
ผู้นิพนธ์
2538	 วุฒิบัตร สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงระบาดวิทยา จาก แพทยสภา
2546	 Doctorate of Public Health จาก London School of Hygiene and Tropical Medicine ประเทศอังกฤษ
ประวัติการท�ำงาน
2533 -2536	 แพทย์ โรงพยาบาลตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
2539-2553 	 แพทย์ สอนแพทย์ประจ�ำบ้าน สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงระบาดวิทยา (FETP) กระทรวงสาธารณสุขไทย
		 ร่วมกับองค์การอนามัยโลก และ CDC สหรัฐอเมริกา
2554- ปัจจุบัน	 นายแพทย์เชี่ยวชาญ หัวหน้ากลุ่มสอบสวน ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน และประสานกฎอนามัยระหว่างประเทศ
		 ส�ำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ผู้เชี่ยวชาญ/ที่ปรึกษา/วิทยากร (บางส่วน)
1. Siriarayapon P, Yanai H, Glynn JR, Yanpaisarn S, Uthaivoravit W. The Evolving Epidemiology of HIV infection and
Tuberculosis in Northern Thailand. JAIDS. 2002;31(1):80-9.
2. Lee NE, Siriarayapon P, Tappero J, et al. SARS Mobile Response Team Investigators. Infection control practices for SARS
in Lao People’s Democratic Republic, Taiwan, and Thailand: experience from mobile SARS containment teams, 2003.
Am J Infect Control. 2004;32(7):377-83.
3. Tin Tin A, Siriarayapon P. Typhoid fever outbreak in Mayada Township, Mandalay Division, Myanmar, September 2000.
J Med Assoc Thai. 2004;87(4):395-9.
4. Kongkaew W, Siriarayaporn P, Leelayoova S, et al. Autochthonous visceral leishmaniasis: a report of a second case
in Thailand. Southeast Asian J Trop Med Public Health. 2007;38(1):8-12.
5. Sreng B1, Touch S, Sovann L, Heng S, Rathmony H, Huch C, Chea N, Kosal S, Siriarayaporn P, Pathanapornpandh N,
Rehmet S, Cavailler P, Vong S, Bushy P. A description of influenza-like illness (ILI) sentinel surveillance in Cambodia,
2006-2008. Southeast Asian J Trop Med Public Health. 2010;41(1):97-104.
6. ดิเรกสุดแดน,วราลักษณ์ตังคณะกุล,มนูศิลป์ศิริมาตย์,นิคมสุนทร,ไพบูลย์ทนันไชย,สลักจิตชุติวิเวกพงษ์,มุทิตะชลามาตย์,
พจมาน ศิริอารยาภรณ์. ปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นโรคฉี่หนูหลังจากอุทกภัยครั้งใหญ่จังหวัด น่าน, เดือนสิงหาคม - กันยายน
พ.ศ. 2549. รายงานเฝ้าระวังประจ�ำสัปดาห์; 39: 161-165 .
xi
7. พจมาน ศิริอารยาภรณ์. ระบาดวิทยาของโรคมะเร็งตับในอ�ำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน. รายงานเฝ้าระวังประจ�ำสัปดาห์;
37: S48-S52
8. พจมาน ศิริอารยาภรณ์. พิษจากแมงกะพรุน การรักษาเบื้องต้นและการป้องกัน (Jellyfish Envenoming: Overview and
Management). ใน: พิษจากสัตว์และพืช Animal and Plant Toxins บรรณาธิการ สุชัย สุเทพารักษ์, นฤมล พักมณี, วิศิษฎ์
สิตปรีชา, กรุงเทพฯ: สภากาชาดไทย; 2552. ISBN: 978-616-7287-04-1
9. พจมาน ศิริอารยาภรณ์ เบญจวรรณ ระลึก อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์ สมจิต บุญชัยยะ สมคิด คงอยู่. การศึกษาประสิทธิผล
ของวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ ในประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปที่มีโรคเรื้อรัง พ.ศ. 2551-2552. รายงานเฝ้าระวังประจ�ำสัปดาห์
2556;44: S64-77.
10. พจมาน ศิริอารยาภรณ์,ลักขณา ไทยเครือ. การสอบสวนทางระบาดวิทยา. ใน: พื้นฐานระบาด บรรณาธิการ ค�ำนวณ อึ้งชูศักดิ์,
กรุงเทพ: โรงพิมพ์แคนนา กราฟฟิค; 2557 ISBN 978-616-91574-1-0.
11. Thaikruea L, Siriariyaporn P, Wutthanarungsanm R, Smithsuwan P. Toxic jellyfish situation in Thailand. Chiang Mai
Medical Journal 2012; 51(4):93-102.
12. Thaikruea L, Siriariyaporn P, Wutthanarungsanm R, Smithsuwan P. Review of fatal and severe cases of box jellyfish
envenomation in Thailand. Asia-Pacific Journal of Public Health June 2012 (online first). Available at: http://aph.sagepub.
com/content/early/2012/05/31/1010539512448210.full.pdf+html
xii
สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 แมงกะพรุน 1
ชนิดของแมงกะพรุน
อันตรายจากแมงกะพรุนพิษ
แมงกะพรุนกล่อง (Box jellyfish)
แมงกะพรุนหัวขวด (Portuguese man-of-war)
แมงกะพรุนพิษชนิดอื่นที่พบได้ในประเทศไทย
การศึกษาแมงกะพรุนในประเทศไทย
บทที่ 2 สถานการณ์การบาดเจ็บและเสียชีวิตในประเทศไทย 23
สถานการณ์การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุนพิษ
สถานการณ์การบาดเจ็บรุนแรงและเสียชีวิตในประเทศไทยที่สงสัยหรือเข้าข่ายว่าเกิดจาก
แมงกะพรุนกล่อง
สถานการณ์การบาดเจ็บรุนแรงและเสียชีวิตที่เข้าข่ายว่าเกิดจากแมงกะพรุนหัวขวด
บทที่ 3 การวินิจฉัยและการรักษา 43
การวินิจฉัยการบาดเจ็บจากแมงกะพรุนกล่อง
การวินิจฉัยการบาดเจ็บจากแมงกะพรุนหัวขวด
การรักษาพยาบาลเบื้องต้นส�ำหรับผู้ที่สัมผัสแมงกะพรุนกล่องและแมงกะพรุนหัวขวด
ขั้นตอนการปฐมพยาบาลผู้ที่สงสัยถูกแมงกะพรุนพิษ
การรักษาในโรงพยาบาลส�ำหรับผู้ที่สัมผัสแมงกะพรุนกล่อง
บทที่ 4 การป้องกันและเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากแมงกะพรุนกล่องและแมงกะพรุนหัวขวด 65
แนวทางการด�ำเนินงานในการป้องกันการบาดเจ็บจากแมงกะพรุนกล่องและแมงกะพรุนหัวขวด
แนวทางการเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากพิษของแมงกะพรุนกล่องและแมงกะพรุนหัวขวด
xiii
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
ภาคผนวก 83
ก. ขั้นตอนการปฐมพยาบาลผู้ที่สงสัยถูกแมงกะพรุนพิษ (ภาษาอังกฤษ)
ข. ตัวอย่างโปสเตอร์แนวทางการวินิจฉัยการบาดเจ็บจากแมงกะพรุนพิษแบบง่าย
ค. ตัวอย่างเนื้อหาการท�ำป้ายส�ำหรับเสาพยาบาลน�้ำส้มสายชู (ภาษาอังกฤษ)
ง. เวปไซต์ที่เกี่ยวข้อง
จ. เครือข่ายการแจ้งข่าวในหน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุขในจุดเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่
(Sentinel surveillance)
ฉ. เครือข่ายการแจ้งข่าวของศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ช. รายนามผู้เชี่ยวชาญและผู้ประสานงานเรื่องแมงกะพรุนพิษ
ดรรชนี 91
1
ชนิดของแมงกะพรุน
แมงกะพรุนจัดอยูในประเภทสัตวไมมีกระดูกสันหลัง Phylum Cnidaria หรือ Coelenterata แบง
ไดเปน 4 class คือ(1, 2)
1. Scyphozoa หรือ true jellyfish เปนแมงกะพรุนชนิดที่พบไดบอยที่สุด เชน แมงกะพรุนไฟ
และแมงกะพรุนที่นํามารับประทาน
2. Cubozoa ซึ่งแบงออกเปน order Chirodropidae เปนกลุมที่มีหนวดหลายเสนออกมาจากแต
ละมุม เชน Chironex fleckeri (ที่นิยมเรียกวา box jellyfish) เปนชนิดที่มีพิษรายแรงที่สุด
และ Chiropsalmus species อีก order คือ Carybdeida ซึ่งเปนกลุมที่มีหนวดเพียงเสน
เดียวออกมาจากแตละมุม เชน Carukia barnesi และ Morbakka fenneri
3. Hydrozoa มี subclass Siphonophora เชน Physalia physalis และ Physalia utriculus
(ที่นิยมเรียกวา Portuguese man-of-war ชนิดสายเดียวและหลายสาย) ซึ่งเปนตัวที่ทําให
เสียชีวิตไดเชนกันแตพบนอยกวา และพิษไมรุนแรงเทากลุม Cubozoa
4. Anthozoa เชน ดอกไมทะเล (sea anemones) และ ปะการัง (corals)
บทที่ 1 แมงกะพรุน
1
บทที่ 1 แมงกะพรุน
ชนิดของแมงกะพรุน
แมงกะพรุนจัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง Phylum Cnidaria หรือ Coelenterata แบ่งได้เป็น
4 class คือ(1, 2)
1. Scyphozoaหรือtruejellyfish เป็นแมงกะพรุนชนิดที่พบได้บ่อยที่สุดเช่นแมงกะพรุนไฟและแมงกะพรุน
ที่น�ำมารับประทาน
2. Cubozoa ซึ่งแบ่งออกเป็น order Chirodropidae เป็นกลุ่มที่มีหนวดหลายเส้นออกมาจากแต่ละมุม เช่น
Chironex fleckeri (ที่นิยมเรียกว่า box jellyfish) เป็นชนิดที่มีพิษร้ายแรงที่สุด และ Chiropsalmus
species อีก order คือ Carybdeida ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีหนวดเพียงเส้นเดียวออกมาจากแต่ละมุม เช่น
Carukia barnesi และ Morbakka fenneri
3. Hydrozoa มี subclass Siphonophora เช่น Physalia physalis และ Physalia utriculus (ที่นิยมเรียกว่า
Portuguese man-of-war ชนิดสายเดียวและหลายสาย) ซึ่งเป็นตัวที่ท�ำให้เสียชีวิตได้เช่นกันแต่พบ
น้อยกว่า และพิษไม่รุนแรงเท่ากลุ่ม Cubozoa
4. Anthozoa เช่น ดอกไม้ทะเล (sea anemones) และ ปะการัง (corals)
1
ชนิดของแมงกะพรุน
แมงกะพรุนจัดอยูในประเภทสัตวไมมีกระดูกสันหลังPhylumCnidariaหรือCoelenterataแบง
ไดเปน4classคือ(1,2)
1.Scyphozoaหรือtruejellyfishเปนแมงกะพรุนชนิดที่พบไดบอยที่สุดเชนแมงกะพรุนไฟ
และแมงกะพรุนที่นํามารับประทาน
2.Cubozoaซึ่งแบงออกเปนorderChirodropidaeเปนกลุมที่มีหนวดหลายเสนออกมาจากแต
ละมุมเชนChironexfleckeri(ที่นิยมเรียกวาboxjellyfish)เปนชนิดที่มีพิษรายแรงที่สุด
และChiropsalmusspeciesอีกorderคือCarybdeidaซึ่งเปนกลุมที่มีหนวดเพียงเสน
เดียวออกมาจากแตละมุมเชนCarukiabarnesiและMorbakkafenneri
3.HydrozoaมีsubclassSiphonophoraเชนPhysaliaphysalisและPhysaliautriculus
(ที่นิยมเรียกวาPortugueseman-of-warชนิดสายเดียวและหลายสาย)ซึ่งเปนตัวที่ทําให
เสียชีวิตไดเชนกันแตพบนอยกวาและพิษไมรุนแรงเทากลุมCubozoa
4.Anthozoaเชนดอกไมทะเล(seaanemones)และปะการัง(corals)
บทที่1แมงกะพรุน
2
รูปที่ 1 แมงกะพรุนชนิดต่าง ๆ (ที่มา: รูปบนซ้าย: http://en.wikipedia.org/wiki/Jellyfish รูปบนขวา: http://animal-
unique.blogspot.ca/2011/09/sea-wasp-or-box-jellyfish.html รูปล่างซ้าย: สถานภาพทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝั่งพ.ศ.2550–2554รูปล่างกลาง:O.S.F./AnimalsAnimals-Earth2Scenes(http://animals.nationalgeographic.
com/animals/invertebrates/portuguese-man-of-war/) รูปล่างขวา:http://www.valdosta.edu/~jlgoble/topic.html)
อันตรายจากแมงกะพรุนพิษ
แมงกะพรุนสามารถพบได้ในทะเลทั่วโลกส่วนใหญ่พบในทะเลเขตร้อนหรืออบอุ่นมีส่วนน้อยพบได้บ้างใน
น�้ำจืด สามารถแบ่งสายพันธุ์ได้มากกว่า 10,000 สายพันธุ์ทั่วโลก และพบว่ามีราว 100 สายพันธุ์ที่มีพิษต่อมนุษย์
โดยเฉพาะจากการสัมผัสถูกตัว ซึ่งจะมีอาการได้หลากหลาย ตั้งแต่รู้สึกคัน มีผื่นเล็กน้อย ไปจนถึงท�ำให้ระบบหัวใจ
หรือระบบการหายใจล้มเหลวได้(3-5)
ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบรายงานผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บจากแมงกะพรุนพิษราว
200,000 รายต่อปี บริเวณชายฝั่ง Florida ไปจนถึง 500,000 รายต่อปี ที่อ่าว Chesapeake(4)
มีรายงานการระบาด
แมงกะพรุนไฟ อยูในกลุม Scyphozoa Box jellyfish อยูในกลุม Cubozoa
รูปที่ 1 แมงกะพรุนชนิดตางๆ (ที่มา: รูปบนซาย: http://en.wikipedia.org/wiki/Jellyfish รูปบนขวา:
http://animal-unique.blogspot.ca/2011/09/sea-wasp-or-box-jellyfish.html รูปลางซาย: สถานภาพ
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง พ.ศ. 2550 – 2554 รูปลางกลาง: O.S.F./Animals Animals-Earth2
Scenes (http://animals.nationalgeographic.com/animals/invertebrates/portuguese-man-of-war/)
รูปลางขวา: http://www.valdosta.edu/~jlgoble/topic.html)
อันตรายจากแมงกะพรุนพิษ
แมงกะพรุนสามารถพบไดในทะเลทั่วโลก สวนใหญพบในทะเลเขตรอนหรืออบอุน มีสวนนอย
พบไดบางในน้ําจืด สามารถแบงสายพันธุไดมากกวา 10,000 สายพันธุทั่วโลก และพบวามีราว 100
สายพันธุที่มีพิษตอมนุษย โดยเฉพาะจากการสัมผัสถูกตัว ซึ่งจะมีอาการไดหลากหลาย ตั้งแตรูสึกคัน
มีผื่นเล็กนอย ไปจนถึงทําใหระบบหัวใจหรือระบบการหายใจลมเหลวได(3-5)
ในประเทศสหรัฐอเมริกา
พบรายงานผูปวยไดรับบาดเจ็บจากแมงกะพรุนพิษราว 200,000 รายตอป บริเวณชายฝง Florida ไป
จนถึง 500,000 รายตอป ที่อาว Chesapeake(4)
มีรายงานการระบาดที่มีผูบาดเจ็บจํานวนมากกวา
800 ราย ภายใน 2 วัน ของเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 เกิดขึ้นที่ ชายหาด Waikiki รัฐฮาวาย(5)
แค
Portuguese man-of-war ชนิดหลายสาย และ ชนิดสายเดียว
อยูในกลุม Hydrozoa
Sea anemones
อยูในกลุม Anthozoa
แมงกะพรุนไฟ อยูในกลุม Scyphozoa Box jellyfish อยูในกลุม Cubozoa
รูปที่ 1 แมงกะพรุนชนิดตางๆ (ที่มา: รูปบนซาย: http://en.wikipedia.org/wiki/Jellyfish รูปบนขวา:
http://animal-unique.blogspot.ca/2011/09/sea-wasp-or-box-jellyfish.html รูปลางซาย: สถานภาพ
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง พ.ศ. 2550 – 2554 รูปลางกลาง: O.S.F./Animals Animals-Earth2
Scenes (http://animals.nationalgeographic.com/animals/invertebrates/portuguese-man-of-war/)
รูปลางขวา: http://www.valdosta.edu/~jlgoble/topic.html)
อันตรายจากแมงกะพรุนพิษ
แมงกะพรุนสามารถพบไดในทะเลทั่วโลก สวนใหญพบในทะเลเขตรอนหรืออบอุน มีสวนนอย
พบไดบางในน้ําจืด สามารถแบงสายพันธุไดมากกวา 10,000 สายพันธุทั่วโลก และพบวามีราว 100
สายพันธุที่มีพิษตอมนุษย โดยเฉพาะจากการสัมผัสถูกตัว ซึ่งจะมีอาการไดหลากหลาย ตั้งแตรูสึกคัน
มีผื่นเล็กนอย ไปจนถึงทําใหระบบหัวใจหรือระบบการหายใจลมเหลวได(3-5)
ในประเทศสหรัฐอเมริกา
พบรายงานผูปวยไดรับบาดเจ็บจากแมงกะพรุนพิษราว 200,000 รายตอป บริเวณชายฝง Florida ไป
จนถึง 500,000 รายตอป ที่อาว Chesapeake(4)
มีรายงานการระบาดที่มีผูบาดเจ็บจํานวนมากกวา
800 ราย ภายใน 2 วัน ของเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 เกิดขึ้นที่ ชายหาด Waikiki รัฐฮาวาย(5)
แค
Portuguese man-of-war ชนิดหลายสาย และ ชนิดสายเดียว
อยูในกลุม Hydrozoa
Sea anemones
อยูในกลุม Anthozoa
แมงกะพรุนไฟ อยู่ในกลุ่ม Scyphozoa		 	 Box jellyfish อยู่ในกลุ่ม Cubozoa
Portuguese man-of-war ชนิดหลายสาย และ ชนิดสายเดียว
อยู่ในกลุ่ม Hydrozoa
Sea anemones
อยู่ในกลุ่ม Anthozoa
1
ชนิดของแมงกะพรุน
แมงกะพรุนจัดอยูในประเภทสัตวไมมีกระดูกสันหลัง Phylum Cnidaria หรือ Coelenterata แบง
ไดเปน 4 class คือ(1, 2)
1. Scyphozoa หรือ true jellyfish เปนแมงกะพรุนชนิดที่พบไดบอยที่สุด เชน แมงกะพรุนไฟ
และแมงกะพรุนที่นํามารับประทาน
2. Cubozoa ซึ่งแบงออกเปน order Chirodropidae เปนกลุมที่มีหนวดหลายเสนออกมาจากแต
ละมุม เชน Chironex fleckeri (ที่นิยมเรียกวา box jellyfish) เปนชนิดที่มีพิษรายแรงที่สุด
และ Chiropsalmus species อีก order คือ Carybdeida ซึ่งเปนกลุมที่มีหนวดเพียงเสน
เดียวออกมาจากแตละมุม เชน Carukia barnesi และ Morbakka fenneri
3. Hydrozoa มี subclass Siphonophora เชน Physalia physalis และ Physalia utriculus
(ที่นิยมเรียกวา Portuguese man-of-war ชนิดสายเดียวและหลายสาย) ซึ่งเปนตัวที่ทําให
เสียชีวิตไดเชนกันแตพบนอยกวา และพิษไมรุนแรงเทากลุม Cubozoa
4. Anthozoa เชน ดอกไมทะเล (sea anemones) และ ปะการัง (corals)
บทที่ 1 แมงกะพรุน
3
ที่มีผู้บาดเจ็บจ�ำนวนมากกว่า 800 ราย ภายใน 2 วัน ของเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 เกิดขึ้นที่ ชายหาด Waikiki
รัฐฮาวาย(5)
แค่เฉพาะแถบอินโดแปซิฟิกก็มีรายงานการเสียชีวิตจากแมงกะพรุนกล่องอย่างน้อย67ราย(6,7)
ในแถบ
ตะวันตกของประเทศออสเตรเลียพบ อัตราผู้บาดเจ็บรุนแรงจาก Irukandji syndrome 3.3 รายต่อ 1,000 ประชากร
ต่อปี ระหว่างปี พ.ศ. 2544 - 2546(4, 8, 9)
ส่วนในรัฐควีนสแลนด์ ประเทศออสเตรเลีย พบผู้บาดเจ็บจากแมงกะพรุน
พิษมากกว่า 10,000 รายต่อปี(10)
และพบว่าทั่วโลกมีคนเสียชีวิตจากแมงกะพรุนพิษมากกว่า 100 ราย(11, 12)
แมงกะพรุนมีลักษณะล�ำตัวใสและนิ่ม มีโพรงท�ำหน้าที่เป็นทางเดินอาหาร มีกะเปาะบรรจุ เข็มพิษ
(nematocyst) ส�ำหรับป้องกันตัวและจับเหยื่อกระจายอยู่ทุกส่วนของร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณหนวด (tentacle)
ทั้งนี้ หนวดของแมงกะพรุนพิษที่ตายแล้วหรือแม้แต่หนวดที่หลุดออกมาก็ยังสามารถปล่อยพิษให้กับผู้ที่สัมผัสได้
แมงกะพรุนพิษที่มีรายงานว่าท�ำให้เสียชีวิตได้บ่อยที่สุดคือ แมงกะพรุนกล่อง (Box jellyfish) ซึ่งพบได้หลายประเทศ
ในเขตร้อนเช่นทางตอนเหนือของประเทศออสเตรเลียซึ่งมีรายงานการเสียชีวิตมากกว่า60รายประเทศฟิลิปปินส์
ประเทศญี่ปุ่น เกาะบอร์เนียว เป็นต้น นอกจากนี้ยังมี Portuguese man-of-war ซึ่งมีรายงานการเสียชีวิตประมาณ
3 รายจากประเทศอเมริกา และ Stomolophus nomurai มีรายงานการเสียชีวิตมากกว่า 5 รายในประเทศจีน(12)
ก่อนปี พ.ศ. 2545 ที่มีรายงานการเสียชีวิตจากแมงกะพรุนในนักท่องเที่ยว 2 ราย ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ยังไม่มีการรายงานอย่างเป็นทางการว่ามีแมงกะพรุนกล่องในประเทศไทย แต่จากการสอบสวนโรคในเหตุการณ์
ที่นักท่องเที่ยวเสียชีวิต 2 รายดังกล่าว โดยส�ำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข(13)
พบว่าชาวประมงในพื้นที่
ใกล้เคียงกับการเสียชีวิตรู้จักแมงกะพรุนชนิดนี้อยู่แล้ว แต่เนื่องจากเป็นแมงกะพรุนที่พบไม่บ่อย ร่วมกับชาวประมง
หลีกเลี่ยงที่จะสัมผัสจึงไม่ค่อยมีการเสียชีวิตในกลุ่มชาวประมง
แมงกะพรุนกล่อง (Box jellyfish)
แมงกะพรุนกล่องเป็นแมงกะพรุนชนิดที่สามารถเคลื่อนที่ได้ด้วยตัวเองต่างจากแมงกะพรุนชนิดอื่นที่ลอยไป
ตามกระแสน�้ำ นอกจากนี้ แมงกะพรุนกล่องยังจัดเป็นสัตว์ทะเลที่มีพิษร้ายแรงที่สุดในโลก โดยมีรายงานว่า
แมงกะพรุนกล่องชนิด Chironex fleckeri ซึ่งพบในประเทศออสเตรเลีย เป็นชนิดที่ท�ำให้เกิดการเสียชีวิตได้บ่อย
ส่วนประกอบของพิษที่ท�ำให้ตายเป็นโปรตีน(14,15)
เมื่อเอาส่วนที่สกัดได้จากกะเปาะพิษไปทดลองในสัตว์พบ
ว่าท�ำให้หัวใจไม่คลายตัวออกและหยุดเต้นในท่าบีบตัว(16)
มีผลให้หยุดหายใจในที่สุด ก่อนที่จะเสียชีวิต ทั้งนี้
อาจเกิดจากพิษเดียวมีฤทธิ์หลายอย่างหรือมีพิษหลายชนิดออกฤทธิ์ร่วมกัน(17,18)
ต่อมามีการค้นพบ myotoxin
ซึ่งท�ำให้กล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อเรียบ และกล้ามเนื้อหัวใจบีบตัว นอกจากนี้ยังพบ haemolysin และ neurotoxin(2, 11, 19-27)
1
ชนิดของแมงกะพรุน
แมงกะพรุนจัดอยูในประเภทสัตวไมมีกระดูกสันหลังPhylumCnidariaหรือCoelenterataแบง
ไดเปน4classคือ(1,2)
1.Scyphozoaหรือtruejellyfishเปนแมงกะพรุนชนิดที่พบไดบอยที่สุดเชนแมงกะพรุนไฟ
และแมงกะพรุนที่นํามารับประทาน
2.Cubozoaซึ่งแบงออกเปนorderChirodropidaeเปนกลุมที่มีหนวดหลายเสนออกมาจากแต
ละมุมเชนChironexfleckeri(ที่นิยมเรียกวาboxjellyfish)เปนชนิดที่มีพิษรายแรงที่สุด
และChiropsalmusspeciesอีกorderคือCarybdeidaซึ่งเปนกลุมที่มีหนวดเพียงเสน
เดียวออกมาจากแตละมุมเชนCarukiabarnesiและMorbakkafenneri
3.HydrozoaมีsubclassSiphonophoraเชนPhysaliaphysalisและPhysaliautriculus
(ที่นิยมเรียกวาPortugueseman-of-warชนิดสายเดียวและหลายสาย)ซึ่งเปนตัวที่ทําให
เสียชีวิตไดเชนกันแตพบนอยกวาและพิษไมรุนแรงเทากลุมCubozoa
4.Anthozoaเชนดอกไมทะเล(seaanemones)และปะการัง(corals)
บทที่1แมงกะพรุน
4
การที่พิษออกฤทธิ์อย่างรวดเร็วนั้น ส่วนหนึ่งอาจเนื่องจากการเข้าทางกระแสเลือด(28)
ท�ำให้ตายได้ในไม่กี่นาที
หรือเป็นวินาทีในรายที่สาหัสมาก(29)
สันนิษฐานการเสียชีวิตว่าน่าจะเกิดจากผลของพิษต่อระบบทางเดินหายใจ
กับระบบหัวใจและหลอดเลือด(27, 29-31)
ซึ่งพิษมีความเข้มข้นมากกว่าพิษงูเห่า (median lethal dose: LD50)(14, 15)
แมงกะพรุนกล่องมีลักษณะรูปร่างคล้ายระฆังหรือกล่องสี่เหลี่ยม มีขนาดแตกต่างกัน โดยที่ขนาด
ของล�ำตัวแต่ละด้านสามารถกว้างได้ถึง 20 เซนติเมตร แต่ละมุมของรูปสี่เหลี่ยมจะมีลักษณะคล้ายขายื่นออกมา
แล้วแยกเป็นสายหนวด โดยที่แต่ละขาอาจมีหนวดได้ถึง 15 เส้น และหนวดแต่ละเส้นยาวได้ถึง 3 เมตร ลักษณะ
โดยทั่วไปจะมีสีน�้ำเงินจาง ๆ หรือไม่มีสี และมีลักษณะใส ตามประสบการณ์ผู้เขียนพบว่าสังเกตเห็นได้ยาก
แม้แต่ในน�้ำทะเลที่ค่อนข้างจะใสมาก แมงกะพรุนกล่องบางชนิดไม่มีอันตรายต่อมนุษย์ บางชนิดเพียงแต่
ท�ำให้เกิดอาการเจ็บ ๆ คัน ๆ เพียงเล็กน้อย แต่มีบางชนิดที่สามารถท�ำอันตรายถึงชีวิตได้ในเวลาอันรวดเร็ว
แมงกะพรุนกล่อง แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้
1. ชนิดที่มีหนวดหลายเส้น (Multi-tentacle box jellyfish)
แมงกะพรุนกล่องชนิดนี้จะมีหนวดหลายเส้นในแต่ละมุมส�ำหรับประเทศไทยมีรายงานการพบแมงกะพรุน
ชนิดนี้ 2 สายพันธุ์ โดยสายพันธุ์หนึ่งจะมีหนวดเป็นแถวออกไปเพียงมิติเดียว หรือ คล้ายเส้นผมที่หวีลงมา ส่วนอีก
สายพันธุ์หนึ่งจะตัวใหญ่กว่าและมีหนวดออกไปได้ใน 3 มิติ หรือลักษณะแยกเป็นแฉกออกไปก่อนที่จะย้อยลงมา
ตัวอย่างของแมงกะพรุนชนิดนี้ ได้แก่ Chiroplasmus quadrigatus พบได้ในประเทศฟิลิปปินส์ และ
Chironex fleckeri ซึ่งพบได้ในประเทศออสเตรเลียและถือเป็นสัตว์ที่เป็นอันตรายมากที่สุดชนิดหนึ่งในโลก
โดยสามารถท�ำให้เสียชีวิตได้ภายใน 2 ถึง 10 นาที ถ้าได้รับพิษจ�ำนวนมาก ตัวเต็มวัยนั้นมีความยาวของหนวด
ทุกเส้นรวมกันยาวได้ถึง 180 เมตร ทั้งนี้หนวดที่มีความยาวเพียง 3 ถึง 5 เมตร สามารถท�ำให้ผู้ใหญ่เสียชีวิตได้
ส�ำหรับเด็กอาจเสียชีวิตได้เพียงแค่สัมผัสโดนหนวดที่มีความยาวเพียง1.2เมตรโดยที่เด็กจะมีโอกาสเสียชีวิตมากกว่า
ผู้ใหญ่ในกรณีที่สัมผัสกับหนวดแมงกะพรุนในปริมาณที่เท่ากันดังนั้นการป้องกันไม่ให้แมงกะพรุนสัมผัสกับร่างกาย
จึงเป็นสิ่งส�ำคัญมากข้อมูลจากต่างประเทศพบว่าแมงกะพรุนชนิดนี้สามารถพบได้ในทะเลเขตร้อนทั่วโลกและพบได้
ในทุกฤดู แต่มักพบบ่อยในช่วงเดือนที่อากาศค่อนข้างร้อน มักพบบริเวณชายฝั่งทะเลน�้ำตื้น โดยเฉพาะบริเวณ
หาดทรายใกล้ป่าชายเลนและปากแม่น�้ำ ในบริเวณอ่าวที่เป็นพื้นที่ก�ำบังลม หรือเกาะที่อยู่ไม่ไกลจากแผ่นดินใหญ่
บริเวณที่พื้นทะเลเป็นทราย ไม่มีแนวปะการังหรือแนวหิน โดยจะอยู่บริเวณน�้ำตื้นระดับเอวหรือระดับเข่า
ใกล้กับพื้นน�้ำ และพบได้บ่อยในวันที่อากาศดี คลื่นลมสงบ โดยแมงกะพรุนชนิดนี้มักออกมากินลูกกุ้งและลูกปลา
ซึ่งอยู่ในบริเวณนั้น(32)
1
ชนิดของแมงกะพรุน
แมงกะพรุนจัดอยูในประเภทสัตวไมมีกระดูกสันหลัง Phylum Cnidaria หรือ Coelenterata แบง
ไดเปน 4 class คือ(1, 2)
1. Scyphozoa หรือ true jellyfish เปนแมงกะพรุนชนิดที่พบไดบอยที่สุด เชน แมงกะพรุนไฟ
และแมงกะพรุนที่นํามารับประทาน
2. Cubozoa ซึ่งแบงออกเปน order Chirodropidae เปนกลุมที่มีหนวดหลายเสนออกมาจากแต
ละมุม เชน Chironex fleckeri (ที่นิยมเรียกวา box jellyfish) เปนชนิดที่มีพิษรายแรงที่สุด
และ Chiropsalmus species อีก order คือ Carybdeida ซึ่งเปนกลุมที่มีหนวดเพียงเสน
เดียวออกมาจากแตละมุม เชน Carukia barnesi และ Morbakka fenneri
3. Hydrozoa มี subclass Siphonophora เชน Physalia physalis และ Physalia utriculus
(ที่นิยมเรียกวา Portuguese man-of-war ชนิดสายเดียวและหลายสาย) ซึ่งเปนตัวที่ทําให
เสียชีวิตไดเชนกันแตพบนอยกวา และพิษไมรุนแรงเทากลุม Cubozoa
4. Anthozoa เชน ดอกไมทะเล (sea anemones) และ ปะการัง (corals)
บทที่ 1 แมงกะพรุน
5
จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่ลงพื้นที่เก็บข้อมูลตั้งแต่ พ.ศ. 2550 ข้อมูลสอบสวนผู้บาดเจ็บประกอบ
กับการทบทวนข้อมูลผู้บาดเจ็บและผู้เสียชีวิตที่สงสัยหรือเข้าข่ายว่าถูกแมงกะพรุนกล่องตั้งแต่ พ.ศ. 2545 พบว่า
เกิดเหตุบ่อยในวันที่อากาศดีคลื่นลมสงบหรือบางครั้งเกิดหลังฝนตกแถวชายหาดระดับน�้ำตื้นๆทั้งนี้แถบเกาะหมาก
เกาะกูด จ.ตราด จะพบช่วงปลายฝนต้นหนาว ตัวอย่างอิทธิพลของคลื่นลมคือที่เกาะหมากซึ่งพบแมงกะพรุนกล่อง
ทางซีกหนึ่งของเกาะที่คลื่นลมสงบ เมื่อมีคลื่นลมแรง ในวันต่อมากลับไม่พบในที่เดิมแต่ย้ายไปพบอีกซีกหนึ่ง
ของเกาะที่คลื่นลมสงบแทน
5
จากประสบการณของผูเขียนที่ลงพื้นที่เก็บขอมูลตั้งแต พ.ศ. 2550 ขอมูลสอบสวนผูบาดเจ็บ
ประกอบกับการทบทวนขอมูลผูบาดเจ็บและผูเสียชีวิตที่สงสัยหรือเขาขายวาถูกแมงกะพรุนกลองตั้งแต
พ.ศ. 2545 พบวา เกิดเหตุบอยในวันที่อากาศดี คลื่นลมสงบ หรือบางครั้งเกิดหลังฝนตก แถวชายหาด
ระดับน้ําตื้น ๆ ทั้งนี้ แถบเกาะหมาก เกาะกูด จ.ตราด จะพบชวงปลายฝนตนหนาว ตัวอยางอิทธิพลของ
คลื่นลมคือที่เกาะหมากซึ่งพบแมงกะพรุนกลองทางซีกหนึ่งของเกาะที่คลื่นลมสงบ เมื่อมีคลื่นลมแรง
ในวันตอมากลับไมพบในที่เดิมแตยายไปพบอีกซีกหนึ่งของเกาะที่คลื่นลมสงบแทน
รูปที่ 2 แมงกะพรุนกลองชนิด Chironex fleckeri ที่พบในประเทศ
ออสเตรเลีย (ที่มา: http://www.barrierreefaustralia.com/the-
great-barrier-reef/jellyfish.htm)
รูปที่ 3 แมงกะพรุนกลองชนิด Chironex พบบริเวณ
เกาะสมุย (ที่มา: ศักดิ์อนันท ปลาทอง)
อาการของผูถูกพิษมักจะเกิดจากสารพิษมากกวาที่จะเปนจากการแพ โดยมีอาการเดนคือ การ
เจ็บปวดในบริเวณที่ถูกสัมผัสอยางรุนแรงทันทีทันใด และจะมีรอยไหมในบริเวณดังกลาว อาการปวดนี้
จะหายไปภายใน 1 ถึง 12 ชั่วโมง ในกรณีที่สัมผัสพิษจํานวนมาก อาจมีอาการสับสนหรือหมด
ความรูสึกกอนที่จะเขาสูโคมาและเสียชีวิต การเสียชีวิตมักเกิดภายใน 2 ถึง 10 นาทีแรก โดยมีสาเหตุ
จากหัวใจลมเหลว หรือระบบหายใจลมเหลว แมงกะพรุนกลองชนิดนี้มีพิษที่รายแรงตอ 3 ระบบ คือ
cardiotoxin ทําใหหัวใจเตนผิดจังหวะหรือหยุดเตนได neurotoxin ทําใหเกิดอาการปวดอยางมากตรง
บริเวณที่สัมผัสสายหนวดแมงกะพรุน ซึ่งจากประสบการณการสอบสวนโรคในประเทศไทย พบวา
ผูบาดเจ็บมีอาการหายใจลําบาก หรือหายใจเร็วขึ้นดวย และ dermatonecrotic toxin ซึ่งทําใหเกิด
รอยไหมบริเวณที่สัมผัสหนวดของแมงกะพรุน ในรายที่อาการรุนแรงอาจทําใหผิวหนังตายในบริเวณที่
สัมผัสหนวดแมงกะพรุน(11, 33-35)
อาการของผู้ถูกพิษมักจะเกิดจากสารพิษมากกว่าที่จะเป็นจากการแพ้ โดยมีอาการเด่นคือ การเจ็บปวด
ในบริเวณที่ถูกสัมผัสอย่างรุนแรงทันทีทันใด และจะมีรอยไหม้ในบริเวณดังกล่าว อาการปวดนี้จะหายไปภายใน
1 ถึง 12 ชั่วโมง ในกรณีที่สัมผัสพิษจ�ำนวนมาก อาจมีอาการสับสนหรือหมดความรู้สึกก่อนที่จะเข้าสู่โคม่าและ
เสียชีวิต การเสียชีวิตมักเกิดภายใน 2 ถึง 10 นาทีแรก โดยมีสาเหตุจากหัวใจล้มเหลว หรือระบบหายใจล้มเหลว
แมงกะพรุนกล่องชนิดนี้มีพิษที่ร้ายแรงต่อ 3 ระบบ คือ cardiotoxin ท�ำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะหรือหยุดเต้นได้
neurotoxin ท�ำให้เกิดอาการปวดอย่างมากตรงบริเวณที่สัมผัสสายหนวดแมงกะพรุน ซึ่งจากประสบการณ์
การสอบสวนโรคในประเทศไทยพบว่าผู้บาดเจ็บมีอาการหายใจล�ำบากหรือหายใจเร็วขึ้นด้วยและdermatonecrotic
toxin ซึ่งท�ำให้เกิด รอยไหม้บริเวณที่สัมผัสหนวดของแมงกะพรุน ในรายที่อาการรุนแรงอาจท�ำให้ผิวหนังตาย
ในบริเวณที่สัมผัสหนวดแมงกะพรุน(11, 33-35)
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war
การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ruttanaphareenoon
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
Wichai Likitponrak
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
Sukan
 
กำหนดการสอน อ.2
กำหนดการสอน  อ.2กำหนดการสอน  อ.2
กำหนดการสอน อ.2
krutitirut
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
supphawan
 
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
chuvub
 

Mais procurados (20)

การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัวการสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
 
5.ภาควิชานิติเวชศาสตร์
5.ภาควิชานิติเวชศาสตร์5.ภาควิชานิติเวชศาสตร์
5.ภาควิชานิติเวชศาสตร์
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียงติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
ติวสอบเตรียมเซลล์และลำเลียง
 
กฎหมาย ม.2
กฎหมาย ม.2กฎหมาย ม.2
กฎหมาย ม.2
 
เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์เซลล์และการแบ่งเซลล์
เซลล์และการแบ่งเซลล์
 
กำหนดการสอน อ.2
กำหนดการสอน  อ.2กำหนดการสอน  อ.2
กำหนดการสอน อ.2
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
Digital leadership 2022
Digital leadership 2022Digital leadership 2022
Digital leadership 2022
 
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
โรคไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever)
 
Blunt chest injury
Blunt chest injuryBlunt chest injury
Blunt chest injury
 
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยงระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 

Semelhante a การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war

Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
taem
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
60941
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
pakpoomounhalekjit
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
Aimmary
 
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54scienceHeritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
faiiz011132
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
porkhwan
 

Semelhante a การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war (20)

Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
 
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 
Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3
 
News phli bv2n3
News phli bv2n3News phli bv2n3
News phli bv2n3
 
Clu1
Clu1Clu1
Clu1
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54scienceHeritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
การใช้ยาโรคที่มาจากน้ำท่วม
การใช้ยาโรคที่มาจากน้ำท่วมการใช้ยาโรคที่มาจากน้ำท่วม
การใช้ยาโรคที่มาจากน้ำท่วม
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul

Mais de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war

  • 1. See discussions, stats, and author profiles for this publication at: https://www.researchgate.net/publication/264348295 Injuries and Deaths Caused by Box Jellyfish and Portuguese Man-of-War: Treatment and Prevention. Book · July 2014 CITATIONS 3 READS 73 1 author: Lakkana Thaikruea Chiang Mai University 57 PUBLICATIONS   283 CITATIONS    SEE PROFILE All content following this page was uploaded by Lakkana Thaikruea on 09 July 2017. The user has requested enhancement of the downloaded file.
  • 2.
  • 3. i การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจาก แมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war Treatment and Prevention of Injuries and Deaths Caused by Box jellyfish and Portuguese man-of-war
  • 4. ii ผู้แต่ง ลักขณา ไทยเครือ (Lakkana Thaikruea) พ.บ., Cert of FETP, M.S. (Epidemiology), PhD.(Epidemiology of Infectious Diseases) พจมาน ศิริอารยาภรณ์ (Potjaman Siriarayaporn) พ.บ., Cert of FETP, ส.ม., DrPH. ชื่อเรื่อง การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war ครั้งที่พิมพ์ 2 พิมพ์ที่ โรงพิมพ์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 52000 โทร. 053-945270 โทรสาร 053-217144 ส�ำนักพิมพ์ โรงพิมพ์คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 52000 โทร. 053-945270 โทรสาร 053-217144 เดือน/ปีที่พิมพ์ ตุลาคม พ.ศ. 2557 จ�ำนวนหน้า 91 ISBN 978-616-361-506-0 ลิขสิทธ์ ลักขณา ไทยเครือ และ พจมาน ศิริอารยาภรณ์ จ�ำนวน 500 เล่ม ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ลักขณา ไทยเครือ, พจมาน ศิริอารยาภรณ์. การรักษาและป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุน Box jellyfish กับ Portuguese man-of-war.-- : ลักขณา ไทยเครือ, 2557 91. 1. . I. ชื่อเรื่อง. ISBN 978-616-361-506-0
  • 5. iii ค�ำอุทิศ ii คําอุทิศ ตลอดเวลาหลายปที่ทุมเทแรงกายแรงใจสืบสวนสอบสวนคนควาหาคําตอบและหนทางแกปญหาภัยจาก แมงกะพรุนพิษ มีลมลุกคลุกคลานบางครา แสนเหนื่อยลากายาสั่นไหวในบางครั้ง สุดสลดหดหูเมื่อความรูแลกมาดวย การบาดเจ็บลมตาย ทวาดวยกําลังใจอันยิ่งใหญจากครอบครัว แล น้ําจิตน้ําใจในมวลหมูมิตร เปนแรงผลักดัน ประคับประคองใหเรากาวมาสูจุดนี้ ขอบุญกุศลที่เกิดจากวิทยาทานถึงแกทานทั้งหลายที่มีสวนรวมในกาลนี้เทอญ รองศาสตราจารย ดร.พญ.ลักขณา ไทยเครือ ดร.พญ.พจมาน ศิริอารยาภรณ
  • 6. iv ค�ำนิยม คงจะเกือบห้าหกปีแล้วที่คุณหมอพจมานและคุณหมอลักขณาพยายามท�ำเรื่องการป้องกันการบาดเจ็บ เสียชีวิตจากแมงกะพรุนกล่องและแมงกะพรุนหัวขวดในประเทศไทย ผมจ�ำได้ว่าตอนนั้นผมเป็นผู้อ�ำนวยการส�ำนักระบาดวิทยาซึ่งยังสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข แต่ละเดือนจะมีการประชุมผู้บริหารระดับปลัด รองปลัด ผู้ตรวจ และผู้แทนกรมต่าง ๆ เป็นหน้าที่ของส�ำนักระบาด วิทยาต้องน�ำเสนอสถานการณ์โรคระบาดหรือภัยที่คุกคามชีวิตคนไทย ผมได้รับข้อมูลจากคุณหมอพจมานว่า มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเสียชีวิตจากแมงกะพรุนกล่อง แม้จะมีรายงานเพียงรายเดียวแต่พอสอบสวนไป ก็พบ ว่าน่าจะมีรายอื่น ๆ อีก เพียงแต่ไม่มีการรายงานเป็นเรื่องเป็นราว จึงได้เสนอเรื่องนี้ไปในที่ประชุม และโดยปกติ เมื่อทราบปัญหาแล้วก็ต้องหาทางแก้ไข การแก้ไขนั้นต้องอาศัยความรู้ทางวิชาการ การศึกษาวิจัยเพิ่มเติม ความร่วมมือกับหน่วยงานวิชาการ ในประเทศ การติดต่อประสานงานกับผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่เขาเจอก่อนเราเช่นออสเตรเลีย เพื่อให้เข้าใจถ่องแท้ถึงธรรมชาติการอยู่อาศัยของแมงกะพรุนเจ้าปัญหา อาการ และการแก้ไขพิษเบื้องต้น รวมถึงข้อเสนอว่าประชาชนจะท�ำอะไรได้บ้างในการป้องกันตนเอง ท้องถิ่นควรมีบทบาทอย่างไร การท่องเที่ยว จะช่วยอะไรได้บ้าง จะถ่วงสมดุลระหว่างการให้ค�ำเตือนกับความตื่นตระหนกอย่างไร ต้องขอบคุณความพยายามของคุณหมอพจมาน คุณหมอลักขณา และคณะทุกคน ที่กัดติด เกาะแน่น กับปัญหาเรื่องนี้ ไม่ดูถูกดูแคลนว่าเป็นเรื่องที่เล็กเมื่อเทียบกับปัญหาที่มีคนป่วยคนตายเป็นพันเป็นหมื่น หนังสือ ที่ปรากฏนี้จึงเป็นผลพวงของการท�ำงานอย่างอุตสาหะวิริยะและเป็นตัวอย่างที่ดีของนักวิชาการที่พยายามแก้ปัญหา เชื่อมั่นว่าข้อมูลต่าง ๆ จะเป็นประโยชน์กับผู้สนใจ วงการแพทย์ วงการสาธารณสุข วงการวิชาการ และ กับประเทศไทย ค�ำนวณ อึ้งชูศักดิ์ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค
  • 7. v ค�ำน�ำ ตั้งแต่เรียนแพทย์มานานหลายสิบปีและด�ำน�้ำมานับครั้งไม่ถ้วน เพิ่งมาทราบว่ามีแมงกะพรุนที่ท�ำให้ ตายได้ภายในเวลาไม่กี่นาทีในเมืองไทย แม้แต่นักชีววิทยาทางทะเลที่รู้จักร่วมงานกันก็ยังไม่เคยพบเคยเห็น เริ่มจากองค์ความรู้ที่เป็นศูนย์ผู้เขียนและหมู่คณะด�ำเนินการเฝ้าระวังเฉพาะกาลขึ้นตามชายฝั่งทะเลทั้งสองน่านน�้ำ ติดตามสอบสวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตทั้งรายเก่าและใหม่ทบทวนเวชระเบียนจากโรงพยาบาลในพื้นที่ชายฝั่งทะเล จัดตั้งเครือข่ายแมงกะพรุนพิษ และศึกษาวิจัยร่วมกับการเก็บตัวอย่างแมงกะพรุนของสถาบันวิจัยและพัฒนา ทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเล และ ป่าชายเลน และศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทั้งห้าแห่ง ของกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงไปปรึกษาผู้เชี่ยวชาญที่ประเทศออสเตรเลีย จนพบว่า Box jellyfish (แมงกะพรุนกล่อง) ที่ท�ำให้ตายได้มีอยู่จริง อีกทั้งยังพบ Portuguese-man-of-war (แมงกะพรุน หัวขวด) ในน่านน�้ำทะเลไทยด้วย ซึ่งพิษของมันมีฤทธิ์ถึงตายได้เหมือนกัน นอกจากนั้น ยังพบว่าผู้บาดเจ็บและ เสียชีวิตจากพิษของแมงกะพรุนมีจ�ำนวนมากกว่าที่คิด และเรื่องนี้เกิดขึ้นมานานแล้ว เพียงแต่ไม่ทราบในหมู่ นักวิชาการ บุคลากรทางการแพทย์ และประชาชนส่วนใหญ่ ทั้งนี้การปฐมพยาบาลอย่างรวดเร็วและเหมาะสม จะช่วยเพิ่มโอกาสในการรอดตายสูงมาก อีกทั้งเป็นวิธีการง่าย ๆ ต้นทุนต�่ำมากเมื่อเทียบกับชีวิตคนทั้งคน การช่วยที่ผิดวิธีนอกจากไม่ช่วยอะไรแล้วยังเพิ่มโอกาสตายมากขึ้น เนื่องจากวิธีช่วยที่นิยมท�ำในเมืองไทย เมื่อน�ำมาใช้กับแมงกะพรุนกล่องกลับเป็นการยิ่งเร่งให้ยิงเข็มพิษมากขึ้น รวมถึงการวินิจฉัยและรักษาที่ผิด อาจท�ำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ดังนั้นความรู้ที่ถูกต้องจึงเป็นหัวใจส�ำคัญอันน�ำมาสู่การเขียนหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนรวบรวมเนื้อหาจากประสบการณ์ตรงตลอดระยะเวลาห้าหกปีที่ผ่านมาทบทวนต�ำราและปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ จากประเทศออสเตรเลีย มาเรียบเรียงเป็นหนังสือเผยแพร่ความรู้และแบ่งปันประสบการณ์ที่ผู้อ่านสามารถน�ำไป ใช้ได้เอง ทั้งนี้ ยินดีน้อมรับข้อแนะน�ำและข้อมูลใหม่ ๆ จากผู้รู้ เพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้ดียิ่งขึ้นเป็นล�ำดับ อันจะ ยังประโยชน์ต่อสาธารณชนต่อไป การด�ำเนินงานไม่ได้ราบรื่นเสมอไปเพราะเป็นเรื่องละเอียดอ่อน มีผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หลายหมู่เหล่าในแต่ละระดับทั้งภายในและต่างประเทศ มีความขัดแย้งทางวิชาการ มีความอ่อนไหวของการเมือง และการทูต รวมถึงไม่มีเครื่องมือในการตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการในประเทศไทย ทว่า ยังมีความช่วยเหลือ ของภาคีเครือข่าย ผู้บังคับบัญชาที่ให้การสนับสนุน และที่ส�ำคัญคือความขยันอดทนเพียรพยายามของคณะท�ำงาน จึงสามารถลุล่วงมาด้วยดีมีประโยชน์แก่ผู้คนทั้งหลาย รองศาสตราจารย์ ดอกเตอร์ แพทย์หญิงลักขณา ไทยเครือ ดอกเตอร์ แพทย์หญิงพจมาน ศิริอารยาภรณ์
  • 8. vi กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณผู้สนับสนุนทุกท่านและทุกหน่วยงานที่ท�ำให้งานส�ำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ได้แก่ - สถานประกอบการโรงแรมและที่พักตากอากาศ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น เทศบาล สมาคม ท่องเที่ยว ชมรมท่องเที่ยว สมาคมโรงแรม ชมรมเรือหางยาว ชมรมหน่วยกู้ชีพ ชาวประมงใน จังหวัดตราด สุราษฎร์ธานี สตูล ภูเก็ต กระบี่ และเพชรบุรี - สถานพยาบาลทั้งรัฐและเอกชนใน 23 จังหวัด ชายฝั่งทะเลไทย - ส�ำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข - คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - ดร.สมชัย บุศราวิช พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - ดร.จรัสศรี อ๋างตันญา และคณะท�ำงาน ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเล อันดามัน จังหวัดภูเก็ต ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง อ่าวไทยตอนบน จังหวัดสมุทรสาคร ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยฝั่งตะวันออก จังหวัดระยอง ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนกลาง จังหวัดชุมพร และศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนล่างจังหวัดสงขลาสถาบันวิจัย และพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเล และป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - เจ้าหน้าที่ภาคสนาม พญ.รจนา วัฒนรังสรรค์ (นายแพทย์ช�ำนาญการ) นางพรรณราย สมิตสุวรรณ (นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการ) นส.หัทยา กาญจนสมบัติ (ผู้ช่วยนักวิจัย ภาคสนาม) นส.กรรณิการ์ หมอนพังเทียม (นักวิชาการสาธารณสุข) นส.ศิณีนาถ กุลาวงศ์ (นักวิชาการสาธารณสุข) นส.อกนิษฐ์ โพธิ์ศรี (นักวิชาการสาธารณสุข) และ นส.จันทร์จิรา ดีไพร (ผู้ประสานงานโครงการ) - คณะผู้เชี่ยวชาญจากประเทศออสเตรเลีย Associate Professor Peter J. Fenner จาก School of Public Health, James Cook University, Dr Lisa-Ann Gershwin ผู้อ�ำนวยการ Australian Marine Stinger Advisory Services, Dr Ken Winkel ผู้อ�ำนวยการ the Australian Venom Research Unit, University of Melbourne, Mr Kim Moss ผู้เชี่ยวชาญการท�ำตาข่ายติดตั้งในทะเล และ Professor Bart J Currie แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาแมงกะพรุนพิษ Menzies School of Health Research, Royal Darwin Hospital Campus - Mr John Lippmann ผู้อ�ำนวยการใหญ่ Divers Alert Network (DAN) ASIA-PACIFIC นักข่าว จากประเทศออสเตรเลีย Mr Andrew Jones
  • 9. vii รองศาสตราจารย์ ดอกเตอร์ แพทย์หญิงลักขณา ไทยเครือ การศึกษา 2531 แพทยศาสตรบัณฑิต จาก คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2534 CertificateofFieldEpidemiologyTrainingProgramจากส�ำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับองค์การอนามัยโลก (WHO) และ Centers for Disease Control and Prevention (CDC) สหรัฐอเมริกา 2538 Master of Science สาขาระบาดวิทยา จาก School of Public Health, University of California, Los Angeles, สหรัฐอเมริกา ผู้นิพนธ์ vii ผูนิพนธ รองศาสตราจารย ดอกเตอร แพทยหญิงลักขณา ไทยเครือ การศึกษา 2531 แพทยศาสตรบัณฑิต จาก คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2534 Certificate of Field Epidemiology Training Program จาก สํานักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข รวมกับองคการอนามัยโลก (WHO) และ Centers for Disease Control and Prevention (CDC) สหรัฐอเมริกา 2538 Master of Science สาขาระบาดวิทยา จาก School of Public Health, University of California, Los Angeles, สหรัฐอเมริกา 2538 หนังสืออนุมัติ สาขาเวชศาสตรปองกัน แขนงระบาดวิทยา จาก แพทยสภา 2546 ปริญญาเอกสาขาระบาดวิทยาโรคติดเชื้อ จาก Johns Hopkins Bloomberg School of Public Health, Johns Hopkins University, Baltimore, Maryland, สหรัฐอเมริกา 2546 A Course for Teachers and Practitioners of Epidemiologic Computing: CDC and Emory University, Atlanta, Georgia, สหรัฐอเมริกา ประวัติการทํางาน 2531-2533 แพทย โรงพยาบาลอมกอย โรงพยาบาลพราว และ โรงพยาบาลเชียงดาว เชียงใหม 2533-2541 แพทย สอนแพทยประจําบาน สาขาเวชศาสตรปองกัน แขนงระบาดวิทยา (FETP) กระทรวง สาธารณสุขไทย รวมกับองคการอนามัยโลก และ CDC สหรัฐอเมริกา 2541- ปจจุบัน รองศาสตราจารย ภาควิชาเวชศาสตรชุมชน คณะแพทยศาสตรเชียงใหม ผูเชี่ยวชาญ/ที่ปรึกษา/วิทยากร (บางสวน) 1. International course on Epi Info program ของกระทรวงสาธารณสุขไทย รวมกับ WHO 2544-ปจจุบัน 2. Epidemic Preparedness and Response ของ National Institute of Epidemiology, Chennai, Tamil Nadu, India รวมกับ WHO/SEARO, 2544-2545 3. International FETP ของ กระทรวงสาธารณสุขไทย รวมกับ WHO และ CDC สหรัฐอเมริกา 2547 – ปจจุบัน 4. Setting Priorities using Information on Cost Effectiveness ของ International collaborative research project. กระทรวงสาธารณสุขไทย รวมกับ School of Population Health, the University of Queensland, ออสเตรเลีย 2546 –2548 5. Training on Epidemiology, Research Methodology and Biostatistics ของ WHO รวมกับ Democratic People’s Republic of Korea 2548-2549 6. Assessment of Current Situation on Emergency Preparedness for the Health Sector and Communities in Phuket, Thailand ของ WHO รวมกับ สํานักงานสาธารณสุขภูเก็ต 2549- 2550 7. Cholera outbreak investigation หลักสูตร Epidemiology in Action course ของ CDC สหรัฐอเมริกา รวมกับ กระทรวงสาธารณสุขกัมพูชา the Asian Development Bank, WHO, Emory University, Institut Pasteur du Cambodge, และ US Naval Medical Research Unit-2, 2550 2538 หนังสืออนุมัติ สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงระบาดวิทยา จาก แพทยสภา 2546 ปริญญาเอกสาขาระบาดวิทยาโรคติดเชื้อ จาก Johns Hopkins Bloomberg School of Public Health, Johns Hopkins University, Baltimore, Maryland, สหรัฐอเมริกา 2546 A Course for Teachers and Practitioners of Epidemiologic Computing: CDC and Emory University, Atlanta, Georgia, สหรัฐอเมริกา ประวัติการท�ำงาน 2531-2533 แพทย์ โรงพยาบาลอมก๋อย โรงพยาบาลพร้าว และ โรงพยาบาลเชียงดาว เชียงใหม่ 2533-2541 แพทย์ สอนแพทย์ประจ�ำบ้าน สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงระบาดวิทยา (FETP) กระทรวงสาธารณสุขไทย ร่วมกับองค์การอนามัยโลก และ CDC สหรัฐอเมริกา 2541- ปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์เชียงใหม่ ผู้เชี่ยวชาญ/ที่ปรึกษา/วิทยากร (บางส่วน) 1. International course on Epi Info program ของกระทรวงสาธารณสุขไทย ร่วมกับ WHO 2544-ปัจจุบัน 2. Epidemic Preparedness and Response ของ National Institute of Epidemiology, Chennai, Tamil Nadu, India ร่วมกับ WHO/ SEARO, 2544-2545 3. International FETP ของ กระทรวงสาธารณสุขไทย ร่วมกับ WHO และ CDC สหรัฐอเมริกา 2547 – ปัจจุบัน 4. Setting Priorities using Information on Cost Effectiveness ของ International collaborative research project. กระทรวง สาธารณสุขไทย ร่วมกับ School of Population Health, the University of Queensland, ออสเตรเลีย 2546 –2548 5. Training on Epidemiology, Research Methodology and Biostatistics ของ WHO ร่วมกับ Democratic People’s Republic of Korea 2548-2549 6. Assessment of Current Situation on Emergency Preparedness for the Health Sector and Communities in Phuket, Thailand ของ WHO ร่วมกับ ส�ำนักงานสาธารณสุขภูเก็ต 2549- 2550 7. Cholera outbreak investigation หลักสูตร Epidemiology in Action course ของ CDC สหรัฐอเมริกา ร่วมกับ กระทรวง สาธารณสุขกัมพูชา the Asian Development Bank, WHO, Emory University, Institut Pasteur du Cambodge, และ US Naval Medical Research Unit-2, 2550
  • 10. viii 8. Avian Influenza Training Module ส�ำหรับประเทศในเอเชีย ของ CDC สหรัฐอเมริกา 2550 9. Information System of Earthquake-Tsunami in southern provinces Thailand, 2548-2550 10. หลักสูตรการท�ำแผนยุทธศาสตร์โรคติดต่อทางอาหารและน�้ำ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 2550-2554 11. หลักสูตรการท�ำแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการของโรคไม่ติดต่อและโรคติดต่อทางอาหารและน�้ำ กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข 2553-2554 12. The 5th TEPHINET Southeast Asia and Western Pacific Bi-Regional Scientific Conference, Seoul, Korea, 2009 13. ปัญหาแมงกะพรุนพิษในประเทศไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุขไทย University of Melbourne และ Surf Life Saving Australia 2551-ปัจจุบัน 14. Documentation on best practices of event based surveillance in the member countries in the SEA Region: ของ WHO 2556-2557 15. หลักสูตร Strategic Thinking for Excellent Management (STEM) ส�ำหรับผู้บริหาร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2557 รางวัล 1. รางวัลที่ 3 ในการประชุมวิชาการมหกรรมคุณภาพประจ�ำปี 2557, เชียงใหม่ ของศูนย์ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาล ร่วมกับ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) เรื่อง ตัวชี้วัดและ “เส้นสายท�ำนายเสี่ยงหัวใจ” ที่ใช้ในการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงต่อโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดด้วยตนเอง 2. รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นสาขาวิชาการ พ.ศ. 2556 ของ สมาคมศิษย์เก่าเรยีนาเชลีเชียงใหม่ 3. The winner of RCOPT Research Contest Award 2011. Title “The Effect of Binaural Beat Audio on Operative Anxiety in Patients Undergoing Local Anesthesia for Ophthalmic Surgery”: Vichitvejpaisal P, Thaikruea L, Klaphajone J, Tantong A, Wiwatwongwana D. Faculty of Medicine, Chiang Mai University. 4. Excellence Award (runner up). Award of Hospital Management Asia. Title “Music therapy for physically disabled children” Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital entered under Corporate Social Responsibility (CSR) Project category. Hospital Management Asia (HMA) 2011 Singapore: Chiang Mai Medicine Faculty, Srisangwan School, Chiang Mai Rajabhat University, and Payap University 5. รางวัลดีเด่นคุณภาพการให้บริการประชาชน จากส�ำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาระบบข้าราชการ ด้านนวัตกรรมการให้ บริการ เรื่อง ดนตรีบ�ำบัด จาก ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 2553 ร่วมกับ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงเรียน ศรีสังวาลย์เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยพายัพ 6. รางวัลผลงานวิชาการดีเด่นการน�ำเสนอผลงานวิชาการแบบโปสเตอร์กลุ่มโรคไม่ติดต่อในงานการสัมมนาวิชาการควบคุมโรค ประจ�ำปี 2553 กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เรื่องโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดของผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูง ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง โดย มนูญ ศรีเพ็ชรสัย, ลักขณา ไทยเครือ, จามรี อุทัยรัตน์ และ คณะ จาก ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา 7. รางวัลชนะเลิศ มหกรรม KM Day ครั้งที่ 1 คณะแพทย์ศาสตร์เชียงใหม่ 2552 เรื่อง ดนตรีบ�ำบัดเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพ ทางกายของผู้พิการ ร่วมกับ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงเรียนศรีสังวาลย์เชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วิทยาลัย ดุริยศิลป์ มหาวิทยาลัยพายัพ
  • 11. ix 8. รางวัลโปสเตอร์ดีสาขาสาธารณสุขเรื่องเปรียบเทียบ WSR ดัชนีมวลกาย รอบเอว และร้อยละไขมันในร่างกาย เพื่อบ่งบอก ภาวะความดันโลหิตสูงและเบาหวานในประชากรอายุ 40 ปีขึ้นไป ต.หนองควาย เชียงใหม่ งานประชุมวิชาการวันมหิดล ครั้งที่ 32 คณะแพทย์ศาสตร์เชียงใหม่ 2551 9. รางวัลเชิดชูเกียรติผู้ที่ได้รับรางวัลวิจัยในสาขาต่างๆงานประชุมวิชาการวันมหิดลครั้งที่32คณะแพทยศาสตร์เชียงใหม่2551 10. รางวัลชนะเลิศ การเสนอผลงานวิชาการแบบบรรยาย จาก การสัมมนาวิชาการป้องกันควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ประจ�ำปี2551ณศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทคบางนากทม.เรื่องการบริหารงานโรงพยาบาลโดยใช้หลักBalanced Scorecard และระบาดวิทยา จังหวัดระยอง พ.ศ. 2547-2549 ร่วมกับ สุนทร ศรีทา โรงพยาบาลกรุงเทพระยอง 11. The third runner up for proposal: Southern Health System Research Institute; 2004. Title: Effect of brown rice on blood cholesterol level among teachers in Talang district, Phuket: Chiang Mai Medicine Faculty and Talang hospital, Phuket. 12. The 1999 John Snow Award for Excellence in Science: CDC, Atlanta, USA; 1998. Title: Food borne Botulism from home-canned bamboo shoots in a province of Thailand, 1998. Wongwatcharapaiboon P, Thaikruea L, Sriprasert P, et al. 13. รองชนะเลิศ อันดับ 2 การเสนอผลงานวิชาการ 2541 ของ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เรื่อง Evaluation of a Community-based Thalassemia Prevention and Control Program, Chiangrai Province Thailand 1993-1996 ร่วมกับ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 14. Excellent presentation: The Fourth Annual Scientific Conference, Permanent Secretary Office, Min. of Public Health, ChiangRai;1991.เรื่องRiskbehaviorandHIVinfectionamongclientsattendingSTDclinic,KhonKaenCenter6,1990-1991. หนังสือ (บางส่วน) 1. ลักขณา ไทยเครือ. คู่มือวิเคราะห์ข้อมูลสาธารณสุขโดยใช้ Epi Info version 6 (ระบาดวิทยาเชิงปฏิบัติการณ์). กรุงเทพ: เรือนแก้วการพิมพ์; 2539 ISBN 974-7762-50-1 2. ลักขณา ไทยเครือ, องอาจ เจริญสุข. โรคติดเชื้อที่น�ำด้วยแมลง. ใน: การสอบสวนการระบาดของโรคติดเชื้อประเทศไทย. กรุงเทพ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์; 2543 3. ลักขณา ไทยเครือ. คู่มือการใช้โปรแกรม Epi Info version 2000 (เล่ม 2). กรุงเทพ: องค์การรับส่งสินค้าและ โรงพิมพ์ ร.ส.พ. พัสดุภัณฑ์; 2545. ISBN 974-91806-5-8. 4. ลักขณา ไทยเครือ. บทเรียนเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิถล่มไทย กรณีข้อมูลข่าวสาร. เชียงใหม่; ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด เชียงใหม่ พิมพ์สวย; 2549. ISBN 974-656-860-4 5. ลักขณา ไทยเครือ. แนวทางการน�ำเสนอผลงานวิชาการและโครงร่างวิจัย. เชียงใหม่: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่; 2549. ISBN 974-656-691-9 6. ลักขณา ไทยเครือ. Data Analysis and Management Using Epi Info for Windows: Practical Points. (English and Thai versions) นนทบุรี: มูลนิธิสุชาติ เจตนเสน; 2551. ISBN 978-974-13-6855-6 7. ลักขณา ไทยเครือ. บทที่ 3 รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา. บทที่ 5 การมีปัจจัยรบกวนและอคติ. และ บทที่ 8 การสอบสวนทางระบาดวิทยา. ใน: พื้นฐานระบาดวิทยา. บรรณาธิการ ค�ำนวณ อึ้งชูศักดิ์, กรุงเทพ: โรงพิมพ์แคนนา กราฟฟิค; 2557 ISBN 978-616-91574-1-0
  • 12. x ดอกเตอร แพทยหญิงพจมาน ศิริอารยาภรณ การศึกษา 2533 แพทยศาสตรบัณฑิต จาก คณะแพทยศาสตร สงขลานครินทร 2538 Certificate of Field Epidemiology Training Program (FETP) จาก สํานักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข รวมกับองคการอนามัยโลก และ Centers for Disease Control and Prevention (CDC) สหรัฐอเมริกา 2539 ปริญญาโท สาธารณสุขศาสตร มหาบัณฑิต (สาธารณสุขทั่วไป) จาก มหาวิทยาลัยมหิดล 2539 วุฒิบัตร สาขาเวชศาสตรปองกัน แขนงระบาดวิทยา จาก แพทยสภา 2544 Doctorate of Public Health จาก London School of Hygiene and Tropical Medicine ประเทศอังกฤษ ประวัติการทํางาน 2533 -2536 แพทย โรงพยาบาลตะกั่วปา จังหวัดพังงา 2539-2553 แพทย สอนแพทยประจําบาน สาขาเวชศาสตรปองกัน แขนงระบาดวิทยา (FETP) กระทรวง สาธารณสุขไทย รวมกับองคการอนามัยโลก และ CDC สหรัฐอเมริกา 2554- ปจจุบัน นายแพทยเชี่ยวชาญ หัวหนากลุมสอบสวน ตอบโตภาวะฉุกเฉิน และประสานกฎอนามัยระหวาง ประเทศ สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข บทความวิชาการตีพิมพ 1. Siriarayapon P, Yanai H, Glynn JR, Yanpaisarn S, Uthaivoravit W. The Evolving Epidemiology of HIV infection and Tuberculosis in Northern Thailand. JAIDS. 2002;31(1):80-9. 2. Lee NE, Siriarayapon P, Tappero J, et al. SARS Mobile Response Team Investigators. Infection control practices for SARS in Lao People's Democratic Republic, Taiwan, and Thailand: experience from mobile SARS containment teams, 2003. Am J Infect Control. 2004;32(7):377-83. 3. Tin Tin A, Siriarayapon P. Typhoid fever outbreak in Mayada Township, Mandalay Division, Myanmar, September 2000. J Med Assoc Thai. 2004;87(4):395-9. 4. Kongkaew W, Siriarayaporn P, Leelayoova S, et al. Autochthonous visceral leishmaniasis: a report of a second case in Thailand. Southeast Asian J Trop Med Public Health. 2007;38(1):8-12. 5. Sreng B1, Touch S, Sovann L, Heng S, Rathmony H, Huch C, Chea N, Kosal S, Siriarayaporn P, Pathanapornpandh N, Rehmet S, Cavailler P, Vong S, Bushy P. A description of influenza-like illness (ILI) sentinel surveillance in Cambodia, 2006-2008. Southeast Asian J Trop Med Public Health. 2010;41(1):97- 104. 6. ดิเรก สุดแดน, วราลักษณ ตังคณะกุล, มนูศิลป ศิริมาตย, นิคม สุนทร, ไพบูลย ทนันไชย, สลักจิต ชุติวิเวกพงษ, มุทิตะ ชลามาตย, พจมาน ศิริอารยาภรณ. ปจจัยที่มีผลตอการเปนโรคฉี่หนูหลังจากอุทกภัยครั้งใหญจังหวัด นาน, เดือนสิงหาคม - กันยายน พ.ศ. 2549. รายงานเฝาระวังประจําสัปดาห; 39: 161-165 . ดอกเตอร์ แพทย์หญิงพจมาน ศิริอารยาภรณ์ การศึกษา 2533 แพทยศาสตรบัณฑิต จาก คณะแพทยศาสตร์ สงขลานครินทร์ 2538 Certificate of Field Epidemiology Training Program (FETP) จาก ส�ำนักระบาดวิทยากระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับองค์การอนามัยโลกและ Centers for Disease Control and Prevention (CDC) สหรัฐอเมริกา 2539 ปริญญาโท สาธารณสุขศาสตร์ มหาบัณฑิต (สาธารณสุขทั่วไป) จาก มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้นิพนธ์ 2538 วุฒิบัตร สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงระบาดวิทยา จาก แพทยสภา 2546 Doctorate of Public Health จาก London School of Hygiene and Tropical Medicine ประเทศอังกฤษ ประวัติการท�ำงาน 2533 -2536 แพทย์ โรงพยาบาลตะกั่วป่า จังหวัดพังงา 2539-2553 แพทย์ สอนแพทย์ประจ�ำบ้าน สาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงระบาดวิทยา (FETP) กระทรวงสาธารณสุขไทย ร่วมกับองค์การอนามัยโลก และ CDC สหรัฐอเมริกา 2554- ปัจจุบัน นายแพทย์เชี่ยวชาญ หัวหน้ากลุ่มสอบสวน ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน และประสานกฎอนามัยระหว่างประเทศ ส�ำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ผู้เชี่ยวชาญ/ที่ปรึกษา/วิทยากร (บางส่วน) 1. Siriarayapon P, Yanai H, Glynn JR, Yanpaisarn S, Uthaivoravit W. The Evolving Epidemiology of HIV infection and Tuberculosis in Northern Thailand. JAIDS. 2002;31(1):80-9. 2. Lee NE, Siriarayapon P, Tappero J, et al. SARS Mobile Response Team Investigators. Infection control practices for SARS in Lao People’s Democratic Republic, Taiwan, and Thailand: experience from mobile SARS containment teams, 2003. Am J Infect Control. 2004;32(7):377-83. 3. Tin Tin A, Siriarayapon P. Typhoid fever outbreak in Mayada Township, Mandalay Division, Myanmar, September 2000. J Med Assoc Thai. 2004;87(4):395-9. 4. Kongkaew W, Siriarayaporn P, Leelayoova S, et al. Autochthonous visceral leishmaniasis: a report of a second case in Thailand. Southeast Asian J Trop Med Public Health. 2007;38(1):8-12. 5. Sreng B1, Touch S, Sovann L, Heng S, Rathmony H, Huch C, Chea N, Kosal S, Siriarayaporn P, Pathanapornpandh N, Rehmet S, Cavailler P, Vong S, Bushy P. A description of influenza-like illness (ILI) sentinel surveillance in Cambodia, 2006-2008. Southeast Asian J Trop Med Public Health. 2010;41(1):97-104. 6. ดิเรกสุดแดน,วราลักษณ์ตังคณะกุล,มนูศิลป์ศิริมาตย์,นิคมสุนทร,ไพบูลย์ทนันไชย,สลักจิตชุติวิเวกพงษ์,มุทิตะชลามาตย์, พจมาน ศิริอารยาภรณ์. ปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นโรคฉี่หนูหลังจากอุทกภัยครั้งใหญ่จังหวัด น่าน, เดือนสิงหาคม - กันยายน พ.ศ. 2549. รายงานเฝ้าระวังประจ�ำสัปดาห์; 39: 161-165 .
  • 13. xi 7. พจมาน ศิริอารยาภรณ์. ระบาดวิทยาของโรคมะเร็งตับในอ�ำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน. รายงานเฝ้าระวังประจ�ำสัปดาห์; 37: S48-S52 8. พจมาน ศิริอารยาภรณ์. พิษจากแมงกะพรุน การรักษาเบื้องต้นและการป้องกัน (Jellyfish Envenoming: Overview and Management). ใน: พิษจากสัตว์และพืช Animal and Plant Toxins บรรณาธิการ สุชัย สุเทพารักษ์, นฤมล พักมณี, วิศิษฎ์ สิตปรีชา, กรุงเทพฯ: สภากาชาดไทย; 2552. ISBN: 978-616-7287-04-1 9. พจมาน ศิริอารยาภรณ์ เบญจวรรณ ระลึก อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์ สมจิต บุญชัยยะ สมคิด คงอยู่. การศึกษาประสิทธิผล ของวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ ในประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปที่มีโรคเรื้อรัง พ.ศ. 2551-2552. รายงานเฝ้าระวังประจ�ำสัปดาห์ 2556;44: S64-77. 10. พจมาน ศิริอารยาภรณ์,ลักขณา ไทยเครือ. การสอบสวนทางระบาดวิทยา. ใน: พื้นฐานระบาด บรรณาธิการ ค�ำนวณ อึ้งชูศักดิ์, กรุงเทพ: โรงพิมพ์แคนนา กราฟฟิค; 2557 ISBN 978-616-91574-1-0. 11. Thaikruea L, Siriariyaporn P, Wutthanarungsanm R, Smithsuwan P. Toxic jellyfish situation in Thailand. Chiang Mai Medical Journal 2012; 51(4):93-102. 12. Thaikruea L, Siriariyaporn P, Wutthanarungsanm R, Smithsuwan P. Review of fatal and severe cases of box jellyfish envenomation in Thailand. Asia-Pacific Journal of Public Health June 2012 (online first). Available at: http://aph.sagepub. com/content/early/2012/05/31/1010539512448210.full.pdf+html
  • 14. xii สารบัญ หน้า บทที่ 1 แมงกะพรุน 1 ชนิดของแมงกะพรุน อันตรายจากแมงกะพรุนพิษ แมงกะพรุนกล่อง (Box jellyfish) แมงกะพรุนหัวขวด (Portuguese man-of-war) แมงกะพรุนพิษชนิดอื่นที่พบได้ในประเทศไทย การศึกษาแมงกะพรุนในประเทศไทย บทที่ 2 สถานการณ์การบาดเจ็บและเสียชีวิตในประเทศไทย 23 สถานการณ์การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากแมงกะพรุนพิษ สถานการณ์การบาดเจ็บรุนแรงและเสียชีวิตในประเทศไทยที่สงสัยหรือเข้าข่ายว่าเกิดจาก แมงกะพรุนกล่อง สถานการณ์การบาดเจ็บรุนแรงและเสียชีวิตที่เข้าข่ายว่าเกิดจากแมงกะพรุนหัวขวด บทที่ 3 การวินิจฉัยและการรักษา 43 การวินิจฉัยการบาดเจ็บจากแมงกะพรุนกล่อง การวินิจฉัยการบาดเจ็บจากแมงกะพรุนหัวขวด การรักษาพยาบาลเบื้องต้นส�ำหรับผู้ที่สัมผัสแมงกะพรุนกล่องและแมงกะพรุนหัวขวด ขั้นตอนการปฐมพยาบาลผู้ที่สงสัยถูกแมงกะพรุนพิษ การรักษาในโรงพยาบาลส�ำหรับผู้ที่สัมผัสแมงกะพรุนกล่อง บทที่ 4 การป้องกันและเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากแมงกะพรุนกล่องและแมงกะพรุนหัวขวด 65 แนวทางการด�ำเนินงานในการป้องกันการบาดเจ็บจากแมงกะพรุนกล่องและแมงกะพรุนหัวขวด แนวทางการเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากพิษของแมงกะพรุนกล่องและแมงกะพรุนหัวขวด
  • 15. xiii สารบัญ (ต่อ) หน้า ภาคผนวก 83 ก. ขั้นตอนการปฐมพยาบาลผู้ที่สงสัยถูกแมงกะพรุนพิษ (ภาษาอังกฤษ) ข. ตัวอย่างโปสเตอร์แนวทางการวินิจฉัยการบาดเจ็บจากแมงกะพรุนพิษแบบง่าย ค. ตัวอย่างเนื้อหาการท�ำป้ายส�ำหรับเสาพยาบาลน�้ำส้มสายชู (ภาษาอังกฤษ) ง. เวปไซต์ที่เกี่ยวข้อง จ. เครือข่ายการแจ้งข่าวในหน่วยงานของกระทรวงสาธารณสุขในจุดเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ (Sentinel surveillance) ฉ. เครือข่ายการแจ้งข่าวของศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ช. รายนามผู้เชี่ยวชาญและผู้ประสานงานเรื่องแมงกะพรุนพิษ ดรรชนี 91
  • 16.
  • 17. 1 ชนิดของแมงกะพรุน แมงกะพรุนจัดอยูในประเภทสัตวไมมีกระดูกสันหลัง Phylum Cnidaria หรือ Coelenterata แบง ไดเปน 4 class คือ(1, 2) 1. Scyphozoa หรือ true jellyfish เปนแมงกะพรุนชนิดที่พบไดบอยที่สุด เชน แมงกะพรุนไฟ และแมงกะพรุนที่นํามารับประทาน 2. Cubozoa ซึ่งแบงออกเปน order Chirodropidae เปนกลุมที่มีหนวดหลายเสนออกมาจากแต ละมุม เชน Chironex fleckeri (ที่นิยมเรียกวา box jellyfish) เปนชนิดที่มีพิษรายแรงที่สุด และ Chiropsalmus species อีก order คือ Carybdeida ซึ่งเปนกลุมที่มีหนวดเพียงเสน เดียวออกมาจากแตละมุม เชน Carukia barnesi และ Morbakka fenneri 3. Hydrozoa มี subclass Siphonophora เชน Physalia physalis และ Physalia utriculus (ที่นิยมเรียกวา Portuguese man-of-war ชนิดสายเดียวและหลายสาย) ซึ่งเปนตัวที่ทําให เสียชีวิตไดเชนกันแตพบนอยกวา และพิษไมรุนแรงเทากลุม Cubozoa 4. Anthozoa เชน ดอกไมทะเล (sea anemones) และ ปะการัง (corals) บทที่ 1 แมงกะพรุน 1 บทที่ 1 แมงกะพรุน ชนิดของแมงกะพรุน แมงกะพรุนจัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง Phylum Cnidaria หรือ Coelenterata แบ่งได้เป็น 4 class คือ(1, 2) 1. Scyphozoaหรือtruejellyfish เป็นแมงกะพรุนชนิดที่พบได้บ่อยที่สุดเช่นแมงกะพรุนไฟและแมงกะพรุน ที่น�ำมารับประทาน 2. Cubozoa ซึ่งแบ่งออกเป็น order Chirodropidae เป็นกลุ่มที่มีหนวดหลายเส้นออกมาจากแต่ละมุม เช่น Chironex fleckeri (ที่นิยมเรียกว่า box jellyfish) เป็นชนิดที่มีพิษร้ายแรงที่สุด และ Chiropsalmus species อีก order คือ Carybdeida ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีหนวดเพียงเส้นเดียวออกมาจากแต่ละมุม เช่น Carukia barnesi และ Morbakka fenneri 3. Hydrozoa มี subclass Siphonophora เช่น Physalia physalis และ Physalia utriculus (ที่นิยมเรียกว่า Portuguese man-of-war ชนิดสายเดียวและหลายสาย) ซึ่งเป็นตัวที่ท�ำให้เสียชีวิตได้เช่นกันแต่พบ น้อยกว่า และพิษไม่รุนแรงเท่ากลุ่ม Cubozoa 4. Anthozoa เช่น ดอกไม้ทะเล (sea anemones) และ ปะการัง (corals)
  • 18. 1 ชนิดของแมงกะพรุน แมงกะพรุนจัดอยูในประเภทสัตวไมมีกระดูกสันหลังPhylumCnidariaหรือCoelenterataแบง ไดเปน4classคือ(1,2) 1.Scyphozoaหรือtruejellyfishเปนแมงกะพรุนชนิดที่พบไดบอยที่สุดเชนแมงกะพรุนไฟ และแมงกะพรุนที่นํามารับประทาน 2.Cubozoaซึ่งแบงออกเปนorderChirodropidaeเปนกลุมที่มีหนวดหลายเสนออกมาจากแต ละมุมเชนChironexfleckeri(ที่นิยมเรียกวาboxjellyfish)เปนชนิดที่มีพิษรายแรงที่สุด และChiropsalmusspeciesอีกorderคือCarybdeidaซึ่งเปนกลุมที่มีหนวดเพียงเสน เดียวออกมาจากแตละมุมเชนCarukiabarnesiและMorbakkafenneri 3.HydrozoaมีsubclassSiphonophoraเชนPhysaliaphysalisและPhysaliautriculus (ที่นิยมเรียกวาPortugueseman-of-warชนิดสายเดียวและหลายสาย)ซึ่งเปนตัวที่ทําให เสียชีวิตไดเชนกันแตพบนอยกวาและพิษไมรุนแรงเทากลุมCubozoa 4.Anthozoaเชนดอกไมทะเล(seaanemones)และปะการัง(corals) บทที่1แมงกะพรุน 2 รูปที่ 1 แมงกะพรุนชนิดต่าง ๆ (ที่มา: รูปบนซ้าย: http://en.wikipedia.org/wiki/Jellyfish รูปบนขวา: http://animal- unique.blogspot.ca/2011/09/sea-wasp-or-box-jellyfish.html รูปล่างซ้าย: สถานภาพทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่งพ.ศ.2550–2554รูปล่างกลาง:O.S.F./AnimalsAnimals-Earth2Scenes(http://animals.nationalgeographic. com/animals/invertebrates/portuguese-man-of-war/) รูปล่างขวา:http://www.valdosta.edu/~jlgoble/topic.html) อันตรายจากแมงกะพรุนพิษ แมงกะพรุนสามารถพบได้ในทะเลทั่วโลกส่วนใหญ่พบในทะเลเขตร้อนหรืออบอุ่นมีส่วนน้อยพบได้บ้างใน น�้ำจืด สามารถแบ่งสายพันธุ์ได้มากกว่า 10,000 สายพันธุ์ทั่วโลก และพบว่ามีราว 100 สายพันธุ์ที่มีพิษต่อมนุษย์ โดยเฉพาะจากการสัมผัสถูกตัว ซึ่งจะมีอาการได้หลากหลาย ตั้งแต่รู้สึกคัน มีผื่นเล็กน้อย ไปจนถึงท�ำให้ระบบหัวใจ หรือระบบการหายใจล้มเหลวได้(3-5) ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบรายงานผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บจากแมงกะพรุนพิษราว 200,000 รายต่อปี บริเวณชายฝั่ง Florida ไปจนถึง 500,000 รายต่อปี ที่อ่าว Chesapeake(4) มีรายงานการระบาด แมงกะพรุนไฟ อยูในกลุม Scyphozoa Box jellyfish อยูในกลุม Cubozoa รูปที่ 1 แมงกะพรุนชนิดตางๆ (ที่มา: รูปบนซาย: http://en.wikipedia.org/wiki/Jellyfish รูปบนขวา: http://animal-unique.blogspot.ca/2011/09/sea-wasp-or-box-jellyfish.html รูปลางซาย: สถานภาพ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง พ.ศ. 2550 – 2554 รูปลางกลาง: O.S.F./Animals Animals-Earth2 Scenes (http://animals.nationalgeographic.com/animals/invertebrates/portuguese-man-of-war/) รูปลางขวา: http://www.valdosta.edu/~jlgoble/topic.html) อันตรายจากแมงกะพรุนพิษ แมงกะพรุนสามารถพบไดในทะเลทั่วโลก สวนใหญพบในทะเลเขตรอนหรืออบอุน มีสวนนอย พบไดบางในน้ําจืด สามารถแบงสายพันธุไดมากกวา 10,000 สายพันธุทั่วโลก และพบวามีราว 100 สายพันธุที่มีพิษตอมนุษย โดยเฉพาะจากการสัมผัสถูกตัว ซึ่งจะมีอาการไดหลากหลาย ตั้งแตรูสึกคัน มีผื่นเล็กนอย ไปจนถึงทําใหระบบหัวใจหรือระบบการหายใจลมเหลวได(3-5) ในประเทศสหรัฐอเมริกา พบรายงานผูปวยไดรับบาดเจ็บจากแมงกะพรุนพิษราว 200,000 รายตอป บริเวณชายฝง Florida ไป จนถึง 500,000 รายตอป ที่อาว Chesapeake(4) มีรายงานการระบาดที่มีผูบาดเจ็บจํานวนมากกวา 800 ราย ภายใน 2 วัน ของเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 เกิดขึ้นที่ ชายหาด Waikiki รัฐฮาวาย(5) แค Portuguese man-of-war ชนิดหลายสาย และ ชนิดสายเดียว อยูในกลุม Hydrozoa Sea anemones อยูในกลุม Anthozoa แมงกะพรุนไฟ อยูในกลุม Scyphozoa Box jellyfish อยูในกลุม Cubozoa รูปที่ 1 แมงกะพรุนชนิดตางๆ (ที่มา: รูปบนซาย: http://en.wikipedia.org/wiki/Jellyfish รูปบนขวา: http://animal-unique.blogspot.ca/2011/09/sea-wasp-or-box-jellyfish.html รูปลางซาย: สถานภาพ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง พ.ศ. 2550 – 2554 รูปลางกลาง: O.S.F./Animals Animals-Earth2 Scenes (http://animals.nationalgeographic.com/animals/invertebrates/portuguese-man-of-war/) รูปลางขวา: http://www.valdosta.edu/~jlgoble/topic.html) อันตรายจากแมงกะพรุนพิษ แมงกะพรุนสามารถพบไดในทะเลทั่วโลก สวนใหญพบในทะเลเขตรอนหรืออบอุน มีสวนนอย พบไดบางในน้ําจืด สามารถแบงสายพันธุไดมากกวา 10,000 สายพันธุทั่วโลก และพบวามีราว 100 สายพันธุที่มีพิษตอมนุษย โดยเฉพาะจากการสัมผัสถูกตัว ซึ่งจะมีอาการไดหลากหลาย ตั้งแตรูสึกคัน มีผื่นเล็กนอย ไปจนถึงทําใหระบบหัวใจหรือระบบการหายใจลมเหลวได(3-5) ในประเทศสหรัฐอเมริกา พบรายงานผูปวยไดรับบาดเจ็บจากแมงกะพรุนพิษราว 200,000 รายตอป บริเวณชายฝง Florida ไป จนถึง 500,000 รายตอป ที่อาว Chesapeake(4) มีรายงานการระบาดที่มีผูบาดเจ็บจํานวนมากกวา 800 ราย ภายใน 2 วัน ของเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 เกิดขึ้นที่ ชายหาด Waikiki รัฐฮาวาย(5) แค Portuguese man-of-war ชนิดหลายสาย และ ชนิดสายเดียว อยูในกลุม Hydrozoa Sea anemones อยูในกลุม Anthozoa แมงกะพรุนไฟ อยู่ในกลุ่ม Scyphozoa Box jellyfish อยู่ในกลุ่ม Cubozoa Portuguese man-of-war ชนิดหลายสาย และ ชนิดสายเดียว อยู่ในกลุ่ม Hydrozoa Sea anemones อยู่ในกลุ่ม Anthozoa
  • 19. 1 ชนิดของแมงกะพรุน แมงกะพรุนจัดอยูในประเภทสัตวไมมีกระดูกสันหลัง Phylum Cnidaria หรือ Coelenterata แบง ไดเปน 4 class คือ(1, 2) 1. Scyphozoa หรือ true jellyfish เปนแมงกะพรุนชนิดที่พบไดบอยที่สุด เชน แมงกะพรุนไฟ และแมงกะพรุนที่นํามารับประทาน 2. Cubozoa ซึ่งแบงออกเปน order Chirodropidae เปนกลุมที่มีหนวดหลายเสนออกมาจากแต ละมุม เชน Chironex fleckeri (ที่นิยมเรียกวา box jellyfish) เปนชนิดที่มีพิษรายแรงที่สุด และ Chiropsalmus species อีก order คือ Carybdeida ซึ่งเปนกลุมที่มีหนวดเพียงเสน เดียวออกมาจากแตละมุม เชน Carukia barnesi และ Morbakka fenneri 3. Hydrozoa มี subclass Siphonophora เชน Physalia physalis และ Physalia utriculus (ที่นิยมเรียกวา Portuguese man-of-war ชนิดสายเดียวและหลายสาย) ซึ่งเปนตัวที่ทําให เสียชีวิตไดเชนกันแตพบนอยกวา และพิษไมรุนแรงเทากลุม Cubozoa 4. Anthozoa เชน ดอกไมทะเล (sea anemones) และ ปะการัง (corals) บทที่ 1 แมงกะพรุน 3 ที่มีผู้บาดเจ็บจ�ำนวนมากกว่า 800 ราย ภายใน 2 วัน ของเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 เกิดขึ้นที่ ชายหาด Waikiki รัฐฮาวาย(5) แค่เฉพาะแถบอินโดแปซิฟิกก็มีรายงานการเสียชีวิตจากแมงกะพรุนกล่องอย่างน้อย67ราย(6,7) ในแถบ ตะวันตกของประเทศออสเตรเลียพบ อัตราผู้บาดเจ็บรุนแรงจาก Irukandji syndrome 3.3 รายต่อ 1,000 ประชากร ต่อปี ระหว่างปี พ.ศ. 2544 - 2546(4, 8, 9) ส่วนในรัฐควีนสแลนด์ ประเทศออสเตรเลีย พบผู้บาดเจ็บจากแมงกะพรุน พิษมากกว่า 10,000 รายต่อปี(10) และพบว่าทั่วโลกมีคนเสียชีวิตจากแมงกะพรุนพิษมากกว่า 100 ราย(11, 12) แมงกะพรุนมีลักษณะล�ำตัวใสและนิ่ม มีโพรงท�ำหน้าที่เป็นทางเดินอาหาร มีกะเปาะบรรจุ เข็มพิษ (nematocyst) ส�ำหรับป้องกันตัวและจับเหยื่อกระจายอยู่ทุกส่วนของร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณหนวด (tentacle) ทั้งนี้ หนวดของแมงกะพรุนพิษที่ตายแล้วหรือแม้แต่หนวดที่หลุดออกมาก็ยังสามารถปล่อยพิษให้กับผู้ที่สัมผัสได้ แมงกะพรุนพิษที่มีรายงานว่าท�ำให้เสียชีวิตได้บ่อยที่สุดคือ แมงกะพรุนกล่อง (Box jellyfish) ซึ่งพบได้หลายประเทศ ในเขตร้อนเช่นทางตอนเหนือของประเทศออสเตรเลียซึ่งมีรายงานการเสียชีวิตมากกว่า60รายประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศญี่ปุ่น เกาะบอร์เนียว เป็นต้น นอกจากนี้ยังมี Portuguese man-of-war ซึ่งมีรายงานการเสียชีวิตประมาณ 3 รายจากประเทศอเมริกา และ Stomolophus nomurai มีรายงานการเสียชีวิตมากกว่า 5 รายในประเทศจีน(12) ก่อนปี พ.ศ. 2545 ที่มีรายงานการเสียชีวิตจากแมงกะพรุนในนักท่องเที่ยว 2 ราย ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ยังไม่มีการรายงานอย่างเป็นทางการว่ามีแมงกะพรุนกล่องในประเทศไทย แต่จากการสอบสวนโรคในเหตุการณ์ ที่นักท่องเที่ยวเสียชีวิต 2 รายดังกล่าว โดยส�ำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข(13) พบว่าชาวประมงในพื้นที่ ใกล้เคียงกับการเสียชีวิตรู้จักแมงกะพรุนชนิดนี้อยู่แล้ว แต่เนื่องจากเป็นแมงกะพรุนที่พบไม่บ่อย ร่วมกับชาวประมง หลีกเลี่ยงที่จะสัมผัสจึงไม่ค่อยมีการเสียชีวิตในกลุ่มชาวประมง แมงกะพรุนกล่อง (Box jellyfish) แมงกะพรุนกล่องเป็นแมงกะพรุนชนิดที่สามารถเคลื่อนที่ได้ด้วยตัวเองต่างจากแมงกะพรุนชนิดอื่นที่ลอยไป ตามกระแสน�้ำ นอกจากนี้ แมงกะพรุนกล่องยังจัดเป็นสัตว์ทะเลที่มีพิษร้ายแรงที่สุดในโลก โดยมีรายงานว่า แมงกะพรุนกล่องชนิด Chironex fleckeri ซึ่งพบในประเทศออสเตรเลีย เป็นชนิดที่ท�ำให้เกิดการเสียชีวิตได้บ่อย ส่วนประกอบของพิษที่ท�ำให้ตายเป็นโปรตีน(14,15) เมื่อเอาส่วนที่สกัดได้จากกะเปาะพิษไปทดลองในสัตว์พบ ว่าท�ำให้หัวใจไม่คลายตัวออกและหยุดเต้นในท่าบีบตัว(16) มีผลให้หยุดหายใจในที่สุด ก่อนที่จะเสียชีวิต ทั้งนี้ อาจเกิดจากพิษเดียวมีฤทธิ์หลายอย่างหรือมีพิษหลายชนิดออกฤทธิ์ร่วมกัน(17,18) ต่อมามีการค้นพบ myotoxin ซึ่งท�ำให้กล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อเรียบ และกล้ามเนื้อหัวใจบีบตัว นอกจากนี้ยังพบ haemolysin และ neurotoxin(2, 11, 19-27)
  • 20. 1 ชนิดของแมงกะพรุน แมงกะพรุนจัดอยูในประเภทสัตวไมมีกระดูกสันหลังPhylumCnidariaหรือCoelenterataแบง ไดเปน4classคือ(1,2) 1.Scyphozoaหรือtruejellyfishเปนแมงกะพรุนชนิดที่พบไดบอยที่สุดเชนแมงกะพรุนไฟ และแมงกะพรุนที่นํามารับประทาน 2.Cubozoaซึ่งแบงออกเปนorderChirodropidaeเปนกลุมที่มีหนวดหลายเสนออกมาจากแต ละมุมเชนChironexfleckeri(ที่นิยมเรียกวาboxjellyfish)เปนชนิดที่มีพิษรายแรงที่สุด และChiropsalmusspeciesอีกorderคือCarybdeidaซึ่งเปนกลุมที่มีหนวดเพียงเสน เดียวออกมาจากแตละมุมเชนCarukiabarnesiและMorbakkafenneri 3.HydrozoaมีsubclassSiphonophoraเชนPhysaliaphysalisและPhysaliautriculus (ที่นิยมเรียกวาPortugueseman-of-warชนิดสายเดียวและหลายสาย)ซึ่งเปนตัวที่ทําให เสียชีวิตไดเชนกันแตพบนอยกวาและพิษไมรุนแรงเทากลุมCubozoa 4.Anthozoaเชนดอกไมทะเล(seaanemones)และปะการัง(corals) บทที่1แมงกะพรุน 4 การที่พิษออกฤทธิ์อย่างรวดเร็วนั้น ส่วนหนึ่งอาจเนื่องจากการเข้าทางกระแสเลือด(28) ท�ำให้ตายได้ในไม่กี่นาที หรือเป็นวินาทีในรายที่สาหัสมาก(29) สันนิษฐานการเสียชีวิตว่าน่าจะเกิดจากผลของพิษต่อระบบทางเดินหายใจ กับระบบหัวใจและหลอดเลือด(27, 29-31) ซึ่งพิษมีความเข้มข้นมากกว่าพิษงูเห่า (median lethal dose: LD50)(14, 15) แมงกะพรุนกล่องมีลักษณะรูปร่างคล้ายระฆังหรือกล่องสี่เหลี่ยม มีขนาดแตกต่างกัน โดยที่ขนาด ของล�ำตัวแต่ละด้านสามารถกว้างได้ถึง 20 เซนติเมตร แต่ละมุมของรูปสี่เหลี่ยมจะมีลักษณะคล้ายขายื่นออกมา แล้วแยกเป็นสายหนวด โดยที่แต่ละขาอาจมีหนวดได้ถึง 15 เส้น และหนวดแต่ละเส้นยาวได้ถึง 3 เมตร ลักษณะ โดยทั่วไปจะมีสีน�้ำเงินจาง ๆ หรือไม่มีสี และมีลักษณะใส ตามประสบการณ์ผู้เขียนพบว่าสังเกตเห็นได้ยาก แม้แต่ในน�้ำทะเลที่ค่อนข้างจะใสมาก แมงกะพรุนกล่องบางชนิดไม่มีอันตรายต่อมนุษย์ บางชนิดเพียงแต่ ท�ำให้เกิดอาการเจ็บ ๆ คัน ๆ เพียงเล็กน้อย แต่มีบางชนิดที่สามารถท�ำอันตรายถึงชีวิตได้ในเวลาอันรวดเร็ว แมงกะพรุนกล่อง แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. ชนิดที่มีหนวดหลายเส้น (Multi-tentacle box jellyfish) แมงกะพรุนกล่องชนิดนี้จะมีหนวดหลายเส้นในแต่ละมุมส�ำหรับประเทศไทยมีรายงานการพบแมงกะพรุน ชนิดนี้ 2 สายพันธุ์ โดยสายพันธุ์หนึ่งจะมีหนวดเป็นแถวออกไปเพียงมิติเดียว หรือ คล้ายเส้นผมที่หวีลงมา ส่วนอีก สายพันธุ์หนึ่งจะตัวใหญ่กว่าและมีหนวดออกไปได้ใน 3 มิติ หรือลักษณะแยกเป็นแฉกออกไปก่อนที่จะย้อยลงมา ตัวอย่างของแมงกะพรุนชนิดนี้ ได้แก่ Chiroplasmus quadrigatus พบได้ในประเทศฟิลิปปินส์ และ Chironex fleckeri ซึ่งพบได้ในประเทศออสเตรเลียและถือเป็นสัตว์ที่เป็นอันตรายมากที่สุดชนิดหนึ่งในโลก โดยสามารถท�ำให้เสียชีวิตได้ภายใน 2 ถึง 10 นาที ถ้าได้รับพิษจ�ำนวนมาก ตัวเต็มวัยนั้นมีความยาวของหนวด ทุกเส้นรวมกันยาวได้ถึง 180 เมตร ทั้งนี้หนวดที่มีความยาวเพียง 3 ถึง 5 เมตร สามารถท�ำให้ผู้ใหญ่เสียชีวิตได้ ส�ำหรับเด็กอาจเสียชีวิตได้เพียงแค่สัมผัสโดนหนวดที่มีความยาวเพียง1.2เมตรโดยที่เด็กจะมีโอกาสเสียชีวิตมากกว่า ผู้ใหญ่ในกรณีที่สัมผัสกับหนวดแมงกะพรุนในปริมาณที่เท่ากันดังนั้นการป้องกันไม่ให้แมงกะพรุนสัมผัสกับร่างกาย จึงเป็นสิ่งส�ำคัญมากข้อมูลจากต่างประเทศพบว่าแมงกะพรุนชนิดนี้สามารถพบได้ในทะเลเขตร้อนทั่วโลกและพบได้ ในทุกฤดู แต่มักพบบ่อยในช่วงเดือนที่อากาศค่อนข้างร้อน มักพบบริเวณชายฝั่งทะเลน�้ำตื้น โดยเฉพาะบริเวณ หาดทรายใกล้ป่าชายเลนและปากแม่น�้ำ ในบริเวณอ่าวที่เป็นพื้นที่ก�ำบังลม หรือเกาะที่อยู่ไม่ไกลจากแผ่นดินใหญ่ บริเวณที่พื้นทะเลเป็นทราย ไม่มีแนวปะการังหรือแนวหิน โดยจะอยู่บริเวณน�้ำตื้นระดับเอวหรือระดับเข่า ใกล้กับพื้นน�้ำ และพบได้บ่อยในวันที่อากาศดี คลื่นลมสงบ โดยแมงกะพรุนชนิดนี้มักออกมากินลูกกุ้งและลูกปลา ซึ่งอยู่ในบริเวณนั้น(32)
  • 21. 1 ชนิดของแมงกะพรุน แมงกะพรุนจัดอยูในประเภทสัตวไมมีกระดูกสันหลัง Phylum Cnidaria หรือ Coelenterata แบง ไดเปน 4 class คือ(1, 2) 1. Scyphozoa หรือ true jellyfish เปนแมงกะพรุนชนิดที่พบไดบอยที่สุด เชน แมงกะพรุนไฟ และแมงกะพรุนที่นํามารับประทาน 2. Cubozoa ซึ่งแบงออกเปน order Chirodropidae เปนกลุมที่มีหนวดหลายเสนออกมาจากแต ละมุม เชน Chironex fleckeri (ที่นิยมเรียกวา box jellyfish) เปนชนิดที่มีพิษรายแรงที่สุด และ Chiropsalmus species อีก order คือ Carybdeida ซึ่งเปนกลุมที่มีหนวดเพียงเสน เดียวออกมาจากแตละมุม เชน Carukia barnesi และ Morbakka fenneri 3. Hydrozoa มี subclass Siphonophora เชน Physalia physalis และ Physalia utriculus (ที่นิยมเรียกวา Portuguese man-of-war ชนิดสายเดียวและหลายสาย) ซึ่งเปนตัวที่ทําให เสียชีวิตไดเชนกันแตพบนอยกวา และพิษไมรุนแรงเทากลุม Cubozoa 4. Anthozoa เชน ดอกไมทะเล (sea anemones) และ ปะการัง (corals) บทที่ 1 แมงกะพรุน 5 จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่ลงพื้นที่เก็บข้อมูลตั้งแต่ พ.ศ. 2550 ข้อมูลสอบสวนผู้บาดเจ็บประกอบ กับการทบทวนข้อมูลผู้บาดเจ็บและผู้เสียชีวิตที่สงสัยหรือเข้าข่ายว่าถูกแมงกะพรุนกล่องตั้งแต่ พ.ศ. 2545 พบว่า เกิดเหตุบ่อยในวันที่อากาศดีคลื่นลมสงบหรือบางครั้งเกิดหลังฝนตกแถวชายหาดระดับน�้ำตื้นๆทั้งนี้แถบเกาะหมาก เกาะกูด จ.ตราด จะพบช่วงปลายฝนต้นหนาว ตัวอย่างอิทธิพลของคลื่นลมคือที่เกาะหมากซึ่งพบแมงกะพรุนกล่อง ทางซีกหนึ่งของเกาะที่คลื่นลมสงบ เมื่อมีคลื่นลมแรง ในวันต่อมากลับไม่พบในที่เดิมแต่ย้ายไปพบอีกซีกหนึ่ง ของเกาะที่คลื่นลมสงบแทน 5 จากประสบการณของผูเขียนที่ลงพื้นที่เก็บขอมูลตั้งแต พ.ศ. 2550 ขอมูลสอบสวนผูบาดเจ็บ ประกอบกับการทบทวนขอมูลผูบาดเจ็บและผูเสียชีวิตที่สงสัยหรือเขาขายวาถูกแมงกะพรุนกลองตั้งแต พ.ศ. 2545 พบวา เกิดเหตุบอยในวันที่อากาศดี คลื่นลมสงบ หรือบางครั้งเกิดหลังฝนตก แถวชายหาด ระดับน้ําตื้น ๆ ทั้งนี้ แถบเกาะหมาก เกาะกูด จ.ตราด จะพบชวงปลายฝนตนหนาว ตัวอยางอิทธิพลของ คลื่นลมคือที่เกาะหมากซึ่งพบแมงกะพรุนกลองทางซีกหนึ่งของเกาะที่คลื่นลมสงบ เมื่อมีคลื่นลมแรง ในวันตอมากลับไมพบในที่เดิมแตยายไปพบอีกซีกหนึ่งของเกาะที่คลื่นลมสงบแทน รูปที่ 2 แมงกะพรุนกลองชนิด Chironex fleckeri ที่พบในประเทศ ออสเตรเลีย (ที่มา: http://www.barrierreefaustralia.com/the- great-barrier-reef/jellyfish.htm) รูปที่ 3 แมงกะพรุนกลองชนิด Chironex พบบริเวณ เกาะสมุย (ที่มา: ศักดิ์อนันท ปลาทอง) อาการของผูถูกพิษมักจะเกิดจากสารพิษมากกวาที่จะเปนจากการแพ โดยมีอาการเดนคือ การ เจ็บปวดในบริเวณที่ถูกสัมผัสอยางรุนแรงทันทีทันใด และจะมีรอยไหมในบริเวณดังกลาว อาการปวดนี้ จะหายไปภายใน 1 ถึง 12 ชั่วโมง ในกรณีที่สัมผัสพิษจํานวนมาก อาจมีอาการสับสนหรือหมด ความรูสึกกอนที่จะเขาสูโคมาและเสียชีวิต การเสียชีวิตมักเกิดภายใน 2 ถึง 10 นาทีแรก โดยมีสาเหตุ จากหัวใจลมเหลว หรือระบบหายใจลมเหลว แมงกะพรุนกลองชนิดนี้มีพิษที่รายแรงตอ 3 ระบบ คือ cardiotoxin ทําใหหัวใจเตนผิดจังหวะหรือหยุดเตนได neurotoxin ทําใหเกิดอาการปวดอยางมากตรง บริเวณที่สัมผัสสายหนวดแมงกะพรุน ซึ่งจากประสบการณการสอบสวนโรคในประเทศไทย พบวา ผูบาดเจ็บมีอาการหายใจลําบาก หรือหายใจเร็วขึ้นดวย และ dermatonecrotic toxin ซึ่งทําใหเกิด รอยไหมบริเวณที่สัมผัสหนวดของแมงกะพรุน ในรายที่อาการรุนแรงอาจทําใหผิวหนังตายในบริเวณที่ สัมผัสหนวดแมงกะพรุน(11, 33-35) อาการของผู้ถูกพิษมักจะเกิดจากสารพิษมากกว่าที่จะเป็นจากการแพ้ โดยมีอาการเด่นคือ การเจ็บปวด ในบริเวณที่ถูกสัมผัสอย่างรุนแรงทันทีทันใด และจะมีรอยไหม้ในบริเวณดังกล่าว อาการปวดนี้จะหายไปภายใน 1 ถึง 12 ชั่วโมง ในกรณีที่สัมผัสพิษจ�ำนวนมาก อาจมีอาการสับสนหรือหมดความรู้สึกก่อนที่จะเข้าสู่โคม่าและ เสียชีวิต การเสียชีวิตมักเกิดภายใน 2 ถึง 10 นาทีแรก โดยมีสาเหตุจากหัวใจล้มเหลว หรือระบบหายใจล้มเหลว แมงกะพรุนกล่องชนิดนี้มีพิษที่ร้ายแรงต่อ 3 ระบบ คือ cardiotoxin ท�ำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะหรือหยุดเต้นได้ neurotoxin ท�ำให้เกิดอาการปวดอย่างมากตรงบริเวณที่สัมผัสสายหนวดแมงกะพรุน ซึ่งจากประสบการณ์ การสอบสวนโรคในประเทศไทยพบว่าผู้บาดเจ็บมีอาการหายใจล�ำบากหรือหายใจเร็วขึ้นด้วยและdermatonecrotic toxin ซึ่งท�ำให้เกิด รอยไหม้บริเวณที่สัมผัสหนวดของแมงกะพรุน ในรายที่อาการรุนแรงอาจท�ำให้ผิวหนังตาย ในบริเวณที่สัมผัสหนวดแมงกะพรุน(11, 33-35)