SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 17
Baixar para ler offline
2

Inhibitors of ReninAngiotensin System
ศุภนิมิต ทีฆชุณหเถียร พ.บ., วท.ด. (เภสัชวิทยา)

RENIN-ANGIOTENSIN
SYSTEM (RAS)

ของ glomerulus พบวาการเพิ่มการสงผาน
(flux) ของ NaCl เขาสู macula densa มีผล
ยับ ยั้งการหลั่ ง renin ในขณะที่ การลดการ
สงผานดังกลาวมีผลกระตุนการหลั่ง renin
อย างไรก็ ต าม ป จ จุ บั น เชื่ อ ว า การควบคุ ม
การทํางานของกลไกนี้ นาจะขึ้นอยูกับความ
เข ม ข น ของ Cl- ที่ อ ยู ใน lumen ของท อ ไต
มากกวา Na+
2. Intrarenal Baroreceptor Pathway
พบว า การเพิ่ ม และลดความดั น
เลือดที่เขาสูไตและ preglomerular vessels
มีผลยับ ยั้งและกระตุน การหลั่ง renin ตาม
ลําดับ
3. Beta-Adrenergic Receptor Pathway
กลไกนี้ อ าศั ย norepinephrine ที่
ห ลั่ ง จ า ก post-ganglionic sympathetic
nerve terminals พบว า การกระตุ น beta1
receptors ที่ juxta-glomerular cells มี ผ ล
เพิ่มการหลั่ง renin

Renin เ ป น glycoprotein ที่ มี
amino acid 340 ตั ว มี juxtaglomerular
cells ที่ บุ ผ นั ง afferent arterioles ข อ ง
glomerulus ทําหนาที่สังเคราะห เก็บสะสม
และปลดปล อ ยเข าสู ระบบไหลเวีย นเลื อ ด
แดงของไต (และเขาสูระบบไหลเวียนเลือด
ของรางกายในที่สุด) renin มีคุณสมบัติเปน
enzyme ที่ ทํ าห น าที่ ตั ดพั น ธะระห ว า ง
amino acid ลํ า ดั บ ที่ 10 แ ล ะ 11 ข อ ง
angiotensinogen ซึ่งเปน alpha 2-globulin
ที่ สั ง เคราะห แ ละหลั่ ง จากตั บ มี ผ ลทํ า ให
angiotensinogen ซึ่ ง มี amino acid 342
ตั ว เปลี่ยนเป น angiotensin I ซึ่งมี amino
acid 10 ตั ว จ า ก นั้ น จ ะ มี ก า ร เป ลี่ ย น
angiotensin I ให เ ป น angiotensin II ซึ่ ง มี
amino acid 8 ตั ว โดยอาศั ย angiotensin
converting enzyme (ACE) (รู ป ที่ 1 แ ล ะ
2)

Negative Feedback Mechanism

เมื่ อมี ก ารหลั่ ง renin เพิ่ มขึ้น ไม ว า
จ ะ ด ว ย ก ล ไก ใด ก็ ต า ม ร า ง ก า ย จ ะ มี
negative feedback mechanism เพื่อยับยั้ง
การหลั่ ง renin กลไกดั ง กล า วแบ ง เป น 2
ประเภทดังนี้
1. Short-Loop Negative Feedback
Mechanism
หมายถึง กลไกปอนกลับที่เกิดขึ้น
เนื่ องจาก renin มี ผ ลทํ าให angiotensin II
เพิ่ ม ขึ้ น (รู ป ที่ 2) แ ล ะ angiotensin II
สาม ารถ ก ระตุ น angiotensin receptors

กลไกควบคุมการหลั่ง Renin

โดยปกติ ร า งกายมี ก ลไกควบคุ ม
การหลั่ ง renin จาก juxtaglomerular cells
ดังนี้
1. Macula Densa Pathway
Macula densa เป น ส ว นที่ อ ยู ชิ ด
กับ juxtaglomerular cells และประกอบขึ้น
จาก columnar epithelial cells ซึ่ ง บุ ผ นั ง
cortical thick ascending limb ที่ ผ า น
ระหว า ง afferent และ efferent arterioles
17
รูปที่ 1 การเปลี่ยน angiotensinogen ไปเปน angiotensin I โดยใช renin และการเปลี่ยน angiotensin I ไป
เป น angiotensin II โดยใช angiotensin converting enzyme (ACE) [ดั ด แปลงจาก Rang HP, Dale MM,
Ritter JM.6]

รูป ที่ 2 การทํ างานของ angiotensin converting enzyme (ACE) ที่ เกี่ ยวของกับ RAS และการเปลี่ย น
bradykinin ให เป น inactive metabolite โดยที่ แสดงตํ า แหน ง ของการยั บ ยั้ ง ACE ส ว น แสดง
ตําแหนงของการยับยั้ง angiotensin II receptor [คัดลอกจาก Benowitz NL..1]

ช นิ ด AT1 (ดู หั วข อ “ Angiotensin receptors ”
ประกอบ) ที่ juxtaglomerular cells เพื่ อ
ยับยั้งการหลั่ง renin ได
2. Long-Loop Negative Feedback
Mechanism
หมายถึง กลไกป อนกลับ ที่ เกิดขึ้น
เนื่ อ งจาก angiotensin II มี ผ ลทํ า ให ค วาม
ดันเลือดเพิ่มขึ้น (ดูรายละเอียดตอไป) การ

เพิ่ มความดันเลือดดังกลาวมีผลยับ ยั้งการ
หลั่ง renin ไดเนื่องจาก
2.1 มีการลดการดูดซึม NaCl จาก
ทอไตสวนตน ซึ่งเปนกลไกการขับปสสาวะ
ที่ สั ม พั น ธ กั บ ความดั น เลื อ ด (pressurenatriuresis) ผลดังกลาวทําใหมี NaCl ผาน
เขาสู macula densa ไดเพิ่มขึ้น

18
2.2 มี ก ารเพิ่ ม ความดั น เลื อ ดใน
preglomerular vessels
2.3 ความดั น เลื อ ดที่ เพิ่ ม ขึ้ น ทํ าให
baroreceptor reflex ของรางกายลดลง จึง
มี sympathetic tone ไปที่ไตลดลง

sin II จะไดอธิบายโดยละเอียดในหัวขอตอ
ไป

Tissue RAS

แ ต ดั้ งเดิ ม เชื่ อ ว า renin ที่ ป ล ด
ปล อ ยจากไตสู ก ระแสเลื อ ดมี ผ ลเปลี่ ย น
angiotensinogen ในเลือดที่สรางจากตับให
เป น angiotensin I จากนั้ น angiotensin I
ใน เลื อ ด ก็ จ ะถู ก ACE ใน เลื อ ด แ ล ะที่
endothelial cell ของปอดเปลี่ ย นให เ ป น
angiotensin II ต อ ม า angiotensin II จึ ง
ไหลเวียนตามกระแสเลือดเพื่อไปสูอวัยวะ
เป าหมาย แลวกอใหเกิดผลทางสรีรวิท ยา
ขึ้ น แต ป จ จุ บั น พบว า ร า งกายยั ง มี tissue
RAS ที่ ก อ ให เกิ ด ผลต อ เนื้ อ เยื่ อ ต า งๆ ได
โดยตรง ซึ่งสามารถแบ งออกเปน 2 ระบบ
ยอยดังนี้
1. Extrinsic, Tissue RAS
เนื่ อ งจากผนั ง หลอดเลื อ ดมี ค วาม
ส าม ารถ ใน ก ารเก็ บ กั ก (sequestered)
renin ในกระแสเลื อ ดไว ไ ด ประกอบกั บ มี
ACE ที่ อ ยู บ ริเวณผิ ว ด า นรูก ลวง (luminal
face) ของ endothelial cell ของหลอดเลือด
ทั่วรางกาย ทําใหบริเวณผนังหลอดเลือดนี้
เป น แหล ง ที่ ส ามารถเปลี่ ย น angiotensinogen ไปเป น angiotensin I และ II ได
ตามลําดับ จากนั้น angiotensin II จึงกอให
เกิดผลทางเภสัชวิทยาตอเนื้อเยื่อบริเวณนั้น
2. Intrinsic, Tissue RAS
พบวาสมอง, ตอมใตสมอง, หลอด
เลื อ ด, หั ว ใจ, ไต และต อ มหมวกไต เป น
เนื้ อ เยื่ อ ที่ มี gene expression และมี ก าร
สราง mRNA ของ renin, angiotensinogen
และ ACE ดังนั้นจึงเชื่อวานาจะมี RAS ใน
เนื้อเยื่อซึ่งเปนเอกเทศและไมเกี่ยวของกับ
ระบบฯ ที่ สัม พั น ธกั บ ไตและตั บ อยางไรก็
ตาม ปจจุบันยังไมสามารถบอกไดวาระบบ
นี้มีความสําคัญทางสรีรวิทยาเพียงใด เนื่อง
จากยังไมพบเซลลเดี่ยวในเนื้อเยื่อใดๆ ที่มี
สวนประกอบของ RAS ครบถวน

Angiotensin Converting
Enzyme (ACE)

เ มื่ อ renin เ ป ลี่ ย น angiotensinogen ให เ ป น angiotensin I แล ว จาก
นั้ น จะมี ก ารเปลี่ ย น angiotensin I ซึ่ งมี
amino acid 10 ตั ว ให เ ป น angiotensin II
ซึ่งมี amino acid 8 ตัว โดยตัด amino acid
2 ตั ว สุ ด ท า ยออกด ว ย enzyme ที่ ชื่ อ ว า
ACE ซึ่ ง อาจมี ชื่ อ เรี ย กต า งๆ กั น ไป เช น
kininase II หรื อ dipeptidyl carboxypeptidase เป น ต น (รู ป ที่ 1 และ 2) ACE เป น
metalloenzyme ที่มีอะตอมของสังกะสีเปน
องค ป ระกอบในโมเลกุ ล enzyme ชนิ ด นี้
ของมนุ ษ ย เ ป น glycoprotein ที่ มี amino
acid 1278 ตั ว แ ล ะ เ ป น nonspecific
enzyme ที่ ส ามารถตั ด amino acid 2 ตั ว
ทาย (dipeptide unit) ออกจากสารตั้งตนที่
มีลําดับการเรียงตัวของ amino acid ตางๆ
กัน แต ACE ไมสามารถตัดพั นธะระหวาง
amino acid ชนิ ด proline กั บ ชนิ ด อื่ น ดั ง
นั้ น จึ งไม มีผ ลทํ าลาย angiotensin II อยาง
ไรก็ตาม นอกจาก angiotensin I แลว ACE
ยั งมี ผ ลสลาย bradykinin และ vasodilator
peptides อื่ น ๆ ให ก ล า ย เป น inactive
metabolites (รูปที่ 2)
พบว า การเปลี่ ย น angiotensin I
เป น angiotensin II ใน plasma เกิ ด ขึ้ น
คอนขางชา แตการเปลี่ยนแปลงดังกลาวใน
ร า งกาย (in vivo) นั้ น เกิ ด ขึ้ น ได อ ย า งรวด
เร็ว ทั้งนี้ อธิบายวาเปนผลมาจากมี ACE ที่
จั บ อยู กั บ เยื่ อ หุ ม เซลล ข อง endothelial
cells กระจายอยูในหลอดเลือดทั่วรางกาย
ดังนั้นอวัยวะที่มีหลอดเลือดและหลอดเลือด
ฝอยหนาแน น (เช น ป อด, สมอง, ไต,
retina ฯ ล ฯ ) จึ ง มี ACE ใน ป ริ ม า ณ สู ง
สําหรับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของ angioten19
Angiotension (AT) Receptors

tension, heart failure, post-myocardial
infarction, ischemia และ diabetes เปนตน
เชื่อวาการเพิ่มปริมาณของ AT2 receptors
สั ม พั น ธ กั บ hormonal, cytokine แ ล ะ
metabolic factors หลายประการ ฤทธิ์ทาง
เภ สั ช วิ ท ย าข อง angiotensin II ต อ AT
receptors ที่อยูในเนื้อเยื่อตางๆ แสดงไวใน
ตารางที่ 1 (ดูหัวขอ “ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ของ angiotensin II” ประกอบ)

การออกฤทธิ์ ข อง angiotensin II
อาศัยการจับ กั บ angiotensin receptors ที่
อยูบ ริเวณเยื่อหุ มเซลล ซึ่งแบงออกเปน 2
ชนิ ด ย อ ย (subtypes) ได แ ก AT1 และ AT2
พ บ ว า AT1 receptors มี affinity สู ง ต อ
losartan (รวมทั้ งอนุ พั น ธ ข อง biphenyl
tetrazole) แตมี affinity ต่ําตอ PD 123177
(รวมทั้ ง อนุ พั น ธ ข อง 1-benzylspinacine)
แ ล ะ CGP 42112A (peptide analog) ใน
ขณะที่ AT2 receptors มีคุ ณ สมบั ติต รงกั น
ขาม
ใน ม นุ ษ ย AT1 receptors พ บ ใน
ปริ ม าณ ที่ ค อ นข า งแน น อน (constantly
expressed) ในหลายอวั ย วะ เช น หลอด
เลือด, หัวใจ, ไต, ตอมหมวกไต และตับ ใน
ขณะที่ AT2 receptors พบได ใ นช ว งที่ ยั ง
เปนทารกในครรภ (เชื่อวามีสวนสัมพันธกับ
การสรางหลอดเลือด) และปริมาณจะลดลง
อยางรวดเร็วหลังจากคลอด อยางไรก็ตาม
ยั ง สามารถพ บ AT2 receptors ในภาวะ
ปกติไดในหลายอวัยวะ เชน ตอมหมวกไต,
ไต, มดลู ก , รั ง ไข , หั ว ใจ และบางบริ เวณ
ของสมอง แต receptors ชนิ ด นี้ ส ามารถ
เพิ่มปริมาณไดเมื่อรางกายหรืออวัยวะเกิด
พ ย า ธิ ส ภ า พ ที่ สั ม พั น ธ กั บ tissue
remodeling หรื อ การอั ก เสบ เช น hyper-

ฤ ท ธิ์ ท างเภ สั ช วิ ท ย าข อ ง
Angiotensin II

1. ฤทธิ์ตอหลอดเลือด
Angiotensin II มีผลกระตุนโดยตรง
ต อ AT1 receptors ที่ อยู บ ริ เวณเซลล กล าม
เนื้อเรียบของหลอดเลือดทําใหหลอดเลือดหด
ตั ว โด ย มี ผ ล เด น ชั ด ต อ precapillary
arterioles มากกวา postcapillary venules ผล
ดั งกลาวทํ าให total peripheral resistance
(TPR) เพิ่มขึ้น และทําใหความดันเลือดเพิ่ม
ขึ้ น ไ ด อ ย า ง ร ว ด เ ร็ ว (rapid pressor
response) นอกจากนี้ angiotensin II ยั ง มี
ผ ล 1) เ พิ่ ม sympathetic outflow จ า ก
ระบบประสาทส ว นกลาง 2) เพิ่ ม การหลั่ ง
norepinephrine จ า ก sympathetic nerve
terminals 3) ยั บยั้ ง reuptake ของ norepinephrine สู sympathetic nerve terminals และ 4)

ตารางที่ 1 AT receptors ในเนื้อเยื่อ และผลของการกระตุนดวย angiotensin II [ดัดแปลงจาก Siragy M.7]
เนื้อเยื่อ
Receptor subtype
ผลจากการกระตุน
หลอดเลือด
AT1
กลามเนื้อเรียบหดตัว
Intimal hyperplasia
Angiogenesis
AT2
กลามเนื้อเรียบขยายตัว (ผาน bradykinin และ nitric oxide)
ยับยั้ง hyperplasia และ angiogenesis
กลามเนื้อหัวใจ
AT1
Cardiac hypertrophy
เพิ่มการสังเคราะห collagen (สัมพันธกับ myocardial
fibrosis)
AT2
Antihypertrophic effects
ไต
AT1
เพิ่ม efferent arteriolar constriction และ glomerular
filtration
ตอมหมวกไต
AT1
เพิ่มการหลั่ง aldosterone จาก cortex
เพิ่มการหลั่ง catecholamines จาก medulla
สมองและตอมใต
AT1
เพิ่มการหลั่ง antidiuretic hormone
สมอง
เพิ่มความกระหายและการดื่มน้ํา

20
3. ฤทธิ์ตอการเปลี่ยนแปลงโครง
สรางของหัวใจและหลอดเลือด
ปจจุบันเชื่อวา angiotensin II มีผล
ตอโครงสรางของหัวใจและหลอดเลือดโดย
ทํ า ให ร ะบบหั ว ใจและหลอดเลื อ ดเกิ ด การ
เปลี่ ย นแปลงทางพยาธิ ส ภาพได ห ลาย
ประการ เชน
1. หั ว ใจเกิ ด concentric hypertrophy ซึ่งสัมพันธกับ hypertension
2. หั วใจเกิ ด eccentric hypertrophy และ cardiac fibrosis ซึ่ ง สั ม พั น ธ กั บ
congestive heart failure และ myocardial
infarction
3. มีการเพิ่มของอัตราสวนระหวาง
ผนัง (wall) และรูกลวง (lumen) ของหลอด
เลือด ซึ่งสัมพันธกับ hypertension
4. ผิ ว ชั้ น ในสุ ด (intimal surface)
ของผนั ง หลอดเลื อ ดเกิ ด การหนาตั ว ซึ่ ง
สัมพันธกับ atherosclerosis
ทั้ งนี้ ส าม ารถ อ ธิ บ าย ก ล ไก ที่
angiotensin II ทํ าให เกิ ด การเปลี่ ย นแปลง
โครงสรางของหัวใจและหลอดเลือดไดดังนี้
3.1 Nonhemodynamically Mediated
Effects
Angiotensin II มี ผ ล ก ร ะ ตุ น
migration, proliferation, hypertrophy และ/
หรือ ความสามารถในการสั ง เคราะห ส าร
ต า งๆ ของเซลล ก ล า มเนื้ อ เรี ย บในหลอด
เลื อ ด, เซลล ก ล า มเนื้ อ หั ว ใจ และ/หรื อ
fibroblasts โดยมี ผ ลเหนี่ ย วนํ า ให เ ซลล มี
การสังเคราะห proto-oncogenes บางชนิด
ซึ่งนําไปสูการสราง proteins ที่มีผลเปลี่ยน
แปลง gene expression ต า งๆ ที่ สั ม พั น ธ
กั บ การกระตุ น การเจริ ญ เติ บ โตของเซลล
เ ช น fibroblast growth factor, platelet
derived growth factor แ ล ะ transforming
growth factor β นอกจากนี้ angiotensin II
ยังมีผ ลเพิ่ ม gene expression ที่ เกี่ ยวของ
กับการสราง proteins ที่อยูใน extracellular
matrix เ ช น collagen, fibronectin แ ล ะ
tenascin เปนตน

เพิ่ ม การตอบสนองของหลอดเลื อ ดต อ
norepinephrine ซึ่ ง ผลที่ ก ล า วมาข า งต น
ลวนแตสงเสริมใหเกิดการหดตัวของหลอด
เลือด
2. ฤทธิ์ตอไต
2.1 ฤทธิ์ เพิ่ มการหลั่ ง Aldosterone
จาก Adrenal Cortex
Angiotensin II มี ผ ลกระตุ น zona
glomerulosa ข อ ง adrenal cortex ใ ห
สั ง เคราะห แ ละหลั่ ง aldosterone เพิ่ ม ขึ้ น
โดย aldosterone มี ผ ลทํ า ให ท อ ไตส ว น
collecting tubules ดูดซึม Na+ กลับและขับ
K+ กั บ H+ มากขึ้ น การดู ด ซึ ม Na+ กลั บ มี
ผลเพิ่มปริมาณน้ําในระบบหัวใจและหลอด
เลือดอยางคอยเปนคอยไป ทําใหความดัน
เลื อ ด เพิ่ ม ขึ้ น อย างช าๆ (slow pressor
response)
2.2 ฤทธิ์ตอระบบไหลเวียนเลือด
ในไต
Angiotensin II มี ผ ลเปลี่ ย นแปลง
glomerular filtration rate (GFR) ได ห ลาย
รูป แบบ เนื่ อ งจากมี ผ ลต อ ส ว นต างๆ ของ
nephron แตกตางกันไปดังนี้
-ทํ า ให afferent arterioles หดตั ว
ส ง ผลให intraglomerular pressure ลดลง
มีผลลด GFR
-ทํ าให mesangial cells หดตั ว ส ง
ผลใหพื้ นที่ผิ วของหลอดเลือดฝอยที่อยูใน
glomerulus ซึ่ ง ใช ใ นการกรอง (filtration)
ลดลง มีผลลด GFR
-ทํ า ให efferent arterioles หดตั ว
สงผลใหความดันเลือดใน glomerulus เพิ่ม
ขึ้น มีผลเพิ่ม GFR
ในภาวะปกติ angiotensin II มี ผ ล
ทําให GFR ลดลงเล็กน อย แตในภาวะที่ มี
เลือดเขาไปเลี้ยงไตไดนอย ผลตอ efferent
arterioles จะเด น ชั ด ขึ้ น ทํ า ให มี ผ ลเพิ่ ม
GFR ดังนั้นการใชยาที่มีผลยับยั้ง RAS จึง
อาจทํ าให GFR ลดลงจนเกิ ด acute renal
failure ได ใ นผู ป ว ย bilateral renal artery
stenosis หรือในผูปวยที่มีไตขางเดียวรวม
กับมี renal artery stenosis ของไตขางนั้น
21
Effects

3.2 Hemodynamically Mediated

blood pressure, systolic blood pressure
แ ล ะ mean arterial pressure ล ด ล ง ย า
ชนิดนี้มักใหผลดีในการรักษา hypertension
ยกเว น ชนิ ด ที่ มี ส าเหตุ ม าจาก primary
aldosteronism นอกจากนี้ ACEIs ยั ง เป น
ย า ที่ ไม ก อ ให เกิ ด salt-water retention
เนื่ อ งจากยามี ผ ลลดการหลั่ ง aldosterone
และยั ง ไม ก อให เกิ ด reflex tachycardia
เนื่ อ ง จ า ก มี ผ ล ป รั บ ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง
baroreceptor แ ล ะ ล ด อิ ท ธิ ผ ล ข อ ง
angiotensin II ที่ มี ต อ sympathetic
nervous system
ผลลดความดั น เลื อ ดในระยะแรก
ข อ งย า แ ป ร ผั น ต ร ง กั บ plasma renin
activity (PRA) และ plasma angiotensin II
ที่วัดไดในชวงกอนใหยา อยางไรก็ตาม หลัง
การใชยาอยางตอเนื่องหลายสัปดาหตอมา
พบวาฤทธิ์ล ดความดั น เลื อ ดจะไม มี ค วาม
สัมพั นธกับ คาของ PRA ในชวงกอนใหยา
อีกตอไป กลาวคือ ยาสามารถออกฤทธิ์ลด
ความดันเลือดไดแมวาคา PRA ในชวงกอน
การรักษาจะอยูในเกณฑปกติ ทั้งนี้ อธิบาย
ว า การยั บ ยั้ ง การสร า ง angiotensin II ใน
เนื้อเยื่อมีผลลดความดันเลือดและทําใหเกิด
การเปลี่ยนแปลงดานโครงสรางของเนื้อเยื่อ
ที่เกี่ยวของไดโดยไมขึ้นอยูกับคา PRA หรือ
ระดับ angiotensin II ในเลือด นอกจากนี้ยัง
พบวาผูปวยบางรายที่มีระดับ angiotensin
II ในเลือดอยูในเกณฑปกติ อาจตอบสนอง
ต อ angiotensin II ไ ด ม า ก ก ว า ป ก ติ
(increased responsiveness) ดั ง นั้ น ก า ร
ยับยั้งการสราง angiotensin II ดวย ACEIs
จึงมีผลลดความดันเลือดในกรณีดังกลาวได
อย างไรก็ ต าม สว นหนึ่ งของฤทธิ์ลดความ
ดันเลือดยังสามารถอธิบายไดจากการยับยั้ง
การเปลี่ ย น bradykinin ไปเป น inactive
metabolite ดังไดอธิบายแลวขางตน
จากการศึกษาพบวาการใช ACEIs
อยางเดียวมีผลลดความดันเลือดลงสูปกติ
ไดประมาณ 50% ของผูปวย hypertension
ชนิ ด รุ น แรงน อ ยถึ ง ปานกลาง และพบว า
ประมาณ 90% ของผู ป ว ยกลุ ม ดั ง กล า ว
สามารถควบคุ ม ความดั น เลื อ ดได เมื่ อ ใช

นอกเหนือจากผลโดยตรงตอเซลล
ดั งได ก ลาวแล ว การเพิ่ ม cardiac preload
(ซึ่ ง สั ม พั น ธ กั บ ภาวะที่ มี น้ํ า ในระบบไหล
เวียนเลือดมากขึ้นจากการดูดซึม Na+ กลับ
สูรางกาย) และการเพิ่ม afterload (การเพิ่ม
TPR) ก็มีผลทําใหเกิด cardiac hypertrophy
และ cardiac remodeling ได นอกจากนี้
hypertension ยั ง มี ส ว นทํ า ให ห ลอดเลื อ ด
เกิ ด hypertrophy และ remodeling ได เช น
เดี ย วกั น [สํ า หรั บ รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ
preload และ afterload ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม ได
จ า ก บ ท “Drug therapy of congestive
heart failure”]

INHIBITORS OF RAS
ยาที่ มี ผ ลยั บ ยั้ ง การทํ า งานของ
RAS ที่จะกลาวถึงในบทนี้ ประกอบไปดวย
ยา 2 กลุ ม ได แ ก angiotensin converting
enzyme inhibitors (ACEIs) แ ล ะ angiotensin receptor blockers (ARBs)

1. ACEIs
ก า ร ยั บ ยั้ ง enzyme ACE ข อ ง
ACEIs (รูปที่ 2) ทําใหระดับ angiotensin II
ในเลื อ ดลดลง ส ง ผลให arterioles และ
venules ขยายตั ว ตลอดจนลดการหลั่ ง
aldosterone จาก adrenal cortex นอกจาก
นี้ ACEIs ยั ง มี ผ ลยั บ ยั้ ง มิ ใ ห bradykinin
เปลี่ ย นไปเป น inactive metabolite ทํ า ให
ระดับ bradykinin ในรางกายเพิ่มขึ้น นําไป
สู ก า ร ป ล ด ป ล อ ย nitric oxide แ ล ะ
prostacyclin ซึ่ งเป น mediators ที่ ทํ าให
หลอดเลือดขยายตัว ยิ่ งไปกวานั้น ACEIs
ยังสามารถกระจายตัวเขาสูเนื้อเยื่อและมีผล
ยับยั้ง RAS ในเนื้อเยื่อได
ประโยชนทางคลินิก
1. Hypertension
การยั บ ยั้ ง ACE ในผู ป ว ย hypertension มี ผ ลทํ า ให TPR รวมทั้ ง diastolic
22
แสดงไวในตารางที่ 2 ผลการศึ กษาแสดง
วาการใช ACEIs ในผู ป ว ยที่ มี ภ าวะนี้ รว ม
กั บ มี อ าการของ congestive heart failure
มี ผ ล ล ด อั ต ร า ต า ย โ ด ย ร ว ม (overall
mortality) ไดดีกวาการใชยาหลอก ในขณะ
ที่ ก ารใช ACEIs ในผู ป ว ย asymptomatic
LV systolic dysfunction มีผลลดอัตราตาย
โดยรวม (ดูการศึกษา “SAVE” ในตารางที่ 2
ประกอบ) หรื อ ลดผลรวมของ “อั ต ราตาย
ร ว มกั บ การเข า รั บ การรั ก ษ าตั ว ในโรง
พ ย า บ า ล เนื่ อ ง จ า ก congestive heart
failure” ไดดีกวาการใชยาหลอกเชนกัน (ดู
การศึกษา “SOLVD prevention” ในตาราง
ที่ 2 ประกอบ)
น อ ก จ า ก นี้ ยั ง พ บ ว า ยิ่ ง มี LV
systolic dysfunction มากเทาใด ACEIs จะ
ยิ่งใหประโยชนไดมากตามไปดวย ดังนั้นใน
ป จจุ บั น จึ ง แน ะนํ าให ใช ACEIs ใน LV
systolic dysfunction ทุ ก ราย (ถ า ไม มี ข อ
ห า ม ) ไ ม ว า ผู ป ว ย จ ะ มี อ า ก า ร ข อ ง
congestive heart failure หรือไมก็ตาม
3. Myocardial Infarction
Acute myocardial infarction ทํ า
ให เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงทางพยาธิ ส ภาพ
ของกล า มเนื้ อ หั ว ใจโดยเริ่ ม จาก บริ เ วณ
กล า มเนื้ อ ตายจะบางตั ว ลงพร อ มๆ กั บ
ขยายบริเวณกวางขึ้น โดยที่ไมจําเปนตองมี
กล า มเนื้ อ หั ว ใจตายเพิ่ ม มากขึ้ น เชื่ อ ว า
ปรากฏการณดังกลาวเปนผลมาจาก 1) การ
บีบตัวของ ventricle ทําใหเกิดแรงกระแทก
ต อ บริ เ วณ กล า มเนื้ อ หั ว ใจตาย 2) การ
อักเสบเฉพาะที่ (ซึ่งเปนผลมาจากกลามเนื้อ
หัวใจตาย) ทําใหมี neutrophil เคลื่อนที่เขา
มาบริ เ วณดั ง กล า วและเกิ ด การกระตุ น
matrix metalloproteinases (MMPs) สงผล
ให เกิ ด ก ารสลาย collagen ที่ ค้ํ าจุ น อยู
ระหวางเซลลกลามเนื้อหัวใจ ปจจัยเหลานี้
เปนผลใหเกิดการเลื่อนไถลหรือแยกชั้นของ
เซลลกลามเนื้อ (myocyte slippage) ทําให
ผนังบริเวณนั้นบางและขยายตัวไดมากขึ้น
ปรากฎการณนี้เรียกวา “infarct expansion”
นอกจากนี้บริเวณกลามเนื้อหัวใจสวนที่ไม
เกิ ด พยาธิ ส ภาพจะหนาตั ว เพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ

ACEIs ร ว ม กั บ calcium antagonists,
alpha blockers ห รื อ diuretics อ ย า ง ใด
อยางหนึ่ง
รายละเอี ยดเพิ่ ม เติ ม ศึ กษาไดจาก
หั วข อ “ACEIs” ใน บ ท “Drug therapy of
hypertension”
2. Left Ventricular (LV) Systolic
Dysfunction
การยับยั้งการสราง angiotensin II
ข อ ง ACEIs ทํ าให เกิ ด ผ ล ดี ต อ hemodynamics ใ น ผู ป ว ย congestive heart
failure ชนิ ด LV systolic dysfunction ดั ง นี้
(ดู บ ท “Drug therapy of congestive heart
failure” ประกอบ)
1. มี ผ ล ข ย า ย arterioles ทํ า ให
afterload ล ด ล ง จึ ง มี ผ ล เพิ่ ม cardiac
output ทางออม
2. มี ผ ล ข ย า ย venules ทํ า ให มี
ปริมาณเลือดดําถูกกักเก็บไวที่หลอดเลือด
ดําสวนปลายมากขึ้นและไหลกลับเขาสูหัว
ใจลดลง จึงมีผลลด preload
3. มีผลขยายหลอดเลือดของไต ทํา
ใหการไหลเวียนเลือดในไตเพิ่มขึ้นและเกิด
การขับปสสาวะ ผลดังกลาวทําใหปริมาตร
ในระบบไหลเวี ย นเลื อ ดลดลง จึ ง มี ผ ลลด
preload ของหัวใจได อนึ่ง การลดการหลั่ง
aldosterone จาก adrenal cortex ก็เปนอีก
ปจจัยที่ทําใหเกิดการดูดซึม Na+ กลับจาก
ไตน อ ยลง ส งผลให ป ริ ม าตรในระบบไหล
เวี ย นเลื อ ด และ preload ลดลงได อี ก ทาง
หนึ่ง
4. มีผลลด ventricular remodeling
ที่เกิดในภาวะหัวใจลมเหลว เนื่องจากมีฤทธิ์
ลด preload และ afterload รวมถึงมีผลลด
การกระตุนการเจริญเติบโตของเซลลกลาม
เนื้ อ หั วใจจาก angiotensin II ตลอดจน
สามารถป อ งกั น การเกิ ด cardiac fibrosis
จากฤทธิ์โดยตรงของ aldosterone ที่ มี ต อ
หัวใจ
ในช วงระยะเวลาหลายป ที่ ผ านมา
ไดมีการศึกษาทางคลินิกที่เกี่ยวของกับการ
นํ า ACEIs ม า ใ ช รั ก ษ า LV systolic
dysfunction (ejection fraction < 0.40) ดั ง
23
ตารางที่ 2 ตัวอยางการศึกษาทางคลินิกที่เกี่ยวของกับการใช ACEIs ใน LV systolic dysfunction [ดัดแปลงจาก
Jackson EK, Garrison JC.4]
การศึกษา
กลุมผูปวย
จํานวน
ยาชนิดรับ
ติดตาม
ผลการศึกษา
ผูปวย
ประทาน
ผล
1. การศึกษาในผูที่ไมมีอาการ (asymptomatic LV systolic dysfunction)
SAVE
Myocardial infarction 2231 Captopril กับ 42 เดือน ลดอัตราตาย
ยาหลอก
รวมกับ asymptomatic
LV systolic
dysfunction
SOLVDAsymptomatic LV
4228 Enalapril กับ
37.4 ลดผลรวมของ “อัตรา
Prevention
systolic dysfunction
ยาหลอก
เดือน ตายรวมกับการเขารับ
การรักษาตัวในโรง
พยาบาลจาก
congestive heart
failure”
2. การศึกษาในผูปวยที่มีอาการของ congestive heart failure (CHF)
CONSENSUS NYHA* IV CHF
257 Enalapril กับ 6 เดือน ลดอัตราตาย
ยาหลอก
SOLVDNYHA II & III CHF
2569 Enalapril กับ
41.4 ลดอัตราตาย
Treatment
ยาหลอก
เดือน
2 ป ลดอัตราตาย และลด
VHeFT II
NYHA II & III CHF
804 Enalapril กับ
การตายแบบกระทัน
hydralazine +
หัน (sudden death)
isosorbide
AIRE
Myocardial infarction 2006 Ramipril กับ 15 เดือน ลดอัตราตาย
รวมกับ CHF
ยาหลอก
AIRE, Acute Infarction Ramipril Efficacy study; CONSENSUS, Cooperative North Scandinavian
Enalapril Survival Study; SAVE, Survival And Ventricular Enlargement study; SOLVD, Studies Of
Left Ventricular Dysfunction; VHeFT II, Vasodilator-Heart Failure Trial II.
*New York Heart Association Functional Class: ไมมีอาการ (I), มีอาการขณะออกกําลังกาย (II), มีอาการ
ขณะออกกําลังกายเบาๆ เชน เดิน (III), มีอาการขณะพัก (IV)

พยายามปรับตัวใหทํางานทดแทนกลามเนื้อ
ใน ส ว น ที่ เสี ย ห ายไป ใน ที่ สุ ด จะทํ าให
ventricle มีขนาดโตขึ้นกวาปกติโดยใชเวลา
เพี ย งไม กี่ สั ป ดาห การปรั บ รู ป ร า งของ
ventricle นี้ เ รี ย กว า “ventricular remodeling” ผลดี ข องการปรั บ ตั ว นี้ คื อ ทํ า ให ก าร
ทํางานของ ventricle เพิ่มขึ้น และสามารถ
คง stroke volume ไดในระยะแรกๆ อยางไร
ก็ ต าม ในระยะยาวผู ป วยที่ เกิ ด myocardial
infarction แล วมี ventricular remodeling จะ
มี โอ ก าส เกิ ด systolic dysfunction แ ล ะ
congestive heart failure รวม ถึ งมี อั ต รา
ตายสู งกว า กลุ ม ที่ ไ ม มี remodeling หรือ มี
แตไมมากนัก
ดังไดอธิบายแลววา angiotensin II
มี บ ทบาทสํ าคั ญ ในการเปลี่ ย นแปลงโครง

สรางของหั ว ใจรวมถึ งการเกิ ด ventricular
remodeling ดังนั้นการใช ACEIs เพื่อยับยั้ง
การสราง angiotensin II จึงมีผลลดการเกิด
ventricular remodeling ไ ด ซึ่ ง ก็ มี ก า ร
ศึกษาทางคลินิกที่พิสูจนวา ACEIs มีผลลด
อัตราตายโดยรวมได ถาเริ่มใหยาตั้งแตใน
ช ว งแรกของ acute myocardial infarction
(periinfarction period) ดั ง แสดงไว ใ นต า
รางที่ 3
จากการศึกษาขางตนแสดงใหเห็น
วา การใช ACEIs ทางหลอดเลือดดําภายใน
24 ชั่ ว โมงหลั ง เกิ ด myocardial infarction
ไมมีผลลด แตกลับมีแนวโนมเพิ่มอัตราตาย
(ดูการศึกษา “CONSENSUS II” ในตาราง
ที่ 3 ประกอบ) ทั้ ง นี้ เชื่ อ ว า การให ย าทาง
หลอดเลื อ ดดํ าเหนี่ ย วนํ า ให เกิ ด hypoten24
ตารางที่ 3 ตัวอยางการศึกษาทางคลินิก ที่เกี่ ยวของกับการใช ACEIs ใน acute myocardial infarction [ดั ด
แปลงจาก Jackson EK, Garrison JC.4]
การศึกษา
จํานวนผูปวย
การรักษา
ติดตามผล
ผลการศึกษา
1. การศึกษาใน myocardial infarction ที่ไมไดคํานึงถึงความผิดปกติในการทํางานของ
ventricle และใหยาภายใน 24 ชั่วโมง
CONSENSUS II
6090
Enalapril ทางหลอดเลือด
6 เดือน
มีแนวโนมเพิ่ม
ดํา กับยาหลอก
อัตราตาย
ISIS-4
54824
Captopril แบบรับประทาน
35 วัน
ลดอัตราตาย
กับยาหลอก
GISSI-3
18985
Lisinopril แบบรับประทาน
6 สัปดาห ลดอัตราตาย
กับยาหลอก
SMILE
1556
Zofenopril แบบรับ
6 สัปดาห ลดอัตราตาย
ประทาน กับยาหลอก
2. การศึกษาใน myocardial infarction ที่มี asymptomatic LV systolic dysfunction (ดูการศึกษา “SAVE”
ในตารางที่ 1 ประกอบ)
3. การศึกษาใน myocardial infarction ที่มี congestive heart failure รวมดวย
(ดูการศึกษา “AIRE” ในตารางที่ 1 ประกอบ)
AIRE, Acute Infarction Ramipril Efficacy study; CONSENSUS II, Cooperative North Scandinavian
Enalapril Survival Study II; GISSI-3, Gruppo Italiano per lo Studio della Sopravvivenzanell’Infarto
miocardico; ISIS-4, Fourth International Study of Infarct Survival; SAVE, Survival And Ventricular
Enlargement study; SMILE, Survival of Myocardial Infarction Long-term Evaluation.

ผลลดอัตราตายได 40-70 รายตอการรักษา
1,000 ราย
4. Proteinuria ที่ เกิ ดจาก Diabetic
Nephropathy
จากการศึกษาวิจัยในผูปวย type I
diabetes mellitus ที่ มี diabetic nephropathy พ บ ว า ACEIs (captopril) มี ผ ล ล ด
ปริ ม าณ proteinuria, ชลอการลดลงของ
creatinine clearance แ ล ะ ล ด combined
end points (ซึ่ ง ได แ ก การฟ อกไต การ
เปลี่ยนไต และเสียชีวิต) จากขอมูลดังกลาว
จึงแนะนําใหใช ACEIs รักษา nephropathy
ที่เกิดจาก type I diabetes mellitus โดยไม
คํ า นึ ง ว า มี hypertension ร ว มด ว ยหรื อ ไม
ทั้งนี้ เชื่อวากลไกการออกฤทธิ์ของ ACEIs
ที่เปนผลดีตอไตเปนผลมาจาก
1. การลดความดั น เลื อ ดมี ผ ลป อ ง
กันไมใหไตเสียหายมากขึ้น
2. ก า ร ล ด ร ะ ดั บ angiotensin II
จ า ก ACEIs มี ผ ล ข ย า ย renal efferent
arteriole ทํ า ใ ห glomerular capillary
pressure ลดลง จึ ง เกิ ด ความเสี ย หายต อ
glomerulus ลดลง

sion ซึ่ ง อาจไม เ ป น ผลดี ต อ ผู ป ว ยที่ vital
signs ยั ง ไม ค งที่ เ พี ย งพอ ในทางตรงกั น
ขาม การใช ACEIs ทางรับประทานภายใน
24 ชั่วโมง กลับมีผลลดอัตราตายอยางมีนัย
สําคัญทางสถิติ ดังจะเห็นไดจากการศึกษา
ISIS-4, GISSI-3 แ ล ะ SMILE ดั ง นั้ น
ป จ จุ บั น จึ งแนะนํ าให ใช ย า ACEIs ทางรั บ
ประทานภายใน 24 ชั่ ว โมงแรกหลั ง เกิ ด
acute myocardial infarction และให ใ ช ย า
อย างน อย 6 สั ป ดาห แล วประเมิ น การบี บ
ตัวของ ventricle หากไมพบความผิดปกติ
ก็อาจพิ จารณาหยุดยา แตถ าพบความผิด
ปกติ แนะนําใหยาตอไประยะยาว
นอกจากนี้ ผลการศึกษาขางตนยัง
แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมวา การให ACEIs
ร ะ ย ะ สั้ น (รู ป แ บ บ รั บ ป ร ะ ท า น ) ใน
myocardial infarction โด ย ไ ม คํ า นึ ง ถึ ง
ความผิดปกติในการทํางานของ ventricle มี
ผลลดอัตราตายไดป ระมาณ 5 รายตอการ
รั ก ษา 1,000 ราย ส ว นการใช ย าในผู ป ว ย
myocardial infarction ที่ มี ความเสี่ ย งสู ง
(เช น LV systolic dysfunction) ACEIs มี

25
3. การลดระดั บ angiotensin II มี
ผลลดการเจริญเติบโตและการแบงตัวของ
เซลล จึงทําให mesangial cell growth และ
matrix production ลดลง
อย า งไรก็ ต าม เนื่ อ งจาก ACEIs
ส ว นใหญ ถู ก ขจั ด ทางไต ดั ง นั้ น การใช ย า
กลุมนี้จึงควรระมัดระวังเปนพิเศษในผูปวย
โรคไตที่มีระดับ serum creatinine มากกวา
2-3 mg/dl เพราะอาจทําใหการขจัดยาลดลง
และอาจสะสมจนกอให เกิดพิษ หรือผลขาง
เคียงอื่นได

quinopril, ramipril, spirapril และ fosinopril
3. ชนิ ด ที่ มี phosphorus เป น องค
ประกอบ เชน fosinopril
โดยทั่วไป ACEIs ทั้ง 3 ประเภทมี
ความแตกตางกันในคุณลักษณะหลักดังนี้
- ความแรง (potency)
- ลักษณะในการยับยั้ง ACE กลาว
คือ ยาบางชนิดมีผลยับยั้ง ACE ไดดวยตัว
ของมันเอง แตบางชนิดตองถูกเปลี่ยนจาก
prodrug ไปเป น active drug ก อ น จึ งจะมี
ผลยั บ ยั้ ง ACE ได ทั้ ง นี้ การให ย าในรู ป
prodrug มี จุ ด ประสงค เพื่ อ เพิ่ ม การดู ด ซึ ม
จากทางเดินอาหาร หลังจากนั้นยาจึงจะถูก
esterase ในตับเปลี่ยนใหเปน active drug
ภายหลัง
- Pharmacokinetics (ตารางที่ 4)
อยางไรก็ต าม ACEIs ทุ กประเภท
ตางๆ ก็มีประโยชนทางคลินิก ตลอดจนผล
ขางเคียง และขอหามใชที่คลายคลึงกัน

ชนิดของยา และ Pharmacokinetics
ACEIs แบ ง ออกเป น 3 ประเภท
ใหญๆ ตามโครงสรางทางเคมี (รูปที่ 3) ดัง
นี้
1. ช นิ ดที่ มี ก ลุ ม sulfhydryl เป น
องคประกอบ เชน captopril
2. ชนิ ด ที่ มี ก ลุ ม dicarboxyl เป น
อ งค ป ระก อ บ เช น enalapril, benapril,

รูปที่ 3 โครงสรางของ ACEIs บางชนิด [คัดลอกจาก Jackson EK, Garrison JC.4]

26
ตารางที่ 4 Pharmacokinetics ของ ACEIs บางชนิด
ยา
Captopril

Oral
bioavailability
75%

การขจัด

Half-life*
(ชั่วโมง)
2

หมาย
เหตุ

ขจัดทางไต 40-50% ในรูปเดิม สวนที่
เหลือขจัดในรูป captopril disulfide
dimers และ captopril-cysteine disulfide
1
Enalapril
60%
เกือบทั้งหมดถูกขจัดทางไตในรูป
(11)
enalapril หรือ enalaprilat
(10-11)
37%
ขจัดทางไตและน้ําดีในรูป glucuronide
Benazepril1
conjugates ของ benazepril และ
benazeprilat
Quinapril1
60%
ขจัดทางไตในรูป quinaprilat
(25)
(50)
Ramipril1
50-60%
ขจัดทางไตในรูป glucuronide conjugates
ของ ramipril และ ramiprilat รวมทั้ง
ester และกรดของ diketopiperazine
Spirapril1
50%
spiraprilat ถูกขจัดทางไตและตับ
(35)
**
Lisinopril 1
30%
ขจัดทางไตในรูปเดิม
12
Fosinopril
36%
ขจัดทางไตและน้ําดีในรูป glucuronide
(11.5)
**
conjugates ของ fosinoprilat
*ตัวเลขในวงเล็บหมายถึง half-life ของ active drugs
** การขจัดยาไมเปลี่ยนแปลงมากนักเมื่อการทํางานของไตลดลง เนื่องจากมีการขจัดยาทดแทนทางตับ (น้ําดี) ได
1
เปน prodrugs ที่ตองถูก esterase ในตับเปลี่ยนใหเปน active drugs (เชน enalaprilat, benaprilat, quinoprilat,
ramiprilat, spiraprilat, fosinoprilat)

ผลขางเคียง
1. Hypotension
การใช ACEIs ในครั้งแรกอาจทําให
ผู ป ว ยที่ มี PRA สู ง เกิ ด hypotension ได
นอกจากนี้ ยั ง อาจพบผลข า งเคี ย งนี้ ไ ด ใ น
ภาวะขาดน้ํ า, ภาวะที่ ป ริม าณเลื อ ดในราง
กายลดลง (เช น การใช diuretics), ภาวะ
ข า ด เ ก ลื อ (salt-depleted), ไ ด รั บ
antihypertensives ขนานอื่ น อยู ก อ น หรื อ
ใน ผู ป ว ย congestive heart failure อ นึ่ ง
ภาวะนี้สามารถปองกันไดโดยแนะนําใหเริ่ม
ใช ยาในขนาดต่ํ า หรือหยุ ด diuretics กอน
ใช ACEIs
2. Hyperkalemia
การลดการหลั่ ง aldosterone ของ
ACEIs อาจทํ า ให เ กิ ด hyperkalemia ในผู
ปวยที่มีการทํางานของไตผิดปกติ รวมถึงผู
ป ว ยที่ ไ ด รั บ K+ supplement, K+-sparing
diuretics หรื อ ยากลุ ม nonsteroidal antiinflammatory drugs (NSAIDs) อย างไรก็
ตาม ผลขางเคียงนี้พบไดคอนขางนอยในผูปวย

ที่ไตทํางานปกติ และไมไดรับยาที่กอใหเกิด
การคั่งของ K+ ในรางกาย
3. อาการไอแหง
พบว า 5-20% ของผู ใ ช ย าอาจมี
อาการไอแหงซึ่งไมสัมพันธกับขนาดยา แต
จะพบในเพศหญิงไดมากวาชาย โดยทั่วไป
พบไดประมาณ 1 สัปดาห ถึง 6 เดือนหลัง
เริ่มใชยา และในบางกรณีอาจรบกวนผูปวย
มากจนตองพิจารณาหยุดยา เชื่อวาเปนผล
ม า จ า ก ก า ร เพิ่ ม ค ว า ม เข ม ข น ข อ ง
bradykinin ในระบบทางเดินหายใจ อยางไร
ก็ตาม อาการไอมักจะหายเองไดภายใน 4
วันหลังหยุดยา
4. Acute renal failure
ดั ง ได ก ล า วแล ว ว า angiotensin II
มีผลทําให efferent arteriole หดตัวเพื่อคง
GFR ไวในกรณี ที่ ความดั น เลื อดที่ เลี้ยงไต
ลดลง ดั ง นั้ น การยั บ ยั้ ง RAS ด ว ย ACEIs
จึ ง อาจทํ า ให GFR ลดลงจนเกิ ด acute
renal failure ใ น ผู ป ว ย bilateral renal
artery stenosis หรื อ ในผู ป ว ยที่ มี ไ ตข า ง
27
เดี ย วรว มกั บ มี renal artery stenosis ของ
ไตขางนั้น
5. ผลตอทารกในครรภ
การใช ACEIs ในไตรมาสแรกของ
การตั้ ง ครรภ อาจไม มี ผ ลทํ า ให ท ารกใน
ครรภ พิ ก าร แต ก ารใช ยาอย างต อ เนื่ อ งใน
ช ว งไตมาสที่ ส องและสาม อาจทํ า ให เกิ ด
oligohydramnios, pulmonary hypoplasia,
เจริญเติบโตชา หรือตายในครรภ นอกจาก
นี้ยังอาจทําใหทารกแรกเกิดมีภาวะปสสาวะ
ไมออก หรือเสียชีวิตได เชื่อวาผลขางเคียง
เหล า นี้ น า จะมี ส ว นสั ม พั น ธ กั บ การเกิ ด
hypotension ในทารก
6. ผื่นผิวหนัง
ACEIs อ า จ ทํ า ให เกิ ด ผื่ น แ บ บ
maculopapular rash ซึ่ งอ าจมี ห รื อ ไม มี
อาการคันรวมดวย ผื่นดังกลาวอาจหายได
เอง แตอาจดี ขึ้นเมื่ อลดขนาดยาหรือใชยา
antihistamine ช วงสั้ น ๆ ผลข างเคียงนี้ พ บ
ได บ อ ยจากการใช ย ากลุ ม ที่ มี sulfhydryl
group (เชน captopril) เมื่อเทียบกับ ACEIs
กลุมอื่น
7. Proteinuria
ACEIs อาจทํ า ให เ กิ ด proteinuria
ในปริมาณที่มากกวา 1 กรัมตอวัน โดยยัง
ไม ท ราบสาเหตุ แ น ชั ด ในทางตรงกั น ข าม
ACEIs กลั บ มี ผ ลลด proteinuria ในโรคไต
บ า ง ช นิ ด เ ช น diabetic nephropathy
เป น ต น (ดู หั ว ข อ “ประโยชน ท างคลิ นิ ก ”
ประกอบ) ดั ง นั้ น proteinuria จึ ง ไม ใ ช ข อ
หามใชของ ACEIs
8. Angioneurotic Edema
ACEIs อาจทํ า ให เกิ ด อาการบวม
เฉี ย บพลั น ของเนื้ อ เยื่ อ บริ เวณจมู ก , คอ,
ปาก, ริมฝปาก, ลิ้น, ฝาปดกลองเสียง และ/
หรือกลองเสียง โดยเชื่อวาเปนผลมาจากมี
การสะสมของ bradykinin หรือมีการเหนี่ยว
นํ า ให เกิ ด autoantibody หรื อ มี ก ารยั บ ยั้ ง
complement 1-esterase inactivator ผ ล
ข า งเคี ย งนี้ พ บได 0.1-0.2% ของผู ใ ช ย า
และมั ก ไม สั ม พั น ธ กั บ ขนาดยาที่ ใ ช ส ว น
ใหญ เกิดอาการภายในไมกี่ชั่วโมงหลังเริ่ม
ใช ย า แตอาจพบภายใน 1 สั ป ดาห ห ลังใช

ยาก็ได ผลขางเคียงนี้อาจทําใหเกิดการอุด
กั้นทางเดินหายใจ และอาจเปนอันตรายถึง
ชีวิตได แกไขโดยดูแลเรื่องทางเดินหายใจ
แ ล ะ ห า ก จํ า เป น อ า จ พิ จ า ร ณ า ใช ย า
epinephrine, antihistamine แ ล ะ /ห รื อ
corticosteroid รวมดวย
9. ความผิดปกติของการรับรส
ACEIs อาจทําใหการรับรสเปลี่ยน
แปลงหรือสูญเสียการรับรส พบไดบอยจาก
การใชยา captopril แตหายไดเองเมื่อหยุด
ยา
10. Neutropenia
เป น ผลข างเคี ยงที่ พ บได น อยมาก
แตมีความรุนแรงสูง ปจจุบันมีผลยืนยันคอน
ขางแนนอนวา captopril ขนาดสูงทําใหเกิด
ภาวะนี้ ได (อุบั ติ การณ รอ ยละ 0.3) เชื่ อว า
sulfhydryl group ข อ ง ย า น า จ ะ มี ส ว น
สั ม พั น ธ กั บ ภาวะนี้ อย า งไรก็ ต าม ACEIs
ชนิดอื่นก็อาจทําใหเกิดผลขางเคียงเชนนี้ได
นอกจากนี้ ผู ป ว ยที่ มี โ รคไตชนิ ด renal
parenchymal disease ก็มีโอกาสเกิดภาวะ
นี้ไดสูงขึ้นเนื่องจากมีการขจัดยาทางไตลด
ลง จึงทําใหระดับยาในรางกายสูงขึ้นจนเกิด
ผลขางเคียง ดังนั้น ในกรณี ที่ ระดับ serum
creatinine สู ง เกิ น 2-3 mg/dl ค ว ร ป รั บ
ขนาดยา ACEIs (ที่ขับถายทางไตเปนหลัก)
ลดลง
11. ผลขางเคียงอื่นๆ
ACEIs อาจทํ า ให เ กิ ด glucosuria
โดยไม จํ า เป น ต อ งมี hyperglycemia นอก
จากนี้ ยั ง อาจทํ า ให เ กิ ด พิ ษ ต อ ตั บ แบบ
cholestatic โดยไม ส ามารถอธิ บ ายกลไก
การเกิ ด ได อ ย า งแน ชั ด แต ผ ลข า งเคี ย งที่
กล าวมานี้ พ บได น อ ยมาก และหายได เอง
เมื่อหยุดใชยา

2. ARBs
ARBs ที่ นํ า มาใช ป ระโยชน ท าง
คลินิก เปนยาที่จับกับ (กั้น) AT1 receptors
ดวย affinity ที่สูง และมี selectivity ตอ AT1
มากกว า AT2 receptors ถึ ง 10,000 เท า
พบวา ARBs มี affinity ตอ AT1 receptors
28
เรี ย งลํ าดั บ จากมากไปน อ ย ได แ ก cardesartan > irbesartan > telmisartan = valsartan = EXP 3174 (เป น active metabolite ของ losartan) > losartan ตามลํ า ดั บ
แม ว า การจั บ กั น ระหว า ง ARBs กั บ AT1
receptors เป น แบบ competitive แต ฤ ทธิ์
ของ angiotensin II มั ก จะไม ส ามารถเอา
ชนะ (insurmountable) ผลจากการกั้น AT1
receptors ด ว ย ARBs ได ก ล าว คื อ ใน
experiment preparation ที่ มี ARBs นั้ น
angiotensin II ไม ส ามารถแสดง maximal
response ได เท ากั บ ภ าวะที่ ป ราศ จาก
ARBs ไม ว า จะพยายามใช angiotensin II
ในความเขมขนที่ สูงเพียงใดก็ต าม ซึ่งการ
ยั บ ยั้ ง ใน ลั ก ษ ณ ะ ดั ง ก ล า ว เรี ย ก ว า
“insurmountable antagonism” จ า ก ก า ร
ศึ ก ษา ARB ที่ มี ใ ช ใ นทางคลิ นิ ก พ บว า
cardesartan มี insurmountable antagonism สูงที่สุด สวน irbesartan, eprosartan,
telmisartan และ valsartan มี ผ ลน อ ยกว า
แต losartan ไม มี ผ ลนี้ ในขณ ะที่ active
metabolite ข อ ง losartan (EXP 3174)
แสดงผลดังกลาวไดบาง กลไกที่สัมพันธกับ
insurmountable antagonism ของยากลุ ม
ARBs น า จะเกิ ด จากการที่ ย าจั บ กั บ (กั้ น )
AT1 receptors แล ว แยกตั วจาก receptors
ไดชา (slow dissociation) หรืออาจเปนผล
จากการที่ ย าเหนี่ ย วนํ า ให AT1 receptors
ถู ก ก ลื น เ ข า สู เ ซ ล ล (ARBs-induced
receptor internalization) เปน ต น แตไม วา
insurmountable antagonism จะเกิ ดจาก
กลไกใดก็ตาม ในทางทฤษฎี ผลดังกลาวนา
จะก อ เกิ ด ป ระโยชน โดยทํ าให การกั้ น
receptors ยังคงเกิดไดอยางตอเนื่อง แมวา
ระดั บ ของ endogenous ligand (ซึ่ ง ในที่ นี้
หมายถึ ง angiotensin II) จะเพิ่ ม ระดั บ ขึ้ น
หรือแมแตในชวงที่ผูปวยลืมรับประทานยา
บางมื้ อ อย า งไรก็ ต าม ประโยชน ใ นทาง
ทฤษฎีดังกลาวจะสงผลดีตอการนํามาใชใน
ท างเวช ป ฏิ บั ติ ห รื อ ไม นั้ น ยั งค งต อง
พิจารณากันตอไป
ARBs ยั บ ยั้ ง biological effects
ของ angiotensin II ทั้ ง ในหลอดทดลอง

และในสั ต ว ท ดลอง (in vitro และ in vivo)
ซึ่ งฤทธิ์ดั งกล าวของ angiotensin II ได แ ก
ฤทธิ์ที่ สัม พั น ธกั บ (1) การหดตั วของกลาม
เนื้ อเรียบรอบหลอดเลือด, (2) rapid pressor
response, (3) slow pressor response, (4)
การกระหายน้ํ า, (5) การหลั่ ง vasopressin,
(6) ก า ร ห ลั่ ง aldosterone, (7) ก า ร ห ลั่ ง
catecholamines จากต อมหมวกไต, (8) การ
ส ง เสริ ม noradrenergic neurotransmission,
(9) ก ารเพิ่ ม sympathetic tone, (10) ก าร
เปลี่ ยนแปลงต อการทํ าหน าที่ ของไต, (11)
การหนาตัวและเพิ่มจํานวนของเซลล
ความแตกต า งระหว า ง ARBs
และ ACEIs
แม ว า ยาทั้ ง สองกลุ ม มี ผ ลยั บ ยั้ ง
RAS แต ARBs ก็ มี ค วามแตกต า งจาก
ACEIs หลายประการดังนี้
1. ARBs ยั บ ยั้ ง การกระตุ น AT1
receptors ด วย ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ที่ สู งก ว า
ACEIs
เนื่ อ งจาก ACEIs ยั บ ยั้ ง การสร า ง
angiotensin II ที่ สั ม พั น ธ กั บ การทํ าหน า ที่
ของ ACE เท านั้ น แต ไม มี ผ ลต อ การสราง
จาก pathways อื่ น ที่ ไ ม สั ม พั น ธ กั บ ACE
(non-ACE angiotensin II-generating
pathways) ทํ า ใ ห angiotensin I ยั ง
สามารถเปลี่ ย นเป น angiotensin II และมี
ผลกระตุ น ต อ AT1 receptors ได (แม ใ น
ภาวะที่มี ACEIs) แตเนื่องจาก ARBs มีผล
กั้ น AT1 receptors โด ย ต ร ง ฤ ท ธิ์ ข อ ง
angiotensin II ต อ AT1 receptors จึ งถู ก
ยั บ ยั้ งได โด ย ไม จํ า เป น ต องคํ านึ งว า
angiotensin II ถูกสรางจาก pathways ใด
2. ARBs มี ผ ล ก ร ะ ตุ น AT2
receptors ทางออมเมื่อเทียบกับ ACEIs
ผลจากการกั้น AT1 receptors ของ
ARBs ทํ า ให ร ะดั บ angiotensin II ในร า ง
กายเพิ่มขึ้นหลายเทาตัว แตเนื่องจาก AT2
receptors ไมถูกกั้นดวย ARBs ยากลุมนี้จึง
มีผลทางออมทําใหเกิดการกระตุนตอ AT2
receptors (ดู หั ว ข อ “Angiotensin
receptors” ป ร ะ ก อ บ ) ก า ร กั้ น AT1
29
receptors สั ม พั น ธ กั บ การต า นฤทธิ์ ไม พึ ง
ป ร ะ ส ง ค ข อ ง angiotensin II (เ ช น
vasoconstriction, cellular proliferation,
cardiac hypertrophy, myocardial fibrosis
และลดการหลั่ง aldosterone เปนตน) สวน
การที่ angiotensin II ยั ง สามารถจั บ กั บ
(กระตุน) AT2 receptors เชื่อวานาจะกอให
เกิดผลดีหลายประการ เชน vasodilatation,
antiproliferative effects, ล ด myocardial
collagen synthesis เปนตน)
3. ACEIs มี ผ ล เพิ่ ม ร ะ ดั บ ACE
substrates ซึ่งรวมถึง bradykinin
ดั ง ได ก ล า วมาแล ว ว า ACE เป น
nonspecific enzyme ที่นอกจากจะทําหนา
ที่ เ ป ลี่ ย น angiotensin I ไ ป เ ป น
angiotensin II แ ล ว ยั ง มี ผ ล ส ล า ย
substrates อีกหลายชนิด (เชน bradykinin
และ vasodilator peptides อื่ น ๆ) ให ก ลาย
เป น inactive metabolites ดั ง นั้ น ก ารใช
ACEIs จึงมีผลเพิ่ ม ACE substrates เหลา
นี้ ในขณะที่ ARBs ไมมีผลดังกลาว
ก า ร ที่ ACEIs ทํ า ใ ห ร ะ ดั บ
bradykinin ในรางกายเพิ่ มขึ้ น นํ าไปสู การ
ปลดปล อ ย nitric oxide และ prostacyclin
ซึ่งเปน mediators ที่ทําใหหลอดเลือดขยาย
ตัว (เปนผลดีที่เพิ่มเติมจากการยับยั้ง RAS
ของ ACEIs) แต ใ นขณ ะเดี ย วกั น ระดั บ
bradykinin ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น นี้ อาจก อ ให เ กิ ด ผล
ขางเคียง เชน อาการไอ หรือ angioedema
(เป น ผ ล เสี ย ข อ ง ACEIs) ดั งนั้ น ก ารที่
ARBs ไมมีผลเพิ่มระดับ bradykinin ในราง
กาย จึงทําใหยากลุมนี้เกิดผลขางเคียง (ซึ่ง
ได แ ก อาการไอ และ angioedema) น อ ย
กว า ACEIs แต ถึ งกระนั้ น ก็ ข าดผลดี จ าก
ฤทธิ์ขยายหลอดเลือดของ bradykinin ดวย
อยางไรก็ตาม ขอบงพรองดังกลาวอาจทด
แทนไดดวยการที่ยานี้สงผลทางออมที่ทําให
เกิ ด การกระตุ น AT2 receptors ดั ง กล า ว
แลว
อย า งไรก็ ต าม ยั ง คงต อ งรอการ
พิสูจนและศึกษากันตอไปวา ความแตกตาง
เหลานี้จะสงผลตอประสิทธิผลในทางคลินิก
ของยาทั้ ง สองกลุ ม หรื อ ไม แต จ วบจนถึ ง

ป จ จุ บั น ยั ง ไม มี ห ลั ก ฐานใดๆ ที่ แ สดงว า
ARBs หรือ ACEIs มีประสิทธิผลการรักษา
ที่เหนือกวากันและกัน เพียงแต ARBs กอ
ให เ กิ ด อาการไอ และ angioedema น อ ย
กว า ACEIs เท า นั้ น อย า งไรก็ ต าม เนื่ อ ง
ดวย ARBs ยังมีราคาแพง ดังนั้นการใชยา
กลุมนี้จึงตองพิจารณาถึง cost-effectiveness
รวมดวย
Pharmacokinetics
คุ ณ สมบั ติ ท าง pharmacokinetics
ของ ARBs บางชนิด แสดงไวในตารางที่ 5
ทั้งนี้ จะเห็นไดวายาบางประเภทมีฤทธิ์กั้น
AT1 receptors ได ด ว ยตั ว ของมั น เอง แต
บ างช นิ ด มี ก ารเป ลี่ ย น ไป เป น active
metabolite กอน ยกตัวอยางเชน olmesartan medoxomil ซึ่ ง อยู ในรูป prodrug ที่ ไม
มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา แตยาในรูปดังกลาว
สามารถถูกดูดซึมจากทางเดิ นอาหารได ดี
หลังจากเขาสูรางกายแลว ยาจึงถูกเปลี่ยน
แปลงเป น active drug (olmesartan) ที่ มี
ฤทธิ์ ท างเภสั ช วิ ท ยาต อ ไป ส ว นกรณี ข อง
losartan นั้ น ทั้ ง parent compound และ
metabolite (EXP3174) ลวนสามารถกั้น AT1
receptors ได
ARBs ทุ ก ชนิ ด สามารถให ท างรั บ
ประทาน และโดยทั่ วไปสามารถส งผลต อ
hemodynamics ไดยาวนาน จึงสามารถรับ
ประทานยาวันละครั้งได
ประโยชนทางคลินิก
ยากลุ ม ARBs มี ป ระโยชน ท าง
คลิ นิ ก และข อ บ ง ชี้ ที่ ค ล า ยคลึ ง กั บ ยากลุ ม
ACEIs ก ล าว คื อ ส าม ารถ นํ าม าใช ใน
hypertension, congestive heart failure,
post-myocardial infarction แ ล ะ diabetic
nephropathy ซึ่ งรายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ การ
ศึกษาทางคลินิกที่เกี่ยวของ ไดสรุปไวในตา
รางที่ 6 อยางไรก็ตาม จวบจนถึงปจจุบันยัง
ไม มี ห ลัก ฐานที่ แ สดงวา ARBs มี ป ระสิท ธิ
ผลที่ เ หนื อ กว า ACEIs (ดู ก ารศึ ก ษาที่ ชื่ อ
ELITE II, RESOLVD, OPTIMAAL, VALIANT
ประกอบ)
30
ตารางที่ 5 Pharmacokinetic parameters ของ ARBs (ดัดแปลงจาก Weber MA.8 และ Gardner SF,
Franks AM.3)
การปรับ
Half-life เวลาที่ถึงความ การปรับ
Active
ขนาดใน
ยา
Absolute
(ชั่วโมง) เขมขนสูงสุด ขนาดเมื่อ hepatic
metabolite
bioavailaCLcr<30%
(ชั่วโมง)
failure
bility (%)
Losartan
33
EXP31741
2
1 (losartan), ไมจําเปน ลดขนาด
3-4 (EXP3174)
ลง 50%
Valsartan
25
ไมมี
6
2-4
ตองระวัง ตองระวัง
Irbesartan
60-80
ไมมี
11-15
1.5-4
ตองระวัง ไมจําเปน
Candesartan
15
Candesartan
9-13
3-4
ตองระวัง ไมจําเปน
Cilexetil
(CV15959)
Telmisartan
42
ไมมี
24
0.5-1
ไมจําเปน ตองระวัง
Olmesartan
26
Olmesartan
12-15
2
ไมจําเปน ไมจําเปน
medoxomil
(RNH-6270)
1
Half-life = 6-9 ชั่วโมง
CLcr หมายถึง creatinine clearance

ตาราง 6 การศึกษาทางคลินิกที่สําคัญของยากลุม ARBs [ดัดแปลงจาก Weber MA.3 และ Epstein BJ,
Gums JG. 2]
ชื่อการศึกษา
การรักษา
Primary end points
ผลการศึกษา
(โรค/ภาวะ)
Losartan เทียบกับ ผลรวมของ ”การตายจาก กลุม losartan มี primary
LIFE
โรคหัวใจและหลอดเลือด endpoint ลดลงอยางมีนัย
(hypertension ที่ atenolol
+ strokes + myocardial สําคัญ 13 %, stroke ลดลง
ECG แสดง LVH)
25% และ new-onset
infarctions”
diabetes ลดลง 25%
ไมมีความแตกตางกันอยางมี
Valsartan เทียบกับ ผลรวมของ ”อัตราตาย
VALUE
และอัตราเจ็บปวยจากโรค นัยสําคัญ
(hypertension ที่มี amlodipine
หัวใจ”
ความเสี่ยงสูงตอ
โรคหัวใจและหลอด
เลือด)
Primary = ไมมีความแตกตาง
ELITE (CHF)
Losartan เทียบกับ การทํางานของไต
captopril
(secondary endpoint = อยางมีนัยสําคัญ, secondary
= อัตราตายลดลง 46% ใน
อัตราตาย)
กลุม losartan1
ELITE II (CHF)
Losartan เทียบกับ อัตราตาย
ไมมีความแตกตางอยางมีนัย
captopril
สําคัญ
ความสามารถในการออก กลุม candesartan และกลุม
RESOLVD (CHF) Candesartan
enalapril มีผลตอการสามารถ
เทียบกับ enalapril กําลังกาย, ejection
fraction, และ New York ในการออกําลังกาย และ
เทียบกับ
Heart Association class ventricular function ไมแตก
candesartan +
ตางกัน แตการใชยารวมกัน
enalapril
ทําให ejection fraction เพิ่ม
ขึ้น และลด ventricular
volumes เมื่อเปรียบเทียบกับ
การใชยาเพียงชนิดเดียว
1
เมื่อทําการศึกษาซ้ําใน ELITE II โดยใชกลุมตัวอยางขนาดใหญขึ้น พบวาทั้งสองกลุมมีอัตราตายไมแตก
ตางกัน

31
ตาราง 6 (ตอ) การศึกษาทางคลินิกที่สําคัญของยากลุม ARBs [ดัดแปลงจาก Weber MA.3 และ Epstein BJ,
Gums JG. 2]
ชื่อการศึกษา
การรักษา
Primary end points
ผลการศึกษา
(โรค/ภาวะ)
ทั้งสองกลุมมีอัตราตายไมแตก
ValHeFT (CHF)
Valsartan เทียบกับ อัตราตาย, ผลรวมของ
placebo (ยามาตร ”อัตราตาย+ อัตราเจ็บปวย” ตางกัน, แตกลุม valsartan มี
ผลรวมของอัตราตายและอัตรา
ฐานที่ใชใน CHF)
เจ็บปวย ตลอดจนอัตราการเขา
รับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
ต่ํากวาอยางมีนัยสําคัญ
OPTIMAAL (post- Losartan เทียบกับ อัตราตายจากทุกสาเหตุ
ทั้งสองกลุมไมมีความแตกตาง
MI)
captopril
กันอยางมีนัยสําคัญ
ทั้งสามกลุมมี อัตราตายจากทุก
VALIANT (postCaptopril เทียบกับ อัตราตายจากทุกสาเหตุ
สาเหตุ ตลอดจนผลรวมของ
MI)
Valsartan เทียบกับ
”การตายจากโรคหัวใจและ
captopril +
หลอดเลือด + recurrent MI +
valsartan
การเขารับการรักษาตัวในโรง
พยาบาลเนื่องจาก heart
failure” ไมแตกตางกัน แตกลุม
ที่ไดรับยารวมกันเกิดผลขาง
เคียงมากกวา
RENAAL (diabetic Losartan เทียบกับ ผลรวมของ ”การที่ serum กลุม losartan เกิด primary
creatinine เพิ่มจากเดิม 2 endpoint ต่ํากวาอยางมีนัย
nephropathy)
placebo (ยาลด
สําคัญ
ความดันเลือดชนิด เทา + end-stage renal
failure + การตายจากทุก
ดั้งเดิม)
สาเหตุ”
Irbesartan เทียบกับ ผลรวมของ ”การที่ serum กลุม irbesartan เกิด primary
IDNT (diabetic
creatinine เพิ่มจากเดิม 2 endpoint ต่ํากวากลุม placebo
nephropathy รวม amlodipine เทียบ
และ amlodipine อยางมีนัย
กับ hypertension) กับ placebo (ยาลด เทา + end-stage renal
ความดันเลือดชนิด failure + การตายจากทุก สําคัญ
สาเหตุ”
ดั้งเดิม)
Nephropathy
กลุมที่ไดรับยาขนาด 300 mg
Irbesartan (150
IRMA 2 (type 2
เกิด nephropathy ต่ํากวากลุม
mg) เทียบกับ
diabetes ที่มี
ที่ไดรับยาขนาด 150 mg แมวา
microalbuminuria) irbesartan (300
ทั้งสองขนาดมีผลลดความดัน
mg) เทียบกับ
เลือดไดใกลเคียงกัน
placebo
LVH, left ventricular hypertrophy; CHF, congestive heart failure; MI, myocardial infarction.
ELITE, Evaluation of Losartan in the Elderly; IDNT, Irbesartan Diabetic Nephropathy Trial; IRMA 2,
Irbesartan Microalbuminuria Type 2; LIFE, Losartan Intervention for Endpoint Reduction in
Hypertension; OPTIMAAL, Optimal Therapy In Myocardial Infarction with the Angiotensin II
Antagonist Losartan; RENAAL, Reduction of Endpoints in NIDDM With the Angiotensin II Antagonist
Losartan; RESOLVD, Randomized Evaluation of Strategies for Left Ventricular Dysfunction;
ValHeFT, Valsartan in Heart Failure Trial; VALIANT, Valsartan in Acute Myocardial Infarction Trial;
VALUE, Valsartan Antihypertensive Long-term Use Evaluation.

ผลขางเคียง
อุบัติการณการหยุดใช ARBs เนื่อง
จากอาการไม พึ งประสงค นั้ น ไม แ ตกต า ง
จากการใช placebo อนึ่ ง ยากลุ ม นี้ มี ข อ

แตกต างจาก ACEIs คื อ ก อ ให เกิ ด อาการ
ไอ และ angioedema ไดนอยกวา อยางไร
ก็ตาม ARBs ยังมีผลขางเคียงบางประการ
ที่ ค ลายคลึงกั บ ACEIs กลาวคือ อาจมี ผ ล
32
เสียตอทารกในครรภ ดังนั้นจึงไมแนะนําให
ใช ย ากลุ ม นี้ ใ นหญิ ง ตั้ ง ครรภ หรื อ หากจํ า
เปนตองใชก็ควรหยุดยากอนไตรมาสที่สอง
ของการตั้งครรภ
ควรใช ย ากลุ ม ARBs ด ว ยความ
ระมัดระวังอยางสูงในผูปวยที่ความดันเลือด
และการทํางานของไตขึ้นอยูกับ RAS อยาง

1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.

มาก ซึ่งการใชยาในผูปวยกลุมดังกลาวอาจ
ทําใหเกิด hypotension, ปสสาวะออกนอย
(oliguria), progressive azotemia ห รื อ
acute renal failure ไ ด น อ ก จ า ก นี้ ย า
กลุมนี้ยังอาจกอใหเกิด hyperkalemia ในผู
ปวยที่มีโรคไต หรือเมื่อไดรับยารวมกับ K+sparing drugs

บรรณานุกรม
Benowitz NL. Antihypertensive agents. In: Katzung BG, editor. Basic & clinical
pharmacology. 8th ed. New York: The McGraw-Hill Companies, Inc; 2001. p.155-80.
Epstein BJ, Gums JG. Angiotensin receptor blockers versus ACE inhibitors:
prevention of death and myocardial infarction in high-risk populations. Ann
Pharmacother 2005;39(3):470-80.
Gardner SF, Franks AM. Olmesartan medoxomil: the seventh angiotensin receptor
antagonist. Ann Pharmacother 2003;37(1):99-105.
Jackson EK. Renin and angiotensin. In: Hardman JG, Limbird LE, Gilman AG,
editors. Goodman & Gilman’s the pharmacological basis of therapeutics. 10th ed.
New York: The McGraw-Hill Companies, Inc; 2001. p.809-42.
Levy BI. Can angiotensin II type 2 receptors have deleterious effects in
cardiovascular disease? Implications for therapeutic blockade of the reninangiotensin system. Circulation 2004;109(1):8-13.
Rang HP, Dale MM, Ritter JM. The circulation. In: Rang HP, Dale MM, Ritter JM,
editors. Pharmacology. 3rd ed. London: Churchill Livingstone; 1995. p.301-322.
Siragy HM. The role of the AT2 receptor in hypertension. Am J Hypertens
2000;13:62-7.
Weber MA. The angiotensin II receptor blockers: opportunities across the
spectrum of cardiovascular disease. Rev Cardiovasc Med 2002;3(4):183-91.

33

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceLoveis1able Khumpuangdee
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1Tanchanok Pps
 
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อกลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อSarawut Fnp
 
โรคตาฟาง
โรคตาฟางโรคตาฟาง
โรคตาฟางspeedpen111
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุsarungolf
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมSurang Judistprasert
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทDew Thamita
 
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืชWichai Likitponrak
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดVorawut Wongumpornpinit
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบparwaritfast
 
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำเรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำSiriporn Sonangam
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptxssuser124dc9
 
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13Utai Sukviwatsirikul
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม AtomsBELL N JOYE
 

Mais procurados (20)

Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อกลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
กลไกการหดตัวของกล้ามเนื้อ
 
โรคตาฟาง
โรคตาฟางโรคตาฟาง
โรคตาฟาง
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช
15.ปัจจัย photosynthesis และการปรับตัวของพืช
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือด
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
 
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำเรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
เรียนรู้เรื่อง Phrase วลี หรือกลุ่มคำ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
Ventilator
VentilatorVentilator
Ventilator
 
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
16.2.1 แบบจำลองแก๊สอุดมคติ.pptx
 
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
รายการยาที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ขย.13
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 

Semelhante a 02 fm inhibitors of ras 3

Semelhante a 02 fm inhibitors of ras 3 (9)

Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
Ƿҧǫժѵ Septic shock
Ƿҧǫժѵ Septic shockǷҧǫժѵ Septic shock
Ƿҧǫժѵ Septic shock
 
Septic shock
Septic shockSeptic shock
Septic shock
 
Septic shock guideline
Septic shock guidelineSeptic shock guideline
Septic shock guideline
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
 
Transportation body
Transportation bodyTransportation body
Transportation body
 
Shock (Thai)
Shock (Thai)Shock (Thai)
Shock (Thai)
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

02 fm inhibitors of ras 3

  • 1. 2 Inhibitors of ReninAngiotensin System ศุภนิมิต ทีฆชุณหเถียร พ.บ., วท.ด. (เภสัชวิทยา) RENIN-ANGIOTENSIN SYSTEM (RAS) ของ glomerulus พบวาการเพิ่มการสงผาน (flux) ของ NaCl เขาสู macula densa มีผล ยับ ยั้งการหลั่ ง renin ในขณะที่ การลดการ สงผานดังกลาวมีผลกระตุนการหลั่ง renin อย างไรก็ ต าม ป จ จุ บั น เชื่ อ ว า การควบคุ ม การทํางานของกลไกนี้ นาจะขึ้นอยูกับความ เข ม ข น ของ Cl- ที่ อ ยู ใน lumen ของท อ ไต มากกวา Na+ 2. Intrarenal Baroreceptor Pathway พบว า การเพิ่ ม และลดความดั น เลือดที่เขาสูไตและ preglomerular vessels มีผลยับ ยั้งและกระตุน การหลั่ง renin ตาม ลําดับ 3. Beta-Adrenergic Receptor Pathway กลไกนี้ อ าศั ย norepinephrine ที่ ห ลั่ ง จ า ก post-ganglionic sympathetic nerve terminals พบว า การกระตุ น beta1 receptors ที่ juxta-glomerular cells มี ผ ล เพิ่มการหลั่ง renin Renin เ ป น glycoprotein ที่ มี amino acid 340 ตั ว มี juxtaglomerular cells ที่ บุ ผ นั ง afferent arterioles ข อ ง glomerulus ทําหนาที่สังเคราะห เก็บสะสม และปลดปล อ ยเข าสู ระบบไหลเวีย นเลื อ ด แดงของไต (และเขาสูระบบไหลเวียนเลือด ของรางกายในที่สุด) renin มีคุณสมบัติเปน enzyme ที่ ทํ าห น าที่ ตั ดพั น ธะระห ว า ง amino acid ลํ า ดั บ ที่ 10 แ ล ะ 11 ข อ ง angiotensinogen ซึ่งเปน alpha 2-globulin ที่ สั ง เคราะห แ ละหลั่ ง จากตั บ มี ผ ลทํ า ให angiotensinogen ซึ่ ง มี amino acid 342 ตั ว เปลี่ยนเป น angiotensin I ซึ่งมี amino acid 10 ตั ว จ า ก นั้ น จ ะ มี ก า ร เป ลี่ ย น angiotensin I ให เ ป น angiotensin II ซึ่ ง มี amino acid 8 ตั ว โดยอาศั ย angiotensin converting enzyme (ACE) (รู ป ที่ 1 แ ล ะ 2) Negative Feedback Mechanism เมื่ อมี ก ารหลั่ ง renin เพิ่ มขึ้น ไม ว า จ ะ ด ว ย ก ล ไก ใด ก็ ต า ม ร า ง ก า ย จ ะ มี negative feedback mechanism เพื่อยับยั้ง การหลั่ ง renin กลไกดั ง กล า วแบ ง เป น 2 ประเภทดังนี้ 1. Short-Loop Negative Feedback Mechanism หมายถึง กลไกปอนกลับที่เกิดขึ้น เนื่ องจาก renin มี ผ ลทํ าให angiotensin II เพิ่ ม ขึ้ น (รู ป ที่ 2) แ ล ะ angiotensin II สาม ารถ ก ระตุ น angiotensin receptors กลไกควบคุมการหลั่ง Renin โดยปกติ ร า งกายมี ก ลไกควบคุ ม การหลั่ ง renin จาก juxtaglomerular cells ดังนี้ 1. Macula Densa Pathway Macula densa เป น ส ว นที่ อ ยู ชิ ด กับ juxtaglomerular cells และประกอบขึ้น จาก columnar epithelial cells ซึ่ ง บุ ผ นั ง cortical thick ascending limb ที่ ผ า น ระหว า ง afferent และ efferent arterioles 17
  • 2. รูปที่ 1 การเปลี่ยน angiotensinogen ไปเปน angiotensin I โดยใช renin และการเปลี่ยน angiotensin I ไป เป น angiotensin II โดยใช angiotensin converting enzyme (ACE) [ดั ด แปลงจาก Rang HP, Dale MM, Ritter JM.6] รูป ที่ 2 การทํ างานของ angiotensin converting enzyme (ACE) ที่ เกี่ ยวของกับ RAS และการเปลี่ย น bradykinin ให เป น inactive metabolite โดยที่ แสดงตํ า แหน ง ของการยั บ ยั้ ง ACE ส ว น แสดง ตําแหนงของการยับยั้ง angiotensin II receptor [คัดลอกจาก Benowitz NL..1] ช นิ ด AT1 (ดู หั วข อ “ Angiotensin receptors ” ประกอบ) ที่ juxtaglomerular cells เพื่ อ ยับยั้งการหลั่ง renin ได 2. Long-Loop Negative Feedback Mechanism หมายถึง กลไกป อนกลับ ที่ เกิดขึ้น เนื่ อ งจาก angiotensin II มี ผ ลทํ า ให ค วาม ดันเลือดเพิ่มขึ้น (ดูรายละเอียดตอไป) การ เพิ่ มความดันเลือดดังกลาวมีผลยับ ยั้งการ หลั่ง renin ไดเนื่องจาก 2.1 มีการลดการดูดซึม NaCl จาก ทอไตสวนตน ซึ่งเปนกลไกการขับปสสาวะ ที่ สั ม พั น ธ กั บ ความดั น เลื อ ด (pressurenatriuresis) ผลดังกลาวทําใหมี NaCl ผาน เขาสู macula densa ไดเพิ่มขึ้น 18
  • 3. 2.2 มี ก ารเพิ่ ม ความดั น เลื อ ดใน preglomerular vessels 2.3 ความดั น เลื อ ดที่ เพิ่ ม ขึ้ น ทํ าให baroreceptor reflex ของรางกายลดลง จึง มี sympathetic tone ไปที่ไตลดลง sin II จะไดอธิบายโดยละเอียดในหัวขอตอ ไป Tissue RAS แ ต ดั้ งเดิ ม เชื่ อ ว า renin ที่ ป ล ด ปล อ ยจากไตสู ก ระแสเลื อ ดมี ผ ลเปลี่ ย น angiotensinogen ในเลือดที่สรางจากตับให เป น angiotensin I จากนั้ น angiotensin I ใน เลื อ ด ก็ จ ะถู ก ACE ใน เลื อ ด แ ล ะที่ endothelial cell ของปอดเปลี่ ย นให เ ป น angiotensin II ต อ ม า angiotensin II จึ ง ไหลเวียนตามกระแสเลือดเพื่อไปสูอวัยวะ เป าหมาย แลวกอใหเกิดผลทางสรีรวิท ยา ขึ้ น แต ป จ จุ บั น พบว า ร า งกายยั ง มี tissue RAS ที่ ก อ ให เกิ ด ผลต อ เนื้ อ เยื่ อ ต า งๆ ได โดยตรง ซึ่งสามารถแบ งออกเปน 2 ระบบ ยอยดังนี้ 1. Extrinsic, Tissue RAS เนื่ อ งจากผนั ง หลอดเลื อ ดมี ค วาม ส าม ารถ ใน ก ารเก็ บ กั ก (sequestered) renin ในกระแสเลื อ ดไว ไ ด ประกอบกั บ มี ACE ที่ อ ยู บ ริเวณผิ ว ด า นรูก ลวง (luminal face) ของ endothelial cell ของหลอดเลือด ทั่วรางกาย ทําใหบริเวณผนังหลอดเลือดนี้ เป น แหล ง ที่ ส ามารถเปลี่ ย น angiotensinogen ไปเป น angiotensin I และ II ได ตามลําดับ จากนั้น angiotensin II จึงกอให เกิดผลทางเภสัชวิทยาตอเนื้อเยื่อบริเวณนั้น 2. Intrinsic, Tissue RAS พบวาสมอง, ตอมใตสมอง, หลอด เลื อ ด, หั ว ใจ, ไต และต อ มหมวกไต เป น เนื้ อ เยื่ อ ที่ มี gene expression และมี ก าร สราง mRNA ของ renin, angiotensinogen และ ACE ดังนั้นจึงเชื่อวานาจะมี RAS ใน เนื้อเยื่อซึ่งเปนเอกเทศและไมเกี่ยวของกับ ระบบฯ ที่ สัม พั น ธกั บ ไตและตั บ อยางไรก็ ตาม ปจจุบันยังไมสามารถบอกไดวาระบบ นี้มีความสําคัญทางสรีรวิทยาเพียงใด เนื่อง จากยังไมพบเซลลเดี่ยวในเนื้อเยื่อใดๆ ที่มี สวนประกอบของ RAS ครบถวน Angiotensin Converting Enzyme (ACE) เ มื่ อ renin เ ป ลี่ ย น angiotensinogen ให เ ป น angiotensin I แล ว จาก นั้ น จะมี ก ารเปลี่ ย น angiotensin I ซึ่ งมี amino acid 10 ตั ว ให เ ป น angiotensin II ซึ่งมี amino acid 8 ตัว โดยตัด amino acid 2 ตั ว สุ ด ท า ยออกด ว ย enzyme ที่ ชื่ อ ว า ACE ซึ่ ง อาจมี ชื่ อ เรี ย กต า งๆ กั น ไป เช น kininase II หรื อ dipeptidyl carboxypeptidase เป น ต น (รู ป ที่ 1 และ 2) ACE เป น metalloenzyme ที่มีอะตอมของสังกะสีเปน องค ป ระกอบในโมเลกุ ล enzyme ชนิ ด นี้ ของมนุ ษ ย เ ป น glycoprotein ที่ มี amino acid 1278 ตั ว แ ล ะ เ ป น nonspecific enzyme ที่ ส ามารถตั ด amino acid 2 ตั ว ทาย (dipeptide unit) ออกจากสารตั้งตนที่ มีลําดับการเรียงตัวของ amino acid ตางๆ กัน แต ACE ไมสามารถตัดพั นธะระหวาง amino acid ชนิ ด proline กั บ ชนิ ด อื่ น ดั ง นั้ น จึ งไม มีผ ลทํ าลาย angiotensin II อยาง ไรก็ตาม นอกจาก angiotensin I แลว ACE ยั งมี ผ ลสลาย bradykinin และ vasodilator peptides อื่ น ๆ ให ก ล า ย เป น inactive metabolites (รูปที่ 2) พบว า การเปลี่ ย น angiotensin I เป น angiotensin II ใน plasma เกิ ด ขึ้ น คอนขางชา แตการเปลี่ยนแปลงดังกลาวใน ร า งกาย (in vivo) นั้ น เกิ ด ขึ้ น ได อ ย า งรวด เร็ว ทั้งนี้ อธิบายวาเปนผลมาจากมี ACE ที่ จั บ อยู กั บ เยื่ อ หุ ม เซลล ข อง endothelial cells กระจายอยูในหลอดเลือดทั่วรางกาย ดังนั้นอวัยวะที่มีหลอดเลือดและหลอดเลือด ฝอยหนาแน น (เช น ป อด, สมอง, ไต, retina ฯ ล ฯ ) จึ ง มี ACE ใน ป ริ ม า ณ สู ง สําหรับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของ angioten19
  • 4. Angiotension (AT) Receptors tension, heart failure, post-myocardial infarction, ischemia และ diabetes เปนตน เชื่อวาการเพิ่มปริมาณของ AT2 receptors สั ม พั น ธ กั บ hormonal, cytokine แ ล ะ metabolic factors หลายประการ ฤทธิ์ทาง เภ สั ช วิ ท ย าข อง angiotensin II ต อ AT receptors ที่อยูในเนื้อเยื่อตางๆ แสดงไวใน ตารางที่ 1 (ดูหัวขอ “ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ของ angiotensin II” ประกอบ) การออกฤทธิ์ ข อง angiotensin II อาศัยการจับ กั บ angiotensin receptors ที่ อยูบ ริเวณเยื่อหุ มเซลล ซึ่งแบงออกเปน 2 ชนิ ด ย อ ย (subtypes) ได แ ก AT1 และ AT2 พ บ ว า AT1 receptors มี affinity สู ง ต อ losartan (รวมทั้ งอนุ พั น ธ ข อง biphenyl tetrazole) แตมี affinity ต่ําตอ PD 123177 (รวมทั้ ง อนุ พั น ธ ข อง 1-benzylspinacine) แ ล ะ CGP 42112A (peptide analog) ใน ขณะที่ AT2 receptors มีคุ ณ สมบั ติต รงกั น ขาม ใน ม นุ ษ ย AT1 receptors พ บ ใน ปริ ม าณ ที่ ค อ นข า งแน น อน (constantly expressed) ในหลายอวั ย วะ เช น หลอด เลือด, หัวใจ, ไต, ตอมหมวกไต และตับ ใน ขณะที่ AT2 receptors พบได ใ นช ว งที่ ยั ง เปนทารกในครรภ (เชื่อวามีสวนสัมพันธกับ การสรางหลอดเลือด) และปริมาณจะลดลง อยางรวดเร็วหลังจากคลอด อยางไรก็ตาม ยั ง สามารถพ บ AT2 receptors ในภาวะ ปกติไดในหลายอวัยวะ เชน ตอมหมวกไต, ไต, มดลู ก , รั ง ไข , หั ว ใจ และบางบริ เวณ ของสมอง แต receptors ชนิ ด นี้ ส ามารถ เพิ่มปริมาณไดเมื่อรางกายหรืออวัยวะเกิด พ ย า ธิ ส ภ า พ ที่ สั ม พั น ธ กั บ tissue remodeling หรื อ การอั ก เสบ เช น hyper- ฤ ท ธิ์ ท างเภ สั ช วิ ท ย าข อ ง Angiotensin II 1. ฤทธิ์ตอหลอดเลือด Angiotensin II มีผลกระตุนโดยตรง ต อ AT1 receptors ที่ อยู บ ริ เวณเซลล กล าม เนื้อเรียบของหลอดเลือดทําใหหลอดเลือดหด ตั ว โด ย มี ผ ล เด น ชั ด ต อ precapillary arterioles มากกวา postcapillary venules ผล ดั งกลาวทํ าให total peripheral resistance (TPR) เพิ่มขึ้น และทําใหความดันเลือดเพิ่ม ขึ้ น ไ ด อ ย า ง ร ว ด เ ร็ ว (rapid pressor response) นอกจากนี้ angiotensin II ยั ง มี ผ ล 1) เ พิ่ ม sympathetic outflow จ า ก ระบบประสาทส ว นกลาง 2) เพิ่ ม การหลั่ ง norepinephrine จ า ก sympathetic nerve terminals 3) ยั บยั้ ง reuptake ของ norepinephrine สู sympathetic nerve terminals และ 4) ตารางที่ 1 AT receptors ในเนื้อเยื่อ และผลของการกระตุนดวย angiotensin II [ดัดแปลงจาก Siragy M.7] เนื้อเยื่อ Receptor subtype ผลจากการกระตุน หลอดเลือด AT1 กลามเนื้อเรียบหดตัว Intimal hyperplasia Angiogenesis AT2 กลามเนื้อเรียบขยายตัว (ผาน bradykinin และ nitric oxide) ยับยั้ง hyperplasia และ angiogenesis กลามเนื้อหัวใจ AT1 Cardiac hypertrophy เพิ่มการสังเคราะห collagen (สัมพันธกับ myocardial fibrosis) AT2 Antihypertrophic effects ไต AT1 เพิ่ม efferent arteriolar constriction และ glomerular filtration ตอมหมวกไต AT1 เพิ่มการหลั่ง aldosterone จาก cortex เพิ่มการหลั่ง catecholamines จาก medulla สมองและตอมใต AT1 เพิ่มการหลั่ง antidiuretic hormone สมอง เพิ่มความกระหายและการดื่มน้ํา 20
  • 5. 3. ฤทธิ์ตอการเปลี่ยนแปลงโครง สรางของหัวใจและหลอดเลือด ปจจุบันเชื่อวา angiotensin II มีผล ตอโครงสรางของหัวใจและหลอดเลือดโดย ทํ า ให ร ะบบหั ว ใจและหลอดเลื อ ดเกิ ด การ เปลี่ ย นแปลงทางพยาธิ ส ภาพได ห ลาย ประการ เชน 1. หั ว ใจเกิ ด concentric hypertrophy ซึ่งสัมพันธกับ hypertension 2. หั วใจเกิ ด eccentric hypertrophy และ cardiac fibrosis ซึ่ ง สั ม พั น ธ กั บ congestive heart failure และ myocardial infarction 3. มีการเพิ่มของอัตราสวนระหวาง ผนัง (wall) และรูกลวง (lumen) ของหลอด เลือด ซึ่งสัมพันธกับ hypertension 4. ผิ ว ชั้ น ในสุ ด (intimal surface) ของผนั ง หลอดเลื อ ดเกิ ด การหนาตั ว ซึ่ ง สัมพันธกับ atherosclerosis ทั้ งนี้ ส าม ารถ อ ธิ บ าย ก ล ไก ที่ angiotensin II ทํ าให เกิ ด การเปลี่ ย นแปลง โครงสรางของหัวใจและหลอดเลือดไดดังนี้ 3.1 Nonhemodynamically Mediated Effects Angiotensin II มี ผ ล ก ร ะ ตุ น migration, proliferation, hypertrophy และ/ หรือ ความสามารถในการสั ง เคราะห ส าร ต า งๆ ของเซลล ก ล า มเนื้ อ เรี ย บในหลอด เลื อ ด, เซลล ก ล า มเนื้ อ หั ว ใจ และ/หรื อ fibroblasts โดยมี ผ ลเหนี่ ย วนํ า ให เ ซลล มี การสังเคราะห proto-oncogenes บางชนิด ซึ่งนําไปสูการสราง proteins ที่มีผลเปลี่ยน แปลง gene expression ต า งๆ ที่ สั ม พั น ธ กั บ การกระตุ น การเจริ ญ เติ บ โตของเซลล เ ช น fibroblast growth factor, platelet derived growth factor แ ล ะ transforming growth factor β นอกจากนี้ angiotensin II ยังมีผ ลเพิ่ ม gene expression ที่ เกี่ ยวของ กับการสราง proteins ที่อยูใน extracellular matrix เ ช น collagen, fibronectin แ ล ะ tenascin เปนตน เพิ่ ม การตอบสนองของหลอดเลื อ ดต อ norepinephrine ซึ่ ง ผลที่ ก ล า วมาข า งต น ลวนแตสงเสริมใหเกิดการหดตัวของหลอด เลือด 2. ฤทธิ์ตอไต 2.1 ฤทธิ์ เพิ่ มการหลั่ ง Aldosterone จาก Adrenal Cortex Angiotensin II มี ผ ลกระตุ น zona glomerulosa ข อ ง adrenal cortex ใ ห สั ง เคราะห แ ละหลั่ ง aldosterone เพิ่ ม ขึ้ น โดย aldosterone มี ผ ลทํ า ให ท อ ไตส ว น collecting tubules ดูดซึม Na+ กลับและขับ K+ กั บ H+ มากขึ้ น การดู ด ซึ ม Na+ กลั บ มี ผลเพิ่มปริมาณน้ําในระบบหัวใจและหลอด เลือดอยางคอยเปนคอยไป ทําใหความดัน เลื อ ด เพิ่ ม ขึ้ น อย างช าๆ (slow pressor response) 2.2 ฤทธิ์ตอระบบไหลเวียนเลือด ในไต Angiotensin II มี ผ ลเปลี่ ย นแปลง glomerular filtration rate (GFR) ได ห ลาย รูป แบบ เนื่ อ งจากมี ผ ลต อ ส ว นต างๆ ของ nephron แตกตางกันไปดังนี้ -ทํ า ให afferent arterioles หดตั ว ส ง ผลให intraglomerular pressure ลดลง มีผลลด GFR -ทํ าให mesangial cells หดตั ว ส ง ผลใหพื้ นที่ผิ วของหลอดเลือดฝอยที่อยูใน glomerulus ซึ่ ง ใช ใ นการกรอง (filtration) ลดลง มีผลลด GFR -ทํ า ให efferent arterioles หดตั ว สงผลใหความดันเลือดใน glomerulus เพิ่ม ขึ้น มีผลเพิ่ม GFR ในภาวะปกติ angiotensin II มี ผ ล ทําให GFR ลดลงเล็กน อย แตในภาวะที่ มี เลือดเขาไปเลี้ยงไตไดนอย ผลตอ efferent arterioles จะเด น ชั ด ขึ้ น ทํ า ให มี ผ ลเพิ่ ม GFR ดังนั้นการใชยาที่มีผลยับยั้ง RAS จึง อาจทํ าให GFR ลดลงจนเกิ ด acute renal failure ได ใ นผู ป ว ย bilateral renal artery stenosis หรือในผูปวยที่มีไตขางเดียวรวม กับมี renal artery stenosis ของไตขางนั้น 21
  • 6. Effects 3.2 Hemodynamically Mediated blood pressure, systolic blood pressure แ ล ะ mean arterial pressure ล ด ล ง ย า ชนิดนี้มักใหผลดีในการรักษา hypertension ยกเว น ชนิ ด ที่ มี ส าเหตุ ม าจาก primary aldosteronism นอกจากนี้ ACEIs ยั ง เป น ย า ที่ ไม ก อ ให เกิ ด salt-water retention เนื่ อ งจากยามี ผ ลลดการหลั่ ง aldosterone และยั ง ไม ก อให เกิ ด reflex tachycardia เนื่ อ ง จ า ก มี ผ ล ป รั บ ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง baroreceptor แ ล ะ ล ด อิ ท ธิ ผ ล ข อ ง angiotensin II ที่ มี ต อ sympathetic nervous system ผลลดความดั น เลื อ ดในระยะแรก ข อ งย า แ ป ร ผั น ต ร ง กั บ plasma renin activity (PRA) และ plasma angiotensin II ที่วัดไดในชวงกอนใหยา อยางไรก็ตาม หลัง การใชยาอยางตอเนื่องหลายสัปดาหตอมา พบวาฤทธิ์ล ดความดั น เลื อ ดจะไม มี ค วาม สัมพั นธกับ คาของ PRA ในชวงกอนใหยา อีกตอไป กลาวคือ ยาสามารถออกฤทธิ์ลด ความดันเลือดไดแมวาคา PRA ในชวงกอน การรักษาจะอยูในเกณฑปกติ ทั้งนี้ อธิบาย ว า การยั บ ยั้ ง การสร า ง angiotensin II ใน เนื้อเยื่อมีผลลดความดันเลือดและทําใหเกิด การเปลี่ยนแปลงดานโครงสรางของเนื้อเยื่อ ที่เกี่ยวของไดโดยไมขึ้นอยูกับคา PRA หรือ ระดับ angiotensin II ในเลือด นอกจากนี้ยัง พบวาผูปวยบางรายที่มีระดับ angiotensin II ในเลือดอยูในเกณฑปกติ อาจตอบสนอง ต อ angiotensin II ไ ด ม า ก ก ว า ป ก ติ (increased responsiveness) ดั ง นั้ น ก า ร ยับยั้งการสราง angiotensin II ดวย ACEIs จึงมีผลลดความดันเลือดในกรณีดังกลาวได อย างไรก็ ต าม สว นหนึ่ งของฤทธิ์ลดความ ดันเลือดยังสามารถอธิบายไดจากการยับยั้ง การเปลี่ ย น bradykinin ไปเป น inactive metabolite ดังไดอธิบายแลวขางตน จากการศึกษาพบวาการใช ACEIs อยางเดียวมีผลลดความดันเลือดลงสูปกติ ไดประมาณ 50% ของผูปวย hypertension ชนิ ด รุ น แรงน อ ยถึ ง ปานกลาง และพบว า ประมาณ 90% ของผู ป ว ยกลุ ม ดั ง กล า ว สามารถควบคุ ม ความดั น เลื อ ดได เมื่ อ ใช นอกเหนือจากผลโดยตรงตอเซลล ดั งได ก ลาวแล ว การเพิ่ ม cardiac preload (ซึ่ ง สั ม พั น ธ กั บ ภาวะที่ มี น้ํ า ในระบบไหล เวียนเลือดมากขึ้นจากการดูดซึม Na+ กลับ สูรางกาย) และการเพิ่ม afterload (การเพิ่ม TPR) ก็มีผลทําใหเกิด cardiac hypertrophy และ cardiac remodeling ได นอกจากนี้ hypertension ยั ง มี ส ว นทํ า ให ห ลอดเลื อ ด เกิ ด hypertrophy และ remodeling ได เช น เดี ย วกั น [สํ า หรั บ รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ preload และ afterload ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม ได จ า ก บ ท “Drug therapy of congestive heart failure”] INHIBITORS OF RAS ยาที่ มี ผ ลยั บ ยั้ ง การทํ า งานของ RAS ที่จะกลาวถึงในบทนี้ ประกอบไปดวย ยา 2 กลุ ม ได แ ก angiotensin converting enzyme inhibitors (ACEIs) แ ล ะ angiotensin receptor blockers (ARBs) 1. ACEIs ก า ร ยั บ ยั้ ง enzyme ACE ข อ ง ACEIs (รูปที่ 2) ทําใหระดับ angiotensin II ในเลื อ ดลดลง ส ง ผลให arterioles และ venules ขยายตั ว ตลอดจนลดการหลั่ ง aldosterone จาก adrenal cortex นอกจาก นี้ ACEIs ยั ง มี ผ ลยั บ ยั้ ง มิ ใ ห bradykinin เปลี่ ย นไปเป น inactive metabolite ทํ า ให ระดับ bradykinin ในรางกายเพิ่มขึ้น นําไป สู ก า ร ป ล ด ป ล อ ย nitric oxide แ ล ะ prostacyclin ซึ่ งเป น mediators ที่ ทํ าให หลอดเลือดขยายตัว ยิ่ งไปกวานั้น ACEIs ยังสามารถกระจายตัวเขาสูเนื้อเยื่อและมีผล ยับยั้ง RAS ในเนื้อเยื่อได ประโยชนทางคลินิก 1. Hypertension การยั บ ยั้ ง ACE ในผู ป ว ย hypertension มี ผ ลทํ า ให TPR รวมทั้ ง diastolic 22
  • 7. แสดงไวในตารางที่ 2 ผลการศึ กษาแสดง วาการใช ACEIs ในผู ป ว ยที่ มี ภ าวะนี้ รว ม กั บ มี อ าการของ congestive heart failure มี ผ ล ล ด อั ต ร า ต า ย โ ด ย ร ว ม (overall mortality) ไดดีกวาการใชยาหลอก ในขณะ ที่ ก ารใช ACEIs ในผู ป ว ย asymptomatic LV systolic dysfunction มีผลลดอัตราตาย โดยรวม (ดูการศึกษา “SAVE” ในตารางที่ 2 ประกอบ) หรื อ ลดผลรวมของ “อั ต ราตาย ร ว มกั บ การเข า รั บ การรั ก ษ าตั ว ในโรง พ ย า บ า ล เนื่ อ ง จ า ก congestive heart failure” ไดดีกวาการใชยาหลอกเชนกัน (ดู การศึกษา “SOLVD prevention” ในตาราง ที่ 2 ประกอบ) น อ ก จ า ก นี้ ยั ง พ บ ว า ยิ่ ง มี LV systolic dysfunction มากเทาใด ACEIs จะ ยิ่งใหประโยชนไดมากตามไปดวย ดังนั้นใน ป จจุ บั น จึ ง แน ะนํ าให ใช ACEIs ใน LV systolic dysfunction ทุ ก ราย (ถ า ไม มี ข อ ห า ม ) ไ ม ว า ผู ป ว ย จ ะ มี อ า ก า ร ข อ ง congestive heart failure หรือไมก็ตาม 3. Myocardial Infarction Acute myocardial infarction ทํ า ให เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงทางพยาธิ ส ภาพ ของกล า มเนื้ อ หั ว ใจโดยเริ่ ม จาก บริ เ วณ กล า มเนื้ อ ตายจะบางตั ว ลงพร อ มๆ กั บ ขยายบริเวณกวางขึ้น โดยที่ไมจําเปนตองมี กล า มเนื้ อ หั ว ใจตายเพิ่ ม มากขึ้ น เชื่ อ ว า ปรากฏการณดังกลาวเปนผลมาจาก 1) การ บีบตัวของ ventricle ทําใหเกิดแรงกระแทก ต อ บริ เ วณ กล า มเนื้ อ หั ว ใจตาย 2) การ อักเสบเฉพาะที่ (ซึ่งเปนผลมาจากกลามเนื้อ หัวใจตาย) ทําใหมี neutrophil เคลื่อนที่เขา มาบริ เ วณดั ง กล า วและเกิ ด การกระตุ น matrix metalloproteinases (MMPs) สงผล ให เกิ ด ก ารสลาย collagen ที่ ค้ํ าจุ น อยู ระหวางเซลลกลามเนื้อหัวใจ ปจจัยเหลานี้ เปนผลใหเกิดการเลื่อนไถลหรือแยกชั้นของ เซลลกลามเนื้อ (myocyte slippage) ทําให ผนังบริเวณนั้นบางและขยายตัวไดมากขึ้น ปรากฎการณนี้เรียกวา “infarct expansion” นอกจากนี้บริเวณกลามเนื้อหัวใจสวนที่ไม เกิ ด พยาธิ ส ภาพจะหนาตั ว เพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ ACEIs ร ว ม กั บ calcium antagonists, alpha blockers ห รื อ diuretics อ ย า ง ใด อยางหนึ่ง รายละเอี ยดเพิ่ ม เติ ม ศึ กษาไดจาก หั วข อ “ACEIs” ใน บ ท “Drug therapy of hypertension” 2. Left Ventricular (LV) Systolic Dysfunction การยับยั้งการสราง angiotensin II ข อ ง ACEIs ทํ าให เกิ ด ผ ล ดี ต อ hemodynamics ใ น ผู ป ว ย congestive heart failure ชนิ ด LV systolic dysfunction ดั ง นี้ (ดู บ ท “Drug therapy of congestive heart failure” ประกอบ) 1. มี ผ ล ข ย า ย arterioles ทํ า ให afterload ล ด ล ง จึ ง มี ผ ล เพิ่ ม cardiac output ทางออม 2. มี ผ ล ข ย า ย venules ทํ า ให มี ปริมาณเลือดดําถูกกักเก็บไวที่หลอดเลือด ดําสวนปลายมากขึ้นและไหลกลับเขาสูหัว ใจลดลง จึงมีผลลด preload 3. มีผลขยายหลอดเลือดของไต ทํา ใหการไหลเวียนเลือดในไตเพิ่มขึ้นและเกิด การขับปสสาวะ ผลดังกลาวทําใหปริมาตร ในระบบไหลเวี ย นเลื อ ดลดลง จึ ง มี ผ ลลด preload ของหัวใจได อนึ่ง การลดการหลั่ง aldosterone จาก adrenal cortex ก็เปนอีก ปจจัยที่ทําใหเกิดการดูดซึม Na+ กลับจาก ไตน อ ยลง ส งผลให ป ริ ม าตรในระบบไหล เวี ย นเลื อ ด และ preload ลดลงได อี ก ทาง หนึ่ง 4. มีผลลด ventricular remodeling ที่เกิดในภาวะหัวใจลมเหลว เนื่องจากมีฤทธิ์ ลด preload และ afterload รวมถึงมีผลลด การกระตุนการเจริญเติบโตของเซลลกลาม เนื้ อ หั วใจจาก angiotensin II ตลอดจน สามารถป อ งกั น การเกิ ด cardiac fibrosis จากฤทธิ์โดยตรงของ aldosterone ที่ มี ต อ หัวใจ ในช วงระยะเวลาหลายป ที่ ผ านมา ไดมีการศึกษาทางคลินิกที่เกี่ยวของกับการ นํ า ACEIs ม า ใ ช รั ก ษ า LV systolic dysfunction (ejection fraction < 0.40) ดั ง 23
  • 8. ตารางที่ 2 ตัวอยางการศึกษาทางคลินิกที่เกี่ยวของกับการใช ACEIs ใน LV systolic dysfunction [ดัดแปลงจาก Jackson EK, Garrison JC.4] การศึกษา กลุมผูปวย จํานวน ยาชนิดรับ ติดตาม ผลการศึกษา ผูปวย ประทาน ผล 1. การศึกษาในผูที่ไมมีอาการ (asymptomatic LV systolic dysfunction) SAVE Myocardial infarction 2231 Captopril กับ 42 เดือน ลดอัตราตาย ยาหลอก รวมกับ asymptomatic LV systolic dysfunction SOLVDAsymptomatic LV 4228 Enalapril กับ 37.4 ลดผลรวมของ “อัตรา Prevention systolic dysfunction ยาหลอก เดือน ตายรวมกับการเขารับ การรักษาตัวในโรง พยาบาลจาก congestive heart failure” 2. การศึกษาในผูปวยที่มีอาการของ congestive heart failure (CHF) CONSENSUS NYHA* IV CHF 257 Enalapril กับ 6 เดือน ลดอัตราตาย ยาหลอก SOLVDNYHA II & III CHF 2569 Enalapril กับ 41.4 ลดอัตราตาย Treatment ยาหลอก เดือน 2 ป ลดอัตราตาย และลด VHeFT II NYHA II & III CHF 804 Enalapril กับ การตายแบบกระทัน hydralazine + หัน (sudden death) isosorbide AIRE Myocardial infarction 2006 Ramipril กับ 15 เดือน ลดอัตราตาย รวมกับ CHF ยาหลอก AIRE, Acute Infarction Ramipril Efficacy study; CONSENSUS, Cooperative North Scandinavian Enalapril Survival Study; SAVE, Survival And Ventricular Enlargement study; SOLVD, Studies Of Left Ventricular Dysfunction; VHeFT II, Vasodilator-Heart Failure Trial II. *New York Heart Association Functional Class: ไมมีอาการ (I), มีอาการขณะออกกําลังกาย (II), มีอาการ ขณะออกกําลังกายเบาๆ เชน เดิน (III), มีอาการขณะพัก (IV) พยายามปรับตัวใหทํางานทดแทนกลามเนื้อ ใน ส ว น ที่ เสี ย ห ายไป ใน ที่ สุ ด จะทํ าให ventricle มีขนาดโตขึ้นกวาปกติโดยใชเวลา เพี ย งไม กี่ สั ป ดาห การปรั บ รู ป ร า งของ ventricle นี้ เ รี ย กว า “ventricular remodeling” ผลดี ข องการปรั บ ตั ว นี้ คื อ ทํ า ให ก าร ทํางานของ ventricle เพิ่มขึ้น และสามารถ คง stroke volume ไดในระยะแรกๆ อยางไร ก็ ต าม ในระยะยาวผู ป วยที่ เกิ ด myocardial infarction แล วมี ventricular remodeling จะ มี โอ ก าส เกิ ด systolic dysfunction แ ล ะ congestive heart failure รวม ถึ งมี อั ต รา ตายสู งกว า กลุ ม ที่ ไ ม มี remodeling หรือ มี แตไมมากนัก ดังไดอธิบายแลววา angiotensin II มี บ ทบาทสํ าคั ญ ในการเปลี่ ย นแปลงโครง สรางของหั ว ใจรวมถึ งการเกิ ด ventricular remodeling ดังนั้นการใช ACEIs เพื่อยับยั้ง การสราง angiotensin II จึงมีผลลดการเกิด ventricular remodeling ไ ด ซึ่ ง ก็ มี ก า ร ศึกษาทางคลินิกที่พิสูจนวา ACEIs มีผลลด อัตราตายโดยรวมได ถาเริ่มใหยาตั้งแตใน ช ว งแรกของ acute myocardial infarction (periinfarction period) ดั ง แสดงไว ใ นต า รางที่ 3 จากการศึกษาขางตนแสดงใหเห็น วา การใช ACEIs ทางหลอดเลือดดําภายใน 24 ชั่ ว โมงหลั ง เกิ ด myocardial infarction ไมมีผลลด แตกลับมีแนวโนมเพิ่มอัตราตาย (ดูการศึกษา “CONSENSUS II” ในตาราง ที่ 3 ประกอบ) ทั้ ง นี้ เชื่ อ ว า การให ย าทาง หลอดเลื อ ดดํ าเหนี่ ย วนํ า ให เกิ ด hypoten24
  • 9. ตารางที่ 3 ตัวอยางการศึกษาทางคลินิก ที่เกี่ ยวของกับการใช ACEIs ใน acute myocardial infarction [ดั ด แปลงจาก Jackson EK, Garrison JC.4] การศึกษา จํานวนผูปวย การรักษา ติดตามผล ผลการศึกษา 1. การศึกษาใน myocardial infarction ที่ไมไดคํานึงถึงความผิดปกติในการทํางานของ ventricle และใหยาภายใน 24 ชั่วโมง CONSENSUS II 6090 Enalapril ทางหลอดเลือด 6 เดือน มีแนวโนมเพิ่ม ดํา กับยาหลอก อัตราตาย ISIS-4 54824 Captopril แบบรับประทาน 35 วัน ลดอัตราตาย กับยาหลอก GISSI-3 18985 Lisinopril แบบรับประทาน 6 สัปดาห ลดอัตราตาย กับยาหลอก SMILE 1556 Zofenopril แบบรับ 6 สัปดาห ลดอัตราตาย ประทาน กับยาหลอก 2. การศึกษาใน myocardial infarction ที่มี asymptomatic LV systolic dysfunction (ดูการศึกษา “SAVE” ในตารางที่ 1 ประกอบ) 3. การศึกษาใน myocardial infarction ที่มี congestive heart failure รวมดวย (ดูการศึกษา “AIRE” ในตารางที่ 1 ประกอบ) AIRE, Acute Infarction Ramipril Efficacy study; CONSENSUS II, Cooperative North Scandinavian Enalapril Survival Study II; GISSI-3, Gruppo Italiano per lo Studio della Sopravvivenzanell’Infarto miocardico; ISIS-4, Fourth International Study of Infarct Survival; SAVE, Survival And Ventricular Enlargement study; SMILE, Survival of Myocardial Infarction Long-term Evaluation. ผลลดอัตราตายได 40-70 รายตอการรักษา 1,000 ราย 4. Proteinuria ที่ เกิ ดจาก Diabetic Nephropathy จากการศึกษาวิจัยในผูปวย type I diabetes mellitus ที่ มี diabetic nephropathy พ บ ว า ACEIs (captopril) มี ผ ล ล ด ปริ ม าณ proteinuria, ชลอการลดลงของ creatinine clearance แ ล ะ ล ด combined end points (ซึ่ ง ได แ ก การฟ อกไต การ เปลี่ยนไต และเสียชีวิต) จากขอมูลดังกลาว จึงแนะนําใหใช ACEIs รักษา nephropathy ที่เกิดจาก type I diabetes mellitus โดยไม คํ า นึ ง ว า มี hypertension ร ว มด ว ยหรื อ ไม ทั้งนี้ เชื่อวากลไกการออกฤทธิ์ของ ACEIs ที่เปนผลดีตอไตเปนผลมาจาก 1. การลดความดั น เลื อ ดมี ผ ลป อ ง กันไมใหไตเสียหายมากขึ้น 2. ก า ร ล ด ร ะ ดั บ angiotensin II จ า ก ACEIs มี ผ ล ข ย า ย renal efferent arteriole ทํ า ใ ห glomerular capillary pressure ลดลง จึ ง เกิ ด ความเสี ย หายต อ glomerulus ลดลง sion ซึ่ ง อาจไม เ ป น ผลดี ต อ ผู ป ว ยที่ vital signs ยั ง ไม ค งที่ เ พี ย งพอ ในทางตรงกั น ขาม การใช ACEIs ทางรับประทานภายใน 24 ชั่วโมง กลับมีผลลดอัตราตายอยางมีนัย สําคัญทางสถิติ ดังจะเห็นไดจากการศึกษา ISIS-4, GISSI-3 แ ล ะ SMILE ดั ง นั้ น ป จ จุ บั น จึ งแนะนํ าให ใช ย า ACEIs ทางรั บ ประทานภายใน 24 ชั่ ว โมงแรกหลั ง เกิ ด acute myocardial infarction และให ใ ช ย า อย างน อย 6 สั ป ดาห แล วประเมิ น การบี บ ตัวของ ventricle หากไมพบความผิดปกติ ก็อาจพิ จารณาหยุดยา แตถ าพบความผิด ปกติ แนะนําใหยาตอไประยะยาว นอกจากนี้ ผลการศึกษาขางตนยัง แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมวา การให ACEIs ร ะ ย ะ สั้ น (รู ป แ บ บ รั บ ป ร ะ ท า น ) ใน myocardial infarction โด ย ไ ม คํ า นึ ง ถึ ง ความผิดปกติในการทํางานของ ventricle มี ผลลดอัตราตายไดป ระมาณ 5 รายตอการ รั ก ษา 1,000 ราย ส ว นการใช ย าในผู ป ว ย myocardial infarction ที่ มี ความเสี่ ย งสู ง (เช น LV systolic dysfunction) ACEIs มี 25
  • 10. 3. การลดระดั บ angiotensin II มี ผลลดการเจริญเติบโตและการแบงตัวของ เซลล จึงทําให mesangial cell growth และ matrix production ลดลง อย า งไรก็ ต าม เนื่ อ งจาก ACEIs ส ว นใหญ ถู ก ขจั ด ทางไต ดั ง นั้ น การใช ย า กลุมนี้จึงควรระมัดระวังเปนพิเศษในผูปวย โรคไตที่มีระดับ serum creatinine มากกวา 2-3 mg/dl เพราะอาจทําใหการขจัดยาลดลง และอาจสะสมจนกอให เกิดพิษ หรือผลขาง เคียงอื่นได quinopril, ramipril, spirapril และ fosinopril 3. ชนิ ด ที่ มี phosphorus เป น องค ประกอบ เชน fosinopril โดยทั่วไป ACEIs ทั้ง 3 ประเภทมี ความแตกตางกันในคุณลักษณะหลักดังนี้ - ความแรง (potency) - ลักษณะในการยับยั้ง ACE กลาว คือ ยาบางชนิดมีผลยับยั้ง ACE ไดดวยตัว ของมันเอง แตบางชนิดตองถูกเปลี่ยนจาก prodrug ไปเป น active drug ก อ น จึ งจะมี ผลยั บ ยั้ ง ACE ได ทั้ ง นี้ การให ย าในรู ป prodrug มี จุ ด ประสงค เพื่ อ เพิ่ ม การดู ด ซึ ม จากทางเดินอาหาร หลังจากนั้นยาจึงจะถูก esterase ในตับเปลี่ยนใหเปน active drug ภายหลัง - Pharmacokinetics (ตารางที่ 4) อยางไรก็ต าม ACEIs ทุ กประเภท ตางๆ ก็มีประโยชนทางคลินิก ตลอดจนผล ขางเคียง และขอหามใชที่คลายคลึงกัน ชนิดของยา และ Pharmacokinetics ACEIs แบ ง ออกเป น 3 ประเภท ใหญๆ ตามโครงสรางทางเคมี (รูปที่ 3) ดัง นี้ 1. ช นิ ดที่ มี ก ลุ ม sulfhydryl เป น องคประกอบ เชน captopril 2. ชนิ ด ที่ มี ก ลุ ม dicarboxyl เป น อ งค ป ระก อ บ เช น enalapril, benapril, รูปที่ 3 โครงสรางของ ACEIs บางชนิด [คัดลอกจาก Jackson EK, Garrison JC.4] 26
  • 11. ตารางที่ 4 Pharmacokinetics ของ ACEIs บางชนิด ยา Captopril Oral bioavailability 75% การขจัด Half-life* (ชั่วโมง) 2 หมาย เหตุ ขจัดทางไต 40-50% ในรูปเดิม สวนที่ เหลือขจัดในรูป captopril disulfide dimers และ captopril-cysteine disulfide 1 Enalapril 60% เกือบทั้งหมดถูกขจัดทางไตในรูป (11) enalapril หรือ enalaprilat (10-11) 37% ขจัดทางไตและน้ําดีในรูป glucuronide Benazepril1 conjugates ของ benazepril และ benazeprilat Quinapril1 60% ขจัดทางไตในรูป quinaprilat (25) (50) Ramipril1 50-60% ขจัดทางไตในรูป glucuronide conjugates ของ ramipril และ ramiprilat รวมทั้ง ester และกรดของ diketopiperazine Spirapril1 50% spiraprilat ถูกขจัดทางไตและตับ (35) ** Lisinopril 1 30% ขจัดทางไตในรูปเดิม 12 Fosinopril 36% ขจัดทางไตและน้ําดีในรูป glucuronide (11.5) ** conjugates ของ fosinoprilat *ตัวเลขในวงเล็บหมายถึง half-life ของ active drugs ** การขจัดยาไมเปลี่ยนแปลงมากนักเมื่อการทํางานของไตลดลง เนื่องจากมีการขจัดยาทดแทนทางตับ (น้ําดี) ได 1 เปน prodrugs ที่ตองถูก esterase ในตับเปลี่ยนใหเปน active drugs (เชน enalaprilat, benaprilat, quinoprilat, ramiprilat, spiraprilat, fosinoprilat) ผลขางเคียง 1. Hypotension การใช ACEIs ในครั้งแรกอาจทําให ผู ป ว ยที่ มี PRA สู ง เกิ ด hypotension ได นอกจากนี้ ยั ง อาจพบผลข า งเคี ย งนี้ ไ ด ใ น ภาวะขาดน้ํ า, ภาวะที่ ป ริม าณเลื อ ดในราง กายลดลง (เช น การใช diuretics), ภาวะ ข า ด เ ก ลื อ (salt-depleted), ไ ด รั บ antihypertensives ขนานอื่ น อยู ก อ น หรื อ ใน ผู ป ว ย congestive heart failure อ นึ่ ง ภาวะนี้สามารถปองกันไดโดยแนะนําใหเริ่ม ใช ยาในขนาดต่ํ า หรือหยุ ด diuretics กอน ใช ACEIs 2. Hyperkalemia การลดการหลั่ ง aldosterone ของ ACEIs อาจทํ า ให เ กิ ด hyperkalemia ในผู ปวยที่มีการทํางานของไตผิดปกติ รวมถึงผู ป ว ยที่ ไ ด รั บ K+ supplement, K+-sparing diuretics หรื อ ยากลุ ม nonsteroidal antiinflammatory drugs (NSAIDs) อย างไรก็ ตาม ผลขางเคียงนี้พบไดคอนขางนอยในผูปวย ที่ไตทํางานปกติ และไมไดรับยาที่กอใหเกิด การคั่งของ K+ ในรางกาย 3. อาการไอแหง พบว า 5-20% ของผู ใ ช ย าอาจมี อาการไอแหงซึ่งไมสัมพันธกับขนาดยา แต จะพบในเพศหญิงไดมากวาชาย โดยทั่วไป พบไดประมาณ 1 สัปดาห ถึง 6 เดือนหลัง เริ่มใชยา และในบางกรณีอาจรบกวนผูปวย มากจนตองพิจารณาหยุดยา เชื่อวาเปนผล ม า จ า ก ก า ร เพิ่ ม ค ว า ม เข ม ข น ข อ ง bradykinin ในระบบทางเดินหายใจ อยางไร ก็ตาม อาการไอมักจะหายเองไดภายใน 4 วันหลังหยุดยา 4. Acute renal failure ดั ง ได ก ล า วแล ว ว า angiotensin II มีผลทําให efferent arteriole หดตัวเพื่อคง GFR ไวในกรณี ที่ ความดั น เลื อดที่ เลี้ยงไต ลดลง ดั ง นั้ น การยั บ ยั้ ง RAS ด ว ย ACEIs จึ ง อาจทํ า ให GFR ลดลงจนเกิ ด acute renal failure ใ น ผู ป ว ย bilateral renal artery stenosis หรื อ ในผู ป ว ยที่ มี ไ ตข า ง 27
  • 12. เดี ย วรว มกั บ มี renal artery stenosis ของ ไตขางนั้น 5. ผลตอทารกในครรภ การใช ACEIs ในไตรมาสแรกของ การตั้ ง ครรภ อาจไม มี ผ ลทํ า ให ท ารกใน ครรภ พิ ก าร แต ก ารใช ยาอย างต อ เนื่ อ งใน ช ว งไตมาสที่ ส องและสาม อาจทํ า ให เกิ ด oligohydramnios, pulmonary hypoplasia, เจริญเติบโตชา หรือตายในครรภ นอกจาก นี้ยังอาจทําใหทารกแรกเกิดมีภาวะปสสาวะ ไมออก หรือเสียชีวิตได เชื่อวาผลขางเคียง เหล า นี้ น า จะมี ส ว นสั ม พั น ธ กั บ การเกิ ด hypotension ในทารก 6. ผื่นผิวหนัง ACEIs อ า จ ทํ า ให เกิ ด ผื่ น แ บ บ maculopapular rash ซึ่ งอ าจมี ห รื อ ไม มี อาการคันรวมดวย ผื่นดังกลาวอาจหายได เอง แตอาจดี ขึ้นเมื่ อลดขนาดยาหรือใชยา antihistamine ช วงสั้ น ๆ ผลข างเคียงนี้ พ บ ได บ อ ยจากการใช ย ากลุ ม ที่ มี sulfhydryl group (เชน captopril) เมื่อเทียบกับ ACEIs กลุมอื่น 7. Proteinuria ACEIs อาจทํ า ให เ กิ ด proteinuria ในปริมาณที่มากกวา 1 กรัมตอวัน โดยยัง ไม ท ราบสาเหตุ แ น ชั ด ในทางตรงกั น ข าม ACEIs กลั บ มี ผ ลลด proteinuria ในโรคไต บ า ง ช นิ ด เ ช น diabetic nephropathy เป น ต น (ดู หั ว ข อ “ประโยชน ท างคลิ นิ ก ” ประกอบ) ดั ง นั้ น proteinuria จึ ง ไม ใ ช ข อ หามใชของ ACEIs 8. Angioneurotic Edema ACEIs อาจทํ า ให เกิ ด อาการบวม เฉี ย บพลั น ของเนื้ อ เยื่ อ บริ เวณจมู ก , คอ, ปาก, ริมฝปาก, ลิ้น, ฝาปดกลองเสียง และ/ หรือกลองเสียง โดยเชื่อวาเปนผลมาจากมี การสะสมของ bradykinin หรือมีการเหนี่ยว นํ า ให เกิ ด autoantibody หรื อ มี ก ารยั บ ยั้ ง complement 1-esterase inactivator ผ ล ข า งเคี ย งนี้ พ บได 0.1-0.2% ของผู ใ ช ย า และมั ก ไม สั ม พั น ธ กั บ ขนาดยาที่ ใ ช ส ว น ใหญ เกิดอาการภายในไมกี่ชั่วโมงหลังเริ่ม ใช ย า แตอาจพบภายใน 1 สั ป ดาห ห ลังใช ยาก็ได ผลขางเคียงนี้อาจทําใหเกิดการอุด กั้นทางเดินหายใจ และอาจเปนอันตรายถึง ชีวิตได แกไขโดยดูแลเรื่องทางเดินหายใจ แ ล ะ ห า ก จํ า เป น อ า จ พิ จ า ร ณ า ใช ย า epinephrine, antihistamine แ ล ะ /ห รื อ corticosteroid รวมดวย 9. ความผิดปกติของการรับรส ACEIs อาจทําใหการรับรสเปลี่ยน แปลงหรือสูญเสียการรับรส พบไดบอยจาก การใชยา captopril แตหายไดเองเมื่อหยุด ยา 10. Neutropenia เป น ผลข างเคี ยงที่ พ บได น อยมาก แตมีความรุนแรงสูง ปจจุบันมีผลยืนยันคอน ขางแนนอนวา captopril ขนาดสูงทําใหเกิด ภาวะนี้ ได (อุบั ติ การณ รอ ยละ 0.3) เชื่ อว า sulfhydryl group ข อ ง ย า น า จ ะ มี ส ว น สั ม พั น ธ กั บ ภาวะนี้ อย า งไรก็ ต าม ACEIs ชนิดอื่นก็อาจทําใหเกิดผลขางเคียงเชนนี้ได นอกจากนี้ ผู ป ว ยที่ มี โ รคไตชนิ ด renal parenchymal disease ก็มีโอกาสเกิดภาวะ นี้ไดสูงขึ้นเนื่องจากมีการขจัดยาทางไตลด ลง จึงทําใหระดับยาในรางกายสูงขึ้นจนเกิด ผลขางเคียง ดังนั้น ในกรณี ที่ ระดับ serum creatinine สู ง เกิ น 2-3 mg/dl ค ว ร ป รั บ ขนาดยา ACEIs (ที่ขับถายทางไตเปนหลัก) ลดลง 11. ผลขางเคียงอื่นๆ ACEIs อาจทํ า ให เ กิ ด glucosuria โดยไม จํ า เป น ต อ งมี hyperglycemia นอก จากนี้ ยั ง อาจทํ า ให เ กิ ด พิ ษ ต อ ตั บ แบบ cholestatic โดยไม ส ามารถอธิ บ ายกลไก การเกิ ด ได อ ย า งแน ชั ด แต ผ ลข า งเคี ย งที่ กล าวมานี้ พ บได น อ ยมาก และหายได เอง เมื่อหยุดใชยา 2. ARBs ARBs ที่ นํ า มาใช ป ระโยชน ท าง คลินิก เปนยาที่จับกับ (กั้น) AT1 receptors ดวย affinity ที่สูง และมี selectivity ตอ AT1 มากกว า AT2 receptors ถึ ง 10,000 เท า พบวา ARBs มี affinity ตอ AT1 receptors 28
  • 13. เรี ย งลํ าดั บ จากมากไปน อ ย ได แ ก cardesartan > irbesartan > telmisartan = valsartan = EXP 3174 (เป น active metabolite ของ losartan) > losartan ตามลํ า ดั บ แม ว า การจั บ กั น ระหว า ง ARBs กั บ AT1 receptors เป น แบบ competitive แต ฤ ทธิ์ ของ angiotensin II มั ก จะไม ส ามารถเอา ชนะ (insurmountable) ผลจากการกั้น AT1 receptors ด ว ย ARBs ได ก ล าว คื อ ใน experiment preparation ที่ มี ARBs นั้ น angiotensin II ไม ส ามารถแสดง maximal response ได เท ากั บ ภ าวะที่ ป ราศ จาก ARBs ไม ว า จะพยายามใช angiotensin II ในความเขมขนที่ สูงเพียงใดก็ต าม ซึ่งการ ยั บ ยั้ ง ใน ลั ก ษ ณ ะ ดั ง ก ล า ว เรี ย ก ว า “insurmountable antagonism” จ า ก ก า ร ศึ ก ษา ARB ที่ มี ใ ช ใ นทางคลิ นิ ก พ บว า cardesartan มี insurmountable antagonism สูงที่สุด สวน irbesartan, eprosartan, telmisartan และ valsartan มี ผ ลน อ ยกว า แต losartan ไม มี ผ ลนี้ ในขณ ะที่ active metabolite ข อ ง losartan (EXP 3174) แสดงผลดังกลาวไดบาง กลไกที่สัมพันธกับ insurmountable antagonism ของยากลุ ม ARBs น า จะเกิ ด จากการที่ ย าจั บ กั บ (กั้ น ) AT1 receptors แล ว แยกตั วจาก receptors ไดชา (slow dissociation) หรืออาจเปนผล จากการที่ ย าเหนี่ ย วนํ า ให AT1 receptors ถู ก ก ลื น เ ข า สู เ ซ ล ล (ARBs-induced receptor internalization) เปน ต น แตไม วา insurmountable antagonism จะเกิ ดจาก กลไกใดก็ตาม ในทางทฤษฎี ผลดังกลาวนา จะก อ เกิ ด ป ระโยชน โดยทํ าให การกั้ น receptors ยังคงเกิดไดอยางตอเนื่อง แมวา ระดั บ ของ endogenous ligand (ซึ่ ง ในที่ นี้ หมายถึ ง angiotensin II) จะเพิ่ ม ระดั บ ขึ้ น หรือแมแตในชวงที่ผูปวยลืมรับประทานยา บางมื้ อ อย า งไรก็ ต าม ประโยชน ใ นทาง ทฤษฎีดังกลาวจะสงผลดีตอการนํามาใชใน ท างเวช ป ฏิ บั ติ ห รื อ ไม นั้ น ยั งค งต อง พิจารณากันตอไป ARBs ยั บ ยั้ ง biological effects ของ angiotensin II ทั้ ง ในหลอดทดลอง และในสั ต ว ท ดลอง (in vitro และ in vivo) ซึ่ งฤทธิ์ดั งกล าวของ angiotensin II ได แ ก ฤทธิ์ที่ สัม พั น ธกั บ (1) การหดตั วของกลาม เนื้ อเรียบรอบหลอดเลือด, (2) rapid pressor response, (3) slow pressor response, (4) การกระหายน้ํ า, (5) การหลั่ ง vasopressin, (6) ก า ร ห ลั่ ง aldosterone, (7) ก า ร ห ลั่ ง catecholamines จากต อมหมวกไต, (8) การ ส ง เสริ ม noradrenergic neurotransmission, (9) ก ารเพิ่ ม sympathetic tone, (10) ก าร เปลี่ ยนแปลงต อการทํ าหน าที่ ของไต, (11) การหนาตัวและเพิ่มจํานวนของเซลล ความแตกต า งระหว า ง ARBs และ ACEIs แม ว า ยาทั้ ง สองกลุ ม มี ผ ลยั บ ยั้ ง RAS แต ARBs ก็ มี ค วามแตกต า งจาก ACEIs หลายประการดังนี้ 1. ARBs ยั บ ยั้ ง การกระตุ น AT1 receptors ด วย ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ที่ สู งก ว า ACEIs เนื่ อ งจาก ACEIs ยั บ ยั้ ง การสร า ง angiotensin II ที่ สั ม พั น ธ กั บ การทํ าหน า ที่ ของ ACE เท านั้ น แต ไม มี ผ ลต อ การสราง จาก pathways อื่ น ที่ ไ ม สั ม พั น ธ กั บ ACE (non-ACE angiotensin II-generating pathways) ทํ า ใ ห angiotensin I ยั ง สามารถเปลี่ ย นเป น angiotensin II และมี ผลกระตุ น ต อ AT1 receptors ได (แม ใ น ภาวะที่มี ACEIs) แตเนื่องจาก ARBs มีผล กั้ น AT1 receptors โด ย ต ร ง ฤ ท ธิ์ ข อ ง angiotensin II ต อ AT1 receptors จึ งถู ก ยั บ ยั้ งได โด ย ไม จํ า เป น ต องคํ านึ งว า angiotensin II ถูกสรางจาก pathways ใด 2. ARBs มี ผ ล ก ร ะ ตุ น AT2 receptors ทางออมเมื่อเทียบกับ ACEIs ผลจากการกั้น AT1 receptors ของ ARBs ทํ า ให ร ะดั บ angiotensin II ในร า ง กายเพิ่มขึ้นหลายเทาตัว แตเนื่องจาก AT2 receptors ไมถูกกั้นดวย ARBs ยากลุมนี้จึง มีผลทางออมทําใหเกิดการกระตุนตอ AT2 receptors (ดู หั ว ข อ “Angiotensin receptors” ป ร ะ ก อ บ ) ก า ร กั้ น AT1 29
  • 14. receptors สั ม พั น ธ กั บ การต า นฤทธิ์ ไม พึ ง ป ร ะ ส ง ค ข อ ง angiotensin II (เ ช น vasoconstriction, cellular proliferation, cardiac hypertrophy, myocardial fibrosis และลดการหลั่ง aldosterone เปนตน) สวน การที่ angiotensin II ยั ง สามารถจั บ กั บ (กระตุน) AT2 receptors เชื่อวานาจะกอให เกิดผลดีหลายประการ เชน vasodilatation, antiproliferative effects, ล ด myocardial collagen synthesis เปนตน) 3. ACEIs มี ผ ล เพิ่ ม ร ะ ดั บ ACE substrates ซึ่งรวมถึง bradykinin ดั ง ได ก ล า วมาแล ว ว า ACE เป น nonspecific enzyme ที่นอกจากจะทําหนา ที่ เ ป ลี่ ย น angiotensin I ไ ป เ ป น angiotensin II แ ล ว ยั ง มี ผ ล ส ล า ย substrates อีกหลายชนิด (เชน bradykinin และ vasodilator peptides อื่ น ๆ) ให ก ลาย เป น inactive metabolites ดั ง นั้ น ก ารใช ACEIs จึงมีผลเพิ่ ม ACE substrates เหลา นี้ ในขณะที่ ARBs ไมมีผลดังกลาว ก า ร ที่ ACEIs ทํ า ใ ห ร ะ ดั บ bradykinin ในรางกายเพิ่ มขึ้ น นํ าไปสู การ ปลดปล อ ย nitric oxide และ prostacyclin ซึ่งเปน mediators ที่ทําใหหลอดเลือดขยาย ตัว (เปนผลดีที่เพิ่มเติมจากการยับยั้ง RAS ของ ACEIs) แต ใ นขณ ะเดี ย วกั น ระดั บ bradykinin ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น นี้ อาจก อ ให เ กิ ด ผล ขางเคียง เชน อาการไอ หรือ angioedema (เป น ผ ล เสี ย ข อ ง ACEIs) ดั งนั้ น ก ารที่ ARBs ไมมีผลเพิ่มระดับ bradykinin ในราง กาย จึงทําใหยากลุมนี้เกิดผลขางเคียง (ซึ่ง ได แ ก อาการไอ และ angioedema) น อ ย กว า ACEIs แต ถึ งกระนั้ น ก็ ข าดผลดี จ าก ฤทธิ์ขยายหลอดเลือดของ bradykinin ดวย อยางไรก็ตาม ขอบงพรองดังกลาวอาจทด แทนไดดวยการที่ยานี้สงผลทางออมที่ทําให เกิ ด การกระตุ น AT2 receptors ดั ง กล า ว แลว อย า งไรก็ ต าม ยั ง คงต อ งรอการ พิสูจนและศึกษากันตอไปวา ความแตกตาง เหลานี้จะสงผลตอประสิทธิผลในทางคลินิก ของยาทั้ ง สองกลุ ม หรื อ ไม แต จ วบจนถึ ง ป จ จุ บั น ยั ง ไม มี ห ลั ก ฐานใดๆ ที่ แ สดงว า ARBs หรือ ACEIs มีประสิทธิผลการรักษา ที่เหนือกวากันและกัน เพียงแต ARBs กอ ให เ กิ ด อาการไอ และ angioedema น อ ย กว า ACEIs เท า นั้ น อย า งไรก็ ต าม เนื่ อ ง ดวย ARBs ยังมีราคาแพง ดังนั้นการใชยา กลุมนี้จึงตองพิจารณาถึง cost-effectiveness รวมดวย Pharmacokinetics คุ ณ สมบั ติ ท าง pharmacokinetics ของ ARBs บางชนิด แสดงไวในตารางที่ 5 ทั้งนี้ จะเห็นไดวายาบางประเภทมีฤทธิ์กั้น AT1 receptors ได ด ว ยตั ว ของมั น เอง แต บ างช นิ ด มี ก ารเป ลี่ ย น ไป เป น active metabolite กอน ยกตัวอยางเชน olmesartan medoxomil ซึ่ ง อยู ในรูป prodrug ที่ ไม มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา แตยาในรูปดังกลาว สามารถถูกดูดซึมจากทางเดิ นอาหารได ดี หลังจากเขาสูรางกายแลว ยาจึงถูกเปลี่ยน แปลงเป น active drug (olmesartan) ที่ มี ฤทธิ์ ท างเภสั ช วิ ท ยาต อ ไป ส ว นกรณี ข อง losartan นั้ น ทั้ ง parent compound และ metabolite (EXP3174) ลวนสามารถกั้น AT1 receptors ได ARBs ทุ ก ชนิ ด สามารถให ท างรั บ ประทาน และโดยทั่ วไปสามารถส งผลต อ hemodynamics ไดยาวนาน จึงสามารถรับ ประทานยาวันละครั้งได ประโยชนทางคลินิก ยากลุ ม ARBs มี ป ระโยชน ท าง คลิ นิ ก และข อ บ ง ชี้ ที่ ค ล า ยคลึ ง กั บ ยากลุ ม ACEIs ก ล าว คื อ ส าม ารถ นํ าม าใช ใน hypertension, congestive heart failure, post-myocardial infarction แ ล ะ diabetic nephropathy ซึ่ งรายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ การ ศึกษาทางคลินิกที่เกี่ยวของ ไดสรุปไวในตา รางที่ 6 อยางไรก็ตาม จวบจนถึงปจจุบันยัง ไม มี ห ลัก ฐานที่ แ สดงวา ARBs มี ป ระสิท ธิ ผลที่ เ หนื อ กว า ACEIs (ดู ก ารศึ ก ษาที่ ชื่ อ ELITE II, RESOLVD, OPTIMAAL, VALIANT ประกอบ) 30
  • 15. ตารางที่ 5 Pharmacokinetic parameters ของ ARBs (ดัดแปลงจาก Weber MA.8 และ Gardner SF, Franks AM.3) การปรับ Half-life เวลาที่ถึงความ การปรับ Active ขนาดใน ยา Absolute (ชั่วโมง) เขมขนสูงสุด ขนาดเมื่อ hepatic metabolite bioavailaCLcr<30% (ชั่วโมง) failure bility (%) Losartan 33 EXP31741 2 1 (losartan), ไมจําเปน ลดขนาด 3-4 (EXP3174) ลง 50% Valsartan 25 ไมมี 6 2-4 ตองระวัง ตองระวัง Irbesartan 60-80 ไมมี 11-15 1.5-4 ตองระวัง ไมจําเปน Candesartan 15 Candesartan 9-13 3-4 ตองระวัง ไมจําเปน Cilexetil (CV15959) Telmisartan 42 ไมมี 24 0.5-1 ไมจําเปน ตองระวัง Olmesartan 26 Olmesartan 12-15 2 ไมจําเปน ไมจําเปน medoxomil (RNH-6270) 1 Half-life = 6-9 ชั่วโมง CLcr หมายถึง creatinine clearance ตาราง 6 การศึกษาทางคลินิกที่สําคัญของยากลุม ARBs [ดัดแปลงจาก Weber MA.3 และ Epstein BJ, Gums JG. 2] ชื่อการศึกษา การรักษา Primary end points ผลการศึกษา (โรค/ภาวะ) Losartan เทียบกับ ผลรวมของ ”การตายจาก กลุม losartan มี primary LIFE โรคหัวใจและหลอดเลือด endpoint ลดลงอยางมีนัย (hypertension ที่ atenolol + strokes + myocardial สําคัญ 13 %, stroke ลดลง ECG แสดง LVH) 25% และ new-onset infarctions” diabetes ลดลง 25% ไมมีความแตกตางกันอยางมี Valsartan เทียบกับ ผลรวมของ ”อัตราตาย VALUE และอัตราเจ็บปวยจากโรค นัยสําคัญ (hypertension ที่มี amlodipine หัวใจ” ความเสี่ยงสูงตอ โรคหัวใจและหลอด เลือด) Primary = ไมมีความแตกตาง ELITE (CHF) Losartan เทียบกับ การทํางานของไต captopril (secondary endpoint = อยางมีนัยสําคัญ, secondary = อัตราตายลดลง 46% ใน อัตราตาย) กลุม losartan1 ELITE II (CHF) Losartan เทียบกับ อัตราตาย ไมมีความแตกตางอยางมีนัย captopril สําคัญ ความสามารถในการออก กลุม candesartan และกลุม RESOLVD (CHF) Candesartan enalapril มีผลตอการสามารถ เทียบกับ enalapril กําลังกาย, ejection fraction, และ New York ในการออกําลังกาย และ เทียบกับ Heart Association class ventricular function ไมแตก candesartan + ตางกัน แตการใชยารวมกัน enalapril ทําให ejection fraction เพิ่ม ขึ้น และลด ventricular volumes เมื่อเปรียบเทียบกับ การใชยาเพียงชนิดเดียว 1 เมื่อทําการศึกษาซ้ําใน ELITE II โดยใชกลุมตัวอยางขนาดใหญขึ้น พบวาทั้งสองกลุมมีอัตราตายไมแตก ตางกัน 31
  • 16. ตาราง 6 (ตอ) การศึกษาทางคลินิกที่สําคัญของยากลุม ARBs [ดัดแปลงจาก Weber MA.3 และ Epstein BJ, Gums JG. 2] ชื่อการศึกษา การรักษา Primary end points ผลการศึกษา (โรค/ภาวะ) ทั้งสองกลุมมีอัตราตายไมแตก ValHeFT (CHF) Valsartan เทียบกับ อัตราตาย, ผลรวมของ placebo (ยามาตร ”อัตราตาย+ อัตราเจ็บปวย” ตางกัน, แตกลุม valsartan มี ผลรวมของอัตราตายและอัตรา ฐานที่ใชใน CHF) เจ็บปวย ตลอดจนอัตราการเขา รับการรักษาตัวในโรงพยาบาล ต่ํากวาอยางมีนัยสําคัญ OPTIMAAL (post- Losartan เทียบกับ อัตราตายจากทุกสาเหตุ ทั้งสองกลุมไมมีความแตกตาง MI) captopril กันอยางมีนัยสําคัญ ทั้งสามกลุมมี อัตราตายจากทุก VALIANT (postCaptopril เทียบกับ อัตราตายจากทุกสาเหตุ สาเหตุ ตลอดจนผลรวมของ MI) Valsartan เทียบกับ ”การตายจากโรคหัวใจและ captopril + หลอดเลือด + recurrent MI + valsartan การเขารับการรักษาตัวในโรง พยาบาลเนื่องจาก heart failure” ไมแตกตางกัน แตกลุม ที่ไดรับยารวมกันเกิดผลขาง เคียงมากกวา RENAAL (diabetic Losartan เทียบกับ ผลรวมของ ”การที่ serum กลุม losartan เกิด primary creatinine เพิ่มจากเดิม 2 endpoint ต่ํากวาอยางมีนัย nephropathy) placebo (ยาลด สําคัญ ความดันเลือดชนิด เทา + end-stage renal failure + การตายจากทุก ดั้งเดิม) สาเหตุ” Irbesartan เทียบกับ ผลรวมของ ”การที่ serum กลุม irbesartan เกิด primary IDNT (diabetic creatinine เพิ่มจากเดิม 2 endpoint ต่ํากวากลุม placebo nephropathy รวม amlodipine เทียบ และ amlodipine อยางมีนัย กับ hypertension) กับ placebo (ยาลด เทา + end-stage renal ความดันเลือดชนิด failure + การตายจากทุก สําคัญ สาเหตุ” ดั้งเดิม) Nephropathy กลุมที่ไดรับยาขนาด 300 mg Irbesartan (150 IRMA 2 (type 2 เกิด nephropathy ต่ํากวากลุม mg) เทียบกับ diabetes ที่มี ที่ไดรับยาขนาด 150 mg แมวา microalbuminuria) irbesartan (300 ทั้งสองขนาดมีผลลดความดัน mg) เทียบกับ เลือดไดใกลเคียงกัน placebo LVH, left ventricular hypertrophy; CHF, congestive heart failure; MI, myocardial infarction. ELITE, Evaluation of Losartan in the Elderly; IDNT, Irbesartan Diabetic Nephropathy Trial; IRMA 2, Irbesartan Microalbuminuria Type 2; LIFE, Losartan Intervention for Endpoint Reduction in Hypertension; OPTIMAAL, Optimal Therapy In Myocardial Infarction with the Angiotensin II Antagonist Losartan; RENAAL, Reduction of Endpoints in NIDDM With the Angiotensin II Antagonist Losartan; RESOLVD, Randomized Evaluation of Strategies for Left Ventricular Dysfunction; ValHeFT, Valsartan in Heart Failure Trial; VALIANT, Valsartan in Acute Myocardial Infarction Trial; VALUE, Valsartan Antihypertensive Long-term Use Evaluation. ผลขางเคียง อุบัติการณการหยุดใช ARBs เนื่อง จากอาการไม พึ งประสงค นั้ น ไม แ ตกต า ง จากการใช placebo อนึ่ ง ยากลุ ม นี้ มี ข อ แตกต างจาก ACEIs คื อ ก อ ให เกิ ด อาการ ไอ และ angioedema ไดนอยกวา อยางไร ก็ตาม ARBs ยังมีผลขางเคียงบางประการ ที่ ค ลายคลึงกั บ ACEIs กลาวคือ อาจมี ผ ล 32
  • 17. เสียตอทารกในครรภ ดังนั้นจึงไมแนะนําให ใช ย ากลุ ม นี้ ใ นหญิ ง ตั้ ง ครรภ หรื อ หากจํ า เปนตองใชก็ควรหยุดยากอนไตรมาสที่สอง ของการตั้งครรภ ควรใช ย ากลุ ม ARBs ด ว ยความ ระมัดระวังอยางสูงในผูปวยที่ความดันเลือด และการทํางานของไตขึ้นอยูกับ RAS อยาง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. มาก ซึ่งการใชยาในผูปวยกลุมดังกลาวอาจ ทําใหเกิด hypotension, ปสสาวะออกนอย (oliguria), progressive azotemia ห รื อ acute renal failure ไ ด น อ ก จ า ก นี้ ย า กลุมนี้ยังอาจกอใหเกิด hyperkalemia ในผู ปวยที่มีโรคไต หรือเมื่อไดรับยารวมกับ K+sparing drugs บรรณานุกรม Benowitz NL. Antihypertensive agents. In: Katzung BG, editor. Basic & clinical pharmacology. 8th ed. New York: The McGraw-Hill Companies, Inc; 2001. p.155-80. Epstein BJ, Gums JG. Angiotensin receptor blockers versus ACE inhibitors: prevention of death and myocardial infarction in high-risk populations. Ann Pharmacother 2005;39(3):470-80. Gardner SF, Franks AM. Olmesartan medoxomil: the seventh angiotensin receptor antagonist. Ann Pharmacother 2003;37(1):99-105. Jackson EK. Renin and angiotensin. In: Hardman JG, Limbird LE, Gilman AG, editors. Goodman & Gilman’s the pharmacological basis of therapeutics. 10th ed. New York: The McGraw-Hill Companies, Inc; 2001. p.809-42. Levy BI. Can angiotensin II type 2 receptors have deleterious effects in cardiovascular disease? Implications for therapeutic blockade of the reninangiotensin system. Circulation 2004;109(1):8-13. Rang HP, Dale MM, Ritter JM. The circulation. In: Rang HP, Dale MM, Ritter JM, editors. Pharmacology. 3rd ed. London: Churchill Livingstone; 1995. p.301-322. Siragy HM. The role of the AT2 receptor in hypertension. Am J Hypertens 2000;13:62-7. Weber MA. The angiotensin II receptor blockers: opportunities across the spectrum of cardiovascular disease. Rev Cardiovasc Med 2002;3(4):183-91. 33