SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 7
Baixar para ler offline
ลำดับเลขคณิต
พิจารณาลาดับ 1, 4, 7, 10, 13, ... จะเห็นว่าเมื่อนาพจน์หลังลบด้วยพจน์หน้าที่อยู่
ติดกันมีผลต่างเป็นค่าคงตัวเท่ากับ 3 เสมอ
นั่นคือ 4 1  3
7 4  3
10 7  3
13 10  3
ลาดับที่มีผลต่างของพจน์หลังลบด้วยพจน์หน้าที่อยู่ติดกันมีค่าคงตัวเท่ากันเสมอนี้ จะเรียกว่า
“ลำดับเลขคณิต” และเรียกผลต่างที่มีค่าคงตัวเท่ากันเสมอว่า “ผลต่ำงร่วม”
ตัวอย่างลาดับอื่นๆ ที่เป็นลาดับเลขคณิต เช่น
(1) 3, 7, 11, 15, ... เป็นลาดับเลขคณิตที่มีผลต่างร่วมเท่ากับ 4
7 3  11 7  15 11  4
(2) 27, 15, 3, 9, ... เป็นลาดับเลขคณิตที่มีผลต่างร่วมเท่ากับ 12
15 27  3 15  9 3   12
(3) 1, 2, 3, 4, ... เป็นลาดับเลขคณิตที่มีผลต่างร่วมเท่ากับ 1
2 1  3 2  4 3  1
(4) 3,
11
,
4
5
,
2
9
,
4
2, ... เป็นลาดับเลขคณิตที่มีผลต่างร่วมเท่ากับ 1
4

11
3
4




5 11
2 4
 
9 5
4 2
 
9
2
4
 
1
4

 

จากที่กล่าวมานี้ จะให้ความหมายของลาดับเลขคณิตได้ดังบทนิยามต่อไปนี้
บทนิยำม ลาดับเลขคณิต (arithmetic sequence) คือ ลาดับที่ผลต่างซึ่งเกิดจากพจน์ที่ n 1 ลบด้วยพจน์ที่
n มีค่าคงตัว และค่าคงตัวนี้เรียกว่า ผลต่ำงร่วม (common difference) เขียนแทนผลต่างร่วมนี้ด้วย d
จำกบทนิยำม จะได้ว่ำ n 1 nd a a 
ถ้ำ 1 2 3 na ,a ,a ,...,a ,... เป็นลำดับเลขคณิต จะได้ว่ำ
2 1a a d  นั่นคือ 2 1a a d  หรือ  2 1a a 2 1 d  
3 2a a d  นั่นคือ 3 2a a d 
 1a d d  
3 2a a 2d  หรือ  3 1a a 3 1 d  
4 3a a d  นั่นคือ 4 3a a d 
 1a 2d d  
4 2a a 3d  หรือ  4 1a a 4 1 d  
.
.
.
ดังนั้น จะได้พจน์ที่ ของลำดับเลขคณิต คือ
 n 1a a n 1 d  
ตัวอย่ำงที่ 1 จงเขียนสี่พจน์แรกของลาดับเลขคณิต ซึ่งกาหนดค่า 1a และค่า d ให้ได้ดังนี้
(1) 1a 3, d 2
(2) 1a 4, d 3
(3) 1a 2, d 5
(4) 1a 8, d 2 
(5) 1a 5,
1
d
2
 
วิธีทำ พจน์ทั่วไปของลาดับเลขคณิต คือ  n 1a a n 1 d  
(1) กำหนด 1a 3, d 2 จะได้
2 1a a d 3 2 5    
 3 1a a 2d 3 2 2 7    
 4 1a a 3d 3 3 2 9    
ดังนั้น สี่พจน์แรกของลาดับเลขคณิต คือ 3,5,7,9
n
หมายเหตุ ค่า 2a , 3a และ 4a อาจจะหาได้อีกแบบหนึ่ง ดังนี้ คือ
2 1a a d 3 2 5    
3 2a a d 5 2 7    
4 3a a d 7 2 9    
(2) กาหนด 1a 4, d 3 จะได้
2 1a a d 4 3 7    
3 2a a d 7 3 10    
4 3a a d 10 3 13    
ดังนั้น สี่พจน์แรกของลาดับเลขคณิต คือ 4,7,10,13
(3) กาหนด 1a 2, d 5 จะได้
2 1a a d 2 5 7    
3 2a a d 7 5 12    
4 3a a d 12 5 17    
ดังนั้น สี่พจน์แรกของลาดับเลขคณิต คือ 2,7,12,17
(4) กาหนด 1a 8, d 2  จะได้
 2 1a a d 8 2 6     
 3 2a a d 6 2 4     
 4 3a a d 4 2 2     
ดังนั้น สี่พจน์แรกของลาดับเลขคณิต คือ 8,6,4,2
(5) กาหนด 1a 5,
1
d
2
  จะได้
2 1
1 9
a a d 5
2 2
 
      
 
3 2
9 1 8
a a d 4
2 2 2
 
       
 
4 3
8 1 7
a a d
2 2 2
 
      
 
ดังนั้น สี่พจน์แรกของลาดับเลขคณิต คือ
9 7
9, ,4,
2 2
ตัวอย่ำงที่ 2 กาหนดให้ลาดับเลขคณิตมีพจน์ที่ 1 เท่ากับ 15 และมีผลต่างร่วมเป็น 3 จงหา
พจน์ที่ 7 และพจน์ที่ 12
วิธีทำ กาหนด 1a 15 และ d 3
จำก  n 1a a n 1 d  
พจน์ที่ 7 คือ  7 1a a 7 1 d  
 15 6 3 
33
พจน์ที่ 12 คือ  12 1a a 12 1 d  
 15 11 3 
48
ดังนั้น 7a 33 และ 12a 48
ตัวอย่ำงที่ 3 กาหนดให้ลาดับเลขคณิตมีพจน์ที่ 5 และพจน์ที่ 9เท่ากับ 19 และ 31 ตามลาดับ
จงหา 1a และ d
วิธีทำ กาหนด 5a 19 และ 9a 31
 5 1a a 5 1 d  
119 a 4d  ......................................(1)
 9 1a a 9 1 d  
131 a 8d  ......................................(2)
(2)- (1) ; 12 4d
d 3
แทนค่า d 3 ใน (1) จะได้
119 a 4d 
 1a 19 4 3 7  
ดังนั้น 1a 7 และ d 3
ตัวอย่ำงที่ 4 กาหนดให้ลาดับเลขคณิตมีพจน์ที่ 3 เท่ากับ 12 และมีผลต่างร่วมเท่ากับ
3 จงหาพจน์ที่ 21
วิธีทำ กาหนด 3a 12 และ d 3 
จาก  n 1a a n 1 d  
จะได้ 3 1a a 2d 
 112 a 2 3   ......................................(1)
1a 18
ดังนั้น  21 1a a 21 1 d  
 18 20 3  
42 
ตัวอย่ำงที่ 5 กาหนดให้ลาดับเลขคณิตมีพจน์ที่ 3 และพจน์ที่ 7 เท่ากับ 7 และ 9 ตามลาดับ
จงหาพจน์ที่ 15
วิธีทำ กาหนด 3a 7 และ 7a 9 
 3 1a a 3 1 d  
17 a 2d  ......................................(1)
 7 1a a 7 1 d  
19 a 6d   ......................................(2)
(2)- (1) ; 16 4d 
d 4 
แทนค่า d 4  ใน (1) จะได้
 17 a 2 4  
1a 15
ดังนั้น 15 1a a 14d 
 15 14 4 41    
ตัวอย่ำงที่ 6 ถ้า 11,x,y,z,23 เป็นลาดับเลขคณิต จงหาค่าของ x y z 
วิธีทำ กาหนด 1a 11 และ 5a 23
จาก  n 1a a n 1 d  
จะได้  5 1a a 5 1 d  
23 11 4d 
23 11
d
4


d 3
นั่นคือ x  11 d  11 3  14
y  x d  14 3  17
z  y 3  17 3  20
ตัวอย่ำงที่ 7 ระหว่าง 13 กับ 2,014 จานวนที่ 11 หารลงตัวทั้งหมดมีกี่จานวน
วิธีทำ จานวนแรกที่มากกว่า 13 และ 11 หารลงตัว คือ 22
เนื่องจาก 2,014 หารด้วย 11 ได้ผลหาร 183 เหลือเศษ 1 แสดงว่าจานวนที่มากที่สุดที่
น้อยกว่า 2,014 และ 11 หารลงตัว คือ 2,014 1  2,013
ดังนั้น จานวนที่อยู่ระหว่าง 13 กับ 2,014 ที่ 11 หารลงตัว คือ 22, 33, 44, ...,
2,013 ซึ่งจานวนกลุ่มนี้เป็นลาดับซึ่งมี 1a 22, d 11, na 2,013
จาก na  1a (n 1)d 
จะได้ 2,013  22 (n 1)(11) 
2,013  22 11n 11 
2,013 22 11   11n
n 
2002
11
 182
นั่นคือ ระหว่าง 13 กับ 2,014 มีจานวนที่ 11 หารลงตัวทั้งหมด 182 จานวน
ตัวอย่ำงที่ 8 โรงละครแห่งหนึ่งจัดเก้าอี้นั่งสาหรับผู้ชมแถวแรกอยู่ด้านหน้าสุด 14 ที่นั่ง แถวที่
สองจัดเก้าอี้นั่งจานวน 18 ที่นั่ง และแถวต่อๆ ไปจะจัดเก้าอี้นั่งเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แถวละ 4 ที่นั่ง แถวที่ 15 จะมี
เก้าอี้นั่งจานวนกี่ที่นั่ง
วิธีทำ เขียนจานวนเก้าอี้นั่งตั้งแต่แถวแรกในแบบรูปของลาดับ ได้ดังนี้
14, 18, 22, ..., 15a
ซึ่งจะได้ 1a 14, d 4, n 15
จาก na  1a (n 1)d 
15a  14 (15 1)(4) 
 14 14(4)
 14 56
 70
ดังนั้น ในแถวที่ 15 จะมีเก้าอี้นั่งจานวน 70 ที่นั่ง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับaoynattaya
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับTutor Ferry
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงAon Narinchoti
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบMike Polsit
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนFern Monwalee
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไขKrudodo Banjetjet
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2aoynattaya
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มkunkrooyim
 

Mais procurados (20)

ลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับลิมิตของลำดับ
ลิมิตของลำดับ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับคณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
คณิตศาสตร์ ม.1 เรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อน
 
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 

Semelhante a 1 ลำดับเลขคณิต

ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมrdschool
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับPumPui Oranuch
 
3 อนุกรมเลขคณิต
3 อนุกรมเลขคณิต3 อนุกรมเลขคณิต
3 อนุกรมเลขคณิตToongneung SP
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันAon Narinchoti
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559Tonson Lalitkanjanakul
 
6 อนุกรมอนันต์
6 อนุกรมอนันต์6 อนุกรมอนันต์
6 อนุกรมอนันต์Toongneung SP
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3คุณครูพี่อั๋น
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5ทับทิม เจริญตา
 
ใบงาน11การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบ
ใบงาน11การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบใบงาน11การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบ
ใบงาน11การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบkanjana2536
 

Semelhante a 1 ลำดับเลขคณิต (20)

ลำดับ11
ลำดับ11ลำดับ11
ลำดับ11
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรมลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับ
 
2252670.pdf
2252670.pdf2252670.pdf
2252670.pdf
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับ
 
3 อนุกรมเลขคณิต
3 อนุกรมเลขคณิต3 อนุกรมเลขคณิต
3 อนุกรมเลขคณิต
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากัน
 
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2559
 
6 อนุกรมอนันต์
6 อนุกรมอนันต์6 อนุกรมอนันต์
6 อนุกรมอนันต์
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
 
K01
K01K01
K01
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
 
เทคนิคการหาจำนวนต่างๆ
เทคนิคการหาจำนวนต่างๆเทคนิคการหาจำนวนต่างๆ
เทคนิคการหาจำนวนต่างๆ
 
7SAMAN#57
7SAMAN#577SAMAN#57
7SAMAN#57
 
ใบงาน11การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบ
ใบงาน11การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบใบงาน11การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบ
ใบงาน11การคูณจำนวนเต็มบวกด้วยจำนวนเต็มลบ
 
Ctms25812
Ctms25812Ctms25812
Ctms25812
 
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
 

Mais de Toongneung SP

กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)Toongneung SP
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4Toongneung SP
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3Toongneung SP
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2Toongneung SP
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1Toongneung SP
 
6.2แบบฝึกหัด
6.2แบบฝึกหัด6.2แบบฝึกหัด
6.2แบบฝึกหัดToongneung SP
 
6.1แบบฝึกหัด
6.1แบบฝึกหัด6.1แบบฝึกหัด
6.1แบบฝึกหัดToongneung SP
 
5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัด5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัดToongneung SP
 
แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4Toongneung SP
 
3แบบฝึกหัด
3แบบฝึกหัด3แบบฝึกหัด
3แบบฝึกหัดToongneung SP
 
2แบบฝึกหัด
2แบบฝึกหัด2แบบฝึกหัด
2แบบฝึกหัดToongneung SP
 
1แบบฝึกหัด
1แบบฝึกหัด1แบบฝึกหัด
1แบบฝึกหัดToongneung SP
 
แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4Toongneung SP
 
6แบบฝึกหัด6.2
6แบบฝึกหัด6.26แบบฝึกหัด6.2
6แบบฝึกหัด6.2Toongneung SP
 
6แบบฝึกหัด6.1
6แบบฝึกหัด6.16แบบฝึกหัด6.1
6แบบฝึกหัด6.1Toongneung SP
 
5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัด5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัดToongneung SP
 

Mais de Toongneung SP (20)

กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4 (1)
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 4
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 3
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 2
 
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ 1
 
6.2แบบฝึกหัด
6.2แบบฝึกหัด6.2แบบฝึกหัด
6.2แบบฝึกหัด
 
6.1แบบฝึกหัด
6.1แบบฝึกหัด6.1แบบฝึกหัด
6.1แบบฝึกหัด
 
5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัด5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัด
 
แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4
 
3แบบฝึกหัด
3แบบฝึกหัด3แบบฝึกหัด
3แบบฝึกหัด
 
2แบบฝึกหัด
2แบบฝึกหัด2แบบฝึกหัด
2แบบฝึกหัด
 
1แบบฝึกหัด
1แบบฝึกหัด1แบบฝึกหัด
1แบบฝึกหัด
 
แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4แบบฝึกหัด 4
แบบฝึกหัด 4
 
6แบบฝึกหัด6.2
6แบบฝึกหัด6.26แบบฝึกหัด6.2
6แบบฝึกหัด6.2
 
6แบบฝึกหัด6.1
6แบบฝึกหัด6.16แบบฝึกหัด6.1
6แบบฝึกหัด6.1
 
Posttest6
Posttest6Posttest6
Posttest6
 
Pretest6
Pretest6Pretest6
Pretest6
 
5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัด5แบบฝึกหัด
5แบบฝึกหัด
 
Posttest5
Posttest5Posttest5
Posttest5
 
Pretest5
Pretest5Pretest5
Pretest5
 

1 ลำดับเลขคณิต

  • 1. ลำดับเลขคณิต พิจารณาลาดับ 1, 4, 7, 10, 13, ... จะเห็นว่าเมื่อนาพจน์หลังลบด้วยพจน์หน้าที่อยู่ ติดกันมีผลต่างเป็นค่าคงตัวเท่ากับ 3 เสมอ นั่นคือ 4 1  3 7 4  3 10 7  3 13 10  3 ลาดับที่มีผลต่างของพจน์หลังลบด้วยพจน์หน้าที่อยู่ติดกันมีค่าคงตัวเท่ากันเสมอนี้ จะเรียกว่า “ลำดับเลขคณิต” และเรียกผลต่างที่มีค่าคงตัวเท่ากันเสมอว่า “ผลต่ำงร่วม” ตัวอย่างลาดับอื่นๆ ที่เป็นลาดับเลขคณิต เช่น (1) 3, 7, 11, 15, ... เป็นลาดับเลขคณิตที่มีผลต่างร่วมเท่ากับ 4 7 3  11 7  15 11  4 (2) 27, 15, 3, 9, ... เป็นลาดับเลขคณิตที่มีผลต่างร่วมเท่ากับ 12 15 27  3 15  9 3   12 (3) 1, 2, 3, 4, ... เป็นลาดับเลขคณิตที่มีผลต่างร่วมเท่ากับ 1 2 1  3 2  4 3  1 (4) 3, 11 , 4 5 , 2 9 , 4 2, ... เป็นลาดับเลขคณิตที่มีผลต่างร่วมเท่ากับ 1 4  11 3 4     5 11 2 4   9 5 4 2   9 2 4   1 4     จากที่กล่าวมานี้ จะให้ความหมายของลาดับเลขคณิตได้ดังบทนิยามต่อไปนี้ บทนิยำม ลาดับเลขคณิต (arithmetic sequence) คือ ลาดับที่ผลต่างซึ่งเกิดจากพจน์ที่ n 1 ลบด้วยพจน์ที่ n มีค่าคงตัว และค่าคงตัวนี้เรียกว่า ผลต่ำงร่วม (common difference) เขียนแทนผลต่างร่วมนี้ด้วย d
  • 2. จำกบทนิยำม จะได้ว่ำ n 1 nd a a  ถ้ำ 1 2 3 na ,a ,a ,...,a ,... เป็นลำดับเลขคณิต จะได้ว่ำ 2 1a a d  นั่นคือ 2 1a a d  หรือ  2 1a a 2 1 d   3 2a a d  นั่นคือ 3 2a a d   1a d d   3 2a a 2d  หรือ  3 1a a 3 1 d   4 3a a d  นั่นคือ 4 3a a d   1a 2d d   4 2a a 3d  หรือ  4 1a a 4 1 d   . . . ดังนั้น จะได้พจน์ที่ ของลำดับเลขคณิต คือ  n 1a a n 1 d   ตัวอย่ำงที่ 1 จงเขียนสี่พจน์แรกของลาดับเลขคณิต ซึ่งกาหนดค่า 1a และค่า d ให้ได้ดังนี้ (1) 1a 3, d 2 (2) 1a 4, d 3 (3) 1a 2, d 5 (4) 1a 8, d 2  (5) 1a 5, 1 d 2   วิธีทำ พจน์ทั่วไปของลาดับเลขคณิต คือ  n 1a a n 1 d   (1) กำหนด 1a 3, d 2 จะได้ 2 1a a d 3 2 5      3 1a a 2d 3 2 2 7      4 1a a 3d 3 3 2 9     ดังนั้น สี่พจน์แรกของลาดับเลขคณิต คือ 3,5,7,9 n
  • 3. หมายเหตุ ค่า 2a , 3a และ 4a อาจจะหาได้อีกแบบหนึ่ง ดังนี้ คือ 2 1a a d 3 2 5     3 2a a d 5 2 7     4 3a a d 7 2 9     (2) กาหนด 1a 4, d 3 จะได้ 2 1a a d 4 3 7     3 2a a d 7 3 10     4 3a a d 10 3 13     ดังนั้น สี่พจน์แรกของลาดับเลขคณิต คือ 4,7,10,13 (3) กาหนด 1a 2, d 5 จะได้ 2 1a a d 2 5 7     3 2a a d 7 5 12     4 3a a d 12 5 17     ดังนั้น สี่พจน์แรกของลาดับเลขคณิต คือ 2,7,12,17 (4) กาหนด 1a 8, d 2  จะได้  2 1a a d 8 2 6       3 2a a d 6 2 4       4 3a a d 4 2 2      ดังนั้น สี่พจน์แรกของลาดับเลขคณิต คือ 8,6,4,2 (5) กาหนด 1a 5, 1 d 2   จะได้ 2 1 1 9 a a d 5 2 2            3 2 9 1 8 a a d 4 2 2 2             4 3 8 1 7 a a d 2 2 2            ดังนั้น สี่พจน์แรกของลาดับเลขคณิต คือ 9 7 9, ,4, 2 2
  • 4. ตัวอย่ำงที่ 2 กาหนดให้ลาดับเลขคณิตมีพจน์ที่ 1 เท่ากับ 15 และมีผลต่างร่วมเป็น 3 จงหา พจน์ที่ 7 และพจน์ที่ 12 วิธีทำ กาหนด 1a 15 และ d 3 จำก  n 1a a n 1 d   พจน์ที่ 7 คือ  7 1a a 7 1 d    15 6 3  33 พจน์ที่ 12 คือ  12 1a a 12 1 d    15 11 3  48 ดังนั้น 7a 33 และ 12a 48 ตัวอย่ำงที่ 3 กาหนดให้ลาดับเลขคณิตมีพจน์ที่ 5 และพจน์ที่ 9เท่ากับ 19 และ 31 ตามลาดับ จงหา 1a และ d วิธีทำ กาหนด 5a 19 และ 9a 31  5 1a a 5 1 d   119 a 4d  ......................................(1)  9 1a a 9 1 d   131 a 8d  ......................................(2) (2)- (1) ; 12 4d d 3 แทนค่า d 3 ใน (1) จะได้ 119 a 4d   1a 19 4 3 7   ดังนั้น 1a 7 และ d 3
  • 5. ตัวอย่ำงที่ 4 กาหนดให้ลาดับเลขคณิตมีพจน์ที่ 3 เท่ากับ 12 และมีผลต่างร่วมเท่ากับ 3 จงหาพจน์ที่ 21 วิธีทำ กาหนด 3a 12 และ d 3  จาก  n 1a a n 1 d   จะได้ 3 1a a 2d   112 a 2 3   ......................................(1) 1a 18 ดังนั้น  21 1a a 21 1 d    18 20 3   42  ตัวอย่ำงที่ 5 กาหนดให้ลาดับเลขคณิตมีพจน์ที่ 3 และพจน์ที่ 7 เท่ากับ 7 และ 9 ตามลาดับ จงหาพจน์ที่ 15 วิธีทำ กาหนด 3a 7 และ 7a 9   3 1a a 3 1 d   17 a 2d  ......................................(1)  7 1a a 7 1 d   19 a 6d   ......................................(2) (2)- (1) ; 16 4d  d 4  แทนค่า d 4  ใน (1) จะได้  17 a 2 4   1a 15 ดังนั้น 15 1a a 14d   15 14 4 41    
  • 6. ตัวอย่ำงที่ 6 ถ้า 11,x,y,z,23 เป็นลาดับเลขคณิต จงหาค่าของ x y z  วิธีทำ กาหนด 1a 11 และ 5a 23 จาก  n 1a a n 1 d   จะได้  5 1a a 5 1 d   23 11 4d  23 11 d 4   d 3 นั่นคือ x  11 d  11 3  14 y  x d  14 3  17 z  y 3  17 3  20 ตัวอย่ำงที่ 7 ระหว่าง 13 กับ 2,014 จานวนที่ 11 หารลงตัวทั้งหมดมีกี่จานวน วิธีทำ จานวนแรกที่มากกว่า 13 และ 11 หารลงตัว คือ 22 เนื่องจาก 2,014 หารด้วย 11 ได้ผลหาร 183 เหลือเศษ 1 แสดงว่าจานวนที่มากที่สุดที่ น้อยกว่า 2,014 และ 11 หารลงตัว คือ 2,014 1  2,013 ดังนั้น จานวนที่อยู่ระหว่าง 13 กับ 2,014 ที่ 11 หารลงตัว คือ 22, 33, 44, ..., 2,013 ซึ่งจานวนกลุ่มนี้เป็นลาดับซึ่งมี 1a 22, d 11, na 2,013 จาก na  1a (n 1)d  จะได้ 2,013  22 (n 1)(11)  2,013  22 11n 11  2,013 22 11   11n n  2002 11  182 นั่นคือ ระหว่าง 13 กับ 2,014 มีจานวนที่ 11 หารลงตัวทั้งหมด 182 จานวน
  • 7. ตัวอย่ำงที่ 8 โรงละครแห่งหนึ่งจัดเก้าอี้นั่งสาหรับผู้ชมแถวแรกอยู่ด้านหน้าสุด 14 ที่นั่ง แถวที่ สองจัดเก้าอี้นั่งจานวน 18 ที่นั่ง และแถวต่อๆ ไปจะจัดเก้าอี้นั่งเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แถวละ 4 ที่นั่ง แถวที่ 15 จะมี เก้าอี้นั่งจานวนกี่ที่นั่ง วิธีทำ เขียนจานวนเก้าอี้นั่งตั้งแต่แถวแรกในแบบรูปของลาดับ ได้ดังนี้ 14, 18, 22, ..., 15a ซึ่งจะได้ 1a 14, d 4, n 15 จาก na  1a (n 1)d  15a  14 (15 1)(4)   14 14(4)  14 56  70 ดังนั้น ในแถวที่ 15 จะมีเก้าอี้นั่งจานวน 70 ที่นั่ง