SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 165
Baixar para ler offline
หนังสือเรียน
รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง
(สค21002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
สาระการพัฒนาสังคม
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
หามจำหนาย
หนังสือเรียนเลมนี้จัดพิมพดวยงบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
ลิขสิทธิ์เปนของ สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม
รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002)
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
เอกสารทางวิชาการหมายเลข 38/2554
คำนำ
สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดำเนินการ
จัดทำหนังสือเรียนชุดใหมนี้ขึ้นเพื่อสำหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนา
ผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญา และศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษา
ตอในระดับที่สูงขึ้นและสามารถดำรงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดย
ผูเรียนสามารถนำหนังสือเรียนไปใชในการเรียนการศึกษาดวยตัวเอง ปฏิบัติกิจกรรม รวมทั้ง
แบบฝกหัดเพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา และเมื่อศึกษาหนังสือเรียนนี้ ดวยการ
นำความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในชั้นเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถิ่น จากแหลงเรียนที่รู
และจากสื่ออื่นๆ
ในการดำเนินการจัดทำหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมือดวยดีจากผูทรงคุณวุฒิและผูที่เกี่ยวของ
หลายทาน ซึ่งชวยกันคนควาและเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากสื่อตางๆ เพื่อใหไดหนังสือเรียนที่
สอดคลองกับหลักสูตรและเปนประโยชนตอผูเรียนที่อยูนอกระบบโรงเรียนอยางแทจริง
สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณที่ปรึกษา คณะ
ผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทำทุกทานที่ใหความรวมมือดวยดีไว ณ.โอกาสนี้
สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียน
ชุดนี้จะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด
สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความ
ขอบคุณยิ่ง
สำนักงาน กศน.
สารบัญ
หนา
คำนำ
คำแนะนำการใชหนังสือเรียน
โครงสรางรายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง สค 21002
ขอบขายเนื้อหา
บทที่ 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย 1
บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคานิยมของไทยและเอเชีย 69
บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 89
บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมืองและการอยูรวมกันในระบอบประชาธิปไตย 115
อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
บทที่ 5 สิทธิมนุษยชน 139
บรรณานุกรม
คณะผูจัดทำ
คำแนะนำในการใชหนังสือเรียน
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ระดับมัธยม
ศึกษาตอนตนเปนหนังสือเรียนที่จัดทำขึ้น สำหรับผูเรียนที่เปนนักศึกษานอกระบบใชประกอบ
การศึกษารายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) จำนวน 2 หนวยกิต 80 ชั่วโมง
ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง
ผูเรียนควรปฎิบัติดังนี้
1) ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอ สาระสำคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
และขอบขายเนื้อหา
2) ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่อง
เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหาในตอนนั้นๆ อีกครั้ง โดยผูเรียน
สามารถนำไปตรวจสอบ กับครู เพื่อนๆ ที่เรียนในรายวิชาและระดับเดียวกันได
3) หนังสือเลมนี้มี 5 บท ดังนี้
บทที่ 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย
บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคานิยมของไทยและเอเชีย
บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมืองและการอยูรวมกัน
ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
บทที่ 5 สิทธิมนุษยชน
โครงสรางรายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
สาระสำคัญ
ประเทศไทยเปนประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมุข มีประชากรอาศัยอยูหลายเชื้อชาติ มีภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ความเชื่อ
ที่แตกตางกัน การใหความรูเกี่ยวกับความสำคัญ หลักธรรมทางศาสนาและวัฒนธรรม คานิยม
ของประเทศตางๆ ตลอดจนความเปนมา หลักการ ความสำคัญของรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย หลักการอยูรวมกัน และหลักสิทธิมนุษยชน จะทำใหคนในสังกัดสามารถ
นำหลักการ คำสอนและกฎระเบียบตางๆ ของสังคมมาปรับใชในการใชในการดำเนินชีวิต
ของตนไดอยางถูกตอง มีความสุข อันจะสงผลตอความสันติสุขของสังคม
ผลการเรียนที่คาดหวัง
1. อธิบายความเปนมา ความสำคัญ หลักคำสอน ศาสนาวัฒนธรรม ประเพณี
คานิยมของประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชียได
2. ยอมรับและปฏิบัติตนเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุข ในสังคมที่มีความ
หลากหลายทางศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี
3. อนุรักษและสืบสานประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนปฏิบัติคามคานิยมที่พึง
ประสงคของไทย และอธิบายวัฒนธรรม ประเพณี คานิยมของชาติตางๆ
ในเอเชีย
4. อธิบายความเปนมา หลักการ เจตนารมณ โครงสราง สาระสำคัญของ
รัฐธรรมนูญได
5. อธิบายจุดเดนของรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ของประชาชน
ได
6. อธิบายสิทธิ เสรีภาพและคุณธรรม จริยธรรม การอยูรวมกันตามวิถีทาง
ประชาธิปไตยได
7. อธิบายการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และมีสวนรวมการเมืองการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขได
8. อธิบายหลักสิทธิมนุษยชน ตระหนักถึงประโยชนและมีสวนรวมตามหลักสิทธิ
มนุษยชนได
ขอบขายเนื้อหา
บทที่ 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย
บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคานิยมของไทยและเอเชีย
บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมืองและการอยูรวมกันในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
บทที่ 5 สิทธิมนุษยชน
สื่อประกอบการเรียนรู
1. ซีดีศาสนาสากล
2. ซีดีวัฒนธรรม ประเพณีไทยและประเทศตางๆในเอเชีย
3. เอกสารที่เกี่ยวของกับศาสนา วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง สิทธิมนุษยชน
4. อินเทอรเน็ต
5. แหลงเรียนรู ภูมิปญญาในทองถิ่น
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 1
สาระสำคัญ
เนื้อหาสาระเกี่ยวกับความเปนมาของศาสนาตางๆในประเทศไทยและประเทศในทวีป
เอเซีย หลักธรรมสำคัญของศาสนาตางๆ การอยูรวมกับคนตางศาสนาไดอยางมีความสุข กรณี
ตัวอยางของบุคคลตัวอยางในแตละศาสนา
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. ประวัติ ความสำคัญ หลักคำสอน ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ของประเทศใน
ทวีปเอเซีย
2. ยอมรับและปฏิบัติตนเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุขในสังคมที่มีความหลาก
หลายทางศาสนา
ขอบขายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 ความเปนมาของศาสนาในประเทศไทย
เรื่องที่ 2 ความเปนมาของศาสนาในทวีปเอเซีย
เรื่องที่ 3 หลักธรรมของศาสนาตางๆ
สื่อการเรียนรู
1. ใบงาน
2. หนังสือเรียน
บทที่ 1
ศาสนาในประเทศไทยและในทวีปเอเชีย
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน2
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 3
เรื่องที่ 1 ความเปนมาของศาสนาในประเทศไทย
ศาสนาในประเทศไทยที่รัฐบาลใหการอุปถัมภ ดูแลมีทั้งสิ้น 5 ศาสนา ไดแก ศาสนา
พุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาฮินดู และศาสนาซิกซ ซึ่งทุกศาสนาลวนมี
องคประกอบหลักที่สำคัญๆ 5 ประการ คือ
1. ศาสดา หมายถึง ผูทีคนพบศาสนาและเผยแผคำสั่งสอน หรือหลักธรรมของ
ศาสนา
2. ศาสนธรรม หรือหลักธรรมของศาสนา เปนคำสั่งสอนของแตละศาสนา
3. ศาสนิกชน หมายถึง บุคคลและปวงชนที่ใหการยอมรับนับถือในคำสั่งสอนของ
ศาสนานั้นๆ
4. ศาสนาสถาน หมายถึง สถานที่อยูอาศัยของนักบวช ใชเปนที่ประกอบพิธีกรรม
ทางศาสนา รวมถึงการเปนที่ที่ใหศาสนิกชนไปปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา
5. ศาสนพิธี หมายถึง พิธีทางศาสนาตางๆ ที่ถูกกำหนดขึ้นจากศาสดาโดยตรงหรือ
จากการคิดคนของผูปฏิบัติ มีเนื้อหาเกี่ยวกับความตองการขจัดความไมรู
ความกลัว ความอัตคัด สนองความตองการในสิ่งที่ตนขาดแคลน จึงจำเปนตอง
มีวัตถุประสงคของการศึกษาคนควา ปฏิบัติตามหลักของศาสนา
ประเทศไทยมีศาสนาพุทธเปนศาสนาประจำชาติ และมีผูนับถือจำนวนมากที่สุดใน
ประเทศ รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม คริสต และฮินดู การศึกษาความเปนมาของศาสนา
ดังกลาวในประเทศไทย มีความสำคัญและจำเปน เพราะทำใหเกิดความเขาใจในศาสนาที่ตน
นับถือและเพื่อรวมศาสนาอื่นๆในประเทศ อันจะสงผลใหสามารถอยูรวมกันไดอยางมีความสุข
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน4
1.1 ศาสนาพุทธในประเทศไทย
พุทธประวัติ
ศาสดาผูที่คนพบศาสนาและเผยแผคำสั่งสอนหรือหลักธรรมของศาสนาพุทธ คือ
พระพุทธเจา
พระพุทธเจา พระนามเดิมวา "สิทธัตถะ" เปนพระราชโอรสของพระเจาสุทโธทนะ
และพระนางสิริมหามายาแหงกรุงกบิลพัสดุแควนสักกะ พระองคทรงถือกำเนิดในศากยวงศ
สกุลโคตมะ พระองคประสูติในวันศุกร ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 (เดือนวิสาขะ) ปจอ กอน
พุทธศักราช 80 ป ณ สวนลุมพินีวัน ซึ่งตั้งอยูระหวางกรุงกบิลพัสดุ แควนสักกะกับกรุง
เทวทหะ แควนโกลิยะ (ปจจุบันคือ ตำบลรุมมินเด ประเทศเนปาล) ทั้งนี้ เปนเพราะธรรมเนียม
ที่สตรีจะตองไปคลอดบุตรที่บานบิดามารดาของตน พระนางสิริมหามายาจึงตองเดินทางไป
กรุงเทวทหะ
หลังจากประสูติได 5 วัน พระเจาสุทโธทนะโปรดใหประชุมพระประยูรญาติ และเชิญ
พราหมณผูเรียนไตรเพท จำนวน 108 คน เพื่อมาทำนายพระลักษณะของพระราชกุมาร พระ
ประยูรญาติไดพรอมใจกันถวายพระนามวา "สิทธัตถะ" มีความหมายวา "ผูมีความสำเร็จสม
ประสงคทุกสิ่งทุกอยางที่ตนตั้งใจจะทำ" สวนพราหมณเหลานั้น คัดเลือกกันเองเฉพาะผูที่
ทรงวิทยาคุณประเสริฐกวาพราหมณทั้งหมดได 8 คน เพื่อทำนายพระราชกุมาร พราหมณ
7 คนแรก ตางก็ทำนายไว 2 ประการ คือ "ถาพระราชกุมารเสด็จอยูครองเรือนก็จักเปนพระเจา
จักรพรรดิผูทรงธรรม หรือถาเสด็จออกผนวชเปนพรรพชิตจักเปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา
ผูไมมีกิเลสในโลก" สวนโกณทัญญะพราหมณ ผูมีอายุนอยกวาทุกคน ไดทำนายเพียงอยางเดียว
วา พระราชกุมารจักเสด็จออกจากพระราชวังผนวชเปนบรรพชิต แลวตรัสรูเปนพระอรหันต
สัมมาสัมพุทธเจาผูไมกิเลสในโลก" เมื่อเจาชายสิทธัตถะ ประสูติได 7 วัน พระราชมารดา
ก็เสด็จสวรรคต พระเจาสุทโธทนะทรงมอบหมายใหพระนางมหาปชาบดีโคตมี ซึ่งเปน
พระกนิษฐาของพระนางสิริมหามายา เปนผูถวายอภิบาลเลี้ยงดูเมื่อพระสิทธัตถะทรงพระเจริญ
มีพระชนมายุได 8 พรรษา ไดทรงศึกษาในสำนักอาจารยวิศวามิตร ซึ่งมีเกียรติคุณแผขจรไกล
ไปยังแควนตางๆ เจาชายสิทธัตถะทรงศึกษาศิลปวิทยาเหลานี้ไดอยางวองไวและเชี่ยวชาญจน
หมดความสามารถของพระอาจารย
ดวยพระราชบิดามีพระราชประสงคมั่นคงที่จะใหเจาชายสิทธัตถะทรงครองเพศ
ฆราวาสเปนพระจักรพรรดิผูทรงธรรม จึงพระราชทานความสุขเกษมสำราญ แวดลอมดวย
ความบันเทิงนานาประการแกพระราชโอรสเพื่อผูกพระทัยใหมั่งคงในทางโลก เมื่อเจาชาย
สิทธัตถะเจริญพระชนมได 16 พรรษา พระเจาสุทโธทนะมีพระราชดำริวาพระราชโอรส
สมควรจะไดอภิเษกสมรส จึงโปรดใหสรางประสาทอันวิจิตรงดงามขึ้น 3 หลัง สำหรับให
พระราชโอรสไดประทับอยางเกษมสำราญตามฤดูกาลทั้ง 3 คือ ฤดูรอน ฤดูฝนและฤดูหนาว
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 5
และทรงสูขอพระนางพิมพายโสธรา พระราชธิดาของพระเจาสุปปพุทธะและพระนางอมิตา
แหงเทวทหะนคร ในตระกูลโกลิยวงศใหอภิเษกดวย เจาชายสิทธัตถะไดเสวยสุขสมบัติ
จนพระชนมายุได 29 พรรษา พระนางพิมพายโสธราจึงประสูติพระโอรส พระองคมีพระราช
หฤทัยสิเนหาในพระโอรสเปนอยางยิ่ง เมื่อพระองคทรงทราบถึงการประสูติของพระโอรส
พระองคตรัสวา “ราหุล ชาโต พันธนา ชาต” แปลวา “บวงเกิดแลว เครื่องจองจำเกิดแลว”
ถึงแมเจาชายสิทธัตถะจะทรงพรั่งพรอมดวยสุขสมบัติมหาศาล ก็มิไดพอพระทัย
ในชีวิตคฤหัสถ พระองคยังทรงมีพระทัยฝกใฝใครครวญถึงสัจธรรมที่จะเปนเครื่องนำทางซึ่ง
ความพนทุกขอยูเสมอ พระองคไดเคยเสด็จประพาสอุทยาน ไดทอดพระเนตรเทวทูตทั้ง 4 คือ
คนแก คนเจ็บ คนตาย และบรรพชิต พระองคจึงสังเวชพระทัยในชีวิต และพอพระทัยในเพศ
บรรพชิต มีพระทัยแนวแนที่จะทรงออกผนวช เพื่อแสวงหาโมกขธรรมอันเปนทางดับทุกข
ถาวรพนจากวัฏสงสารไมกลับมาเวียนวายตายเกิดอีก พระองคจึงตัดสินพระทัยเสด็จออกผนวช
โดยพระองคทรงมากัณฐกะ พรอมดวยนายฉันนะ มุงสูแมน้ำอโนมานที แควนมัลละ รวม
ระยะทาง 30 โยชน (ประมาณ 480 กิโลเมตร) เสด็จขามฝงแมน้ำอโนมานทีแลวทรงอธิษฐาน
เพศเปนบรรพชิต และทรงมอบหมายใหนายฉันนะนำเครื่องอาภรณและมากัณฐกะกลับนคร
กบิลพัสดุ
การแสวงหาธรรมระยะแรกหลังจากทรงผนวชแลว สมณสิทธัตถะไดทรงศึกษาใน
สำนักอาฬารดาบส กาลามโคตร และอุทกดาบส รามบุตร ณ กรุงราชคฤห แควนมคธ
พระองคไดทรงประพฤติพรหมจรรยในสำนักของอาฬารดาบส กาลามโคตร ทรงไดสมาบัติ
คือ ทุติยฌาน ตติยฌาน อากาสานัญจายตนฌาน วิญญานัญจายตนฌาน และอากิญจัญญายตน
ฌาน สวนการประพฤติพรหมจรรยในสำนักอุทกดาบส รามบุตร นั้นทรงไดสมาบัติ ๘ คือ
เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน สำหรับฌานที่ 1 คือ ปฐมฌานนั้น พระองคทรงไดขณะกำลัง
ประทับขัดสมาธิเจริญอานาปานสติกัมมัฏฐานอยูใตตนหวาเนื่องในพระราชพิธีวัปปมงคล
(แรกนาขวัญ) เมื่อครั้งทรงพระเยาว เมื่อสำเร็จการศึกษาจากทั้งสองสำนักนี้แลวพระองคทรง
ทราบวามิใชหนทางพนทุกข บรรลุพระโพธิญาณ ตามที่ทรงมุงหวัง พระองคจึงทรงลาอาจารย
ทั้งสอง เสด็จไปใกลบริเวณแมน้ำเนรัญชรา ที่ตำบลอุรุเวลาเสนานิคมกรุงราชคฤห แควนมคธ
เมื่อพระองคทรงหันมาศึกษาคนควาดวยพระปญญาอันยิ่งดวยพระองคเองแทนการ
ศึกษาเลาเรียนในสำนักอาจารย ณ ทิวเขาดงคสิริ ใกลลามแมน้ำเนรัญชรานั้น พระองคไดทรง
บำเพ็ญทุกรกิริยา คือการบำเพ็ญอยางยิ่งยวดในลักษณะตางๆ เชน การอดพระกระยาหาร
การทรมานพระวรกายโดยการกลั้นพระอัสสาสะ พระปสสาสะ (ลมหายใจ) การกดพระทนต
การกดพระตาลุ (เพดาน) ดวยพระชิวหา (ลิ้น) เปนตน พระมหาบุรุษไดทรงบำเพ็ญทุกรกิริยา
เปนเวลาถึง 6 ป ก็ยังมิไดคนพบสัจธรรมอันเปนทางหลุดพนจากทุกข พระองคจึงทรงเลิกการ
บำเพ็ญทุกรกิริยา แลวกลับมาเสวยพระกระยาหารเพื่อบำรุงพระวรกายใหแข็งแรง ในการคิดคน
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน6
วิธีใหม ในขณะที่พระมหาบุรุษทรงบำเพ็ญทุกรกิริยานั้น ไดมีปญจวัคคีย คือ พราหมณทั้ง
5 คน ไดแก โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหามานะ และอัสสชิ เปนผูคอยปฏิบัติรับใช ดวย
หวังวาพระมหาบุรุษตรัสรูแลวพวกตนจะไดรับการสั่งสอนถายทอดความรูบาง และเมื่อ
พระมหาบุรุษเลิกลมการบำเพ็ยทุกรกิริยา ปญจวัคคียก็ไดชวนกันละทิ้งพระองคไปอยู ณ ปา
อิสิปตนมฤคทายวัน นครพาราณสี เปนผลใหพระองคไดประทับอยูตามลำพังในที่อันสงบเงียบ
ปราศจากสิ่งรบกวนทั้งปวง พระองคไดทรงตั้งพระสติดำเนินทางสายกลาง คือ การปฏิบัติใน
ความพอเหมาะพอควร นั่นเอง
พระพุทธเจาทรงตรัสรู เวลารุงอรุณ ในวันเพ็ญเดือน 6 (เดือนวิสาขะ) ประกา กอน
พุทธศักราช 45 ป นางสุชาดาไดนำขาวธุปายาสเพื่อไปบวงสรวงเทวดา ครั้นเห็นพระมหา
บุรุษประทับที่โคนตนอชปาลนิโครธ (ตนไทร) ดวยอาการอันสงบ นางคิดวาเปนเทวดา จึง
ถวายขาวมธุปายาส แลวพระองคเสด็จไปสูทาสุปดิษฐริมฝงแมน้ำเนรัญชรา หลังจากเสวยแลว
พระองคทรงจับถาดทองคำขึ้นมาอธิษฐานวา “ถาเราจักสามารถตรัสรูไดในวันนี้ ก็ขอใหถาด
ทองคำใบนี้จงลอยทวนกระแสน้ำไปไกลถึง 80 ศอก จึงจมลงตรงที่กระแสน้ำวน” ในเวลาเย็น
พระองคเสด็จกลับมายังตนโพธิ์ที่ประทับ คนหาบหญาชื่อ โสตถิยะไดถวายปูลาดที่ประทับ ณ
ใตตนโพธิ์ พระองคประทับหันพระพักตรไปทางทิศตะวันออก และทรงตั้งจิตอธิษฐานวา
“แมวาเลือดในกายของเราจะเหือดแหงไปเหลือแตหนัง เอ็น กระดูกก็ตาม ถายังไมบรรลุ
ธรรมวิเศษแลว จะไมยอมหยุดความเพียรเปนอันขาด” เมื่อทรงตั้งจิตอธิษฐานเชนนั้นแลว
พระองคก็ทรงสำรวมจิตใหสงบแนวแน มีพระสติตั้งมั่น มีพระวรกายอันสงบ มีพระหทัย
แนวแนเปนสมาธิบริสุทธิ์ผุดผองปราศจากกิเลสปราศจากความเศราหมอง มีความตั้งมั่น
ไมหวั่นไหว
ในปฐมยามแหงราตรี พระองคทรงตรัสรูปุพเพนิวาสญาณ คือ ญาณที่ระลึกถึงชาติ
ตางๆในปางกอน ตอมาในมัชฌิมยามคือยามกลางแหงราตรี พระองคทรงตรัสรูจุตูปปาตญาณ
คือ ญาณกำหนดรูการเกิดของสัตวทั้งหลาย และในยามสุดทายคือปจฉิมยาม พระองคทรง
ตรัสรูอาสวักขยญาณ คือ ญาณหยั่งรูในการสิ้นไปแหงอาสาวกิเลสทั้งหลาย พระองคทรงตรัสรู
อริยสัจ 4 คือ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค วันที่พระองคทรงตรัสรูในวันเพ็ญเดือน 6 ประกา
พระชนมายุได 35 พรรษา นับแตวันที่ออกผนวชจนถึงวันตรัสรูธรรม รวมเปนเวลา 6 ป
หลังจากตรัสรูแลว พระองคทรงเสวยวิมุตติสุข ณ บริเวณตนพระศรีมหาโพธิ์ เปน
เวลา 7 สัปดาห ทรงรำพึงวา ธรรมะของพระองคเปนเรื่องยากสำหรับคนทั่วไปจะรู พระองค
นอมพระทัยที่จะไมประกาศศาสนา แตเมื่อพิจารณาแลวเห็นสภาวธรรมวา สติปญญาของบุคคล
เปรียบเสมือนดอกบัว 4 เหลา คือ พวกที่ฟงธรรมแลวรูเขาใจโดยงาย คือ บัวที่อยูพนน้ำ
พวกที่ฟงธรรมที่อธิบายขยายความแลวจะรูธรรม คือ บัวที่อยูปริ่มน้ำ พวกที่ฟงธรรมแลวตองใช
ระยะเวลานานไตรตรองทบทวนไปมาจึงจะเขาใจ เหมือนบัวที่อยูใตน้ำ และพวกสุดทายคือ
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 7
พวกที่ฟงธรรมแลวทำอยางไรก็ไมเขาใจเหมือนบัวที่อยูใตตมเปนอาหารเตา ปู ปลา จากนั้นดวย
พระเมตตาของพระองคจึงประกาศเผยแผศาสนา พระองคทรงพิจารณาจะสอนพระธรรม
ใหกับใครกอนเปนคนแรก ครั้งแรกคิดจะสอนพระธรรมแกอาฬารดาบส แตอาจารยทั้งสอง
ทานตายแลว พระองคจะเผยแผธรรมแกปญจวัคคียทั้ง 5 ที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน พระองค
ทรงแสดงปฐมเทศนา ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 (เดือนอาสาฬหะ) เรียกวา ธรรมจักกัปปวัตตน
สูตร ทานโกณทัญญะฟงธรรมแลวเกิดดวงตาเห็นธรรม คือบรรลุโสดาบัน จึงทูลขออุปสมบท
เรียกการบวชครั้งนี้วา “เอหิภิกขุอุปสัมปทา” เปนพระสงฆที่พระพุทธเจาบวชให ค่ำ เดือน 8
เปนวันที่พระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ ครบ เรียกวา อาสาฬหบูชา
เปนครั้งแรก
การเผยแผศาสนา เมื่อพระพุทธเจาไดโปรดปญจวัคคีย และสาวกอื่นๆ ซึ่งเลื่อมใส
นับถือศาสนาพุทธ ตอมาพระพุทธเจาทรงอนุญาตใหพุทธสาวก สามารถบวชใหกับผูที่เลื่อมใส
ในศาสนาพุทธได เรียกวิธีบวชเชนนี้วา "ติสรณคมนูปสัมปทา" คือ การบวชดวยการปฏิญาณ
ตนเปนผูถึงไตรสรณคมน พระพุทธศาสนาจึงหยั่งรากฝงลึกในดินแดนสุวรรณภูมิ เชน
ประเทศอินเดีย ประเทศปากีสถาน ประเทศเนปาล เปนตนมา พระพุทธเจาประกาศเผยแผ
คำสอนจนเกิดพุทธบริษัท 4 อันมี ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา และพุทธบริษัท 4 นี้ จะ
ทำหนาที่เผยแผคำสอนของพระพุทธเจาและสืบทอดพระพุทธศาสนาใหคงอยูตอไป
เมื่อพระพุทธเจามีพระชนมายุ 80 พรรษา พระองคเสด็จจำพรรษาสุดทาย ณ เมือง
เวสาลี ในวาระนั้น พระพุทธองคทรงชราภาพและประชวรหนัก พระองคไดทรงดำเนินจาก
เวสาลีสูเมืองกุสินารา เพื่อเสด็จดับขันปรินิพพาน ณ เมืองนั้น พระองคเสวยอาหารมื้อสุดทาย
ที่นายจุนทะปรุงดวยเนื้อสุกรถวาย พระองคเสวยและใหนำอาหารนั้นไปฝง ทรงมีอาการ
ประชวร ถายเปนพระโลหิต
กอนที่พระองคจะเสด็จปรินิพพาน ซึ่งหมายถึงการไมมาเวียนวายตายเกิดในวัฏสงสาร
พระองคทรงมีพระดำรัสกับพระอานนท ซึ่งเปนพุทธอนุชาและเปนพระอุปฏฐากของ
พระพุทธเจา ความวา “โย โว อานฺท ธมฺม จ วินฺโย มหาเทสิโต ปฺญตโต โส โว มมจฺจเยน
สตฺถา” แปลวา “ดูกอนอานนท ธรรมและวินัยอันที่เราแสดงแลว บัญญัติแลวแกเธอทั้งหลาย
ธรรมวินัยนั้น จักเปนศาสดาของเธอทั้งหลาย เมื่อเราลวงลับไปแลว”
และพระพุทธองคไดแสดงปจฉิมโอวาทแกพระภิกษุสงฆวา “ดูกอนภิกษุทั้งหลาย
นี่เปนวาจาครั้งสุดทาย ที่เราจะกลาวแกทานทั้งหลาย สังขารทั้งหลายทั้งปวงมีความสิ้นไปและ
เสื่อมไปเปนธรรมดา ทานทั้งหลายจงทำความรอดพนใหบริบูรณถึงที่สุดดวยความไมประมาท
เถิด"
พระพุทธเจา ประสูติ ตรัสรู ปรินิพพาน ในวันเดือนกัน คือ วันเพ็ญเดือน 6 เรียกวา
วัน “วิสาขบูชา”
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน8
วันวิสาขบูชา
ประสูติ ตรัสรู ปรินิพพาน
การเผยแผพุทธศาสนาเขาสูประเทศไทย
พระพุทธศาสนาเผยแผเขามาในประเทศไทย ประมาณป พ.ศ. 270 หลังจาก
พระพุทธเจาเสด็จปรินิพพาน พระเจาอโศกมหาราชสถาปนาศาสนาพุทธเปนปกแผนและสง
พระเถระไปเผยแผพระพุทธศาสนายังประเทศตางๆ รวมทั้งประเทศไทย พระเถระที่เขามามี
2 รูป คือ พระโสณเถระ และพระอุตตระเถระ ซึ่งเปนนิกายเถรวาท ขณะนั้นไทยอยูบนดินแดน
ที่เรียกวาสุวรรณภูมิ มีขอบเขตประเทศที่รวมกันคือ ไทย พมา เวียดนาม กัมพูชา ลาว มาเลเซีย
และสันนิษฐานวาใจกลางอยูที่จังหวัดนครปฐม มีหลักฐานคือพระปฐมเจดียและรูปธรรมจักร
กวางหมอบ สมัยนี้เรียกวา สมัยทวารวดี
ตอมา สมัยอาณาจักรอายลาว ศาสนาพุทธนิกายมหายานเผยแผมายังอาณาจักรนี้เพราะ
พระเจามิ่งตี่ กษัตริยจีน ทรงรับพระพุทธศาสนา ไปเผยแผในประเทศจีนและสงฑูตมาเจริญ
สัมพันธไมตรีกับอาณาจักรอายลาว จึงทำใหไทยนับถือศาสนาพุทธแบบมหายานเปนครั้งแรก
แทนการนับถือเทวดาแบบดั้งเดิม
ในพุทธศตวรรษที่ 13 พ.ศ. 1300 สมันอาณาจักรศรีวิชัยในเกาะสุมาตรา ไดเจริญ
รุงเรือง และนำพระพุทธศาสนาแบบมหายานเขามาเผยแผ ดังมีหลักฐานที่ปรากฏอยูคือพระ
บรมธาตุไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี และพระมหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ในพุทธศตวรรษที่ 15 พ.ศ. 1500 อาณาจักรลพบุรี เจริญรุงเรือง ในขณะเดียวกัน
อาณาจักรขอมก็เจริญรุงเรืองดวย ในสมัยราชวงศสุริยวรมัน เรืองอำนาจ พระองครับเอา
พุทธศาสนาแบบมหายานผสมผสานกับศาสนาพราหมณ และทรงสรางศาสนาสถานเปน
พระปรางคและปราสาทอาณาจักรลพบุรีของไทย รับอิทธิพลนี้มาดวย มีภาษาสันสกฤตเปน
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 9
ภาษาหลักของศาสนาพราหมณเขามามีอิทธิพลในภาษาไทย วรรณคดีไทย จะเห็นสิ่งกอสราง
คือ พระปรางคสามยอดจังหวัดลพบุรี ประสาทหินพิมายที่จังหวัดนครราชสีมา ปราสาทหิน
พนมรุงที่จังหวัดบุรีรัมย สวนพระพุทธรูปไดรับอิทธิพลของขอม เชน ศิลปะแบบขอม
พุทธศตวรรษที่ 16 พ.ศ. 1600 อาณาจักรพุกามประเทศพมาเจริญรุงเรือง กษัตริย
ผูปกครองชื่อ พระเจาอนุรุทธิ์มหาราช กษัตริยพุกามเรืองอำนาจทรงรวบรวมเอาพมากับมอญ
เขาเปนอาณาจักรเดียวกัน และแผขยายอาณาจักรถึงลานนา ลานชาง คือ เชียงใหม ลำพูน
เชียงราย จึงรับพระพุทธศาสนาแบบเถรวาท หลักฐานที่ปรากฏ คือ การกอสรางเจดียแบบพมา
ซึ่งปรากฏอยูตามวัดตางๆ
ตอมาสมัยสุโขทัย เจริญรุงเรืองเปนปกแผน มีอาณาจักรของไทย คือ อาณาจักรลานนา
และอาณาจักรสุโขทัย พอขุนรามคำแหงมหาราชทรงสดับกิตติศัพทของพระสงฆลังกา ซึ่ง
เผยแผศาสนาอยูที่นครศรีธรรมราช จึงนิมนตมาที่สุโขทัยนับเปนจุดสำคัญที่ทำใหพุทธศาสนา
ดำรงมั่นคงมาในประเทศไทยสืบมาจนทุกวันนี้ พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศไดเขามาเผยแผ
ในประเทศไทยถึง 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ในสมัยพอขุนรามคำแหงมหาราช ในสมัยที่ 2 คือ
สมัยพระยาลิไท กษัตริยทุกพระองคปกครองบานเมืองดวยความสงบรมเย็น ประชาชนอยูดวย
ความผาสุก ศิลปะสุโขทัยมีความงดงามโดยเฉพาะพระพุทธรูปไมมีศิลปะสมัยใดงามเสมือน
สมัยลานนา พ.ศ. 1839 พระยามังรายทรงสรางราชธานี ชื่อ นพบุรีศรีนครพิงค
เชียงใหม ตั้งถิ่นฐานที่ลุมแมน้ำปง สนับสนุนใหพุทธศาสนารุงเรืองในเมืองเชียงราย ลำพูน
ลำปาง แพร นาน พะเยา ในสมัยพระเจาติโลกราชแหงเชียงใหมทำการสังคายนาพระไตรปฎก
เปนครั้งแรกในประเทศไทย
สมัยกรุงศรีอยุธยา พุทธศาสนาสมัยนี้ไดรับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณเปนอันมาก
พิธีกรรมตางๆจึงปะปนกับพิธีพราหมณ ประชาชนทำบุญกุศล สรางวัด บำรุงศาสนา พระมหา
กษัตริยที่ทรงผนวช คือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและทรงริเริ่มใหเจานายและขาราชการ
บวชเรียน ทรงรจนาหนังสือมหาชาติคำหลวงขึ้นในป พ.ศ. 2025 และในสมัยพระเจาทรงธรรม
ไดพบรอยพระพุทธบาทที่ จ. สระบุรี จึงโปรดใหสรางมณฑป วรรณคดีในสมัยนี้ไดแก กาพย
มหาชาติ ในสมัยพระเจาอยูหัวบรมโกษฐ พ.ศ. 2275-2300 พุทธศาสนาไดเจริญรุงเรืองมาก
พระเจาแผนดินของลังกามีพระราชสาสนมาทูลของพระภิกษุสงฆไปเผยแผศาสนาที่ลังกา
เพราะศาสนาพุทธที่เรียกวาลังกาวงศนั้นเสื่อมลง ไทยจึงสงพระอุบาลีไปประกาศศาสนาและ
เผยแผ ศาสนาจนรุงเรืองอีกครั้ง และเรียกศาสนาพุทธในครั้งนี้วา นิกายสยามวงศ
สมัยกรุงธนบุรี ป 2310 กรุงศรีอยุธยาถูกพมายกทัพเขาตีจนบานเมืองแตกยับเยิน
วัดวาอารามถูกทำลายยอยยับ พระเจาตากสินมหาราชทรงเปนผูนำในการกอบกูอิสรภาพ ทรงตั้ง
เมืองหลวงที่กรุงธนบุรีและทรงบูรณปฏิสังขรณวัดวาอาราม และสรางวัดเพิ่มเติมอีกมากและ
ไดอัญเชิญ พระแกวมรกตจากเวียงจันทนมายังประเทศไทย
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน10
สมัยรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 1 (พ.ศ. 2325-2352) พระองคยายเมืองหลวงมาตั้งที่
กรุงเทพมหานคร และทรงปฏิสังขรณวัดตางๆ คือ การสรางวัดพระศรีรัตนศาสดาราม
วัดสุทัศนเทพวราราม วัดสระเกศ และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และโปรดใหมีการ
สังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ 9 และถือเปนครั้งที่ 2 ในดินแดนประเทศไทยปจจุบัน
รัชกาลที่ 2 (พ.ศ. 2352-2367) ทรงบูรณะวัดอรุณราชวราราม วัดสุทัศนเทพวราราม
และฟนฟูประเพณีวิสาขบูชา
รัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2367-2394) ทรงสราง
3 วัด คือ วัดเฉลิมพระเกียรติ วัดเทพธิดาราม และวัดราชนัดดาราม และทรงบูรณะปฏิสังขรณ
วัดมีจำนวนมากถึง 50 วัด พระองคเชิดชูกำเนิดธรรมยุติกนิกายในป 2376 เนื่องจากพระองค
เลื่อมใสในจริยาวัตรของพระมอญซึ่งเปนรูปแบบนิกายธรรมยุต มีวัดบวรนิเวศนเปนศูนยกลาง
ทรงสรางพระไตรปฎกเปนจำนวนมากยิ่งกวารัชกาลใดๆ
ตอมาสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2394-2411) ทรง
สรางพระไตรปฎก ปฏิสังขรณวัด กำเนิดการบำเพ็ญกุศลพิธีมาฆบูชา เปนครั้งแรกที่วัด
พระศรีศาสดาราม และสงสมณฑูตไปลังกา
สมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2411-2453) ทรง
สรางพระไตรปฎกแปลจากอักษรขอม เปนอักษรไทย ปฏิสังขรณวัดตางๆ ทรงตราพระราช
บัญญัติคณะสงฆและสถาปนาการศึกษาสำหรับพระสงฆ 2 แหง คือ มหามกุฎราชวิทยาลัย
ที่วัดบวรนิเวศวิหาร และมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่วัดมหาธาตุ
สมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2453-2468) ทรง
ประกาศใชพุทธศักราชทางราชการตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2456 เปนตนมา ทรงสรางโรงเรียน
และบูรณะวัดตางๆทรงพระราชนิพนธหนังสือทางพระพุทธศาสนา คือ พระพุทธเจาตรัสรูอะไร
และเทศนาเสือปา
สมัยรัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2468-2477) ทรง
พิมพพระไตรปฎก เรียกวา "พระไตรปฎกสยามรัฐ" มีตราชางเปนเครื่องหมายเผยแพร ทรง
ประกวดหนังสือสอนพระพุทธศาสนาสำหรับเด็ก ทรงเพิ่มหลักสูตรจริยศึกษา (อบรมใหมี
ศีลธรรมดีงามขึ้น แตเดิมมีเพียงหลักสูตรพุทธิศึกษา (ใหมีปญญาความรู) และพลศึกษา (ฝกหัด
ใหเปนผูมีรางกายสมบูรณ)
สมัยรัชกาลที่ 8 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล (พ.ศ. 2477-2489) มีการ
แปลพระไตรปฎกเปนภาษาไทย ทรงตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. 2484 เลิกการปกครอง
สงฆแบบมหาเถรสมาคมที่ใชมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5
สมัยรัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช (พ.ศ. 2489-ปจจุบัน)
มีการจัดงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ในป พ.ศ. 2500 มีการสรางพุทธมณฑลไวที่ตำบลศาลายา
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 11
จังหวัดนครปฐม มีการสงพระสงฆไปเผยแผศาสนาพุทธในตางประเทศ เสด็จออกผนวชที่วัด
บวรนิเวศ วรวิหาร และมีโรงเรียนพุทธศาสนาในวันอาทิตย
1.2 ศาสนาอิสลามในประเทศไทย
ประวัติศาสดา
ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ ทานนบีมุฮัมมัด เปนบุตรของอับดุลลอหแหงอารเบีย
ทานไดรับมอบหมายใหเผยแผสาสนของอัลลอฮพระผูเปนเจา
ทานศาสดามุฮัมมัด เกิดที่มหานครมักกะห (เมกกะ) ตรงกับวันจันทร ที่ 17 (บางก็วา
12) เดือนร็อบีอุลเอาวัล ในป ค.ศ. 570 (พ.ศ. 1113) ในตอนแรกเกิดวรกายของมุฮัมมัด
มีรัศมีสวางไสวและมีกลิ่นหอมเปนศุภนิมิตบงถึงความพิเศษของทารก ปที่ทานเกิดนั้นเปนปที่
อุปราชอับร็อฮะหแหงอบิสสิเนีย (เอธิโอเปยปจจุบัน) กรีฑาทัพชางเขาโจมตีมหานครมักกะห
เพื่อทำลายกะอบะหอันศักดิ์สิทธิ์ แตอัลลอหไดทรงพิทักษมักกะห ดวยการสงกองทัพนกที่คาบ
กรวดหินลงมาทิ้งบนกองทัพนี้ จนไพรพลตองลมตายระเนระนาด เนื้อตัวทะลุดุจดั่งใบไมที่ถูก
หนอน กัดกิน อุปราชอัมร็อฮะหจึงจำตองถอยทัพกลับไป
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน12
ในปเดียวกันนั้นมีแผนดินไหวเกิดขึ้นในเปอรเซีย เปนเหตุใหราชวังอะนูชิรวานของ
จักรพรรดิเปอรเชียสั่นสะเทือนถึงรากเหงาและพังทลายลง ยังผลใหไฟศักดิ์สิทธิ์ในวิหาร
บูชาไฟของพวกโซโรแอสเตอรที่ลุกอยูเปนพันปนั้นตองดับลงไปดวย
เมื่อมูฮัมมัดมีอายุได 20 ป กิตติศัพทแหงคุณธรรม และความสามารถในการคาขาย
ก็เขาถึงหูของคอดีญะหเศรษฐีนีหมาย ผูมีเกียรติจากตระกูลอะซัดแหงเผากุเรช นางจึงเชิญ
ใหทานเปนผูจัดการในการคาของนาง โดยใหทานนำสินคาไปขายยังประเทศซีเรีย ในฐานะ
หัวหนากองคาราวาน ปรากฏผลวาการคาดำเนินไปดวยความเรียบรอย และไดกำไรเกินความ
คาดหมาย จึงทำใหนางพอใจในความสามารถและความซื้อสัตยของทานเปนอยางมาก
เมื่ออายุ 30 ป ทานไดเขารวมเปนสมาชิกในสหพันธ ฟุฎล อันเปนองคการพิทักษ
สาธารณภัยประชาชน เพื่อขจัดทุกขบำรุงสุขใหประชาชน กิจการประจำวันของทาน ก็คือ
ประกอบแตกุศลกรรมปลดทุกขขจัดความเดือดรอน ชวยเหลือผูตกยาก บำรุงสาธารณกุศล
เมื่ออายุ 40 ป ทานไดรับวา วะฮยู (การวิวรณ) จากอัลลอหพระผูเปนเจาในถ้ำฮิรออ
ซึ่งอยูบนภูเขาลูกหนึ่งนอกเมืองมักกะห โดยฑูตญิบรีลเปนผูนำมาบอกเปนครั้งแรก เรียกรองให
ทานรับหนาที่เปนผูเผยแผศาสนาของอัลลอหดั่งที่ศาสดามูซา (โมเสส) อีซา (เยซู) เคยทำมา
นั่นคือประกาศใหมวลมนุษยนับถือพระเจาเพียงองคเดียว ทาไดรับพระโองการติดตอกันเปน
เวลา 23 ป พระโองการเหลานี้รวบรวมขึ้นเปนเลมเรียกวา คัมภีรอัลลกุรอาน
ในตอนแรกทานเผยแผศาสนาแกวงศญาติและเพื่อนใกลชิดเปนภายในกอน ทาน
ค็อดีญะหเองไดสละทรัพยสินเงินทองของทานไปมากมาย และทานอบูฎอลิบก็ไดปกปอง
หลานชายของตนดวยชีวิต ตอมาทานไดรับโองการจากพระเจาใหประกาศเผยแผศาสนา
โดยเปดเผย ทำใหญาติพี่นองในตระกูลเดียวกันชาวกุเรชและอาหรับเผาอื่นๆที่เคยนับถือทาน
พากันโกรธแคน ตั้งตนเปนศัตรูกับทานอยางรุนแรงถึงกับวางแผนสังหารทานหลายครั้ง แตก็
ไมสำเร็จ ชนมุสลิมถูกคว่ำบาตรไมสามารถทำธุรกิจกับผูใด จนตองอดอยาก เพราะขาดรายได
และไมมีเงินที่จะซื้ออาหาร อบูซุฟยานแหงตระกูลอุมัยยะหและอบูญะฮัล คือ สองในจำนวน
หัวหนามุชริกูนที่ไดพยายามทำลายลางศาสนาอิสลาม
เมื่อชาวมุชริกูนเอาชนะรัฐอิสลามไมไดก็ไดมีการทำสัญญาสงบศึกกันในเดือน
มีนาคม ค.ศ. 628 เรียกสัญญาสงบศึกครั้งนั้นวา สัญญาฮุดัยบียะห
ตอมาในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 629 ชาวมักกะหไดละเมิดสัญญาสงบศึกในเดือน
มกราคม ป ค.ศ. 630 ทานนบีจึงนำทหาร 10,000 คน เขายึดเมืองมักกะห ทานจึงประกาศ
นิรโทษกรรมใหชาวมักกะหเกือบทั้งหมด ยกเวนบางคน ในจำนวนนั้นมีอัลฮะกัม แหงตระกูล
อุมัยยะหที่ทานนบีประกาศใหทุกคนคว่ำบาตรเขา การนิรโทษกรรมครั้งนี้ มีผลใหชาวมักกะห
ซาบซึ้งในความเมตตาของทาน จึงพากันหลั่งไหลเขานับถือศาสนาอิสลามเปนจำนวนมาก ทาน
นบีมูฮัมมัด ไดสิ้นชีวิตที่เมืองมดีนะห เมื่อวันจันทรที่ 12 ป ค.ศ. 632 รวมอายุได 63 ป
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 13
การเผยแผศาสนาอิสลามเขามาสูประเทศไทย
จากบันทึกทางประวัติศาสตรของมุสลิม ชนชาติเปอรเซียและชนชาติอาหรับ ได
เดินทางมาทางทะเลมาทำการคาขายกับเมืองไทยตั้งแตสมัยสุโขทัย แตไมมีผูใดรับราชการใน
ราชสำนักไทยนอกจากชาวมุสลิมในทองถิ่นภาคใต นับตั้งแตนครศรีธรรมราชลงไปจรด
ปลายแหลมมลายู สิงคโปรและมะละกานั้นเจาผูครองนครแทบทุกเมืองเปนชาวมุสลิมมา
แตเดิม ไมปรากฏวาทางกรุงสุโขทัยสงคนทางสุโขทัยไปปกครองแมแตคนเดียว และเมืองตางๆ
ทางภาคใตเปนประเทศราชของกรุงสุโขทัย ตองสงดอกไมเงิน ดอกไมทอง เปนเครื่อง
บรรณาการตามกำหนด หากเมืองใดแข็งเมือง ทางเมืองหลวงจะยกกองทัพไปปราบเปน
ครั้งคราวและอยูรวมกันอยางมีความปกติสุข เปนเวลาหลายรอยป
เจาพระยาบวรราชนายกตำแหนงวางจางมหาดไทย นับวาทานเปนผูนำศาสนาอิสลาม
นิกายชีอะหเขามาสูประเทศไทย และเปนจุฬาราชมนตรีคนแรก เมื่อทานถึงแกกรรม ศพทาน
ฝงไวที่สุสานบริเวณทากายี ปจจุบันเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ทานเปน
ตนตระกูลอะหมัดจุฬา จุฬารัตน บุญนาค ศรีเพ็ญ บุรานนท ศุภมิตร ในสมัยพระเจาทรงธรรม
มีชาวเปอรเซียชื่อวา ทานโมกอล อพยพครอบครัวและบริวารมาจากเมืองสาเลห เกาะชวากลาง
เนื่องจากถูกชาติโปรตุเกสรุกราน ทานสะสมกำลังสรางปอมคายที่บานหัวเขาแดง จังหวัด
สงขลา เพราะตองปองกันตัวจากโจรสลัด เจาพระยานครศรีธรรมราชซึ่งมีหนาที่ดูแลหัวเมือง
ภาคใตไดรายงานเรื่องนี้ใหกรุงศรีอยุธยาทราบเรื่อง พระเจาทรงธรรมโปรดเกลาฯ แตงตั้งให
ทานโมกอลเปนขาหลวงผูสำเร็จราชการเมืองสงขลา เมื่อทานโมกอลถึงแกอสัญกรรม บุตรชาย
คือทานสุลัยมานเปนผูสำเร็จราชการตอมา และเมื่อเจาพระยากลาโหมศรสุริยวงศปราบดาภิเษก
โดยทำการประหารพระเชษฐาธิราช คือ พระเจาทรงธรรมและพระโอรสสิ้นชีวิตและสถาปนา
ตนเปนกษัตริย ทรงพระนามวาพระเจาปราสาททอง ทานสุลัยมานจงรักภักดีตอพระเจาหลวง
จึงไมเห็นดวย แลวประกาศแข็งเมือง เมื่อ พ.ศ. 2173 สถาปนาตนเปนสุลตาน ชื่อ สุลตาน
สุลัยมานชาห ตลอดสมัยปรับปรุงเมืองสงขลาเปนเมืองทาสำคัญ มีกำลังทหารเขมแข็งทั้งทางน้ำ
และทางบก กรุงศรีอยุธยาเคยยกกองทัพไปปราบ2ครั้ง แตเอาชนะไมได สุลตานสุลัยมานชาห
ปกครองสงขลาอยู 46 ป สรางความเจริญกาวหนา ทั้งดานการคามีโกดังสินคามากมายและ
การทางคมนาคม ทำใหไมตองออมเรือไปยังสิงคโปร ทำใหยนระยะทางไดมาก ทานถึง
แกกรรม เมื่อ พ.ศ. 2211 ศพทานฝงไว ณ สุสานบริเวณเขาแดง ปจจุบันขึ้นทะเบียนเปน
โบราณสถานของชาติ คนทั่วไปนับถือทานมาก เรียกทานวา ดาโตะมะหรุม หมายถึง ดาโตะ
ผูลวงลับนั่นเอง ในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราชดำริวาในพระราชอาณาจักรของพระองค
ไมควรมีกษัตริยองคอื่นอีก จึงยกทัพไปปราบนครสงขลา ซึ่งสุลตานมุตตาฟาบุตรของสุลตาน
สุลัยมานชาหครองอยูและรบชนะ สมเด็จพระนารายณมหาราชจึงใหทานสุลตานมุตตาฟาและ
ครอบครัวยายไปอยูเมืองไชยา และสลายเมืองสงขลาเสีย สมเด็จพระนารายณมิไดถือโทษ
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน14
สุลตานมุตตาฟาเพราะถือวาเปนชวงผลัดแผนดิน ตอมาพระองคโปรดเกลาฯ ใหสุลตาน
มุตตาฟาเปนพระไชยา ภาษาถิ่นนามวายามีตำแหนงเปน “พระยาพิชิตภักดีศรีพิชัยสงคราม”
ที่ไชยา เกิดเปนหมูบางสงขลา มีการปกหลักประตูเมือง เรียกวา เสาประโคน อยูกลางเมือง
เปนหลักฐานมาจนทุกวันนี้ สวนนองชายของพระชายาคือ ทานหะซัน และทานรูเซ็น โปรด
เกลาฯ ใหรับราชการในกรุงศรีอยุธยา พรอมกับบุตรชายคนโตคือเตาฟค ทานหะซันชำนาญการ
เดินเรือและทหารเรือ จึงโปรดเกลาฯ เปนพระยาราชบังสัน วาที่แมทัพเรือของกรุงศรีอยุธยา
และตำแหนงนี้ไดสืบทอดตอเนื่องในสายสกุลของทาน นับวาโชคดีของประเทศไทย ที่ตลอด
ระยะเวลาของกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร จนถึงสมัยของสมเด็จพระ
จอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 มีขาราชการตำแหนงสำคัญๆนับถือศาสนาอิสลามไมขาดสาย
เชน ตำแหนงลักษมณา เปนภาษามาเลเซีย แปลวา นายพลเรือ ตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาถึงกรุง
รัตนโกสินทร เปนตำแหนงที่แตงตั้งเฉพาะคนมุสลิมเทานั้น
เปนที่นาสังเกตอีกอยางหนึ่งวา ศาสนาอิสลามนิกายซุนหนี่และนิกายชีอะหในประเทศ
ไทยอยูรวมกันมาตั้งแตสมัยพระเจาทรงธรรมแหงกรุงศรีอยุธยา นิกายซุนหนี่นั้นมีมาแตเดิมใน
แผนดินสุวรรณภูมิ สวนนิกายชีอะหนั้น ไดเขามาพรอมกับทานเฉกอะหมัดสมัยพระเจา
ทรงธรรม ทั้งสองนิกายนี้ผูกมิตรกันโดยมีการแตงงานระหวางกัน
หัวเมืองชายแดนภาคใตตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา ดินแดนของไทยครอบคลุมถึงหลาย
หัวเมืองในประเทศมาเลเซียปจจุบัน คือ ไทรบุรี (เคดาห) กลันตัน ตรังกานู ปะลิศ สวน
ดินแดนในเขตประเทศไทยปจจุบัน มีปตตานีเปนเมืองใหญครอบคลุมไปถึงยะลา นราธิวาส
สตูล ตกอยูในประเทศราชของไทย ตองสงดอกไมเงินดอกไมทองเปนบรรณาการมายัง
กรุงศรีอยุธยามาโดยตลอด บางครั้งเมื่อมีการผลัดแผนดินโดยการปราบดาภิเษก เจาเมือง
เหลานั้นมักถือ โอกาสแข็งเมืองตั้งตนเปนอิสระบอยครั้งทางกรุงศรีอยุธยาตองสงกองทัพ
ไปปราบ เมื่อปราบแลวไดกวาดตอนคนมากรุงศรีอยุธยาดวย เชน ที่ตำบลคลองตะเคียน จังหวัด
นครศรีอยุธยา มีชาวมุสลิม เชื้อสายปตตานีจำนวนมาก สวนชาวมุสลิมแขกเทศหรือแขกแพ
เชื้อสายเปอรเซียหรืออาหรับ มีภูมิลำเนาอยูแถบหัวแหลมหรือทากายี เปนชาวมุสลิมชีอะห
เชื้อสายเปอรเซีย
ในปจจุบันชาวมุสลิมในประเทศไทยสามารถอยูรวมกับคนไทยพุทธได โดยมีกิจกรรม
ที่สำคัญๆ รวมกันคือการติดตอคาขาย การศึกษา รัฐธรรมนูญไทยทุกฉบับปรากฏขอความ
สำคัญ คือพระมหากษัตริยไทย ทรงเปนอัครศาสนูปถัมภกทุกศาสนา แตในปจจุบันมีปญหา
ที่ 3 จังหวัดภาคใต คือ ยะลา ปตตานี นราธิวาส ซึ่งไมไดเกิดจากปญหาความแตกตางทาง
ศาสนา แตเกิดจากคนบางกลุมยังไมเขาใจกันดีเพียงพอจึงเกิดการปะทะกัน และรัฐบาลไทย
ทุกสมัย พยายามแกไขปญหานี้โดยตลอด
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 15
ในป พ.ศ. 1847-1921 อิบนีบาตูเตาะห ชาวโมร็อกโก เชื้อสายอาหรับทำการเผยแพร
ศาสนาอิสลามนิกายซุนหนี่ขึ้นทางเกาะสุมาตรา ตะวันตกเฉียงเหนือ โดยทำใหราชาซอและห
ยอมรับนับถือศาสนาอิสลาม เพราะในคัมภีรอัลกุรอานนั้นมีบทบัญญัติทั้งทางโลก ทางธรรม
มีหลักวิชาเศรษฐศาสตร นิติศาสตร วิทยาศาสตร ปรัชญา การเมือง การสังคม การอาชีพ
การคาขาย การแพทย การเปนหนี้สิน การบริโภคอาหาร การสมรส การหยาราง การครองเรือน
การแบงมรดก การศึกษา การทูต การสงคราม และกิจวัตรประจำวันของบุคคลแตละคน ดังนั้น
เมื่อมีพระราชาศรัทธาในศาสนาจึงเผยแผศาสนาอิสลามไปในหมูพสกนิกร และจัดระบบ
การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม การสมรส การครองเรือน ตามพระราชบัญญัติ
พระคัมภีรอัลกุรอาน และพระราชาธิบดี เปลี่ยนจากราชาซอและหมาเปนสุลตานซอและห ที่
เขมแข็งและเด็ดขาด และจากนั้นศาสนาอิสลามเผยแผไปยังรัฐใกลเคียงจนกลายเปนรัฐอิสลาม
และขยายขึ้นมาจากตอนเหนือของมลายูเขามาสูตอนใตของประเทศไทยและปรากฏหลักฐาน
วาเจาผูครองนครทางภาคใตของประเทศไทยจนถึงเมืองนครศรีธรรมราช นับถือศาสนาอิสลาม
ทั้งสิ้น ศาสนาอิสลามจากอินเดียใตเขามาสูมาเลเซียภาคใตของประเทศไทย สุมาตรา ชวา
บอรเนียว แบบพิธีของศาสนาอิสลามในสวนนี้ของโลกเปนแบบอินโด-เปอรเซียนเชนเดียวกับ
ในอินเดียและเปอรเซีย ซึ่งตางจากศาสนาอิสลามในอาระเบีย ประมาณคริสตศตวรรษที่ 9
อิสลาม ไดมาถึงฝงมะละกา เมื่อมารโคโปโลเดินทางเรือผานชวา เขาเขียนวาผูคนตามเมืองทา
เปนมุสลิมทั้งสิ้น
1.3 ศาสนาคริสตในประเทศไทย
ประวัติศาสดา
ศาสดาของศาสนาคริสต คือ พระเยซู เกิดในชนชาติฮีบรู หรือยิว หรือ อิสราเอล
พระเยซูคริสตถือเปนพระบุตรของพระเจามาบังเกิดในชาตินี้ เมื่อจัดศาสนาของพระเจา คือ
พระยะโฮวาคริสตมีรากศัพทมาจากภาษาโรมันหรือภาษากรีกที่แปลมาจากคำวา เมสสิอาหใน
ภาษฮีบรู แปลวาผูปลดเปลื้องทุกขภัย
พระเยซูเกิดที่หมูบานเบธเลเฮม แขวงยูดาย กรุงเยรูซาเล็ม ในปาเลสไตน เมื่อ พ.ศ.
543 แตไปเติบโตที่เมืองนาซเรท แควนกาลินี หางจากนครยูซาเล็ม ประมาณ 55 ไมล มารดา
ของพระเยซูชื่อมาเรีย หรือมารีย บิดาชื่อ โยเซฟ อาชีพชางไม ตามประวัติ มาเรียมารดาพระ
เยซูนั้นตั้งครรภมากอนขณะที่โจเซฟยังเปนคูหมั้นมิไดอยูกินดวยกัน รอนถึงเทวทูตของพระเจา
หรือพระยะโฮวาห คือเทวาคาเบรียลตองมาเขาฝนบอกโยเซฟใหรูวาบุตรในครรภของมาเรียเปน
บุตรของพระเจาเปนผูมีบุญมากใหตั้งชื่อวาพระเยซูตอไปคนผูนี้จะชวยไถบาปใหชาวยิวรอดพน
จากความทุกขทั้งปวง โยเซฟปฏิบัติตามคำของฑูตแหงพระเจา รับมาเรียมาอยูดวยกันโดยมิได
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001Thidarat Termphon
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001Thidarat Termphon
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002Thidarat Termphon
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001Thidarat Termphon
 
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003Thidarat Termphon
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Thidarat Termphon
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001Thidarat Termphon
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002Thidarat Termphon
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001Thidarat Termphon
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003Thidarat Termphon
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001Thidarat Termphon
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003Thidarat Termphon
 
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001Thidarat Termphon
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002Thidarat Termphon
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016Kasem Boonlaor
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003Thidarat Termphon
 
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคมใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคมIntrayut Konsongchang
 
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001Kasem Boonlaor
 
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029Kasem Boonlaor
 

Mais procurados (20)

ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ม.ต้น พต.21001
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น ทช21001
 
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
การพัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง ม.ต้น อช21003
 
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
Eฎภาษาไทย ม.ต้น พท21001
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ปลาย ทช31002
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
 
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
 
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
ทักษะการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31002
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 2 สค22016
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
 
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคมใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
ใบงาน วิชาการพัฒนาตนเอง-ชุมชน-สังคม
 
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม ต้น ทร21001
 
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
 

Destaque

วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001Thidarat Termphon
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007Thidarat Termphon
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003Thidarat Termphon
 
การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201Thidarat Termphon
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001Thidarat Termphon
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001Thidarat Termphon
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 

Destaque (7)

วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
วิทยาศาสตร์ ม.ปลาย พว31001
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
 
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
ศิลปศึกษา ม.ต้น ทช.21003
 
การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201การทำนา ม.ต้น อช0201
การทำนา ม.ต้น อช0201
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 

Semelhante a ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002

การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003peter dontoom
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101spk906
 
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้างSumontira Niyama
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)Nattayaporn Dokbua
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญาkrusuparat01
 
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 ปรับ 5 ต.ค
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  ปรับ 5 ต.ค3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  ปรับ 5 ต.ค
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 ปรับ 5 ต.คkrupornpana55
 
วิชาสังคมศึกษาระดับประถมศึกษา
วิชาสังคมศึกษาระดับประถมศึกษาวิชาสังคมศึกษาระดับประถมศึกษา
วิชาสังคมศึกษาระดับประถมศึกษาIntrayut Konsongchang
 

Semelhante a ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002 (20)

การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
การพัฒนาตนเอง ชุมชน 31003
 
บทนำ (1)
บทนำ (1)บทนำ (1)
บทนำ (1)
 
บทนำ (1)
บทนำ (1)บทนำ (1)
บทนำ (1)
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
41. social 3. 21003
41. social  3. 2100341. social  3. 21003
41. social 3. 21003
 
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
 
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
 
สังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้นสังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้น
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
อังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้นอังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้น
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญา
 
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 ปรับ 5 ต.ค
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  ปรับ 5 ต.ค3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556  ปรับ 5 ต.ค
3ปฏิทินวิชาการโครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระ ปีการศึกษา 2556 ปรับ 5 ต.ค
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
วิชาสังคมศึกษาระดับประถมศึกษา
วิชาสังคมศึกษาระดับประถมศึกษาวิชาสังคมศึกษาระดับประถมศึกษา
วิชาสังคมศึกษาระดับประถมศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น สค21002

  • 1. หนังสือเรียน รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน สาระการพัฒนาสังคม หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หามจำหนาย หนังสือเรียนเลมนี้จัดพิมพดวยงบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน ลิขสิทธิ์เปนของ สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3. คำนำ สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดำเนินการ จัดทำหนังสือเรียนชุดใหมนี้ขึ้นเพื่อสำหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนา ผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญา และศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษา ตอในระดับที่สูงขึ้นและสามารถดำรงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดย ผูเรียนสามารถนำหนังสือเรียนไปใชในการเรียนการศึกษาดวยตัวเอง ปฏิบัติกิจกรรม รวมทั้ง แบบฝกหัดเพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา และเมื่อศึกษาหนังสือเรียนนี้ ดวยการ นำความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในชั้นเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถิ่น จากแหลงเรียนที่รู และจากสื่ออื่นๆ ในการดำเนินการจัดทำหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมือดวยดีจากผูทรงคุณวุฒิและผูที่เกี่ยวของ หลายทาน ซึ่งชวยกันคนควาและเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากสื่อตางๆ เพื่อใหไดหนังสือเรียนที่ สอดคลองกับหลักสูตรและเปนประโยชนตอผูเรียนที่อยูนอกระบบโรงเรียนอยางแทจริง สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณที่ปรึกษา คณะ ผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทำทุกทานที่ใหความรวมมือดวยดีไว ณ.โอกาสนี้ สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียน ชุดนี้จะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สำนักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความ ขอบคุณยิ่ง สำนักงาน กศน.
  • 4. สารบัญ หนา คำนำ คำแนะนำการใชหนังสือเรียน โครงสรางรายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง สค 21002 ขอบขายเนื้อหา บทที่ 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย 1 บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคานิยมของไทยและเอเชีย 69 บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย 89 บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมืองและการอยูรวมกันในระบอบประชาธิปไตย 115 อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข บทที่ 5 สิทธิมนุษยชน 139 บรรณานุกรม คณะผูจัดทำ
  • 5. คำแนะนำในการใชหนังสือเรียน หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ระดับมัธยม ศึกษาตอนตนเปนหนังสือเรียนที่จัดทำขึ้น สำหรับผูเรียนที่เปนนักศึกษานอกระบบใชประกอบ การศึกษารายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) จำนวน 2 หนวยกิต 80 ชั่วโมง ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ผูเรียนควรปฎิบัติดังนี้ 1) ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอ สาระสำคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และขอบขายเนื้อหา 2) ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และปฏิบัติกิจกรรมทายเรื่อง เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนื้อหาในตอนนั้นๆ อีกครั้ง โดยผูเรียน สามารถนำไปตรวจสอบ กับครู เพื่อนๆ ที่เรียนในรายวิชาและระดับเดียวกันได 3) หนังสือเลมนี้มี 5 บท ดังนี้ บทที่ 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคานิยมของไทยและเอเชีย บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมืองและการอยูรวมกัน ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข บทที่ 5 สิทธิมนุษยชน
  • 6. โครงสรางรายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง ระดับมัธยมศึกษาตอนตน สาระสำคัญ ประเทศไทยเปนประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย ทรงเปนประมุข มีประชากรอาศัยอยูหลายเชื้อชาติ มีภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ความเชื่อ ที่แตกตางกัน การใหความรูเกี่ยวกับความสำคัญ หลักธรรมทางศาสนาและวัฒนธรรม คานิยม ของประเทศตางๆ ตลอดจนความเปนมา หลักการ ความสำคัญของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย หลักการอยูรวมกัน และหลักสิทธิมนุษยชน จะทำใหคนในสังกัดสามารถ นำหลักการ คำสอนและกฎระเบียบตางๆ ของสังคมมาปรับใชในการใชในการดำเนินชีวิต ของตนไดอยางถูกตอง มีความสุข อันจะสงผลตอความสันติสุขของสังคม ผลการเรียนที่คาดหวัง 1. อธิบายความเปนมา ความสำคัญ หลักคำสอน ศาสนาวัฒนธรรม ประเพณี คานิยมของประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชียได 2. ยอมรับและปฏิบัติตนเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุข ในสังคมที่มีความ หลากหลายทางศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี 3. อนุรักษและสืบสานประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนปฏิบัติคามคานิยมที่พึง ประสงคของไทย และอธิบายวัฒนธรรม ประเพณี คานิยมของชาติตางๆ ในเอเชีย 4. อธิบายความเปนมา หลักการ เจตนารมณ โครงสราง สาระสำคัญของ รัฐธรรมนูญได 5. อธิบายจุดเดนของรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ของประชาชน ได 6. อธิบายสิทธิ เสรีภาพและคุณธรรม จริยธรรม การอยูรวมกันตามวิถีทาง ประชาธิปไตยได 7. อธิบายการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และมีสวนรวมการเมืองการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขได 8. อธิบายหลักสิทธิมนุษยชน ตระหนักถึงประโยชนและมีสวนรวมตามหลักสิทธิ มนุษยชนได
  • 7. ขอบขายเนื้อหา บทที่ 1 ศาสนาในประเทศไทยและในเอเชีย บทที่ 2 วัฒนธรรม ประเพณี และคานิยมของไทยและเอเชีย บทที่ 3 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บทที่ 4 พัฒนาการทางการเมืองและการอยูรวมกันในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข บทที่ 5 สิทธิมนุษยชน สื่อประกอบการเรียนรู 1. ซีดีศาสนาสากล 2. ซีดีวัฒนธรรม ประเพณีไทยและประเทศตางๆในเอเชีย 3. เอกสารที่เกี่ยวของกับศาสนา วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง สิทธิมนุษยชน 4. อินเทอรเน็ต 5. แหลงเรียนรู ภูมิปญญาในทองถิ่น
  • 8.
  • 9. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 1 สาระสำคัญ เนื้อหาสาระเกี่ยวกับความเปนมาของศาสนาตางๆในประเทศไทยและประเทศในทวีป เอเซีย หลักธรรมสำคัญของศาสนาตางๆ การอยูรวมกับคนตางศาสนาไดอยางมีความสุข กรณี ตัวอยางของบุคคลตัวอยางในแตละศาสนา ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. ประวัติ ความสำคัญ หลักคำสอน ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ของประเทศใน ทวีปเอเซีย 2. ยอมรับและปฏิบัติตนเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุขในสังคมที่มีความหลาก หลายทางศาสนา ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความเปนมาของศาสนาในประเทศไทย เรื่องที่ 2 ความเปนมาของศาสนาในทวีปเอเซีย เรื่องที่ 3 หลักธรรมของศาสนาตางๆ สื่อการเรียนรู 1. ใบงาน 2. หนังสือเรียน บทที่ 1 ศาสนาในประเทศไทยและในทวีปเอเชีย
  • 11. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 3 เรื่องที่ 1 ความเปนมาของศาสนาในประเทศไทย ศาสนาในประเทศไทยที่รัฐบาลใหการอุปถัมภ ดูแลมีทั้งสิ้น 5 ศาสนา ไดแก ศาสนา พุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต ศาสนาฮินดู และศาสนาซิกซ ซึ่งทุกศาสนาลวนมี องคประกอบหลักที่สำคัญๆ 5 ประการ คือ 1. ศาสดา หมายถึง ผูทีคนพบศาสนาและเผยแผคำสั่งสอน หรือหลักธรรมของ ศาสนา 2. ศาสนธรรม หรือหลักธรรมของศาสนา เปนคำสั่งสอนของแตละศาสนา 3. ศาสนิกชน หมายถึง บุคคลและปวงชนที่ใหการยอมรับนับถือในคำสั่งสอนของ ศาสนานั้นๆ 4. ศาสนาสถาน หมายถึง สถานที่อยูอาศัยของนักบวช ใชเปนที่ประกอบพิธีกรรม ทางศาสนา รวมถึงการเปนที่ที่ใหศาสนิกชนไปปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา 5. ศาสนพิธี หมายถึง พิธีทางศาสนาตางๆ ที่ถูกกำหนดขึ้นจากศาสดาโดยตรงหรือ จากการคิดคนของผูปฏิบัติ มีเนื้อหาเกี่ยวกับความตองการขจัดความไมรู ความกลัว ความอัตคัด สนองความตองการในสิ่งที่ตนขาดแคลน จึงจำเปนตอง มีวัตถุประสงคของการศึกษาคนควา ปฏิบัติตามหลักของศาสนา ประเทศไทยมีศาสนาพุทธเปนศาสนาประจำชาติ และมีผูนับถือจำนวนมากที่สุดใน ประเทศ รองลงมา คือ ศาสนาอิสลาม คริสต และฮินดู การศึกษาความเปนมาของศาสนา ดังกลาวในประเทศไทย มีความสำคัญและจำเปน เพราะทำใหเกิดความเขาใจในศาสนาที่ตน นับถือและเพื่อรวมศาสนาอื่นๆในประเทศ อันจะสงผลใหสามารถอยูรวมกันไดอยางมีความสุข
  • 12. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน4 1.1 ศาสนาพุทธในประเทศไทย พุทธประวัติ ศาสดาผูที่คนพบศาสนาและเผยแผคำสั่งสอนหรือหลักธรรมของศาสนาพุทธ คือ พระพุทธเจา พระพุทธเจา พระนามเดิมวา "สิทธัตถะ" เปนพระราชโอรสของพระเจาสุทโธทนะ และพระนางสิริมหามายาแหงกรุงกบิลพัสดุแควนสักกะ พระองคทรงถือกำเนิดในศากยวงศ สกุลโคตมะ พระองคประสูติในวันศุกร ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 (เดือนวิสาขะ) ปจอ กอน พุทธศักราช 80 ป ณ สวนลุมพินีวัน ซึ่งตั้งอยูระหวางกรุงกบิลพัสดุ แควนสักกะกับกรุง เทวทหะ แควนโกลิยะ (ปจจุบันคือ ตำบลรุมมินเด ประเทศเนปาล) ทั้งนี้ เปนเพราะธรรมเนียม ที่สตรีจะตองไปคลอดบุตรที่บานบิดามารดาของตน พระนางสิริมหามายาจึงตองเดินทางไป กรุงเทวทหะ หลังจากประสูติได 5 วัน พระเจาสุทโธทนะโปรดใหประชุมพระประยูรญาติ และเชิญ พราหมณผูเรียนไตรเพท จำนวน 108 คน เพื่อมาทำนายพระลักษณะของพระราชกุมาร พระ ประยูรญาติไดพรอมใจกันถวายพระนามวา "สิทธัตถะ" มีความหมายวา "ผูมีความสำเร็จสม ประสงคทุกสิ่งทุกอยางที่ตนตั้งใจจะทำ" สวนพราหมณเหลานั้น คัดเลือกกันเองเฉพาะผูที่ ทรงวิทยาคุณประเสริฐกวาพราหมณทั้งหมดได 8 คน เพื่อทำนายพระราชกุมาร พราหมณ 7 คนแรก ตางก็ทำนายไว 2 ประการ คือ "ถาพระราชกุมารเสด็จอยูครองเรือนก็จักเปนพระเจา จักรพรรดิผูทรงธรรม หรือถาเสด็จออกผนวชเปนพรรพชิตจักเปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ผูไมมีกิเลสในโลก" สวนโกณทัญญะพราหมณ ผูมีอายุนอยกวาทุกคน ไดทำนายเพียงอยางเดียว วา พระราชกุมารจักเสด็จออกจากพระราชวังผนวชเปนบรรพชิต แลวตรัสรูเปนพระอรหันต สัมมาสัมพุทธเจาผูไมกิเลสในโลก" เมื่อเจาชายสิทธัตถะ ประสูติได 7 วัน พระราชมารดา ก็เสด็จสวรรคต พระเจาสุทโธทนะทรงมอบหมายใหพระนางมหาปชาบดีโคตมี ซึ่งเปน พระกนิษฐาของพระนางสิริมหามายา เปนผูถวายอภิบาลเลี้ยงดูเมื่อพระสิทธัตถะทรงพระเจริญ มีพระชนมายุได 8 พรรษา ไดทรงศึกษาในสำนักอาจารยวิศวามิตร ซึ่งมีเกียรติคุณแผขจรไกล ไปยังแควนตางๆ เจาชายสิทธัตถะทรงศึกษาศิลปวิทยาเหลานี้ไดอยางวองไวและเชี่ยวชาญจน หมดความสามารถของพระอาจารย ดวยพระราชบิดามีพระราชประสงคมั่นคงที่จะใหเจาชายสิทธัตถะทรงครองเพศ ฆราวาสเปนพระจักรพรรดิผูทรงธรรม จึงพระราชทานความสุขเกษมสำราญ แวดลอมดวย ความบันเทิงนานาประการแกพระราชโอรสเพื่อผูกพระทัยใหมั่งคงในทางโลก เมื่อเจาชาย สิทธัตถะเจริญพระชนมได 16 พรรษา พระเจาสุทโธทนะมีพระราชดำริวาพระราชโอรส สมควรจะไดอภิเษกสมรส จึงโปรดใหสรางประสาทอันวิจิตรงดงามขึ้น 3 หลัง สำหรับให พระราชโอรสไดประทับอยางเกษมสำราญตามฤดูกาลทั้ง 3 คือ ฤดูรอน ฤดูฝนและฤดูหนาว
  • 13. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 5 และทรงสูขอพระนางพิมพายโสธรา พระราชธิดาของพระเจาสุปปพุทธะและพระนางอมิตา แหงเทวทหะนคร ในตระกูลโกลิยวงศใหอภิเษกดวย เจาชายสิทธัตถะไดเสวยสุขสมบัติ จนพระชนมายุได 29 พรรษา พระนางพิมพายโสธราจึงประสูติพระโอรส พระองคมีพระราช หฤทัยสิเนหาในพระโอรสเปนอยางยิ่ง เมื่อพระองคทรงทราบถึงการประสูติของพระโอรส พระองคตรัสวา “ราหุล ชาโต พันธนา ชาต” แปลวา “บวงเกิดแลว เครื่องจองจำเกิดแลว” ถึงแมเจาชายสิทธัตถะจะทรงพรั่งพรอมดวยสุขสมบัติมหาศาล ก็มิไดพอพระทัย ในชีวิตคฤหัสถ พระองคยังทรงมีพระทัยฝกใฝใครครวญถึงสัจธรรมที่จะเปนเครื่องนำทางซึ่ง ความพนทุกขอยูเสมอ พระองคไดเคยเสด็จประพาสอุทยาน ไดทอดพระเนตรเทวทูตทั้ง 4 คือ คนแก คนเจ็บ คนตาย และบรรพชิต พระองคจึงสังเวชพระทัยในชีวิต และพอพระทัยในเพศ บรรพชิต มีพระทัยแนวแนที่จะทรงออกผนวช เพื่อแสวงหาโมกขธรรมอันเปนทางดับทุกข ถาวรพนจากวัฏสงสารไมกลับมาเวียนวายตายเกิดอีก พระองคจึงตัดสินพระทัยเสด็จออกผนวช โดยพระองคทรงมากัณฐกะ พรอมดวยนายฉันนะ มุงสูแมน้ำอโนมานที แควนมัลละ รวม ระยะทาง 30 โยชน (ประมาณ 480 กิโลเมตร) เสด็จขามฝงแมน้ำอโนมานทีแลวทรงอธิษฐาน เพศเปนบรรพชิต และทรงมอบหมายใหนายฉันนะนำเครื่องอาภรณและมากัณฐกะกลับนคร กบิลพัสดุ การแสวงหาธรรมระยะแรกหลังจากทรงผนวชแลว สมณสิทธัตถะไดทรงศึกษาใน สำนักอาฬารดาบส กาลามโคตร และอุทกดาบส รามบุตร ณ กรุงราชคฤห แควนมคธ พระองคไดทรงประพฤติพรหมจรรยในสำนักของอาฬารดาบส กาลามโคตร ทรงไดสมาบัติ คือ ทุติยฌาน ตติยฌาน อากาสานัญจายตนฌาน วิญญานัญจายตนฌาน และอากิญจัญญายตน ฌาน สวนการประพฤติพรหมจรรยในสำนักอุทกดาบส รามบุตร นั้นทรงไดสมาบัติ ๘ คือ เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน สำหรับฌานที่ 1 คือ ปฐมฌานนั้น พระองคทรงไดขณะกำลัง ประทับขัดสมาธิเจริญอานาปานสติกัมมัฏฐานอยูใตตนหวาเนื่องในพระราชพิธีวัปปมงคล (แรกนาขวัญ) เมื่อครั้งทรงพระเยาว เมื่อสำเร็จการศึกษาจากทั้งสองสำนักนี้แลวพระองคทรง ทราบวามิใชหนทางพนทุกข บรรลุพระโพธิญาณ ตามที่ทรงมุงหวัง พระองคจึงทรงลาอาจารย ทั้งสอง เสด็จไปใกลบริเวณแมน้ำเนรัญชรา ที่ตำบลอุรุเวลาเสนานิคมกรุงราชคฤห แควนมคธ เมื่อพระองคทรงหันมาศึกษาคนควาดวยพระปญญาอันยิ่งดวยพระองคเองแทนการ ศึกษาเลาเรียนในสำนักอาจารย ณ ทิวเขาดงคสิริ ใกลลามแมน้ำเนรัญชรานั้น พระองคไดทรง บำเพ็ญทุกรกิริยา คือการบำเพ็ญอยางยิ่งยวดในลักษณะตางๆ เชน การอดพระกระยาหาร การทรมานพระวรกายโดยการกลั้นพระอัสสาสะ พระปสสาสะ (ลมหายใจ) การกดพระทนต การกดพระตาลุ (เพดาน) ดวยพระชิวหา (ลิ้น) เปนตน พระมหาบุรุษไดทรงบำเพ็ญทุกรกิริยา เปนเวลาถึง 6 ป ก็ยังมิไดคนพบสัจธรรมอันเปนทางหลุดพนจากทุกข พระองคจึงทรงเลิกการ บำเพ็ญทุกรกิริยา แลวกลับมาเสวยพระกระยาหารเพื่อบำรุงพระวรกายใหแข็งแรง ในการคิดคน
  • 14. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน6 วิธีใหม ในขณะที่พระมหาบุรุษทรงบำเพ็ญทุกรกิริยานั้น ไดมีปญจวัคคีย คือ พราหมณทั้ง 5 คน ไดแก โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหามานะ และอัสสชิ เปนผูคอยปฏิบัติรับใช ดวย หวังวาพระมหาบุรุษตรัสรูแลวพวกตนจะไดรับการสั่งสอนถายทอดความรูบาง และเมื่อ พระมหาบุรุษเลิกลมการบำเพ็ยทุกรกิริยา ปญจวัคคียก็ไดชวนกันละทิ้งพระองคไปอยู ณ ปา อิสิปตนมฤคทายวัน นครพาราณสี เปนผลใหพระองคไดประทับอยูตามลำพังในที่อันสงบเงียบ ปราศจากสิ่งรบกวนทั้งปวง พระองคไดทรงตั้งพระสติดำเนินทางสายกลาง คือ การปฏิบัติใน ความพอเหมาะพอควร นั่นเอง พระพุทธเจาทรงตรัสรู เวลารุงอรุณ ในวันเพ็ญเดือน 6 (เดือนวิสาขะ) ประกา กอน พุทธศักราช 45 ป นางสุชาดาไดนำขาวธุปายาสเพื่อไปบวงสรวงเทวดา ครั้นเห็นพระมหา บุรุษประทับที่โคนตนอชปาลนิโครธ (ตนไทร) ดวยอาการอันสงบ นางคิดวาเปนเทวดา จึง ถวายขาวมธุปายาส แลวพระองคเสด็จไปสูทาสุปดิษฐริมฝงแมน้ำเนรัญชรา หลังจากเสวยแลว พระองคทรงจับถาดทองคำขึ้นมาอธิษฐานวา “ถาเราจักสามารถตรัสรูไดในวันนี้ ก็ขอใหถาด ทองคำใบนี้จงลอยทวนกระแสน้ำไปไกลถึง 80 ศอก จึงจมลงตรงที่กระแสน้ำวน” ในเวลาเย็น พระองคเสด็จกลับมายังตนโพธิ์ที่ประทับ คนหาบหญาชื่อ โสตถิยะไดถวายปูลาดที่ประทับ ณ ใตตนโพธิ์ พระองคประทับหันพระพักตรไปทางทิศตะวันออก และทรงตั้งจิตอธิษฐานวา “แมวาเลือดในกายของเราจะเหือดแหงไปเหลือแตหนัง เอ็น กระดูกก็ตาม ถายังไมบรรลุ ธรรมวิเศษแลว จะไมยอมหยุดความเพียรเปนอันขาด” เมื่อทรงตั้งจิตอธิษฐานเชนนั้นแลว พระองคก็ทรงสำรวมจิตใหสงบแนวแน มีพระสติตั้งมั่น มีพระวรกายอันสงบ มีพระหทัย แนวแนเปนสมาธิบริสุทธิ์ผุดผองปราศจากกิเลสปราศจากความเศราหมอง มีความตั้งมั่น ไมหวั่นไหว ในปฐมยามแหงราตรี พระองคทรงตรัสรูปุพเพนิวาสญาณ คือ ญาณที่ระลึกถึงชาติ ตางๆในปางกอน ตอมาในมัชฌิมยามคือยามกลางแหงราตรี พระองคทรงตรัสรูจุตูปปาตญาณ คือ ญาณกำหนดรูการเกิดของสัตวทั้งหลาย และในยามสุดทายคือปจฉิมยาม พระองคทรง ตรัสรูอาสวักขยญาณ คือ ญาณหยั่งรูในการสิ้นไปแหงอาสาวกิเลสทั้งหลาย พระองคทรงตรัสรู อริยสัจ 4 คือ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค วันที่พระองคทรงตรัสรูในวันเพ็ญเดือน 6 ประกา พระชนมายุได 35 พรรษา นับแตวันที่ออกผนวชจนถึงวันตรัสรูธรรม รวมเปนเวลา 6 ป หลังจากตรัสรูแลว พระองคทรงเสวยวิมุตติสุข ณ บริเวณตนพระศรีมหาโพธิ์ เปน เวลา 7 สัปดาห ทรงรำพึงวา ธรรมะของพระองคเปนเรื่องยากสำหรับคนทั่วไปจะรู พระองค นอมพระทัยที่จะไมประกาศศาสนา แตเมื่อพิจารณาแลวเห็นสภาวธรรมวา สติปญญาของบุคคล เปรียบเสมือนดอกบัว 4 เหลา คือ พวกที่ฟงธรรมแลวรูเขาใจโดยงาย คือ บัวที่อยูพนน้ำ พวกที่ฟงธรรมที่อธิบายขยายความแลวจะรูธรรม คือ บัวที่อยูปริ่มน้ำ พวกที่ฟงธรรมแลวตองใช ระยะเวลานานไตรตรองทบทวนไปมาจึงจะเขาใจ เหมือนบัวที่อยูใตน้ำ และพวกสุดทายคือ
  • 15. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 7 พวกที่ฟงธรรมแลวทำอยางไรก็ไมเขาใจเหมือนบัวที่อยูใตตมเปนอาหารเตา ปู ปลา จากนั้นดวย พระเมตตาของพระองคจึงประกาศเผยแผศาสนา พระองคทรงพิจารณาจะสอนพระธรรม ใหกับใครกอนเปนคนแรก ครั้งแรกคิดจะสอนพระธรรมแกอาฬารดาบส แตอาจารยทั้งสอง ทานตายแลว พระองคจะเผยแผธรรมแกปญจวัคคียทั้ง 5 ที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน พระองค ทรงแสดงปฐมเทศนา ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 (เดือนอาสาฬหะ) เรียกวา ธรรมจักกัปปวัตตน สูตร ทานโกณทัญญะฟงธรรมแลวเกิดดวงตาเห็นธรรม คือบรรลุโสดาบัน จึงทูลขออุปสมบท เรียกการบวชครั้งนี้วา “เอหิภิกขุอุปสัมปทา” เปนพระสงฆที่พระพุทธเจาบวชให ค่ำ เดือน 8 เปนวันที่พระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ ครบ เรียกวา อาสาฬหบูชา เปนครั้งแรก การเผยแผศาสนา เมื่อพระพุทธเจาไดโปรดปญจวัคคีย และสาวกอื่นๆ ซึ่งเลื่อมใส นับถือศาสนาพุทธ ตอมาพระพุทธเจาทรงอนุญาตใหพุทธสาวก สามารถบวชใหกับผูที่เลื่อมใส ในศาสนาพุทธได เรียกวิธีบวชเชนนี้วา "ติสรณคมนูปสัมปทา" คือ การบวชดวยการปฏิญาณ ตนเปนผูถึงไตรสรณคมน พระพุทธศาสนาจึงหยั่งรากฝงลึกในดินแดนสุวรรณภูมิ เชน ประเทศอินเดีย ประเทศปากีสถาน ประเทศเนปาล เปนตนมา พระพุทธเจาประกาศเผยแผ คำสอนจนเกิดพุทธบริษัท 4 อันมี ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา และพุทธบริษัท 4 นี้ จะ ทำหนาที่เผยแผคำสอนของพระพุทธเจาและสืบทอดพระพุทธศาสนาใหคงอยูตอไป เมื่อพระพุทธเจามีพระชนมายุ 80 พรรษา พระองคเสด็จจำพรรษาสุดทาย ณ เมือง เวสาลี ในวาระนั้น พระพุทธองคทรงชราภาพและประชวรหนัก พระองคไดทรงดำเนินจาก เวสาลีสูเมืองกุสินารา เพื่อเสด็จดับขันปรินิพพาน ณ เมืองนั้น พระองคเสวยอาหารมื้อสุดทาย ที่นายจุนทะปรุงดวยเนื้อสุกรถวาย พระองคเสวยและใหนำอาหารนั้นไปฝง ทรงมีอาการ ประชวร ถายเปนพระโลหิต กอนที่พระองคจะเสด็จปรินิพพาน ซึ่งหมายถึงการไมมาเวียนวายตายเกิดในวัฏสงสาร พระองคทรงมีพระดำรัสกับพระอานนท ซึ่งเปนพุทธอนุชาและเปนพระอุปฏฐากของ พระพุทธเจา ความวา “โย โว อานฺท ธมฺม จ วินฺโย มหาเทสิโต ปฺญตโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา” แปลวา “ดูกอนอานนท ธรรมและวินัยอันที่เราแสดงแลว บัญญัติแลวแกเธอทั้งหลาย ธรรมวินัยนั้น จักเปนศาสดาของเธอทั้งหลาย เมื่อเราลวงลับไปแลว” และพระพุทธองคไดแสดงปจฉิมโอวาทแกพระภิกษุสงฆวา “ดูกอนภิกษุทั้งหลาย นี่เปนวาจาครั้งสุดทาย ที่เราจะกลาวแกทานทั้งหลาย สังขารทั้งหลายทั้งปวงมีความสิ้นไปและ เสื่อมไปเปนธรรมดา ทานทั้งหลายจงทำความรอดพนใหบริบูรณถึงที่สุดดวยความไมประมาท เถิด" พระพุทธเจา ประสูติ ตรัสรู ปรินิพพาน ในวันเดือนกัน คือ วันเพ็ญเดือน 6 เรียกวา วัน “วิสาขบูชา”
  • 16. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน8 วันวิสาขบูชา ประสูติ ตรัสรู ปรินิพพาน การเผยแผพุทธศาสนาเขาสูประเทศไทย พระพุทธศาสนาเผยแผเขามาในประเทศไทย ประมาณป พ.ศ. 270 หลังจาก พระพุทธเจาเสด็จปรินิพพาน พระเจาอโศกมหาราชสถาปนาศาสนาพุทธเปนปกแผนและสง พระเถระไปเผยแผพระพุทธศาสนายังประเทศตางๆ รวมทั้งประเทศไทย พระเถระที่เขามามี 2 รูป คือ พระโสณเถระ และพระอุตตระเถระ ซึ่งเปนนิกายเถรวาท ขณะนั้นไทยอยูบนดินแดน ที่เรียกวาสุวรรณภูมิ มีขอบเขตประเทศที่รวมกันคือ ไทย พมา เวียดนาม กัมพูชา ลาว มาเลเซีย และสันนิษฐานวาใจกลางอยูที่จังหวัดนครปฐม มีหลักฐานคือพระปฐมเจดียและรูปธรรมจักร กวางหมอบ สมัยนี้เรียกวา สมัยทวารวดี ตอมา สมัยอาณาจักรอายลาว ศาสนาพุทธนิกายมหายานเผยแผมายังอาณาจักรนี้เพราะ พระเจามิ่งตี่ กษัตริยจีน ทรงรับพระพุทธศาสนา ไปเผยแผในประเทศจีนและสงฑูตมาเจริญ สัมพันธไมตรีกับอาณาจักรอายลาว จึงทำใหไทยนับถือศาสนาพุทธแบบมหายานเปนครั้งแรก แทนการนับถือเทวดาแบบดั้งเดิม ในพุทธศตวรรษที่ 13 พ.ศ. 1300 สมันอาณาจักรศรีวิชัยในเกาะสุมาตรา ไดเจริญ รุงเรือง และนำพระพุทธศาสนาแบบมหายานเขามาเผยแผ ดังมีหลักฐานที่ปรากฏอยูคือพระ บรมธาตุไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี และพระมหาธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช ในพุทธศตวรรษที่ 15 พ.ศ. 1500 อาณาจักรลพบุรี เจริญรุงเรือง ในขณะเดียวกัน อาณาจักรขอมก็เจริญรุงเรืองดวย ในสมัยราชวงศสุริยวรมัน เรืองอำนาจ พระองครับเอา พุทธศาสนาแบบมหายานผสมผสานกับศาสนาพราหมณ และทรงสรางศาสนาสถานเปน พระปรางคและปราสาทอาณาจักรลพบุรีของไทย รับอิทธิพลนี้มาดวย มีภาษาสันสกฤตเปน
  • 17. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 9 ภาษาหลักของศาสนาพราหมณเขามามีอิทธิพลในภาษาไทย วรรณคดีไทย จะเห็นสิ่งกอสราง คือ พระปรางคสามยอดจังหวัดลพบุรี ประสาทหินพิมายที่จังหวัดนครราชสีมา ปราสาทหิน พนมรุงที่จังหวัดบุรีรัมย สวนพระพุทธรูปไดรับอิทธิพลของขอม เชน ศิลปะแบบขอม พุทธศตวรรษที่ 16 พ.ศ. 1600 อาณาจักรพุกามประเทศพมาเจริญรุงเรือง กษัตริย ผูปกครองชื่อ พระเจาอนุรุทธิ์มหาราช กษัตริยพุกามเรืองอำนาจทรงรวบรวมเอาพมากับมอญ เขาเปนอาณาจักรเดียวกัน และแผขยายอาณาจักรถึงลานนา ลานชาง คือ เชียงใหม ลำพูน เชียงราย จึงรับพระพุทธศาสนาแบบเถรวาท หลักฐานที่ปรากฏ คือ การกอสรางเจดียแบบพมา ซึ่งปรากฏอยูตามวัดตางๆ ตอมาสมัยสุโขทัย เจริญรุงเรืองเปนปกแผน มีอาณาจักรของไทย คือ อาณาจักรลานนา และอาณาจักรสุโขทัย พอขุนรามคำแหงมหาราชทรงสดับกิตติศัพทของพระสงฆลังกา ซึ่ง เผยแผศาสนาอยูที่นครศรีธรรมราช จึงนิมนตมาที่สุโขทัยนับเปนจุดสำคัญที่ทำใหพุทธศาสนา ดำรงมั่นคงมาในประเทศไทยสืบมาจนทุกวันนี้ พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศไดเขามาเผยแผ ในประเทศไทยถึง 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 ในสมัยพอขุนรามคำแหงมหาราช ในสมัยที่ 2 คือ สมัยพระยาลิไท กษัตริยทุกพระองคปกครองบานเมืองดวยความสงบรมเย็น ประชาชนอยูดวย ความผาสุก ศิลปะสุโขทัยมีความงดงามโดยเฉพาะพระพุทธรูปไมมีศิลปะสมัยใดงามเสมือน สมัยลานนา พ.ศ. 1839 พระยามังรายทรงสรางราชธานี ชื่อ นพบุรีศรีนครพิงค เชียงใหม ตั้งถิ่นฐานที่ลุมแมน้ำปง สนับสนุนใหพุทธศาสนารุงเรืองในเมืองเชียงราย ลำพูน ลำปาง แพร นาน พะเยา ในสมัยพระเจาติโลกราชแหงเชียงใหมทำการสังคายนาพระไตรปฎก เปนครั้งแรกในประเทศไทย สมัยกรุงศรีอยุธยา พุทธศาสนาสมัยนี้ไดรับอิทธิพลจากศาสนาพราหมณเปนอันมาก พิธีกรรมตางๆจึงปะปนกับพิธีพราหมณ ประชาชนทำบุญกุศล สรางวัด บำรุงศาสนา พระมหา กษัตริยที่ทรงผนวช คือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถและทรงริเริ่มใหเจานายและขาราชการ บวชเรียน ทรงรจนาหนังสือมหาชาติคำหลวงขึ้นในป พ.ศ. 2025 และในสมัยพระเจาทรงธรรม ไดพบรอยพระพุทธบาทที่ จ. สระบุรี จึงโปรดใหสรางมณฑป วรรณคดีในสมัยนี้ไดแก กาพย มหาชาติ ในสมัยพระเจาอยูหัวบรมโกษฐ พ.ศ. 2275-2300 พุทธศาสนาไดเจริญรุงเรืองมาก พระเจาแผนดินของลังกามีพระราชสาสนมาทูลของพระภิกษุสงฆไปเผยแผศาสนาที่ลังกา เพราะศาสนาพุทธที่เรียกวาลังกาวงศนั้นเสื่อมลง ไทยจึงสงพระอุบาลีไปประกาศศาสนาและ เผยแผ ศาสนาจนรุงเรืองอีกครั้ง และเรียกศาสนาพุทธในครั้งนี้วา นิกายสยามวงศ สมัยกรุงธนบุรี ป 2310 กรุงศรีอยุธยาถูกพมายกทัพเขาตีจนบานเมืองแตกยับเยิน วัดวาอารามถูกทำลายยอยยับ พระเจาตากสินมหาราชทรงเปนผูนำในการกอบกูอิสรภาพ ทรงตั้ง เมืองหลวงที่กรุงธนบุรีและทรงบูรณปฏิสังขรณวัดวาอาราม และสรางวัดเพิ่มเติมอีกมากและ ไดอัญเชิญ พระแกวมรกตจากเวียงจันทนมายังประเทศไทย
  • 18. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน10 สมัยรัตนโกสินทร รัชกาลที่ 1 (พ.ศ. 2325-2352) พระองคยายเมืองหลวงมาตั้งที่ กรุงเทพมหานคร และทรงปฏิสังขรณวัดตางๆ คือ การสรางวัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดสุทัศนเทพวราราม วัดสระเกศ และวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และโปรดใหมีการ สังคายนาพระไตรปฎกครั้งที่ 9 และถือเปนครั้งที่ 2 ในดินแดนประเทศไทยปจจุบัน รัชกาลที่ 2 (พ.ศ. 2352-2367) ทรงบูรณะวัดอรุณราชวราราม วัดสุทัศนเทพวราราม และฟนฟูประเพณีวิสาขบูชา รัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2367-2394) ทรงสราง 3 วัด คือ วัดเฉลิมพระเกียรติ วัดเทพธิดาราม และวัดราชนัดดาราม และทรงบูรณะปฏิสังขรณ วัดมีจำนวนมากถึง 50 วัด พระองคเชิดชูกำเนิดธรรมยุติกนิกายในป 2376 เนื่องจากพระองค เลื่อมใสในจริยาวัตรของพระมอญซึ่งเปนรูปแบบนิกายธรรมยุต มีวัดบวรนิเวศนเปนศูนยกลาง ทรงสรางพระไตรปฎกเปนจำนวนมากยิ่งกวารัชกาลใดๆ ตอมาสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2394-2411) ทรง สรางพระไตรปฎก ปฏิสังขรณวัด กำเนิดการบำเพ็ญกุศลพิธีมาฆบูชา เปนครั้งแรกที่วัด พระศรีศาสดาราม และสงสมณฑูตไปลังกา สมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2411-2453) ทรง สรางพระไตรปฎกแปลจากอักษรขอม เปนอักษรไทย ปฏิสังขรณวัดตางๆ ทรงตราพระราช บัญญัติคณะสงฆและสถาปนาการศึกษาสำหรับพระสงฆ 2 แหง คือ มหามกุฎราชวิทยาลัย ที่วัดบวรนิเวศวิหาร และมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่วัดมหาธาตุ สมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2453-2468) ทรง ประกาศใชพุทธศักราชทางราชการตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2456 เปนตนมา ทรงสรางโรงเรียน และบูรณะวัดตางๆทรงพระราชนิพนธหนังสือทางพระพุทธศาสนา คือ พระพุทธเจาตรัสรูอะไร และเทศนาเสือปา สมัยรัชกาลที่ 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว (พ.ศ. 2468-2477) ทรง พิมพพระไตรปฎก เรียกวา "พระไตรปฎกสยามรัฐ" มีตราชางเปนเครื่องหมายเผยแพร ทรง ประกวดหนังสือสอนพระพุทธศาสนาสำหรับเด็ก ทรงเพิ่มหลักสูตรจริยศึกษา (อบรมใหมี ศีลธรรมดีงามขึ้น แตเดิมมีเพียงหลักสูตรพุทธิศึกษา (ใหมีปญญาความรู) และพลศึกษา (ฝกหัด ใหเปนผูมีรางกายสมบูรณ) สมัยรัชกาลที่ 8 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล (พ.ศ. 2477-2489) มีการ แปลพระไตรปฎกเปนภาษาไทย ทรงตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ พ.ศ. 2484 เลิกการปกครอง สงฆแบบมหาเถรสมาคมที่ใชมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 สมัยรัชกาลที่ 9 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช (พ.ศ. 2489-ปจจุบัน) มีการจัดงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ ในป พ.ศ. 2500 มีการสรางพุทธมณฑลไวที่ตำบลศาลายา
  • 19. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 11 จังหวัดนครปฐม มีการสงพระสงฆไปเผยแผศาสนาพุทธในตางประเทศ เสด็จออกผนวชที่วัด บวรนิเวศ วรวิหาร และมีโรงเรียนพุทธศาสนาในวันอาทิตย 1.2 ศาสนาอิสลามในประเทศไทย ประวัติศาสดา ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ ทานนบีมุฮัมมัด เปนบุตรของอับดุลลอหแหงอารเบีย ทานไดรับมอบหมายใหเผยแผสาสนของอัลลอฮพระผูเปนเจา ทานศาสดามุฮัมมัด เกิดที่มหานครมักกะห (เมกกะ) ตรงกับวันจันทร ที่ 17 (บางก็วา 12) เดือนร็อบีอุลเอาวัล ในป ค.ศ. 570 (พ.ศ. 1113) ในตอนแรกเกิดวรกายของมุฮัมมัด มีรัศมีสวางไสวและมีกลิ่นหอมเปนศุภนิมิตบงถึงความพิเศษของทารก ปที่ทานเกิดนั้นเปนปที่ อุปราชอับร็อฮะหแหงอบิสสิเนีย (เอธิโอเปยปจจุบัน) กรีฑาทัพชางเขาโจมตีมหานครมักกะห เพื่อทำลายกะอบะหอันศักดิ์สิทธิ์ แตอัลลอหไดทรงพิทักษมักกะห ดวยการสงกองทัพนกที่คาบ กรวดหินลงมาทิ้งบนกองทัพนี้ จนไพรพลตองลมตายระเนระนาด เนื้อตัวทะลุดุจดั่งใบไมที่ถูก หนอน กัดกิน อุปราชอัมร็อฮะหจึงจำตองถอยทัพกลับไป
  • 20. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน12 ในปเดียวกันนั้นมีแผนดินไหวเกิดขึ้นในเปอรเซีย เปนเหตุใหราชวังอะนูชิรวานของ จักรพรรดิเปอรเชียสั่นสะเทือนถึงรากเหงาและพังทลายลง ยังผลใหไฟศักดิ์สิทธิ์ในวิหาร บูชาไฟของพวกโซโรแอสเตอรที่ลุกอยูเปนพันปนั้นตองดับลงไปดวย เมื่อมูฮัมมัดมีอายุได 20 ป กิตติศัพทแหงคุณธรรม และความสามารถในการคาขาย ก็เขาถึงหูของคอดีญะหเศรษฐีนีหมาย ผูมีเกียรติจากตระกูลอะซัดแหงเผากุเรช นางจึงเชิญ ใหทานเปนผูจัดการในการคาของนาง โดยใหทานนำสินคาไปขายยังประเทศซีเรีย ในฐานะ หัวหนากองคาราวาน ปรากฏผลวาการคาดำเนินไปดวยความเรียบรอย และไดกำไรเกินความ คาดหมาย จึงทำใหนางพอใจในความสามารถและความซื้อสัตยของทานเปนอยางมาก เมื่ออายุ 30 ป ทานไดเขารวมเปนสมาชิกในสหพันธ ฟุฎล อันเปนองคการพิทักษ สาธารณภัยประชาชน เพื่อขจัดทุกขบำรุงสุขใหประชาชน กิจการประจำวันของทาน ก็คือ ประกอบแตกุศลกรรมปลดทุกขขจัดความเดือดรอน ชวยเหลือผูตกยาก บำรุงสาธารณกุศล เมื่ออายุ 40 ป ทานไดรับวา วะฮยู (การวิวรณ) จากอัลลอหพระผูเปนเจาในถ้ำฮิรออ ซึ่งอยูบนภูเขาลูกหนึ่งนอกเมืองมักกะห โดยฑูตญิบรีลเปนผูนำมาบอกเปนครั้งแรก เรียกรองให ทานรับหนาที่เปนผูเผยแผศาสนาของอัลลอหดั่งที่ศาสดามูซา (โมเสส) อีซา (เยซู) เคยทำมา นั่นคือประกาศใหมวลมนุษยนับถือพระเจาเพียงองคเดียว ทาไดรับพระโองการติดตอกันเปน เวลา 23 ป พระโองการเหลานี้รวบรวมขึ้นเปนเลมเรียกวา คัมภีรอัลลกุรอาน ในตอนแรกทานเผยแผศาสนาแกวงศญาติและเพื่อนใกลชิดเปนภายในกอน ทาน ค็อดีญะหเองไดสละทรัพยสินเงินทองของทานไปมากมาย และทานอบูฎอลิบก็ไดปกปอง หลานชายของตนดวยชีวิต ตอมาทานไดรับโองการจากพระเจาใหประกาศเผยแผศาสนา โดยเปดเผย ทำใหญาติพี่นองในตระกูลเดียวกันชาวกุเรชและอาหรับเผาอื่นๆที่เคยนับถือทาน พากันโกรธแคน ตั้งตนเปนศัตรูกับทานอยางรุนแรงถึงกับวางแผนสังหารทานหลายครั้ง แตก็ ไมสำเร็จ ชนมุสลิมถูกคว่ำบาตรไมสามารถทำธุรกิจกับผูใด จนตองอดอยาก เพราะขาดรายได และไมมีเงินที่จะซื้ออาหาร อบูซุฟยานแหงตระกูลอุมัยยะหและอบูญะฮัล คือ สองในจำนวน หัวหนามุชริกูนที่ไดพยายามทำลายลางศาสนาอิสลาม เมื่อชาวมุชริกูนเอาชนะรัฐอิสลามไมไดก็ไดมีการทำสัญญาสงบศึกกันในเดือน มีนาคม ค.ศ. 628 เรียกสัญญาสงบศึกครั้งนั้นวา สัญญาฮุดัยบียะห ตอมาในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 629 ชาวมักกะหไดละเมิดสัญญาสงบศึกในเดือน มกราคม ป ค.ศ. 630 ทานนบีจึงนำทหาร 10,000 คน เขายึดเมืองมักกะห ทานจึงประกาศ นิรโทษกรรมใหชาวมักกะหเกือบทั้งหมด ยกเวนบางคน ในจำนวนนั้นมีอัลฮะกัม แหงตระกูล อุมัยยะหที่ทานนบีประกาศใหทุกคนคว่ำบาตรเขา การนิรโทษกรรมครั้งนี้ มีผลใหชาวมักกะห ซาบซึ้งในความเมตตาของทาน จึงพากันหลั่งไหลเขานับถือศาสนาอิสลามเปนจำนวนมาก ทาน นบีมูฮัมมัด ไดสิ้นชีวิตที่เมืองมดีนะห เมื่อวันจันทรที่ 12 ป ค.ศ. 632 รวมอายุได 63 ป
  • 21. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 13 การเผยแผศาสนาอิสลามเขามาสูประเทศไทย จากบันทึกทางประวัติศาสตรของมุสลิม ชนชาติเปอรเซียและชนชาติอาหรับ ได เดินทางมาทางทะเลมาทำการคาขายกับเมืองไทยตั้งแตสมัยสุโขทัย แตไมมีผูใดรับราชการใน ราชสำนักไทยนอกจากชาวมุสลิมในทองถิ่นภาคใต นับตั้งแตนครศรีธรรมราชลงไปจรด ปลายแหลมมลายู สิงคโปรและมะละกานั้นเจาผูครองนครแทบทุกเมืองเปนชาวมุสลิมมา แตเดิม ไมปรากฏวาทางกรุงสุโขทัยสงคนทางสุโขทัยไปปกครองแมแตคนเดียว และเมืองตางๆ ทางภาคใตเปนประเทศราชของกรุงสุโขทัย ตองสงดอกไมเงิน ดอกไมทอง เปนเครื่อง บรรณาการตามกำหนด หากเมืองใดแข็งเมือง ทางเมืองหลวงจะยกกองทัพไปปราบเปน ครั้งคราวและอยูรวมกันอยางมีความปกติสุข เปนเวลาหลายรอยป เจาพระยาบวรราชนายกตำแหนงวางจางมหาดไทย นับวาทานเปนผูนำศาสนาอิสลาม นิกายชีอะหเขามาสูประเทศไทย และเปนจุฬาราชมนตรีคนแรก เมื่อทานถึงแกกรรม ศพทาน ฝงไวที่สุสานบริเวณทากายี ปจจุบันเปนมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ทานเปน ตนตระกูลอะหมัดจุฬา จุฬารัตน บุญนาค ศรีเพ็ญ บุรานนท ศุภมิตร ในสมัยพระเจาทรงธรรม มีชาวเปอรเซียชื่อวา ทานโมกอล อพยพครอบครัวและบริวารมาจากเมืองสาเลห เกาะชวากลาง เนื่องจากถูกชาติโปรตุเกสรุกราน ทานสะสมกำลังสรางปอมคายที่บานหัวเขาแดง จังหวัด สงขลา เพราะตองปองกันตัวจากโจรสลัด เจาพระยานครศรีธรรมราชซึ่งมีหนาที่ดูแลหัวเมือง ภาคใตไดรายงานเรื่องนี้ใหกรุงศรีอยุธยาทราบเรื่อง พระเจาทรงธรรมโปรดเกลาฯ แตงตั้งให ทานโมกอลเปนขาหลวงผูสำเร็จราชการเมืองสงขลา เมื่อทานโมกอลถึงแกอสัญกรรม บุตรชาย คือทานสุลัยมานเปนผูสำเร็จราชการตอมา และเมื่อเจาพระยากลาโหมศรสุริยวงศปราบดาภิเษก โดยทำการประหารพระเชษฐาธิราช คือ พระเจาทรงธรรมและพระโอรสสิ้นชีวิตและสถาปนา ตนเปนกษัตริย ทรงพระนามวาพระเจาปราสาททอง ทานสุลัยมานจงรักภักดีตอพระเจาหลวง จึงไมเห็นดวย แลวประกาศแข็งเมือง เมื่อ พ.ศ. 2173 สถาปนาตนเปนสุลตาน ชื่อ สุลตาน สุลัยมานชาห ตลอดสมัยปรับปรุงเมืองสงขลาเปนเมืองทาสำคัญ มีกำลังทหารเขมแข็งทั้งทางน้ำ และทางบก กรุงศรีอยุธยาเคยยกกองทัพไปปราบ2ครั้ง แตเอาชนะไมได สุลตานสุลัยมานชาห ปกครองสงขลาอยู 46 ป สรางความเจริญกาวหนา ทั้งดานการคามีโกดังสินคามากมายและ การทางคมนาคม ทำใหไมตองออมเรือไปยังสิงคโปร ทำใหยนระยะทางไดมาก ทานถึง แกกรรม เมื่อ พ.ศ. 2211 ศพทานฝงไว ณ สุสานบริเวณเขาแดง ปจจุบันขึ้นทะเบียนเปน โบราณสถานของชาติ คนทั่วไปนับถือทานมาก เรียกทานวา ดาโตะมะหรุม หมายถึง ดาโตะ ผูลวงลับนั่นเอง ในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราชดำริวาในพระราชอาณาจักรของพระองค ไมควรมีกษัตริยองคอื่นอีก จึงยกทัพไปปราบนครสงขลา ซึ่งสุลตานมุตตาฟาบุตรของสุลตาน สุลัยมานชาหครองอยูและรบชนะ สมเด็จพระนารายณมหาราชจึงใหทานสุลตานมุตตาฟาและ ครอบครัวยายไปอยูเมืองไชยา และสลายเมืองสงขลาเสีย สมเด็จพระนารายณมิไดถือโทษ
  • 22. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน14 สุลตานมุตตาฟาเพราะถือวาเปนชวงผลัดแผนดิน ตอมาพระองคโปรดเกลาฯ ใหสุลตาน มุตตาฟาเปนพระไชยา ภาษาถิ่นนามวายามีตำแหนงเปน “พระยาพิชิตภักดีศรีพิชัยสงคราม” ที่ไชยา เกิดเปนหมูบางสงขลา มีการปกหลักประตูเมือง เรียกวา เสาประโคน อยูกลางเมือง เปนหลักฐานมาจนทุกวันนี้ สวนนองชายของพระชายาคือ ทานหะซัน และทานรูเซ็น โปรด เกลาฯ ใหรับราชการในกรุงศรีอยุธยา พรอมกับบุตรชายคนโตคือเตาฟค ทานหะซันชำนาญการ เดินเรือและทหารเรือ จึงโปรดเกลาฯ เปนพระยาราชบังสัน วาที่แมทัพเรือของกรุงศรีอยุธยา และตำแหนงนี้ไดสืบทอดตอเนื่องในสายสกุลของทาน นับวาโชคดีของประเทศไทย ที่ตลอด ระยะเวลาของกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร จนถึงสมัยของสมเด็จพระ จอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 มีขาราชการตำแหนงสำคัญๆนับถือศาสนาอิสลามไมขาดสาย เชน ตำแหนงลักษมณา เปนภาษามาเลเซีย แปลวา นายพลเรือ ตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาถึงกรุง รัตนโกสินทร เปนตำแหนงที่แตงตั้งเฉพาะคนมุสลิมเทานั้น เปนที่นาสังเกตอีกอยางหนึ่งวา ศาสนาอิสลามนิกายซุนหนี่และนิกายชีอะหในประเทศ ไทยอยูรวมกันมาตั้งแตสมัยพระเจาทรงธรรมแหงกรุงศรีอยุธยา นิกายซุนหนี่นั้นมีมาแตเดิมใน แผนดินสุวรรณภูมิ สวนนิกายชีอะหนั้น ไดเขามาพรอมกับทานเฉกอะหมัดสมัยพระเจา ทรงธรรม ทั้งสองนิกายนี้ผูกมิตรกันโดยมีการแตงงานระหวางกัน หัวเมืองชายแดนภาคใตตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา ดินแดนของไทยครอบคลุมถึงหลาย หัวเมืองในประเทศมาเลเซียปจจุบัน คือ ไทรบุรี (เคดาห) กลันตัน ตรังกานู ปะลิศ สวน ดินแดนในเขตประเทศไทยปจจุบัน มีปตตานีเปนเมืองใหญครอบคลุมไปถึงยะลา นราธิวาส สตูล ตกอยูในประเทศราชของไทย ตองสงดอกไมเงินดอกไมทองเปนบรรณาการมายัง กรุงศรีอยุธยามาโดยตลอด บางครั้งเมื่อมีการผลัดแผนดินโดยการปราบดาภิเษก เจาเมือง เหลานั้นมักถือ โอกาสแข็งเมืองตั้งตนเปนอิสระบอยครั้งทางกรุงศรีอยุธยาตองสงกองทัพ ไปปราบ เมื่อปราบแลวไดกวาดตอนคนมากรุงศรีอยุธยาดวย เชน ที่ตำบลคลองตะเคียน จังหวัด นครศรีอยุธยา มีชาวมุสลิม เชื้อสายปตตานีจำนวนมาก สวนชาวมุสลิมแขกเทศหรือแขกแพ เชื้อสายเปอรเซียหรืออาหรับ มีภูมิลำเนาอยูแถบหัวแหลมหรือทากายี เปนชาวมุสลิมชีอะห เชื้อสายเปอรเซีย ในปจจุบันชาวมุสลิมในประเทศไทยสามารถอยูรวมกับคนไทยพุทธได โดยมีกิจกรรม ที่สำคัญๆ รวมกันคือการติดตอคาขาย การศึกษา รัฐธรรมนูญไทยทุกฉบับปรากฏขอความ สำคัญ คือพระมหากษัตริยไทย ทรงเปนอัครศาสนูปถัมภกทุกศาสนา แตในปจจุบันมีปญหา ที่ 3 จังหวัดภาคใต คือ ยะลา ปตตานี นราธิวาส ซึ่งไมไดเกิดจากปญหาความแตกตางทาง ศาสนา แตเกิดจากคนบางกลุมยังไมเขาใจกันดีเพียงพอจึงเกิดการปะทะกัน และรัฐบาลไทย ทุกสมัย พยายามแกไขปญหานี้โดยตลอด
  • 23. หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาศาสนาและหนาที่พลเมือง (สค 21002) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 15 ในป พ.ศ. 1847-1921 อิบนีบาตูเตาะห ชาวโมร็อกโก เชื้อสายอาหรับทำการเผยแพร ศาสนาอิสลามนิกายซุนหนี่ขึ้นทางเกาะสุมาตรา ตะวันตกเฉียงเหนือ โดยทำใหราชาซอและห ยอมรับนับถือศาสนาอิสลาม เพราะในคัมภีรอัลกุรอานนั้นมีบทบัญญัติทั้งทางโลก ทางธรรม มีหลักวิชาเศรษฐศาสตร นิติศาสตร วิทยาศาสตร ปรัชญา การเมือง การสังคม การอาชีพ การคาขาย การแพทย การเปนหนี้สิน การบริโภคอาหาร การสมรส การหยาราง การครองเรือน การแบงมรดก การศึกษา การทูต การสงคราม และกิจวัตรประจำวันของบุคคลแตละคน ดังนั้น เมื่อมีพระราชาศรัทธาในศาสนาจึงเผยแผศาสนาอิสลามไปในหมูพสกนิกร และจัดระบบ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม การสมรส การครองเรือน ตามพระราชบัญญัติ พระคัมภีรอัลกุรอาน และพระราชาธิบดี เปลี่ยนจากราชาซอและหมาเปนสุลตานซอและห ที่ เขมแข็งและเด็ดขาด และจากนั้นศาสนาอิสลามเผยแผไปยังรัฐใกลเคียงจนกลายเปนรัฐอิสลาม และขยายขึ้นมาจากตอนเหนือของมลายูเขามาสูตอนใตของประเทศไทยและปรากฏหลักฐาน วาเจาผูครองนครทางภาคใตของประเทศไทยจนถึงเมืองนครศรีธรรมราช นับถือศาสนาอิสลาม ทั้งสิ้น ศาสนาอิสลามจากอินเดียใตเขามาสูมาเลเซียภาคใตของประเทศไทย สุมาตรา ชวา บอรเนียว แบบพิธีของศาสนาอิสลามในสวนนี้ของโลกเปนแบบอินโด-เปอรเซียนเชนเดียวกับ ในอินเดียและเปอรเซีย ซึ่งตางจากศาสนาอิสลามในอาระเบีย ประมาณคริสตศตวรรษที่ 9 อิสลาม ไดมาถึงฝงมะละกา เมื่อมารโคโปโลเดินทางเรือผานชวา เขาเขียนวาผูคนตามเมืองทา เปนมุสลิมทั้งสิ้น 1.3 ศาสนาคริสตในประเทศไทย ประวัติศาสดา ศาสดาของศาสนาคริสต คือ พระเยซู เกิดในชนชาติฮีบรู หรือยิว หรือ อิสราเอล พระเยซูคริสตถือเปนพระบุตรของพระเจามาบังเกิดในชาตินี้ เมื่อจัดศาสนาของพระเจา คือ พระยะโฮวาคริสตมีรากศัพทมาจากภาษาโรมันหรือภาษากรีกที่แปลมาจากคำวา เมสสิอาหใน ภาษฮีบรู แปลวาผูปลดเปลื้องทุกขภัย พระเยซูเกิดที่หมูบานเบธเลเฮม แขวงยูดาย กรุงเยรูซาเล็ม ในปาเลสไตน เมื่อ พ.ศ. 543 แตไปเติบโตที่เมืองนาซเรท แควนกาลินี หางจากนครยูซาเล็ม ประมาณ 55 ไมล มารดา ของพระเยซูชื่อมาเรีย หรือมารีย บิดาชื่อ โยเซฟ อาชีพชางไม ตามประวัติ มาเรียมารดาพระ เยซูนั้นตั้งครรภมากอนขณะที่โจเซฟยังเปนคูหมั้นมิไดอยูกินดวยกัน รอนถึงเทวทูตของพระเจา หรือพระยะโฮวาห คือเทวาคาเบรียลตองมาเขาฝนบอกโยเซฟใหรูวาบุตรในครรภของมาเรียเปน บุตรของพระเจาเปนผูมีบุญมากใหตั้งชื่อวาพระเยซูตอไปคนผูนี้จะชวยไถบาปใหชาวยิวรอดพน จากความทุกขทั้งปวง โยเซฟปฏิบัติตามคำของฑูตแหงพระเจา รับมาเรียมาอยูดวยกันโดยมิได