SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 26
1อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. เป็นวิธีการเพิ่มผลผลิตที่เห็นผลเร็ว ประหยัด หรือได้ผลตอบแทน เพิ่มขึ้นทันทีที่นาไปปฏิบัติ
2. เป็นสิ่งที่จะก่อให้เกิดความเข้าใจในเรื่องของงานเพิ่มขึ้น ทาให้รู้จักองค์ประกอบของงาน
ส่วนที่อาจเกิดปัญหา มีอันตราย ที่จะต้องให้ความระมัดระวัง หรือให้ความสนใจเป็นพิเศษ
เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานทางานได้ดีขึ้น
3. เป็นวิธีการที่มีขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ทาให้ไม่มองข้ามองค์ประกอบของงานย่อยที่มีผลต่อ
ประสิทธิภาพการทางาน ไม่ว่าจะเป็นการปรับปรุงงานที่ทาอยู่เดิมให้ดีขึ้นหรือเพื่อกาหนด
วิธีการใหม่
4. เป็นวิธีการที่ทาให้ได้ข้อมูลพื้นฐานที่เป็นประโยชน์ต่อการบริหารการผลิตและวางแผนการ
ปฏิบัติการต่าง ๆ
5. สามารถกระทาได้เองโดยพนักงาน หรือบุคลากรภายในหน่วยงาน เป็นเรื่องของการใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการปรับปรุงวิธีการ ขั้นตอน หรือออกแบบ
อุปกรณ์ช่วยบางอย่าง ซึ่งเป็นการลงทุนลงแรงต่าเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีอื่น
6. หลักการของการศึกษางานสามารถนาไปปรับใช้ได้กับงานทุกประเภท
2อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
• เงื่อนไขการทางานเปลี่ยนไป ทาให้กิจกรรมบางอย่างขาดความต่อเนื่อง หรือวิธีการทางาน
เก่ามีประสิทธิภาพด้อยลง
• มีปัญหาเกิดขึ้น เช่น มีการเสียเวลานานเกินไป มีปัญหาทางด้านคุณภาพหรือมาตรฐานการ
ทางาน
• ปริมาณงานเปลี่ยน เช่น ความต้องการของลูกค้าเพิ่มขึ้น มีผู้มาใช้บริการมากขึ้น หรือมีการ
ปรับลดจานวนการผลิต ทาให้อุปกรณ์ เครื่องมือหรือแม้แต่วิธีการทางานเดิมไม่เพียงพอที่จะ
สนองตอบการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
• มีการนาอุปกรณ์หรือเทคโนโลยีใหม่มาใช้ เช่น คอมพิวเตอร์, เครื่องจักรที่เป็น CNC หรือ
เครื่องจักรใหม่
• มีการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก เช่น รูปแบบของวัตถุดิบที่เปลี่ยนไป ความต้องการของลูกค้า
สภาพการแข่งขัน
• ต้องการปรับปรุงให้กระบวนการทางานดีขึ้นโดยรวม
3อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
โดยทั่วไปประกอบด้วยกัน 3 ส่วนคือ
1. การเตรียม (Pre-work)
2. การทางาน (Work)
3. การเก็บ / เอาออก (Put-away Work)
4อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
• การเตรียม - ได้แก่ การเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือ ความพร้อมของเครื่องมือการรับคา
สั่งงานตลอดจนรูปแบบวัตถุดิบ และการจัดวางผังของบริเวณงาน
• การทางาน- คือระยะเวลาตั้งแต่การนากระดาษเข้าเครื่องพิมพ์ดีด จนกระทั่งพิมพ์งาน
เสร็จ
• การเก็บ - ได้แก่การนาเอาจดหมายหรือเอกสารที่พิมพ์เสร็จแล้ว นาเสนอหัวหน้างาน
เพื่อพิจารณา
5อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
การเตรียม - ได้แก่ การเตรียมอุปกรณ์มาตรฐานในการตรวจเช็ค การจัดทาตารางการ
ตรวจเช็คประจาเดือน การจัดทาใบรายการตรวจ เช็คเครื่องจักรต่าง ๆ
การทางาน - ก็คือ การลงมือตรวจเช็ค เครื่องมือ หรือการลงมือซ่อมเครื่อง จักรเมื่อได้รับ
แจ้งว่าเสียนั่นเอง
การเก็บ - ได้แก่ การเก็บอุปกรณ์ซ่อมต่าง ๆ เข้าที่เข้าทาง การนาส่งเครื่องมือหรือ
อุปกรณ์ที่ ซ่อมแล้วคืนสู่แผนกงาน และการสรุปรายงานผลการซ่อม
6อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
• รูปแบบของผลิตภัณฑ์ ซึ่งเกิดจากการออกแบบ เช่นรูปแบบของชิ้นงาน จานวน
ชิ้นส่วนในการประกอบเป็นผลิตภัณฑ์หรือแม้แต่ขนาดของผลิตภัณฑ์เป็นต้น
• มาตรฐานการผลิตไม่ถูกต้อง เช่น การกาหนดปริมาณในการผลิตที่ต่า หรือความ
หลากหลายของชนิดผลิตภัณฑ์ ทาให้เสียเวลาในการตั้งเครื่องจักรเพื่อการเปลี่ยน
แบบบ่อย ๆ เป็นต้น
• มาตรฐานวัตถุดิบไม่เหมาะสม
• มาตรฐานคุณภาพไม่เหมาะสม
7อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
8อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ในสายการผลิตซึ่งตัดเย็บกระเป๋ าเดินทาง พนักงานเย็บบางคนสังเกตเห็น
ว่าด้ายที่เบิกมาใหม่มีการขาดในระหว่างเย็บค่อนข้างสูง ทาให้พนักงานต้อง
เสียเวลาในการคอยสนด้ายใหม่บ่อย ๆ ส่งผลให้ผลิตภาพลดลง ไม่สามารถทา
เป้ าหมายการผลิตได้ และที่สาคัญคือมีของเสียเพิ่มขึ้น เมื่อหัวหน้างานนาความ
ไปบอกผู้จัดการฝ่ายผลิต และได้ดาเนิน การสอบถามไปยังฝ่ายคลังสินค้า จึงได้
ทราบว่าฝ่ายจัดซื้อได้เปลี่ยนยี่ห้อด้ายจากที่ใช้อยู่เดิม มาเป็นยี่ห้อใหม่ที่ราคาถูก
ลง 15% โดยไม่ทราบว่าส่งผลต่อผลิตภัณฑ์ เนื่องจากมองจากภายนอกแล้ว
ดูสภาพเหมือนกัน แถมหลอดด้ายยังดูมีความแข็งแรงกว่าด้วย
9อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. การใช้เครื่องจักรไม่ถูกกับลักษณะงาน
2. การใช้วิธีการทางานที่ด้อยประสิทธิภาพ
3. การดัดแปลงเครื่องจักรเพื่อให้ทางานหลายอย่าง
4. การวางผังการผลิตไม่เหมาะสม
5. ขั้นตอนกระบวนการผลิตไม่ต่อเนื่อง
10อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
11อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. การวางแผนการผลิตไม่ถูกต้อง เช่น การเปลี่ยนแปลงการผลิตที่ทาให้เสียเวลาในการ
ตั้งเครื่องจักรนาน
2. มีชนิดของผลิตภัณฑ์หลากหลาย
3. เปลี่ยนแบบของการผลิตบ่อย ๆ
4. ไม่มีมาตรฐานการปฏิบัติงานต่าง ๆ
5. วัสดุไม่ทันป้ อนสายการผลิต
6. ไม่มีการวางแผนการซ่อมบารุงเครื่องจักร
7. สภาพการทางานไม่เหมาะสม
8. มีความเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุต่าง ๆ
12อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
• การขาดงาน, มาสาย, การลาป่วย
• ไม่ตั้งใจทางาน
• ขาดทักษะในการทางาน
• การทางานพลั้งเผลอจนเกิดอุบัติเหตุต่าง ๆ
• ขาดความเข้าใจและจิตสานึก
13อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. ในการปฏิบัติงานหรือการทางานใด ๆ ก็ตาม ย่อมมีวิธีการที่ดีกว่าวิธีการที่ใช้อยู่ใน
ปัจจุบัน ซึ่งสามารถที่จะศึกษาและค้นพบได้
2. เราสามารถที่จะศึกษาและค้นพบวิธีการที่ดีกว่าได้ แต่จะไม่พบวิธีการที่ดีที่สุด เพราะ
จะมีวิธีการที่ดีกว่าเสมอ
3. การศึกษาและปรับปรุงงานสามารถที่จะนาไปใช้ได้กับงานทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็น
งานในโรงงานหรือในสานักงานภาคอุตสาหกรรม หรือการบริการ การผลิตหรืองาน
เอกสารฯลฯ
4. การศึกษางานเป็นวิธีการที่มีขั้นตอนอย่างเป็นระบบ และให้ผลที่แน่นอนและถาวร
กว่า
14อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของพนักงาน โดยหาวิธีการทางานที่
ดีกว่า
2. ลดการใช้วัตถุดิบ หรือลดของเสียลง
3. เพื่อปรับปรุงการวางผังโรงงานให้ดีขึ้น
4. เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายให้ถูกสุขลักษณะ
5. เพื่อหาวิธีการเคลื่อนย้ายวัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสม
6. เพื่อใช้เครื่องจักรและอุปกรณ์ได้เต็มกาลังการผลิต
7. เพื่อลดความเมื่อยล้าของพนักงาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
การตรวจตราข้อมูลที่บันทึกไว้โดยใช้เทคนิคการตั้งคาถาม
คาาถามสาหรับการตรวจตราส่วนมากจะเป็น คาถามสาเร็จรูป (Check list) ที่ตั้งไว้
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องกับจุดประสงค์ของการตรวจตราก็เพื่อให้ทราบต้นเหตุ
ของปัญหาและนาไปสู่การพัฒนาวิธีการทางานที่ดีกว่าซึ่งแยกเป็น 4 ด้านด้วยกัน
ดังนี้
1. เพื่อขจัดงานที่ไม่จาเป็น
2. เพื่อรวมขั้นตอนการปฏิบัติงานเข้าด้วยกัน
3. เพื่อเปลี่ยนลาดับขั้นการปฏิบัติงาน
4. เพื่อทาให้ขั้นการปฏิบัติงานที่จาเป็นนั้นง่ายขึ้น
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครTeetut Tresirichod
 
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานบทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปTeetut Tresirichod
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจบทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจTeetut Tresirichod
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวTeetut Tresirichod
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่Teetut Tresirichod
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตRungnapa Rungnapa
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมTeetut Tresirichod
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementTeetut Tresirichod
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตRungnapa Rungnapa
 

Mais procurados (20)

บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
 
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
 
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางานบทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
บทที่ 3 ประวัติของการศึกษางาน
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจบทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
 
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvement
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
9 pert
9 pert9 pert
9 pert
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
 

Semelhante a บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน

กลุ่ม New generation.pptx งานธุรการ1
กลุ่ม New  generation.pptx  งานธุรการ1กลุ่ม New  generation.pptx  งานธุรการ1
กลุ่ม New generation.pptx งานธุรการ1Nathakol Samart
 
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานDuangsuwun Lasadang
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารPrakaywan Tumsangwan
 
โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์Chalermkiat Aum
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศWisut Lakhamsai
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Stn PT
 
คุณสมบัติของข้อมูล
คุณสมบัติของข้อมูลคุณสมบัติของข้อมูล
คุณสมบัติของข้อมูลNu Tip SC
 
คุณสมบัติ
คุณสมบัติคุณสมบัติ
คุณสมบัติNu Tip SC
 
คุณสมบัติของข้อมูล
คุณสมบัติของข้อมูลคุณสมบัติของข้อมูล
คุณสมบัติของข้อมูลNu Tip SC
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์woobingirlfriend
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kamolaporn Nophaket
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
งานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยา
งานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยางานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยา
งานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยาkruratch
 
New generation.pptx
New  generation.pptxNew  generation.pptx
New generation.pptxkruratch
 

Semelhante a บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน (20)

กลุ่ม New generation.pptx งานธุรการ1
กลุ่ม New  generation.pptx  งานธุรการ1กลุ่ม New  generation.pptx  งานธุรการ1
กลุ่ม New generation.pptx งานธุรการ1
 
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
 
โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์โคงงานคอมพิวเตอร์
โคงงานคอมพิวเตอร์
 
E R P6 Success
E R P6 SuccessE R P6 Success
E R P6 Success
 
Vision 1
Vision 1Vision 1
Vision 1
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คุณสมบัติของข้อมูล
คุณสมบัติของข้อมูลคุณสมบัติของข้อมูล
คุณสมบัติของข้อมูล
 
คุณสมบัติ
คุณสมบัติคุณสมบัติ
คุณสมบัติ
 
คุณสมบัติของข้อมูล
คุณสมบัติของข้อมูลคุณสมบัติของข้อมูล
คุณสมบัติของข้อมูล
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
New generation
New  generationNew  generation
New generation
 
New generation nat
New  generation nat New  generation nat
New generation nat
 
งานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยา
งานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยางานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยา
งานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยา
 
New generation.pptx
New  generation.pptxNew  generation.pptx
New generation.pptx
 

Mais de Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

Mais de Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน

  • 2. 1. เป็นวิธีการเพิ่มผลผลิตที่เห็นผลเร็ว ประหยัด หรือได้ผลตอบแทน เพิ่มขึ้นทันทีที่นาไปปฏิบัติ 2. เป็นสิ่งที่จะก่อให้เกิดความเข้าใจในเรื่องของงานเพิ่มขึ้น ทาให้รู้จักองค์ประกอบของงาน ส่วนที่อาจเกิดปัญหา มีอันตราย ที่จะต้องให้ความระมัดระวัง หรือให้ความสนใจเป็นพิเศษ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานทางานได้ดีขึ้น 3. เป็นวิธีการที่มีขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ทาให้ไม่มองข้ามองค์ประกอบของงานย่อยที่มีผลต่อ ประสิทธิภาพการทางาน ไม่ว่าจะเป็นการปรับปรุงงานที่ทาอยู่เดิมให้ดีขึ้นหรือเพื่อกาหนด วิธีการใหม่ 4. เป็นวิธีการที่ทาให้ได้ข้อมูลพื้นฐานที่เป็นประโยชน์ต่อการบริหารการผลิตและวางแผนการ ปฏิบัติการต่าง ๆ 5. สามารถกระทาได้เองโดยพนักงาน หรือบุคลากรภายในหน่วยงาน เป็นเรื่องของการใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการปรับปรุงวิธีการ ขั้นตอน หรือออกแบบ อุปกรณ์ช่วยบางอย่าง ซึ่งเป็นการลงทุนลงแรงต่าเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีอื่น 6. หลักการของการศึกษางานสามารถนาไปปรับใช้ได้กับงานทุกประเภท 2อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
  • 3. • เงื่อนไขการทางานเปลี่ยนไป ทาให้กิจกรรมบางอย่างขาดความต่อเนื่อง หรือวิธีการทางาน เก่ามีประสิทธิภาพด้อยลง • มีปัญหาเกิดขึ้น เช่น มีการเสียเวลานานเกินไป มีปัญหาทางด้านคุณภาพหรือมาตรฐานการ ทางาน • ปริมาณงานเปลี่ยน เช่น ความต้องการของลูกค้าเพิ่มขึ้น มีผู้มาใช้บริการมากขึ้น หรือมีการ ปรับลดจานวนการผลิต ทาให้อุปกรณ์ เครื่องมือหรือแม้แต่วิธีการทางานเดิมไม่เพียงพอที่จะ สนองตอบการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว • มีการนาอุปกรณ์หรือเทคโนโลยีใหม่มาใช้ เช่น คอมพิวเตอร์, เครื่องจักรที่เป็น CNC หรือ เครื่องจักรใหม่ • มีการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก เช่น รูปแบบของวัตถุดิบที่เปลี่ยนไป ความต้องการของลูกค้า สภาพการแข่งขัน • ต้องการปรับปรุงให้กระบวนการทางานดีขึ้นโดยรวม 3อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
  • 4. โดยทั่วไปประกอบด้วยกัน 3 ส่วนคือ 1. การเตรียม (Pre-work) 2. การทางาน (Work) 3. การเก็บ / เอาออก (Put-away Work) 4อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
  • 5. • การเตรียม - ได้แก่ การเตรียมอุปกรณ์เครื่องมือ ความพร้อมของเครื่องมือการรับคา สั่งงานตลอดจนรูปแบบวัตถุดิบ และการจัดวางผังของบริเวณงาน • การทางาน- คือระยะเวลาตั้งแต่การนากระดาษเข้าเครื่องพิมพ์ดีด จนกระทั่งพิมพ์งาน เสร็จ • การเก็บ - ได้แก่การนาเอาจดหมายหรือเอกสารที่พิมพ์เสร็จแล้ว นาเสนอหัวหน้างาน เพื่อพิจารณา 5อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
  • 6. การเตรียม - ได้แก่ การเตรียมอุปกรณ์มาตรฐานในการตรวจเช็ค การจัดทาตารางการ ตรวจเช็คประจาเดือน การจัดทาใบรายการตรวจ เช็คเครื่องจักรต่าง ๆ การทางาน - ก็คือ การลงมือตรวจเช็ค เครื่องมือ หรือการลงมือซ่อมเครื่อง จักรเมื่อได้รับ แจ้งว่าเสียนั่นเอง การเก็บ - ได้แก่ การเก็บอุปกรณ์ซ่อมต่าง ๆ เข้าที่เข้าทาง การนาส่งเครื่องมือหรือ อุปกรณ์ที่ ซ่อมแล้วคืนสู่แผนกงาน และการสรุปรายงานผลการซ่อม 6อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
  • 7. • รูปแบบของผลิตภัณฑ์ ซึ่งเกิดจากการออกแบบ เช่นรูปแบบของชิ้นงาน จานวน ชิ้นส่วนในการประกอบเป็นผลิตภัณฑ์หรือแม้แต่ขนาดของผลิตภัณฑ์เป็นต้น • มาตรฐานการผลิตไม่ถูกต้อง เช่น การกาหนดปริมาณในการผลิตที่ต่า หรือความ หลากหลายของชนิดผลิตภัณฑ์ ทาให้เสียเวลาในการตั้งเครื่องจักรเพื่อการเปลี่ยน แบบบ่อย ๆ เป็นต้น • มาตรฐานวัตถุดิบไม่เหมาะสม • มาตรฐานคุณภาพไม่เหมาะสม 7อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
  • 9. ในสายการผลิตซึ่งตัดเย็บกระเป๋ าเดินทาง พนักงานเย็บบางคนสังเกตเห็น ว่าด้ายที่เบิกมาใหม่มีการขาดในระหว่างเย็บค่อนข้างสูง ทาให้พนักงานต้อง เสียเวลาในการคอยสนด้ายใหม่บ่อย ๆ ส่งผลให้ผลิตภาพลดลง ไม่สามารถทา เป้ าหมายการผลิตได้ และที่สาคัญคือมีของเสียเพิ่มขึ้น เมื่อหัวหน้างานนาความ ไปบอกผู้จัดการฝ่ายผลิต และได้ดาเนิน การสอบถามไปยังฝ่ายคลังสินค้า จึงได้ ทราบว่าฝ่ายจัดซื้อได้เปลี่ยนยี่ห้อด้ายจากที่ใช้อยู่เดิม มาเป็นยี่ห้อใหม่ที่ราคาถูก ลง 15% โดยไม่ทราบว่าส่งผลต่อผลิตภัณฑ์ เนื่องจากมองจากภายนอกแล้ว ดูสภาพเหมือนกัน แถมหลอดด้ายยังดูมีความแข็งแรงกว่าด้วย 9อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
  • 10. 1. การใช้เครื่องจักรไม่ถูกกับลักษณะงาน 2. การใช้วิธีการทางานที่ด้อยประสิทธิภาพ 3. การดัดแปลงเครื่องจักรเพื่อให้ทางานหลายอย่าง 4. การวางผังการผลิตไม่เหมาะสม 5. ขั้นตอนกระบวนการผลิตไม่ต่อเนื่อง 10อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
  • 12. 1. การวางแผนการผลิตไม่ถูกต้อง เช่น การเปลี่ยนแปลงการผลิตที่ทาให้เสียเวลาในการ ตั้งเครื่องจักรนาน 2. มีชนิดของผลิตภัณฑ์หลากหลาย 3. เปลี่ยนแบบของการผลิตบ่อย ๆ 4. ไม่มีมาตรฐานการปฏิบัติงานต่าง ๆ 5. วัสดุไม่ทันป้ อนสายการผลิต 6. ไม่มีการวางแผนการซ่อมบารุงเครื่องจักร 7. สภาพการทางานไม่เหมาะสม 8. มีความเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุต่าง ๆ 12อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
  • 13. • การขาดงาน, มาสาย, การลาป่วย • ไม่ตั้งใจทางาน • ขาดทักษะในการทางาน • การทางานพลั้งเผลอจนเกิดอุบัติเหตุต่าง ๆ • ขาดความเข้าใจและจิตสานึก 13อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
  • 14. 1. ในการปฏิบัติงานหรือการทางานใด ๆ ก็ตาม ย่อมมีวิธีการที่ดีกว่าวิธีการที่ใช้อยู่ใน ปัจจุบัน ซึ่งสามารถที่จะศึกษาและค้นพบได้ 2. เราสามารถที่จะศึกษาและค้นพบวิธีการที่ดีกว่าได้ แต่จะไม่พบวิธีการที่ดีที่สุด เพราะ จะมีวิธีการที่ดีกว่าเสมอ 3. การศึกษาและปรับปรุงงานสามารถที่จะนาไปใช้ได้กับงานทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็น งานในโรงงานหรือในสานักงานภาคอุตสาหกรรม หรือการบริการ การผลิตหรืองาน เอกสารฯลฯ 4. การศึกษางานเป็นวิธีการที่มีขั้นตอนอย่างเป็นระบบ และให้ผลที่แน่นอนและถาวร กว่า 14อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
  • 15. 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของพนักงาน โดยหาวิธีการทางานที่ ดีกว่า 2. ลดการใช้วัตถุดิบ หรือลดของเสียลง 3. เพื่อปรับปรุงการวางผังโรงงานให้ดีขึ้น 4. เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายให้ถูกสุขลักษณะ 5. เพื่อหาวิธีการเคลื่อนย้ายวัสดุอุปกรณ์ที่เหมาะสม 6. เพื่อใช้เครื่องจักรและอุปกรณ์ได้เต็มกาลังการผลิต 7. เพื่อลดความเมื่อยล้าของพนักงาน อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
  • 16. การตรวจตราข้อมูลที่บันทึกไว้โดยใช้เทคนิคการตั้งคาถาม คาาถามสาหรับการตรวจตราส่วนมากจะเป็น คาถามสาเร็จรูป (Check list) ที่ตั้งไว้ อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องกับจุดประสงค์ของการตรวจตราก็เพื่อให้ทราบต้นเหตุ ของปัญหาและนาไปสู่การพัฒนาวิธีการทางานที่ดีกว่าซึ่งแยกเป็น 4 ด้านด้วยกัน ดังนี้ 1. เพื่อขจัดงานที่ไม่จาเป็น 2. เพื่อรวมขั้นตอนการปฏิบัติงานเข้าด้วยกัน 3. เพื่อเปลี่ยนลาดับขั้นการปฏิบัติงาน 4. เพื่อทาให้ขั้นการปฏิบัติงานที่จาเป็นนั้นง่ายขึ้น อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16