SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 23
PRINCIPLES OF MOTION ECONOMY
1อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
• ได้มีการศึกษาถึงหลักการของการกาหนดรูปแบบตั้งแต่สมัยของ Frank B. Gilbreth
โดยเรียกว่า “Rules for Motion Economy and Efficiency”
• ปรับปรุงเพิ่มเติมโดย Ralph M. Barnes และได้เรียกชื่อโดยรวมว่าหลักการของ
เศรษฐศาสตร์การเคลื่อนไหว(Principles of MotionEconomy)
• แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการใช้โครงร่างของมนุษย์ (Use of human body)
2. กลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการจัดตาแหน่งของสถานที่ปฏิบัติงาน (Arrangementof work
place)
3. กลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบเครื่องมือและอุปกรณ์ (Design of toolsand
equipment)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
1. มือทั้งสองควรเริ่มต้นและสิ้นสุดการเคลื่อนไหวพร้อม ๆ กัน
2. มือทั้งสองไม่ควรอยู่เฉยในเวลาเดียวกันยกเว้นเมื่อหยุดพัก
3. การเคลื่อนไหวของมือทั้งสองควรอยู่ในลักษณะที่เป็นสมมาตร แต่ในทิศทางตรงกัน
ข้ามและต้องเคลื่อนไหวพร้อมกัน
4. การเคลื่อนไหวของมือและลาตัว ควรพยายามใช้การเคลื่อนไหวประเภทต่าสุดซึ่ง
สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิผล
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
5. พยายามใช้แรงของวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่(แรงโมเมนตัม) ให้เป็ นประโยชน์ในการ
ทางาน แต่ในกรณีที่กล้ามเนื้อต้องออกแรงต้านทานแรงโมเมนตัม ควรพยายาม
ลดแรงโมเมนตัมให้น้อยที่สุด
M = m x v
โดย m = น้ำหนักหรือมวลของสิ่งที่กำลังเคลื่อน
v = ควำมเร็วของมวล
ในขณะที่พนักงำนกำลังทำกำรเคลื่อนชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์แต่ละครั้งนั้น น้ำหนักหรือมวลที่
มวลที่เกี่ยวข้องกับกำรเคลื่อนไหวอำจรวมถึง
-น้ำหนักของวัตถุที่ถูกเคลื่อน
-น้ำหนักของเครื่องมือที่ใช้
-น้ำหนักของส่วนของร่ำงกำยที่เคลื่อนไป
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
6. ใช้การเคลื่อนไหวแบบวงโค้งต่อเนื่องของมือ จะดีกว่าการเคลื่อนไหวที่เป็นเส้นตรง
กลับไปกลับมาหรือมีการหักเปลี่ยนทิศทางอย่างกะทันหัน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
7. การเคลื่อนไหวแบบ “Ballistic” เร็วกว่าและแม่นยากว่าการเคลื่อนไหวแบบ
“Fixation” การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ของร่างกายแบ่ง
ออกเป็น 2 ประเภท คือ
Fixation หรือ Controlled คือ การเคลื่อนไหวซึ่งมีกล้ามเนื้อ 2 กลุ่ม ทาหน้าที่ต้านกัน
จับปากกา
Ballistic คือ การเคลื่อนไหวโดยการบีบตัวของกล้ามเนื้อเพียงกลุ่มเดียวไม่มีแรงต้านการ
เคลื่อนแบบนี้จะยุติลงเมื่อ สิ้นสุดโมเมนตัม
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
8. พยายามจัดงานให้อยู่ในลักษณะที่จะทางานได้ง่าย และเกิดจังหวะตามธรรมชาติ
9. พยายามจัดงานให้อยู่ในขอบเขตการมองของสายตา และไม่ต้องใช้การเพ่งมอง
มาก
2.หลักเศรษฐศาสตร์กลุ่มที่เกี่ยวกับการจัดตาแหน่งของสถานที่
ปฏิบัติงาน
10. ควรมีตาแหน่งที่วางแน่นอนสาหรับเครื่องมือและชิ้นส่วนต่าง ๆที่ต้องใช้ประจา
เสมอ
11. เครื่องมือ, วัสดุ ชิ้นส่วนต่าง ๆ ตลอดจนกลไกการบังคับ ควรวางอยู่ใกล้กับ
ตาแหน่งการใช้งานที่สุด
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
12. ใช้ถังหรือภาชนะบรรจุชิ้นส่วนที่มีก้นเปิดออกและเอียงลาดมาข้างหน้า เพื่อให้
ชิ้นส่วนไหลลงมาเอง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
13. ชิ้นส่วนที่ประกอบแล้วควรใช้วิธีการทิ้งลงหรือปล่อยลง (Drop Deliveries)
เพื่อให้เสียเวลาน้อยที่สุด
14. จัดวางชิ้นส่วนและเครื่องมือต่าง ๆ ให้อยู่ในลักษณะที่เอื้อให้เกิดลาดับขั้นตอน
การเคลื่อนไหวที่ดีที่สุด นั่นคือ ชิ้นส่วนแรกในการหยิบควรวางอยู่ใกล้กับจุดที่
ต้องวางชิ้นงานที่ประกอบแล้ว เพื่อให้การเริ่มต้นของวัฏจักรต่อไปดาเนินได้ทันที
โดยไม่เสียจังหวะ
15. จัดหาแสงสว่างให้เพียงพอในบริเวณปฏิบัติงาน
16. ความสูงของเก้าอี้และบริเวณปฏิบัติงาน
17. ประเภทของเก้าอี้และความสูง ต้องเอื้อให้ผู้ทางานมีการทรงตัวที่ดีในระหว่าง
ทางาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
รูปที่ 12.8 ความสูงของเก้าอี้และ
โต๊ะนั่ง
ทำงำนที่เหมำะสมกับควำมสูง
ของพนักงำนชำยและพนักงำนหญิง
รูปที่ 12.9 ความสูงของเก้าอี้และโต๊ะ
สาหรับนั่ง
สลับยืนทำงำนที่เหมำะสมกับควำมสูง
ของพนักงำนชำยและพนักงำนหญิง
18 ควรใช้อุปกรณ์จับยึด (Jig หรือ Fixture) หรือคันเท้าเหยียบ (Foot Pedal) ช่วยใน
การจับชิ้นงาน
การออกแบบคันเท้าเหยียบ มี 2 ชนิด คือ
1) ชนิดที่ต้องใช้น้าหนักตัวช่วยในการกด เช่น เครื่องปั๊มลม เป็นต้น
2) ชนิดเบา เช่น ขาเหยียบจักรไฟฟ้ า เป็นต้นถ้าเป็นชนิดที่ต้องออกแรงควรออกแบบให้
สามารถใช้น้าหนักในการกด และที่วางเท้าควรกว้างพอที่จะวางเท้าได้อย่างเต็มที่
19. พยายามรวมเครื่องมือที่ทาหน้าที่ 2 อย่างไว้ในชิ้นเดียวกันเพื่อให้ประหยัดเวลาใน
การที่ต้องวางเครื่องมือชิ้นหนึ่งและหยิบอีกชิ้นหนึ่งขึ้นมา
ตัวอย่าง เช่น โทรศัพท์สมัยใหม่ซึ่งรวมเอาโทรศัพท์และกล้องไว้ด้วยกัน
ปลั๊กไฟที่สามารถดึงเก็บเพื่อความสะดวก ประแจสองปลาย หรือคีมหนีบซึ่งใช้เป็นไข
ควงได้ เป็นต้น
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
รูปที่ 12.10 ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ทาได้หลายหน้าที่
20. จัดเตรียมเครื่องมือหรือวัตถุในลักษณะที่สามารถหยิบไปใช้ได้ทันที เช่น ที่เสียบ
ปากกา ที่วางปากกาเชื่อม Solder เป็นต้น
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
รูปที่ 12.11 ตัวอย่างการทาที่จัดเก็บอุปกรณ์
21. เมื่อต้องใช้นิ้วมือต่าง ๆ ในการเคลื่อนไหวที่ต่างกัน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
รูปที่ 12.12 ภาพแสดงการเปรียบเทียบการทางานของนิ้วมือระหว่าง
แป้ นพิมพ์แบบมาตรฐานและแบบปรับปรุง
22. มือจับ คานโยก หรือพวงมาลัยควรติดตั้งอยู่ในลักษณะที่คนงานสามารถ
จะจับ หรือหมุนโดยไม่ต้องขยับตัวเปลี่ยนท่าของร่างกายมากนัก
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
รูปที่ 12.13 ภาพแสดงตาแหน่งของคันโยกและพวงมาลัยบังคับของเครื่องจักร
โดยสัมพันธ์กับรัศมีการทางานของของพนักงาน
1. Clamps ซึ่งใช้ยึดจับชิ้นงานควรออกแบบให้ง่ายที่สุด โดยไม่ควรต้องใช้ไขควงช่วยขัน
เพื่อให้ยึดติด
2. ออกแบบ Jig หรืออุปกรณ์ช่วยในการทางาน ควรออกแบบให้มือทั้งสองป้ อนงานเข้า
ได้ง่าย โดยไม่มีการกีดขวาง
3. การทางานในลักษณะที่คลาย Jig ออก ควรสามารถผลักชิ้นงานขึ้น หรือตกลงโดยไม่
ต้องใช้มือช่วยในการจับ
4. ควรออกแบบ Fixture หรืออุปกรณ์ช่วยจับ ให้สามารถทางานสองชิ้นในเวลาเดียวกัน
ได้
5. ควรสร้าง Jig หรือ Fixture ให้มีความแข็งแรงพอสมควร เพื่อให้ทนทานต่อการใช้งาน
และไม่ต้องคอยเปลี่ยนใหม่
6. Jig หรือ Fixture เมื่อติดตั้งใช้งาน ไม่ควรบดบังทิศทางของการมอง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
รูปที่ 12.14 ตัวอย่างของอุปกรณ์จับยึดในอุตสาหกรรมรูปแบบต่าง ๆ
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
1. การใช้แบบตรวจสอบ (Checklist)
2. การตั้งคาถาม 5W + 1H
3. การใช้หลักการของ ECRS
4. การใช้หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
1. การสูญเสียจากการผลิตเกินต้องการ (Muda of Overproduction)
2. การสูญเสียจากการรอคอยในกระบวนการ (Muda of Waiting)
3. การสูญเสียจากการเคลื่อนย้าย (Muda of Conveyance)
4. การสูญเสียจากการกระบวนการทางานเกินต้องการ (Muda of Overprocessing)
5. การสูญเสียจากการเก็บคงคลังเกินต้องการ (Muda of Inventory)
6. การสูญเสียจากการเคลื่อนไหวที่ไม่จาเป็น (Muda of Motion)
7. การสูญเสียจากการผลิตของเสียหรือการแก้ไข(Muda of Rework)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครTeetut Tresirichod
 
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางานบทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานTeetut Tresirichod
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementTeetut Tresirichod
 
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานบทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานTeetut Tresirichod
 
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจบทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจTeetut Tresirichod
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปTeetut Tresirichod
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมTeetut Tresirichod
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตRungnapa Rungnapa
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการNittaya Intarat
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบChanthawan Suwanhitathorn
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคPattapong Promchai
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 

Mais procurados (20)

บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
 
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
 
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางานบทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
 
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
 
Waste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvementWaste reduction and productivity improvement
Waste reduction and productivity improvement
 
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานบทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
 
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจบทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
05 ma
05 ma05 ma
05 ma
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
พลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบพลังงานภายในระบบ
พลังงานภายในระบบ
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 

Mais de Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

Mais de Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว

  • 1. PRINCIPLES OF MOTION ECONOMY 1อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
  • 2. • ได้มีการศึกษาถึงหลักการของการกาหนดรูปแบบตั้งแต่สมัยของ Frank B. Gilbreth โดยเรียกว่า “Rules for Motion Economy and Efficiency” • ปรับปรุงเพิ่มเติมโดย Ralph M. Barnes และได้เรียกชื่อโดยรวมว่าหลักการของ เศรษฐศาสตร์การเคลื่อนไหว(Principles of MotionEconomy) • แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการใช้โครงร่างของมนุษย์ (Use of human body) 2. กลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการจัดตาแหน่งของสถานที่ปฏิบัติงาน (Arrangementof work place) 3. กลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบเครื่องมือและอุปกรณ์ (Design of toolsand equipment) อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
  • 3. 1. มือทั้งสองควรเริ่มต้นและสิ้นสุดการเคลื่อนไหวพร้อม ๆ กัน 2. มือทั้งสองไม่ควรอยู่เฉยในเวลาเดียวกันยกเว้นเมื่อหยุดพัก 3. การเคลื่อนไหวของมือทั้งสองควรอยู่ในลักษณะที่เป็นสมมาตร แต่ในทิศทางตรงกัน ข้ามและต้องเคลื่อนไหวพร้อมกัน 4. การเคลื่อนไหวของมือและลาตัว ควรพยายามใช้การเคลื่อนไหวประเภทต่าสุดซึ่ง สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิผล อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
  • 5. 5. พยายามใช้แรงของวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่(แรงโมเมนตัม) ให้เป็ นประโยชน์ในการ ทางาน แต่ในกรณีที่กล้ามเนื้อต้องออกแรงต้านทานแรงโมเมนตัม ควรพยายาม ลดแรงโมเมนตัมให้น้อยที่สุด M = m x v โดย m = น้ำหนักหรือมวลของสิ่งที่กำลังเคลื่อน v = ควำมเร็วของมวล ในขณะที่พนักงำนกำลังทำกำรเคลื่อนชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์แต่ละครั้งนั้น น้ำหนักหรือมวลที่ มวลที่เกี่ยวข้องกับกำรเคลื่อนไหวอำจรวมถึง -น้ำหนักของวัตถุที่ถูกเคลื่อน -น้ำหนักของเครื่องมือที่ใช้ -น้ำหนักของส่วนของร่ำงกำยที่เคลื่อนไป อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
  • 7. 7. การเคลื่อนไหวแบบ “Ballistic” เร็วกว่าและแม่นยากว่าการเคลื่อนไหวแบบ “Fixation” การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ของร่างกายแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภท คือ Fixation หรือ Controlled คือ การเคลื่อนไหวซึ่งมีกล้ามเนื้อ 2 กลุ่ม ทาหน้าที่ต้านกัน จับปากกา Ballistic คือ การเคลื่อนไหวโดยการบีบตัวของกล้ามเนื้อเพียงกลุ่มเดียวไม่มีแรงต้านการ เคลื่อนแบบนี้จะยุติลงเมื่อ สิ้นสุดโมเมนตัม อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
  • 8. 8. พยายามจัดงานให้อยู่ในลักษณะที่จะทางานได้ง่าย และเกิดจังหวะตามธรรมชาติ 9. พยายามจัดงานให้อยู่ในขอบเขตการมองของสายตา และไม่ต้องใช้การเพ่งมอง มาก 2.หลักเศรษฐศาสตร์กลุ่มที่เกี่ยวกับการจัดตาแหน่งของสถานที่ ปฏิบัติงาน 10. ควรมีตาแหน่งที่วางแน่นอนสาหรับเครื่องมือและชิ้นส่วนต่าง ๆที่ต้องใช้ประจา เสมอ 11. เครื่องมือ, วัสดุ ชิ้นส่วนต่าง ๆ ตลอดจนกลไกการบังคับ ควรวางอยู่ใกล้กับ ตาแหน่งการใช้งานที่สุด อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
  • 12. 13. ชิ้นส่วนที่ประกอบแล้วควรใช้วิธีการทิ้งลงหรือปล่อยลง (Drop Deliveries) เพื่อให้เสียเวลาน้อยที่สุด 14. จัดวางชิ้นส่วนและเครื่องมือต่าง ๆ ให้อยู่ในลักษณะที่เอื้อให้เกิดลาดับขั้นตอน การเคลื่อนไหวที่ดีที่สุด นั่นคือ ชิ้นส่วนแรกในการหยิบควรวางอยู่ใกล้กับจุดที่ ต้องวางชิ้นงานที่ประกอบแล้ว เพื่อให้การเริ่มต้นของวัฏจักรต่อไปดาเนินได้ทันที โดยไม่เสียจังหวะ 15. จัดหาแสงสว่างให้เพียงพอในบริเวณปฏิบัติงาน 16. ความสูงของเก้าอี้และบริเวณปฏิบัติงาน 17. ประเภทของเก้าอี้และความสูง ต้องเอื้อให้ผู้ทางานมีการทรงตัวที่ดีในระหว่าง ทางาน อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
  • 13. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13 รูปที่ 12.8 ความสูงของเก้าอี้และ โต๊ะนั่ง ทำงำนที่เหมำะสมกับควำมสูง ของพนักงำนชำยและพนักงำนหญิง รูปที่ 12.9 ความสูงของเก้าอี้และโต๊ะ สาหรับนั่ง สลับยืนทำงำนที่เหมำะสมกับควำมสูง ของพนักงำนชำยและพนักงำนหญิง
  • 14. 18 ควรใช้อุปกรณ์จับยึด (Jig หรือ Fixture) หรือคันเท้าเหยียบ (Foot Pedal) ช่วยใน การจับชิ้นงาน การออกแบบคันเท้าเหยียบ มี 2 ชนิด คือ 1) ชนิดที่ต้องใช้น้าหนักตัวช่วยในการกด เช่น เครื่องปั๊มลม เป็นต้น 2) ชนิดเบา เช่น ขาเหยียบจักรไฟฟ้ า เป็นต้นถ้าเป็นชนิดที่ต้องออกแรงควรออกแบบให้ สามารถใช้น้าหนักในการกด และที่วางเท้าควรกว้างพอที่จะวางเท้าได้อย่างเต็มที่ 19. พยายามรวมเครื่องมือที่ทาหน้าที่ 2 อย่างไว้ในชิ้นเดียวกันเพื่อให้ประหยัดเวลาใน การที่ต้องวางเครื่องมือชิ้นหนึ่งและหยิบอีกชิ้นหนึ่งขึ้นมา ตัวอย่าง เช่น โทรศัพท์สมัยใหม่ซึ่งรวมเอาโทรศัพท์และกล้องไว้ด้วยกัน ปลั๊กไฟที่สามารถดึงเก็บเพื่อความสะดวก ประแจสองปลาย หรือคีมหนีบซึ่งใช้เป็นไข ควงได้ เป็นต้น อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
  • 15. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15 รูปที่ 12.10 ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ทาได้หลายหน้าที่
  • 16. 20. จัดเตรียมเครื่องมือหรือวัตถุในลักษณะที่สามารถหยิบไปใช้ได้ทันที เช่น ที่เสียบ ปากกา ที่วางปากกาเชื่อม Solder เป็นต้น อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16 รูปที่ 12.11 ตัวอย่างการทาที่จัดเก็บอุปกรณ์
  • 17. 21. เมื่อต้องใช้นิ้วมือต่าง ๆ ในการเคลื่อนไหวที่ต่างกัน อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17 รูปที่ 12.12 ภาพแสดงการเปรียบเทียบการทางานของนิ้วมือระหว่าง แป้ นพิมพ์แบบมาตรฐานและแบบปรับปรุง
  • 18. 22. มือจับ คานโยก หรือพวงมาลัยควรติดตั้งอยู่ในลักษณะที่คนงานสามารถ จะจับ หรือหมุนโดยไม่ต้องขยับตัวเปลี่ยนท่าของร่างกายมากนัก อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18 รูปที่ 12.13 ภาพแสดงตาแหน่งของคันโยกและพวงมาลัยบังคับของเครื่องจักร โดยสัมพันธ์กับรัศมีการทางานของของพนักงาน
  • 19. 1. Clamps ซึ่งใช้ยึดจับชิ้นงานควรออกแบบให้ง่ายที่สุด โดยไม่ควรต้องใช้ไขควงช่วยขัน เพื่อให้ยึดติด 2. ออกแบบ Jig หรืออุปกรณ์ช่วยในการทางาน ควรออกแบบให้มือทั้งสองป้ อนงานเข้า ได้ง่าย โดยไม่มีการกีดขวาง 3. การทางานในลักษณะที่คลาย Jig ออก ควรสามารถผลักชิ้นงานขึ้น หรือตกลงโดยไม่ ต้องใช้มือช่วยในการจับ 4. ควรออกแบบ Fixture หรืออุปกรณ์ช่วยจับ ให้สามารถทางานสองชิ้นในเวลาเดียวกัน ได้ 5. ควรสร้าง Jig หรือ Fixture ให้มีความแข็งแรงพอสมควร เพื่อให้ทนทานต่อการใช้งาน และไม่ต้องคอยเปลี่ยนใหม่ 6. Jig หรือ Fixture เมื่อติดตั้งใช้งาน ไม่ควรบดบังทิศทางของการมอง อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
  • 20. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20 รูปที่ 12.14 ตัวอย่างของอุปกรณ์จับยึดในอุตสาหกรรมรูปแบบต่าง ๆ
  • 22. 1. การใช้แบบตรวจสอบ (Checklist) 2. การตั้งคาถาม 5W + 1H 3. การใช้หลักการของ ECRS 4. การใช้หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
  • 23. 1. การสูญเสียจากการผลิตเกินต้องการ (Muda of Overproduction) 2. การสูญเสียจากการรอคอยในกระบวนการ (Muda of Waiting) 3. การสูญเสียจากการเคลื่อนย้าย (Muda of Conveyance) 4. การสูญเสียจากการกระบวนการทางานเกินต้องการ (Muda of Overprocessing) 5. การสูญเสียจากการเก็บคงคลังเกินต้องการ (Muda of Inventory) 6. การสูญเสียจากการเคลื่อนไหวที่ไม่จาเป็น (Muda of Motion) 7. การสูญเสียจากการผลิตของเสียหรือการแก้ไข(Muda of Rework) อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23