SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 28
กรดนิวคลีอิกและนิวคลีโอไทด์ Nucleic acids and Nucleotides
Nucleic acid กรดนิวคลีอิก  (  Nucleic acids  ) นิวคลีโอไทด์  (  Nucleotides  ) เรื่องน่ารู้ของกรดนิวคลีอิก ชนิดของนิวคลีโอไทด์ อาร์ เอ็น เอ็น  ( Ribonucleic acid, RNA ) ดี เอ็น เอ  (  Deoxyribonucleic Acid , DNA  ) หน้าที่ของนิวคลีโอไทด์ กรดนิวคลีอิก
กรดนิวคลีอิก  เป็นสารโมเลกุลใหญ่ที่สำคัญของสิ่งมีชีวิต  โดยกรดนิวคลีอิกเป็นสารพันธุกรรมที่ ทำหน้าที่เก็บและถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรม  นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของกระบวนการต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต  และให้พลังงาน  ATP( acenosine triphosphate )       จากโครงสร้าง สามารถแบ่งกรดนิวคลีอิก ออกเป็น  2  ชนิด คือ  กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก  (  DNA  )  และ กรดไรโบนิวคลีอิก (  RNA  )   โดย DNA  ทำหน้าที่เป็นสารพันธุกรรมและเป็นส่วนประกอบของโครโมโซม ส่วน  RNA  ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมจาก   DNA      กรดนิวคลีอิกประกอบด้วย นิวคลีโอไทด์ (  Nucleotide  )   เป็นโมโนเมอร์ หลายโมเลกุลเรียงต่อกันเป็นเส้นยาว เรียกว่า พอลี  -  นิวคลีโอไทด์  ( Polynucleotide )
นิวคลีโอไทด์  คือ สารประกอบคาร์บอน ที่เกิดจากอะตอมของธาตุคาร์บอนออกซิเจนและฟอสฟอรัสรวมกันเป็นโมเลกุล นิวคลีโอไทด์ มีโครงสร้าง คือ นิวคลีโอไทด์  ประกอบด้วยสารเคมี  3  อย่างมาประกอบกัน คือ   หมู่ฟอสเฟต น้ำตาลเพนโทส  (  pentos Sugar  ) เบสไนโตรเจน
โครงสร้างของหมู่ฟอสเฟต หมู่ฟอสเฟต
น้ำตาลเพนโทส  คือน้ำตาลที่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ  5  โมเลกุล  มีอยู่สองชนิดคือ น้ำตาลไรโบส และ ดีออกซีไรโบส น้ำตาลทั้งสอง ต่างกันตรงที่  น้ำตาลดีออกซีไรโบสขาดหมู่ไฮดรอกซี  (- OH)  ที่คาร์บอนตำแหน่งที่สอง เราสามารถใช้ปฎิกิริยาทางเคมีตรวจหาน้ำตาลทั้งสองชนิดได้โดย ใช้ปฏิกิริยา  ไดเฟนิลามีน  ( diphenylamine)  ตรวจหาปริมาณน้ำตาลดีออกซีไรโบส และใช้ปฏิกิริยา ออร์ซินอล  ( orcinol)  ตรวจหาน้ำตาลไรโบส
น้ำตาลเพนโตส  แบ่งเป็น  2  ชนิด  โครงสร้างของน้ำตาลไรโบส 2.  น้ำตาลดีออกซีไรโบส  มีสูตรโมเลกุล คือ  C 5 H 10 O 4 DNA 1.  น้ำตาลไรโบส  มีสูตรโมเลกุล คือ  C 5 H 10 O 5 RNA โครงสร้างของน้ำตาลดีออกซีไรโบส
คือ เบสที่มีในโตรเจนเป็นส่วนประกอบ  มี  2  ประเภท  ได้แก่ 1.  เบสพิวริน  (  purine  )   เป็นเบสที่มีโครงสร้างหลักประกอบด้วย วงแหวน  2  วงแหวน   แบ่งออกเป็น  2  ชนิด คือ  อะดีนีน  (  adinine  หรือ  A  )  และ  กวานีน  (  guanine  หรือ  G  ) อะดีนีน  (  adinine  หรือ  A  ) กวานีน  (  guanine  หรือ  G  ) เบสไนโตรเจน
2.  ไพริมิดิน  (  pyrimidine  )   เป็นเบสที่มีโครงสร้างเป็นวงแหวน  1  วงแหวน   ได้แก่  ไทมีน  (  tymine  หรือ  T  )  ไซโตซีน  (  cytosine  หรือ  C  )  และ  ยูราซิน  (  uracil   หรือ  U ) ไทมีน  (  tymine  หรือ  T  ) ไซโตซีน  (  cytosine  หรือ  C  ) ยูราซิน  (  uracil   หรือ  U ) ,[object Object],[object Object]
หน้าที่ของนิวคลีโอไทด์ ,[object Object],[object Object],[object Object]
ชนิดของนิวคลีโอไทด์ นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไซโทซีน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสยูราซิล นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสอะดินิน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสกวานิน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไทมีน
ดี เอน เอ เป็นสารชีวโมเลกุลที่ใหญ่ที่สุด ในคนพบ ดี เอน เอ ในนิวเคลียสของเซลล์และในไมโตคอนเดรีย ดี เอน เอ มีขนาดและรูปร่างที่แตกต่างกัน ตั้งแต่มีรูปร่างเป็นวงกลม เช่น พลาสมิดซึ่งเป็น ดี เอน เอ ขนาดเล็กในบักเตรีจนถึง ดี เอน เอ ขนาดใหญ่พันม้วนกับแกนโปรตีนอย่างซับซ้อนจนมองเห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ เช่น โครโมโซมในเซลล์มนุษย์
โครงสร้างของดีเอ็นเอ
การยึดจับของเบสในดี เอ็น เอ *  ใน  DNA   จะประกอบด้วย อะดีนีน , ไซโตซีน , ไทมีน , กวานีน (  A C T G  )  โดยที่ เบสอะดีนีน จะจับคู่กับ เบสไทมีน  (  A  กับ  T  )  และ เบสกวานีน จะจับคู่กับเบสไซโตซีน  (  G  กับ  C  )  เสมอ
สำหรับ  RNA  ก็มีโครงสร้างคล้าย  DNA  คือประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์เรียงต่อกันด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์เป็น  โพลีนิวคลีโอไทด์ แต่องค์ประกอบของ  นิวคลีโอไทด์แตกต่างกันที่น้ำตาล และเบส โดยน้ำตาลใน  RNA  เป็น ไรโบส ส่วนเบสใน  RNA  มียูราซิล  (U)  มาแทนไทมีน  (T)  นอกจากนั้น  RNA  ยังเป็นโพลีนิวคลีโอไทด์สายเดี่ยว ซึ่งต่างจาก  DNA  ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเกลียวคู่
โครงสร้างของ  โครงสร้างของอาร์ เอ็น เอ
กรดไรโบนิวคลีอิก  (Ribonucleic acid, RNA) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ชนิดของ  RNA ,[object Object],100 1,500 3,100 35,000 550,000 1,100,000 5 16 23 82 rRNA 73-93 23,000-30,000 4 16 tRNA 75-300 25,000-1,000,000 6-25 2 mRNA จำนวน นิวคลีโอไทด์ น้ำหนักโมเลกุล  ( ดาลตัน ) ขนาด  (S) ปริมาณเปรียบเทียบ
rRNA ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ตารางเปรียบเทียบ  DNA  และ  RNA มีน้ำตาล  ribose  เป็นองค์ประกอบ มีน้ำตาล  deoxyribose  เป็นองค์ประกอบ มีเสถียรทางเคมีน้อยกว่า มีเสถียรทางเคมีมากกว่า มีน้ำหนักโมเลกุลน้อยกว่า มีน้ำหนักโมเลกุลมากกว่า ส่วนใหญ่เป็นพอลินิวคลีโอไทด์สายเดี่ยวเสมอ เป็นพอลินิวคลีโอไทด์สายคู่เสมอ RNA DNA พบเบสได้  4  ชนิดคือ  A G C U พบเบสได้  4  ชนิดคือ  A G C T
ถูกสลายได้โดยด่าง (  เบส ) ถูกสลายได้โดยกรด มีอย่างน้อย  3  ชนิด คือ   m RNA  t RNA  และ  r RNA มีเพียงชนิดเดียวแต่มีปริมาณและลำดับเบสได้ไม่จำกัด อาจพบเพียงชั่วคราว คงอยู่ตลอดไป ถูกสังเคราะห์ในเซลล์และพบทั่วไปในเซลล์ พบอยู่ในนิวเคลียสเกือบทั้งหมด อัตราส่วน  A + C ÷ G +T  มีค่าไม่แน่นอน อัตราส่วน  A + C ÷ G +T  มีค่าเป็น  1  เสมอ RNA DNA
เรื่องน่ารู้ นิวคลิอิก กรดนิวคลีอิก  เป็นสารโมเลกุลในเซลล์ที่มีความยาวของโมเลกุลมากที่สุด หน่วยย่อย (  monomer ) ของกรดนิวคลีอิกคือ  นิวคลีโอไทด์ ( nucleotide ) นิวคลีโอไทด์ ( nucleotide ) แต่ละโมเลกุลในกรดนิวคลีอิกมีการจับกันด้วย พันธะฟอสโฟไดเอสเตอร์ (  phosphodiester bond  )  ของหมู่ฟอสเฟตกับน้ำตาล
เรื่องน่ารู้ นิวคลิอิก นิวคลีโอไทด์ ( nucleotide ) แต่ละโมเลกุลประกอบด้วย  ไนโตรจีนัสเบส ( nitrogenous base )  หรือ นิวคลีโอไทด์เบส  ( nucleotide base )  น้ำตาลที่มีคาร์บอน  5  อะตอม   (  pentose sugar  )  และ หมู่ฟอสเฟต (  phosphate group ) องค์ประกอบส่วนของนิวคลีโอไทด์ ( nucleotide ) ที่เป็นสารอินทรีย์ คือ  ไนโตรจีนัสเบส หรือ นิวคลีโอไทด์เบส  น้ำตาลที่มีคาร์บอน  5  อะตอม   (  pentose sugar  )
เรื่องน่ารู้ นิวคลิอิก องค์ประกอบส่วนใดของนิวคลีโอไทด์ ( nucleotide ) ที่เป็นสารอนินทรีย์ คือ  หมู่ฟอสเฟต (  phosphate group ) เบสไนโตรเจน  ( nitrogenous base ) มี  2  ประเภท คือ เพียวรีน   ( purine base )  มี 2  ชนิดคือ อะดีนีน  ( adenine  หรือ  A  )  และ กวานีน  (  guanine  หรือ  G  ) ไพริมีดีน   (  pyrimidine base )  มี  3  ชนิด คือ ไซโทนีน  (  cytosine  หรือ  C  )  ไทมีน  (  thymine   หรือ  T ) และ ยูราซิล  (  uracil  หรือ  U )
เรื่องน่ารู้ นิวคลิอิก ไนโตรจีนัสเบส  ( nitrogenous base )  ชนิดที่พบเฉพาะใน  DNA  คือ  ไทมีน   (  thymine   หรือ  T ) ไนโตรจีนัสเบส  ( nitrogenous base )  ชนิดที่พบเฉพาะใน  RNA  คือ  ยูราซิล   (  uracil  หรือ  U ) โมเลกุลของ  DNA มีลักษณะเป็นสายเกลียวคู่ (  double helix ) โดยเกลียว  1   รอบจะมีนิวคลีโอไทด์เป็นองค์ประกอบ อยู่  10   คู่
เรื่องน่ารู้ นิวคลิอิก ไนโตรจีนัสเบส  ( nitrogenous base )  ในกรดนิวคลีอิกมีคุณสมบัติพิเศษคือ  ดูดกลืนแสงอัลตราไวโอเลต ที่มีความยาวคลื่น  260  นาโมเมตรได้ดี การสลายตัวของ อะดีนีน  ( adenine  หรือ  A  )  และ กวานีน (  guanine  หรือ  G  )  จะได้สารที่ชื่อว่า  กรดยูริก (  uric acid ) กระบวนการการสังเคราะห์  DNA   เรียกว่า  Replication
เรื่องน่ารู้ นิวคลิอิก กระบวนการการสังเคราะห์  RNA   เรียกว่า  Transcription ปริมาณ  RNA   ในเซลล์ มีดังนี้  r RNA  มี  85 %  t RNA  มี  10 %  m RNA  มี  5 % ขนาดของ  RNA   มีดังนี้  m RNA  >  r RNA  >  t RNA RNA  ชนิดที่เป็นองค์ประกอบอยู่ในไรโบโซม คือ  r RNA
 

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
Tanchanok Pps
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Supaluk Juntap
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
sariya25
 

Mais procurados (20)

พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 

Semelhante a ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก

สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
kruaoijaipcccr
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
naan1338
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
room62group2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
room62group2
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
kruaoijaipcccr
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
BoviBow
 

Semelhante a ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก (20)

พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
Nucleic acid2
Nucleic acid2Nucleic acid2
Nucleic acid2
 
Dna bio04 1
Dna bio04 1Dna bio04 1
Dna bio04 1
 
Dna
DnaDna
Dna
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
 
โครโมโซม2
โครโมโซม2โครโมโซม2
โครโมโซม2
 
สารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุลสารชีวโมเลกุล
สารชีวโมเลกุล
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
Pphy05 respiration
Pphy05 respirationPphy05 respiration
Pphy05 respiration
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
สารชีวโมเลกุล(Biomolecule)
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdfเคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต.pdf
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 

Mais de TANIKAN KUNTAWONG

ใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 proteinใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 protein
TANIKAN KUNTAWONG
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิด
TANIKAN KUNTAWONG
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
TANIKAN KUNTAWONG
 
ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์
ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์
ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์
TANIKAN KUNTAWONG
 
ใบงานที่13การแบ่งเซลล์
ใบงานที่13การแบ่งเซลล์ใบงานที่13การแบ่งเซลล์
ใบงานที่13การแบ่งเซลล์
TANIKAN KUNTAWONG
 
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
TANIKAN KUNTAWONG
 
ใบงานที่4เซลล์
ใบงานที่4เซลล์ใบงานที่4เซลล์
ใบงานที่4เซลล์
TANIKAN KUNTAWONG
 
ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์
ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์
ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์
TANIKAN KUNTAWONG
 
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
TANIKAN KUNTAWONG
 

Mais de TANIKAN KUNTAWONG (12)

ใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 proteinใบงานที่20 protein
ใบงานที่20 protein
 
ใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิดใบงานที่19ลิพิด
ใบงานที่19ลิพิด
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
 
ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์
ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์
ใบงานที่14วัฏจักรของเซลล์
 
ใบงานที่13การแบ่งเซลล์
ใบงานที่13การแบ่งเซลล์ใบงานที่13การแบ่งเซลล์
ใบงานที่13การแบ่งเซลล์
 
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
ใบงานที่12การสื่อสารระหว่างเซลล์
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10 ใบงานที่10
ใบงานที่10
 
ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1
 
ใบงานที่4เซลล์
ใบงานที่4เซลล์ใบงานที่4เซลล์
ใบงานที่4เซลล์
 
ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์
ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์
ทางเดินแสงของกล้องจุลทรรศน์
 
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 

ใบงานที่21กรดนิวคลีอิก

  • 2. Nucleic acid กรดนิวคลีอิก ( Nucleic acids ) นิวคลีโอไทด์ ( Nucleotides ) เรื่องน่ารู้ของกรดนิวคลีอิก ชนิดของนิวคลีโอไทด์ อาร์ เอ็น เอ็น ( Ribonucleic acid, RNA ) ดี เอ็น เอ ( Deoxyribonucleic Acid , DNA ) หน้าที่ของนิวคลีโอไทด์ กรดนิวคลีอิก
  • 3. กรดนิวคลีอิก เป็นสารโมเลกุลใหญ่ที่สำคัญของสิ่งมีชีวิต โดยกรดนิวคลีอิกเป็นสารพันธุกรรมที่ ทำหน้าที่เก็บและถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรม นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของกระบวนการต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต และให้พลังงาน ATP( acenosine triphosphate ) จากโครงสร้าง สามารถแบ่งกรดนิวคลีอิก ออกเป็น 2 ชนิด คือ กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก ( DNA ) และ กรดไรโบนิวคลีอิก ( RNA ) โดย DNA ทำหน้าที่เป็นสารพันธุกรรมและเป็นส่วนประกอบของโครโมโซม ส่วน RNA ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมจาก DNA กรดนิวคลีอิกประกอบด้วย นิวคลีโอไทด์ ( Nucleotide ) เป็นโมโนเมอร์ หลายโมเลกุลเรียงต่อกันเป็นเส้นยาว เรียกว่า พอลี - นิวคลีโอไทด์ ( Polynucleotide )
  • 4. นิวคลีโอไทด์ คือ สารประกอบคาร์บอน ที่เกิดจากอะตอมของธาตุคาร์บอนออกซิเจนและฟอสฟอรัสรวมกันเป็นโมเลกุล นิวคลีโอไทด์ มีโครงสร้าง คือ นิวคลีโอไทด์ ประกอบด้วยสารเคมี 3 อย่างมาประกอบกัน คือ หมู่ฟอสเฟต น้ำตาลเพนโทส ( pentos Sugar ) เบสไนโตรเจน
  • 6. น้ำตาลเพนโทส คือน้ำตาลที่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ 5 โมเลกุล มีอยู่สองชนิดคือ น้ำตาลไรโบส และ ดีออกซีไรโบส น้ำตาลทั้งสอง ต่างกันตรงที่ น้ำตาลดีออกซีไรโบสขาดหมู่ไฮดรอกซี (- OH) ที่คาร์บอนตำแหน่งที่สอง เราสามารถใช้ปฎิกิริยาทางเคมีตรวจหาน้ำตาลทั้งสองชนิดได้โดย ใช้ปฏิกิริยา ไดเฟนิลามีน ( diphenylamine) ตรวจหาปริมาณน้ำตาลดีออกซีไรโบส และใช้ปฏิกิริยา ออร์ซินอล ( orcinol) ตรวจหาน้ำตาลไรโบส
  • 7. น้ำตาลเพนโตส แบ่งเป็น 2 ชนิด โครงสร้างของน้ำตาลไรโบส 2. น้ำตาลดีออกซีไรโบส มีสูตรโมเลกุล คือ C 5 H 10 O 4 DNA 1. น้ำตาลไรโบส มีสูตรโมเลกุล คือ C 5 H 10 O 5 RNA โครงสร้างของน้ำตาลดีออกซีไรโบส
  • 8. คือ เบสที่มีในโตรเจนเป็นส่วนประกอบ มี 2 ประเภท ได้แก่ 1. เบสพิวริน ( purine ) เป็นเบสที่มีโครงสร้างหลักประกอบด้วย วงแหวน 2 วงแหวน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ อะดีนีน ( adinine หรือ A ) และ กวานีน ( guanine หรือ G ) อะดีนีน ( adinine หรือ A ) กวานีน ( guanine หรือ G ) เบสไนโตรเจน
  • 9.
  • 10.
  • 11. ชนิดของนิวคลีโอไทด์ นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไซโทซีน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสยูราซิล นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสอะดินิน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสกวานิน นิวคลีโอไทด์ที่มีเบสไทมีน
  • 12. ดี เอน เอ เป็นสารชีวโมเลกุลที่ใหญ่ที่สุด ในคนพบ ดี เอน เอ ในนิวเคลียสของเซลล์และในไมโตคอนเดรีย ดี เอน เอ มีขนาดและรูปร่างที่แตกต่างกัน ตั้งแต่มีรูปร่างเป็นวงกลม เช่น พลาสมิดซึ่งเป็น ดี เอน เอ ขนาดเล็กในบักเตรีจนถึง ดี เอน เอ ขนาดใหญ่พันม้วนกับแกนโปรตีนอย่างซับซ้อนจนมองเห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ เช่น โครโมโซมในเซลล์มนุษย์
  • 14. การยึดจับของเบสในดี เอ็น เอ * ใน DNA จะประกอบด้วย อะดีนีน , ไซโตซีน , ไทมีน , กวานีน ( A C T G ) โดยที่ เบสอะดีนีน จะจับคู่กับ เบสไทมีน ( A กับ T ) และ เบสกวานีน จะจับคู่กับเบสไซโตซีน ( G กับ C ) เสมอ
  • 15. สำหรับ RNA ก็มีโครงสร้างคล้าย DNA คือประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์เรียงต่อกันด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์เป็น โพลีนิวคลีโอไทด์ แต่องค์ประกอบของ นิวคลีโอไทด์แตกต่างกันที่น้ำตาล และเบส โดยน้ำตาลใน RNA เป็น ไรโบส ส่วนเบสใน RNA มียูราซิล (U) มาแทนไทมีน (T) นอกจากนั้น RNA ยังเป็นโพลีนิวคลีโอไทด์สายเดี่ยว ซึ่งต่างจาก DNA ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเกลียวคู่
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20. ตารางเปรียบเทียบ DNA และ RNA มีน้ำตาล ribose เป็นองค์ประกอบ มีน้ำตาล deoxyribose เป็นองค์ประกอบ มีเสถียรทางเคมีน้อยกว่า มีเสถียรทางเคมีมากกว่า มีน้ำหนักโมเลกุลน้อยกว่า มีน้ำหนักโมเลกุลมากกว่า ส่วนใหญ่เป็นพอลินิวคลีโอไทด์สายเดี่ยวเสมอ เป็นพอลินิวคลีโอไทด์สายคู่เสมอ RNA DNA พบเบสได้ 4 ชนิดคือ A G C U พบเบสได้ 4 ชนิดคือ A G C T
  • 21. ถูกสลายได้โดยด่าง ( เบส ) ถูกสลายได้โดยกรด มีอย่างน้อย 3 ชนิด คือ m RNA t RNA และ r RNA มีเพียงชนิดเดียวแต่มีปริมาณและลำดับเบสได้ไม่จำกัด อาจพบเพียงชั่วคราว คงอยู่ตลอดไป ถูกสังเคราะห์ในเซลล์และพบทั่วไปในเซลล์ พบอยู่ในนิวเคลียสเกือบทั้งหมด อัตราส่วน A + C ÷ G +T มีค่าไม่แน่นอน อัตราส่วน A + C ÷ G +T มีค่าเป็น 1 เสมอ RNA DNA
  • 22. เรื่องน่ารู้ นิวคลิอิก กรดนิวคลีอิก เป็นสารโมเลกุลในเซลล์ที่มีความยาวของโมเลกุลมากที่สุด หน่วยย่อย ( monomer ) ของกรดนิวคลีอิกคือ นิวคลีโอไทด์ ( nucleotide ) นิวคลีโอไทด์ ( nucleotide ) แต่ละโมเลกุลในกรดนิวคลีอิกมีการจับกันด้วย พันธะฟอสโฟไดเอสเตอร์ ( phosphodiester bond ) ของหมู่ฟอสเฟตกับน้ำตาล
  • 23. เรื่องน่ารู้ นิวคลิอิก นิวคลีโอไทด์ ( nucleotide ) แต่ละโมเลกุลประกอบด้วย ไนโตรจีนัสเบส ( nitrogenous base ) หรือ นิวคลีโอไทด์เบส ( nucleotide base ) น้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม ( pentose sugar ) และ หมู่ฟอสเฟต ( phosphate group ) องค์ประกอบส่วนของนิวคลีโอไทด์ ( nucleotide ) ที่เป็นสารอินทรีย์ คือ ไนโตรจีนัสเบส หรือ นิวคลีโอไทด์เบส น้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม ( pentose sugar )
  • 24. เรื่องน่ารู้ นิวคลิอิก องค์ประกอบส่วนใดของนิวคลีโอไทด์ ( nucleotide ) ที่เป็นสารอนินทรีย์ คือ หมู่ฟอสเฟต ( phosphate group ) เบสไนโตรเจน ( nitrogenous base ) มี 2 ประเภท คือ เพียวรีน ( purine base ) มี 2 ชนิดคือ อะดีนีน ( adenine หรือ A ) และ กวานีน ( guanine หรือ G ) ไพริมีดีน ( pyrimidine base ) มี 3 ชนิด คือ ไซโทนีน ( cytosine หรือ C ) ไทมีน ( thymine หรือ T ) และ ยูราซิล ( uracil หรือ U )
  • 25. เรื่องน่ารู้ นิวคลิอิก ไนโตรจีนัสเบส ( nitrogenous base ) ชนิดที่พบเฉพาะใน DNA คือ ไทมีน ( thymine หรือ T ) ไนโตรจีนัสเบส ( nitrogenous base ) ชนิดที่พบเฉพาะใน RNA คือ ยูราซิล ( uracil หรือ U ) โมเลกุลของ DNA มีลักษณะเป็นสายเกลียวคู่ ( double helix ) โดยเกลียว 1 รอบจะมีนิวคลีโอไทด์เป็นองค์ประกอบ อยู่ 10 คู่
  • 26. เรื่องน่ารู้ นิวคลิอิก ไนโตรจีนัสเบส ( nitrogenous base ) ในกรดนิวคลีอิกมีคุณสมบัติพิเศษคือ ดูดกลืนแสงอัลตราไวโอเลต ที่มีความยาวคลื่น 260 นาโมเมตรได้ดี การสลายตัวของ อะดีนีน ( adenine หรือ A ) และ กวานีน ( guanine หรือ G ) จะได้สารที่ชื่อว่า กรดยูริก ( uric acid ) กระบวนการการสังเคราะห์ DNA เรียกว่า Replication
  • 27. เรื่องน่ารู้ นิวคลิอิก กระบวนการการสังเคราะห์ RNA เรียกว่า Transcription ปริมาณ RNA ในเซลล์ มีดังนี้ r RNA มี 85 % t RNA มี 10 % m RNA มี 5 % ขนาดของ RNA มีดังนี้ m RNA > r RNA > t RNA RNA ชนิดที่เป็นองค์ประกอบอยู่ในไรโบโซม คือ r RNA
  • 28.