SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 18
Baixar para ler offline
21/07/54




0 เมื่อเราทราบแล้วว่า เงินนั้นมีมูลค่าตาม
  เวลา ดังนั้นในธุรกิจการลงทุนโครงการ
  ใหม่ หรือโครงการระยะยาวที่ต้องใช้เงิน
  ลงทุนจานวนมาก จะต้องมีการประเมิน
  ค่าของโครงการด้วยการคานึงถึงค่าของ
  เงินตามเวลา




                                                  1
21/07/54




           การตัดสินใจเลือกโครงการลงทุน
0ลักษณะของโครงการลงทุนตามความสัมพันธ์
0โครงการอิสระ (Independent Projects)
  0 โครงการเป็นอิสระต่อกัน ถ้าปฏิเสธโครงการใดจะไม่มีผลต่อการ
    ตัดสินใจอีกโครงการหนึ่ง (เช่น โครงการอบรม กับ ซื้อเครื่องจักรใหม่)
0โครงการลงทุนที่ขึ้นต่อกัน (Contingent Projects)
  0 โครงการหนึ่งขึ้นกับอีกโครงการหนึ่ง รับโครงการหนึ่งแล้วต้องรับ
    โครงการหนึ่งด้วย (เช่น ขยายโรงงาน กับ การซื้อเครื่องจักรใหม่)
0โครงการทดแทนกัน (Mutually Exclusive)
  0 เลือกโครงการใดแล้ว ต้องยกเลิกอีกโครงการ (เช่น การขยายการผลิต
    ของสินค้า ก และ ข. มีกลุ่มลูกค้าเดียว กัน ถ้าเลือกต้องเลือกอันเดียว)
                                                                       3




               ขั้นตอนการตัดสินใจลงทุน
  1.    กาหนดเป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการลงทุน
  2.    รวบรวมโครงการลงทุน
  3.    สารวจวิจัยโอกาสการลงทุน
  4.    วิเคราะห์กระแสเงินสด
  5.    ประเมินค่าโครงการ
  6.    การตัดสินใจ
  7.    ติดตามประเมินผลโครงการ




                                                                                 2
21/07/54




     ตัวอย่าง โครงการและกระแสเงินเข้า
                                  โครงการ (ล้านบาท)
       ปี
                          X               Y                   Z
เงินลงทุนเริ่มแรก      - 1400          - 1400              - 1400
       1                 400             300                 400
       2                 400             400                 600
       3                 400             500                 200
       4                 400             200                 800
       5                 400             500                 200
       6                 400             500                 200
      เงินลงทุนเริ่มแรก 1,400,000 บาท (หนึ่งพันสี่ร้อยล้านบาท)
                          อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี




                    การประเมินค่าโครงการ
 0 จะต้องคานึงถึงผลที่จะได้รับซึ่งจะต้องทาให้
      มูลค่าธุรกิจสูงที่สุด โดยพิจารณาถึงหลัก 2
      ประการ คือ
     1. โครงการใดจะเป็นโครงการที่จะเลือกดาเนินการ
     2. โครงการที่จะเลือกดาเนินการนั้น มีจานวนมาก
            น้อยเพียงใด




                                                                          3
21/07/54




       เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินค่าของโครงการ

 0 อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย (Average Rate of Return หรือ
   ARR)
 0 ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period หรือ PP)
 0 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value หรือ NPV)
 0 ดัชนีการทากาไร (Profitability Index หรือ PI)
 0 อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (Internal Rate of Return หรือ
   IRR)




  อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย (Average Rate of Return หรือ ARR)
0 เป็นการคานวณหาอัตราผลตอบแทนการลงทุน โดยมีหน่วยเป็นร้อยละ
  เป็นวิธีการนากาไรสุทธิหลังหักภาษีเฉลี่ยตลอดอายุโครงการเปรียบเทียบ
  กับเงินลงทุนสุทธิ ดังสูตรการคานวณต่อไปนี้ 1. โครงการที่จะตัดสินใจลงทุน
0 กระแสเงินสดเข้าเท่าๆ กันทุกปี                    นั้น จะต้องให้อัตรา
                                                   ผลตอบแทนที่มากกว่าหรือ
 ARR = กาไรสุลงทุฉลี่ยต่อปี × ������������������
                ทธิเ
           เงิน นสุทธิ                             เท่ากับอัตราผลตอบแทนที่
                                                   ต้องการ
0 กระแสเงินสดสุทธิที่ได้รับนั้นไม่เท่ากันทุกปี
                                                2. จะเลือกโครงการที่ให้อัตรา
0หากาไรสุทธิต่อปีก่อน                              ผลตอบแทนถัวเฉลี่ยสูงที่สุด
                         ผลกาไรสุทธิตลอดโครงการ 3. ธุรกิจจะต้องกาหนดอัตรา
 กาไรสุทธิเฉลี่ยต่อปี =        อายุโครงการ         ผลตอบแทนที่ต้องการ
0 เงินลงทุนสุทธิ = เงินลงทุนเริ่มแรก – มูลค่าซาก




                                                                                      4
21/07/54




 จากตารางตัวอย่าง จงคานวณหา ARR โครงการ X Y และ Z
และจะเลือกโครงการใด โดยต้องการค่าตอบแทนมากกว่า 20%
0 โครงการ X กระแสเงินสดเข้าเท่าๆ กันทุกปี     X
                                                                              - 1400
       ARR = กาไรสุลงทุฉลี่ยต่อปี × ������������������
                   ทธิเ
               เงิน นสุทธิ
                                                                                400
                                                                                400
                                                                                400
               ������������������                                                           400
0 ARR =                                                                         400
              ������������������������
                                                                                400
0 ARR = 28.57




                                โครงการ Y
0 กระแสเงินสดสุทธิที่ได้รับนั้นไม่เท่ากันทุกปี
                                 ผลกาไรสุทธิตลอดโครงการ
       กาไรสุทธิเฉลี่ยต่อปี =         อายุโครงการ
                                  ������������������+������������������+������������������+������������������+������������������+������������������
0 กาไรสุทธิเฉลี่ยต่อปี =                              ������
                                                                                 Y
                                ������������������������
0 กาไรสุทธิเฉลี่ยต่อปี =                   = 400                              - 1400
                                   ������
0    หา ARR                                                                     300
                                                                                400
          ARR = กาไรสุลงทุฉลี่ยต่อปี × ������������������
                      ทธิเ
                  เงิน นสุทธิ                                                   500
                                                                                200
             ������������������
0 ARR =                × ������������������                                                 500
            ������������������������
                                                                                500
0    ARR = 28.57



                                                                                             5
21/07/54




    จงคานวณหา ARR โครงการ Z
            3 นาที
         ARR = กาไรสุลงทุฉลี่ยต่อปี × ������������������
                     ทธิเ                              Z
                 เงิน นสุทธิ                        - 1400
                                                      400
                           ผลกาไรสุทธิตลอดโครงการ     600
  กาไรสุทธิเฉลี่ยต่อปี =        อายุโครงการ           200
                                                      800
  ARR = 28.57%                                        200
                                                      200




            การตัดสินใจเลือกโครงการ
         อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย ARR
0 โครงการ X =          28.57%
0 โครงการ Y =          28.57%
0 โครงการ Z =          28.57%
0 ทั้ง 3 โครงการมีอัตราผลตอบแทนสูงกว่าผลตอบแทนที่
  ต้องการ ทุกโครงการจึงสามารถตัดสินใจลงทุนได้ทุก
  โครงการ




                                                                   6
21/07/54




  ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period หรือ PP)
 0 ระยะเวลาคืนทุน คือ ระยะเวลาที่กระแสเงินสดรับสุทธิที่ได้รับจากโครงการ
 เท่ากับเงินลงทุนเริ่มแรก ในการดาเนินโครงการ จะต้องเป็นโครงการที่มี
 ระยะเวลาคืนทุนสั้นกว่าอายุโครงการ นั่นคือโครงการมีกาไรและหากมีหลาย
 โครงการจะเลือกโครงการที่มีระยะเวลาคืนทุนที่สั้นที่สุด
 0 กรณีกระแสเงินสดรับสุทธิที่ได้รับนั้นเท่ากันทุกปี
 0 สูตร
                                      เงินลงทุนเริ่มแรก
               ระยะเวลาคืนทุน =
                                     เงินสดรับสุทธิต่อปี
 0 กรณีที่กระแสเงินสดสุทธิที่ได้รับนั้นไม่เท่ากันทุกปี
 0 คานวณโดยการหากระแสเงินสดรับสุทธิสะสมให้เท่ากับเงินลงทุนเริ่มแรกโดย
 ต้องอาศัยการเทียบบัญญัติไตรยางศ์ (เดี๋ยวค่อยดู ต.ย. นะคะ)




                จากตารางตัวอย่าง
     จงคานวณระยะคืนทุน (PP) ของโครงการ X, Y, Z
0 โครงการ X
0 พิจารณากระแสเงินสดเข้าแต่ละปี
0 เข้าสูตร                                                       X
                  ระยะเวลาคืนทุน = เงินลงทุนเริ่มแรก          - 1400
                                   เงินสดรับสุทธิต่อปี
                                                                400
0 เงินลงทุนเริ่มแรก = ?                                         400
0 เงินสุดรับสุทธิต่อปี = ?                                      400
               ������������������������
                                                                400
0 ������������ =                                                        400
                ������������������
                                                                400
0 ������������ = ������. ������ ปี หรือ 3 ปี 6 เดือน




                                                                                7
21/07/54




             ระยะคืนทุน (PP) ของโครงการ Y
0 โครงการ Y กระแสเงินสดรับสุทธิในแต่ละปีไม่เท่ากัน
0 คานวณโดยหากระแสเงินสดรับสะสม

   ปี         กระแสเงินสดรับสุทธิ    กระแสเงินสดรับสุทธิสะสม
   1                 300                       300         กระแสเงินสดรับสุทธิ
   2                 400                       700            สะสมในปี 4 จะ
   3                 500                      1,200          เท่ากับ 1,400 ซึ่ง
   4                 200                      1,400          เท่ากับเงินลงทุน
                                                            เริ่มแรกพอดี ดังนั้น
   5                 500                      1,900
                                                           ระยะเวลาคืนทุนจะ
   6                 500                      2,400               เป็นปีที่ 4
                                                                          15




             ระยะคืนทุน (PP) ของโครงการ Z
 0 โครงการ Z กระแสเงินสดรับสุทธิในแต่ละปีไม่เท่ากัน
 0 คานวณโดยหากระเงินสดรับสะสม
        ปี     กระแสเงินสดรับสุทธิ    กระแสเงินสดรับสุทธิสะสม
        1             400                        400
                                                        กระแสเงินสดรับสุทธิ
        2             600                      1,000       สะสมที่ 1400 ที่
        3             200                      1,200        ลงทุนไปจะอยู่
        4             800                      2,000 ระหว่างปี 3 และ4
                                                         ดังนั้นระยะเวลาคืน
        5             200                      2,200 ทุนจะอยู่ระหว่าง
        6             200                      2,400             ปี 3-4




                                                                                         8
21/07/54




            ระยะคืนทุน (PP) ของโครงการ Z
0 จะเห็นได้ว่าระยะเวลาคืนทุน คือ กระแสเงินสดรับ 1,400 จะอยู่ระหว่างปีที่ 3 และ 4
0 กระแสเงินสดรับสุทธิ 800 ใช้เวลา = 12 เดือน
0 กระแสเงินสดรับสุทธิ 200 ใช้เวลา = 3 เดือน
0 ระยะเวลาคืนทุนของโครงการ Z เป็น 3 ปี 3 เดือน
       ปี    กระแสเงินสดรับ กระแสเงินสดรับสุทธิ   เราต้องการหาค่าปีที่กระแส
                 สุทธิ            สะสม
                                                     เงินสด = 1400 ซึ่งจะ
       1          400                400            มากกว่า 1200 อยู่ 200
       2          600              1,000
       3          200              1,200
                                                  และระหว่างปีที่ 3-4 กระแส
       4          800              2,000                 เงินสด = 800
       5          200              2,200                 (2000-1200)
       6          200              2,400




             การตัดสินใจเลือกโครงการ PP
0 โครงการ X = 3 ปี 6 เดือน
0 โครงการ Y = 4 ปี
0 โครงการ Z = 3 ปี 3 เดือน
0 ทั้ง 3 โครงการมีระยะเวลาคืนทุนที่ต่างกัน การตัดสินใจจะเลือก
 โครงการที่มีระยะเวลาคืนทุนสั้น ที่สุด คือ โครงการ Z ซึ่งมี
 ระยะเวลาคืนทุน 3 ปี 3 เดือน แต่ถ้าพิจารณาถึงผลกาไรแล้วทั้ง 3
 โครงการมีกาไรทั้งสิ้นและสามารถลงทุนได้ทั้ง 3 โครงการ




                                                                                         9
21/07/54




    มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV
 0มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present value : NPV) หรือค่า
  ของทุน คือผลต่างระหว่างมูลค่าของเงินสดที่จะได้รับใน
  แต่ละปีตลอดอายุโครงการ กับมูลค่าที่จ่ายออกไปของ
  โครงการ ณ อัตราขั้นต่าของผลตอบแทนที่กาหนด การ
  ตัดสินใจ
 0โครงการที่จะตัดสินใจลงทุนนั้นจะเป็นโครงการที่มีค่า
  NPV เป็นบวก ซึ่งหมายถึง โครงการที่มีกาไรและหากมี
  หลายโครงการจะเลือกโครงการที่มีค่า NPV เป็นบวก
  มากที่สุด



มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV)               หาค่า PV ของโครงการ
                                                                    ก่อน
0 สูตรในการคานวณ
มูลค่าปัจจุบัน(NPV) = มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิ–เงินลงทุนเริ่มแรก
0 แบ่งออกได้เป็น 2 กรณีคือ             NPV = PV– เงินลงทุนเริ่มแรก
0 กระแสเงินสดเข้าเท่าๆ กันทุกปี
                        Pv = ผลรวมค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิ ณ ปีที่ n
  PV = a(PVIFA)         A = กระแสเงินสดรับสุทธิในแต่ละปี ซึ่งเป็นงวด ๆ ละเท่ากัน
                        PVIFA = ค่าปัจจัยดอกเบี้ยของมูลค่าปัจจุบันของเงินงวด
0 กรณีกระแสเงินสดรับสุทธิแต่ละปีไม่เท่ากัน
  PV= FV (PVIF i , n)        PV = ค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิต่อปี
  )                          FV = กระแสเงินสดรับสุทธิในแต่ละปี
                             PVIF = ปัจจัยดอกเบี้ยของมูลค่าปัจจุบัน         20




                                                                                        10
21/07/54




จากตารางตัวอย่าง จงคานวณหาค่า NPV ของ โครงการ x y z
0 โครงการ X
0 กระแสเงินสดรับสุทธิ ปีที่ 1 – 6 เท่ากันทุกปี ปีละ 400 (พันบาท)
 PV = a(PVIFA)                   PV = ผลรวมค่าปัจจุบันของ
                                 กระแสเงินสดรับสุทธิ ณ ปีที่ n
 a     =       400               a = กระแสเงินสดรับสุทธิในแต่ละ
 PVIFA (n = 6, I = 10%)          ปี ซึ่งเป็นงวด ๆ ละเท่ากัน
 PVIFA = 4.355                   PVIFA = ค่าปัจจัยดอกเบี้ยของ
 PV = 400 x 4.355                มูลค่าปัจจุบันของเงินงวด
      = 1,742
 NPV = PV– เงินลงทุนเริ่มแรก
 NPV = 1,742 - 1,400 = 342                                                    21




            คานวณหาค่า NPV ของ โครงการ Y
           กระแสเงินสดรับสุทธิ (FV) PVIF (i=10%, n=..)               PV
    ปี
            (หน่วย : ล้านบาท) (1)           (2)                   (1) x (2)
    1                300                  0.909                    272.7
    2                400                  0.826                    330.4
    3                500                  0.751                    375.5
    4                200                  0.683                    136.6
    5                500                  0.621                    310.5
    6                500                  0.564                     282
  PV= FV (PVIF i , n)                  รวม (PV)                   1,707.7
                                       เงินลงทุนเริ่มแรก           1,400
  NPV = PV – เงินลงทุนเริ่มแรก
                                       NPV                         307.7
                                                                              22




                                                                                        11
21/07/54




      คานวณหาค่า NPV ของ โครงการ Z
               กระแสเงินสดรับสุทธิ (FV)
     ปี                                     PVIF(i=10%)         PV
                  (หน่วย : ล้านบาท)
     1                   400                    0.909          330.4
     2                   600                    0.826          495.6
     3                   200                    0.751          150.2
     4                   800                    0.683          546.4
     5                   200                    0.621          124.2
     6                   200                    0.564          112.8
PV= FV (PVIF i , n)                       รวม (PV)            1,759.6
                                          เงินลงทุนเริ่มแรก    1,400
NPV = PV – เงินลงทุนเริ่มแรก              NPV                  359.6




             การตัดสินใจเลือกโครงการ
              มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV)
0 โครงการ X = 342 ล้านบาท
0 โครงการ Y = 307.7 ล้านบาท
0 โครงการ Z = 359.6 ล้านบาท
0 โครงการ X, Y และ Z ให้ค่า NPV เป็นบวก แต่
  โครงการ Z ให้ค่า NPV เป็นบวกมากที่สุดจึงตัดสินใจ
  ลงทุนในโครงการ Z




                                                                             12
21/07/54




      ดัชนีการทากาไร (Profitability Index หรือ PI)
0 คือ อัตราส่วนระหว่างมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิกับ
  เงินลงทุนเริ่มแรก
0 การตัดสินใจจะเลือกโครงการที่มี PI ที่ให้ค่าสูงที่สุด
        ������������ = มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสุดรับสุทธิ (������������)
                             เงินลงทุนเริ่มแรก
0 PI โครงการ x = 1,742/1400 = 1.244
                                                 ค่า PV เราได้หาแล้วข้อ
0 PI โครงการ Y = 1,707.7/1400 = 1.219                  ก่อนหน้านี้
0 PI โครงการ Z = 1,759.6/1400 = 1.257
0 ตัดสินใจเลือกโครงการ Z
                                                                     25




  อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (Internal Rate of Return: IRR)
 0 คือ อัตราผลตอบแทนลดค่าที่ทาให้มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่
    คาดว่าจะต้องจ่ายเริ่มแรกโครงการเท่ากับมูลค่าปัจจุบันของกระแส
    เงินสดที่คาดว่าจะได้รับตลอดอายุโครงการ
 0 การตัดสินใจ
 0 โดยปกติเมื่อคานวณค่า IRR มีค่ามากกว่าค่าของทุนก็จะยอมรับ
   โครงการนั้น ถ้าโครงการมีหลายโครงการ จะตัดสินใจเลือกโครงการที่
   ค่า IRR มีค่ามากกว่าค่าของทุน และมีค่า IRR สูงที่สุด
0จงคานวณหา PI โครงการ Y Z และตัดสินใจเลือกโครงการ
 0 การคานวณแบ่งเป็น 2 แบบ
    0 กรณีที่กระแสเงินสดรับเท่ากันทุกปี
    0 กรณีที่กระแสเงินสดรับแต่ละปีไม่เท่ากัน




                                                                               13
21/07/54




    อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (Internal Rate of Return หรือ IRR)
0 วิธีการคานวณ
0 ในกรณีที่กระแสเงินสดรับเท่ากันทุกปี
0 ขั้นที่ 1 หาปัจจัยดอกเบี้ยโดยประมาณเพื่อนาไปเปิด
  ตารางมูลค่าปัจจุบันของปัจจัยดอกเบี้ย โดยใช้สูตรต่อไปนี้

   ปัจจัยดอกเบี้ยโดยประมาณ =            เงินลงทุนเริ่มแรก
                                กระแสเงินสดรับสุทธิรายปี (������������ปี)

0 โครงการ x ปัจจัยดอกเบี้ยโดยประมาณ = 1400/400 = 3.5
0 ขั้นที่ 2 เปิดตาราง PVIFA ที่ n = 6 (โครงการ 6 ปี) ค่า 3.5 อยู่ระหว่าง
  ปัจจัยดอกเบี้ยระหว่าง 17% กับ 18% คือ (17% = 3.589 18% =
  3.498)
                                                                           27




                     IRR โครงการ x (ต่อ)
0ขั้นที่ 3 เทียบบัญญัติไตรยางศ์คานวณหาอัตรา
 ผลตอบแทนแท้จริง
0ปัจจัยดอกเบี้ยต่างกัน (3.589 – 3.498 = 0.091)
 อัตราดอกเบี้ยต่างกัน 1% (17% ต่างกับ 18% )
0ปัจจัยดอกเบี้ยต่างกัน (3.589 – 3.5 = 0.089)
 อัตราดอกเบี้ยต่างกัน 0.978%
0ดังนั้น ค่าปัจจัยดอกเบี้ยที่ 3.5 อัตราผลตอบแทนแท้จริง
                                                                       3.5
 จะ = 17% + 0.978% = 17.978%




                                                                                     14
21/07/54




                            IRR โครงการ Y
0 กรณีที่กระแสเงินสดรับแต่ละปีไม่เท่ากัน
0 ขั้นที่ 1 สุ่มหาอัตราผลตอบแทนที่ทาให้ค่าปัจจุบันของผลรวมของกระแสเงินสดมีค่า
  ใกล้เงินลงทุนเริ่มแรก       สุ่ม 16%                       สุ่ม 17%
      กระแสเงินสด        PVIF                         PVIF
ปี                                    PV ปี                         PV ปี
      รับสุทธิ (ลบ.)   (i=16%)                      (i=17%)
1          300           0.862        258.6           0.855        256.5
2          400           0.743        297.2           0.731        292.4
3          500           0.681        340.5           0.624         312
4          200           0.552        110.4           0.534        106.8
5          500           0.476         238            0.456         228
6          500           0.410         205            0.390         195
                       PV n=6        1,449.7                       1390.7
                                                                            29




                            IRR โครงการ Y
0ขั้นที่ 2 การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ เพื่อหาอัตรา
 ผลตอบแทนแท้จริงของโครงการ Y ดังนี้
0มูลค่าปัจจุบันสุทธิต่างกัน (1449.7 – 1390.7 = 59) i
 ต่างกัน 1 %
0มูลค่าปัจจุบันสุทธิต่างกัน (1449.7 – 1,400 = 49.7) i
 ต่างกัน = (1x49.7)/59 = 0.842
0ดังนั้น IRR ของโครงการ Y = 16% + 0.842
0                            = 16.842 %                                     30




                                                                                      15
21/07/54




                     IRR โครงการ z
                             สุ่ม 19%               สุ่ม 20%
     กระแสเงินสด       PVIF มูลค่าปัจจุบัน PVIF
ปี                                                 มูลค่าปัจจุบัน
     รับสุทธิ (ลบ)   (i=19%)               (i=20%)
1        400         0.840         336      0.833          333.2
2        600         0.706        423.6     0.694          416.4
3        200         0.593        118.6     0.579          115.8
4        800         0.499        399.2     0.482          385.6
5        200         0.419         83.8     0.402           80.4
6        200         0.352         70.4     0.335            67
                                 1,431.6                  1,398.4




                     IRR โครงการ z
0คานวณหาค่า IRR
0 มูลค่าปัจจุบันสุทธิต่างกัน (1431.6 – 1398.4 =33.2) i
 ต่างกัน 1 %
0 มูลค่าปัจจุบันสุทธิต่างกัน (1431.6 – 1400 =31.6) i
 ต่างกัน (1x31.6)/33.2 = 0.952 %
0 ดังนั้น IRR ของโครงการ Z = 19% + 0.952% =
 19.952%




                                                                         16
21/07/54




             การตัดสินใจเลือกโครงการ IRR
    0 โดยปกติเมื่อคานวณค่า IRR มีค่ามากกว่าค่าของทุนก็จะยอมรับ
      โครงการนั้น ถ้าโครงการมีหลายโครงการ จะตัดสินใจเลือกโครงการที่
      ค่า IRR มีค่ามากกว่าค่าของทุน และมีค่า IRR สูงที่สุด
    0 IRR โครงการ x = 17.978%
    0       โครงการ y = 16.842%
    0       โครงการ z = 19.952%
    0 จะตัดสินใจเลือกโครงการ z เพราะมีค่า IRR มากกว่าค่าของทุน
      (10%) และมีค่า IRR สูงที่สุด




                  สรุปการประเมินโครงการลงทุน
ภายใต้ภาวการณ์ที่แน่นอน
• อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย (Average rate of return : ARR) เป็นการหาผลตอบแทน
   จากการลงทุนในทางบัญชี : ให้อัตราผลตอบแทนสูงสุดหรือมากกว่าก็ควรรับ
• งวดเวลาคืนทุน (Payback period: PP) ระยะเวลาที่กระแสเงินสดรับสุทธิจากโครงการ
   ชดเชยกระแสเงินสดจ่ายตอนเริ่มโครงการพอดี : มีงวดเวลาคืนทุนเร็วกว่าควรรับ
• มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present value : NPV) หรือค่าของทุน คือผลต่างระหว่าง
   มูลค่าของเงินสดที่จะได้รับในแต่ละปีตลอดอายุโครงการ กับมูลค่าที่จ่ายออกไปของ
   โครงการ ณ อัตราขั้นต่าของผลตอบแทนที่กาหนด : ค่ายิ่งมากโครงการยิ่งดี
• ดัชนีการทากาไร (Profitability Index : PI) คืออัตราส่วนระหว่างมูลค่าปัจจุบันของ
   กระแสเงินสดที่จะได้รับในแต่ละปีโครงการกับมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายของ
   โครงการ ณ อัตราค่าของทุน : ค่ายิ่งมากโครงการยิ่งดี
• อัตราผลตอบแทนลดค่า (Internal rate of return : IRR) IRR ต้องมากกว่าค่าของทุน
   และมีค่าสูงที่สุด




                                                                                        17
21/07/54




สรุปการจัดอันดับโครงการตามวิธประเมินต่างๆ
                             ี
โครงการ   ARR       PP           NPV      PI     IRR
   X      28.57% 3 ปี 6 เดือน 342 ลบ. 1.244 17.978%
   Y      28.57%          4 ปี 307.7 ลบ. 1.219 16.842%
   Z      28.57%       3 ปี 3 359.6 ลบ. 1.257 19.952%

โครงการ   ARR       PP        NPV       PI      IRR
   X       1         2         2        2        2
   Y       1         3         3        3        3
   Z       1         1         1        1        1




                                                              18

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
tewin2553
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียว
purithem
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
Wan Ngamwongwan
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราชตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
Nattakorn Sunkdon
 
บทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptx
บทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptxบทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptx
บทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptx
ssuser7ea064
 
Value chain27 09-2556
Value chain27 09-2556Value chain27 09-2556
Value chain27 09-2556
Ni Nhong Maleevalaya
 

Mais procurados (20)

การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
 
แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1แรงดันในของเหลว1
แรงดันในของเหลว1
 
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
 
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียว
 
03 ma
03 ma03 ma
03 ma
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราชตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
 
บทที่ 7 aw
บทที่ 7 awบทที่ 7 aw
บทที่ 7 aw
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
บทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptx
บทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptxบทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptx
บทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptx
 
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
6 ทฤษฎีจลน์และการแพร่ของแก๊ส
 
Brand equity 2
Brand equity 2Brand equity 2
Brand equity 2
 
09 pricing decision
09 pricing decision09 pricing decision
09 pricing decision
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
Value chain27 09-2556
Value chain27 09-2556Value chain27 09-2556
Value chain27 09-2556
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 

Destaque

User Experience Flight Check - WordCamp LA
User Experience Flight Check - WordCamp LAUser Experience Flight Check - WordCamp LA
User Experience Flight Check - WordCamp LA
jharr
 
Peter wood – the ethical hacker
Peter wood – the ethical hackerPeter wood – the ethical hacker
Peter wood – the ethical hacker
responsedatacomms
 
Ixia anue maximum roi from your existing toolsets
Ixia anue   maximum roi from your existing toolsetsIxia anue   maximum roi from your existing toolsets
Ixia anue maximum roi from your existing toolsets
responsedatacomms
 
Ixia anue maximum roi from your existing toolsets
Ixia anue   maximum roi from your existing toolsetsIxia anue   maximum roi from your existing toolsets
Ixia anue maximum roi from your existing toolsets
responsedatacomms
 

Destaque (20)

การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
 
Capital Investment Analysis
Capital Investment AnalysisCapital Investment Analysis
Capital Investment Analysis
 
User Experience Flight Check - WordCamp LA
User Experience Flight Check - WordCamp LAUser Experience Flight Check - WordCamp LA
User Experience Flight Check - WordCamp LA
 
Dispatches from the Frontline: Using Pro-Poor Foresight to Influence Decision...
Dispatches from the Frontline: Using Pro-Poor Foresight to Influence Decision...Dispatches from the Frontline: Using Pro-Poor Foresight to Influence Decision...
Dispatches from the Frontline: Using Pro-Poor Foresight to Influence Decision...
 
Integracion en-la-organización
Integracion en-la-organizaciónIntegracion en-la-organización
Integracion en-la-organización
 
Do you hunger for games? Gamification in Information Literacy Instruction
Do you hunger for games? Gamification in Information Literacy InstructionDo you hunger for games? Gamification in Information Literacy Instruction
Do you hunger for games? Gamification in Information Literacy Instruction
 
Peter wood – the ethical hacker
Peter wood – the ethical hackerPeter wood – the ethical hacker
Peter wood – the ethical hacker
 
Ixia anue maximum roi from your existing toolsets
Ixia anue   maximum roi from your existing toolsetsIxia anue   maximum roi from your existing toolsets
Ixia anue maximum roi from your existing toolsets
 
Zaragoza turismo 196
Zaragoza turismo 196Zaragoza turismo 196
Zaragoza turismo 196
 
How to Buy a Car for $1,000 - Gnomedex 2008
How to Buy a Car for $1,000 - Gnomedex 2008How to Buy a Car for $1,000 - Gnomedex 2008
How to Buy a Car for $1,000 - Gnomedex 2008
 
Integraciòn en la organizaciòn
Integraciòn en la organizaciònIntegraciòn en la organizaciòn
Integraciòn en la organizaciòn
 
ทุน 2557
ทุน 2557ทุน 2557
ทุน 2557
 
05a fede mma forum colombia
05a fede mma forum colombia05a fede mma forum colombia
05a fede mma forum colombia
 
Ixia anue maximum roi from your existing toolsets
Ixia anue   maximum roi from your existing toolsetsIxia anue   maximum roi from your existing toolsets
Ixia anue maximum roi from your existing toolsets
 
Integracion en la organizacion
Integracion en la organizacionIntegracion en la organizacion
Integracion en la organizacion
 
Congreso 2011-2015
Congreso 2011-2015Congreso 2011-2015
Congreso 2011-2015
 
100万ダウンロードを達成するには(16班)
100万ダウンロードを達成するには(16班)100万ダウンロードを達成するには(16班)
100万ダウンロードを達成するには(16班)
 
"Innovative Problem Solving: Getting Unstuck In Your Thinking"
"Innovative Problem Solving: Getting Unstuck In Your Thinking""Innovative Problem Solving: Getting Unstuck In Your Thinking"
"Innovative Problem Solving: Getting Unstuck In Your Thinking"
 
Integración en-la-organización
Integración en-la-organizaciónIntegración en-la-organización
Integración en-la-organización
 

Mais de MissAey Chantarungsri

การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
MissAey Chantarungsri
 
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
MissAey Chantarungsri
 
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
MissAey Chantarungsri
 
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
MissAey Chantarungsri
 
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
MissAey Chantarungsri
 
สินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลังสินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลัง
MissAey Chantarungsri
 
ค่าเงินและดอกเบี้ย
ค่าเงินและดอกเบี้ยค่าเงินและดอกเบี้ย
ค่าเงินและดอกเบี้ย
MissAey Chantarungsri
 

Mais de MissAey Chantarungsri (10)

การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
 
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการอ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
อ้างอิง การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
 
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Paper malay19รวม
Paper malay19รวมPaper malay19รวม
Paper malay19รวม
 
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
 
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
การตัดสินใจลงทุน (ขาวดำ)
 
สินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลังสินค้าคงคลัง
สินค้าคงคลัง
 
ค่าเงินและดอกเบี้ย
ค่าเงินและดอกเบี้ยค่าเงินและดอกเบี้ย
ค่าเงินและดอกเบี้ย
 
Time value of money tables
Time value of money tablesTime value of money tables
Time value of money tables
 

การตัดสินใจลงทุน ฉบับสี

  • 1. 21/07/54 0 เมื่อเราทราบแล้วว่า เงินนั้นมีมูลค่าตาม เวลา ดังนั้นในธุรกิจการลงทุนโครงการ ใหม่ หรือโครงการระยะยาวที่ต้องใช้เงิน ลงทุนจานวนมาก จะต้องมีการประเมิน ค่าของโครงการด้วยการคานึงถึงค่าของ เงินตามเวลา 1
  • 2. 21/07/54 การตัดสินใจเลือกโครงการลงทุน 0ลักษณะของโครงการลงทุนตามความสัมพันธ์ 0โครงการอิสระ (Independent Projects) 0 โครงการเป็นอิสระต่อกัน ถ้าปฏิเสธโครงการใดจะไม่มีผลต่อการ ตัดสินใจอีกโครงการหนึ่ง (เช่น โครงการอบรม กับ ซื้อเครื่องจักรใหม่) 0โครงการลงทุนที่ขึ้นต่อกัน (Contingent Projects) 0 โครงการหนึ่งขึ้นกับอีกโครงการหนึ่ง รับโครงการหนึ่งแล้วต้องรับ โครงการหนึ่งด้วย (เช่น ขยายโรงงาน กับ การซื้อเครื่องจักรใหม่) 0โครงการทดแทนกัน (Mutually Exclusive) 0 เลือกโครงการใดแล้ว ต้องยกเลิกอีกโครงการ (เช่น การขยายการผลิต ของสินค้า ก และ ข. มีกลุ่มลูกค้าเดียว กัน ถ้าเลือกต้องเลือกอันเดียว) 3 ขั้นตอนการตัดสินใจลงทุน 1. กาหนดเป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการลงทุน 2. รวบรวมโครงการลงทุน 3. สารวจวิจัยโอกาสการลงทุน 4. วิเคราะห์กระแสเงินสด 5. ประเมินค่าโครงการ 6. การตัดสินใจ 7. ติดตามประเมินผลโครงการ 2
  • 3. 21/07/54 ตัวอย่าง โครงการและกระแสเงินเข้า โครงการ (ล้านบาท) ปี X Y Z เงินลงทุนเริ่มแรก - 1400 - 1400 - 1400 1 400 300 400 2 400 400 600 3 400 500 200 4 400 200 800 5 400 500 200 6 400 500 200 เงินลงทุนเริ่มแรก 1,400,000 บาท (หนึ่งพันสี่ร้อยล้านบาท) อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี การประเมินค่าโครงการ 0 จะต้องคานึงถึงผลที่จะได้รับซึ่งจะต้องทาให้ มูลค่าธุรกิจสูงที่สุด โดยพิจารณาถึงหลัก 2 ประการ คือ 1. โครงการใดจะเป็นโครงการที่จะเลือกดาเนินการ 2. โครงการที่จะเลือกดาเนินการนั้น มีจานวนมาก น้อยเพียงใด 3
  • 4. 21/07/54 เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินค่าของโครงการ 0 อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย (Average Rate of Return หรือ ARR) 0 ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period หรือ PP) 0 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value หรือ NPV) 0 ดัชนีการทากาไร (Profitability Index หรือ PI) 0 อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (Internal Rate of Return หรือ IRR) อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย (Average Rate of Return หรือ ARR) 0 เป็นการคานวณหาอัตราผลตอบแทนการลงทุน โดยมีหน่วยเป็นร้อยละ เป็นวิธีการนากาไรสุทธิหลังหักภาษีเฉลี่ยตลอดอายุโครงการเปรียบเทียบ กับเงินลงทุนสุทธิ ดังสูตรการคานวณต่อไปนี้ 1. โครงการที่จะตัดสินใจลงทุน 0 กระแสเงินสดเข้าเท่าๆ กันทุกปี นั้น จะต้องให้อัตรา ผลตอบแทนที่มากกว่าหรือ ARR = กาไรสุลงทุฉลี่ยต่อปี × ������������������ ทธิเ เงิน นสุทธิ เท่ากับอัตราผลตอบแทนที่ ต้องการ 0 กระแสเงินสดสุทธิที่ได้รับนั้นไม่เท่ากันทุกปี 2. จะเลือกโครงการที่ให้อัตรา 0หากาไรสุทธิต่อปีก่อน ผลตอบแทนถัวเฉลี่ยสูงที่สุด ผลกาไรสุทธิตลอดโครงการ 3. ธุรกิจจะต้องกาหนดอัตรา กาไรสุทธิเฉลี่ยต่อปี = อายุโครงการ ผลตอบแทนที่ต้องการ 0 เงินลงทุนสุทธิ = เงินลงทุนเริ่มแรก – มูลค่าซาก 4
  • 5. 21/07/54 จากตารางตัวอย่าง จงคานวณหา ARR โครงการ X Y และ Z และจะเลือกโครงการใด โดยต้องการค่าตอบแทนมากกว่า 20% 0 โครงการ X กระแสเงินสดเข้าเท่าๆ กันทุกปี X - 1400 ARR = กาไรสุลงทุฉลี่ยต่อปี × ������������������ ทธิเ เงิน นสุทธิ 400 400 400 ������������������ 400 0 ARR = 400 ������������������������ 400 0 ARR = 28.57 โครงการ Y 0 กระแสเงินสดสุทธิที่ได้รับนั้นไม่เท่ากันทุกปี ผลกาไรสุทธิตลอดโครงการ กาไรสุทธิเฉลี่ยต่อปี = อายุโครงการ ������������������+������������������+������������������+������������������+������������������+������������������ 0 กาไรสุทธิเฉลี่ยต่อปี = ������ Y ������������������������ 0 กาไรสุทธิเฉลี่ยต่อปี = = 400 - 1400 ������ 0 หา ARR 300 400 ARR = กาไรสุลงทุฉลี่ยต่อปี × ������������������ ทธิเ เงิน นสุทธิ 500 200 ������������������ 0 ARR = × ������������������ 500 ������������������������ 500 0 ARR = 28.57 5
  • 6. 21/07/54 จงคานวณหา ARR โครงการ Z 3 นาที ARR = กาไรสุลงทุฉลี่ยต่อปี × ������������������ ทธิเ Z เงิน นสุทธิ - 1400 400 ผลกาไรสุทธิตลอดโครงการ 600 กาไรสุทธิเฉลี่ยต่อปี = อายุโครงการ 200 800 ARR = 28.57% 200 200 การตัดสินใจเลือกโครงการ อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย ARR 0 โครงการ X = 28.57% 0 โครงการ Y = 28.57% 0 โครงการ Z = 28.57% 0 ทั้ง 3 โครงการมีอัตราผลตอบแทนสูงกว่าผลตอบแทนที่ ต้องการ ทุกโครงการจึงสามารถตัดสินใจลงทุนได้ทุก โครงการ 6
  • 7. 21/07/54 ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period หรือ PP) 0 ระยะเวลาคืนทุน คือ ระยะเวลาที่กระแสเงินสดรับสุทธิที่ได้รับจากโครงการ เท่ากับเงินลงทุนเริ่มแรก ในการดาเนินโครงการ จะต้องเป็นโครงการที่มี ระยะเวลาคืนทุนสั้นกว่าอายุโครงการ นั่นคือโครงการมีกาไรและหากมีหลาย โครงการจะเลือกโครงการที่มีระยะเวลาคืนทุนที่สั้นที่สุด 0 กรณีกระแสเงินสดรับสุทธิที่ได้รับนั้นเท่ากันทุกปี 0 สูตร เงินลงทุนเริ่มแรก ระยะเวลาคืนทุน = เงินสดรับสุทธิต่อปี 0 กรณีที่กระแสเงินสดสุทธิที่ได้รับนั้นไม่เท่ากันทุกปี 0 คานวณโดยการหากระแสเงินสดรับสุทธิสะสมให้เท่ากับเงินลงทุนเริ่มแรกโดย ต้องอาศัยการเทียบบัญญัติไตรยางศ์ (เดี๋ยวค่อยดู ต.ย. นะคะ) จากตารางตัวอย่าง จงคานวณระยะคืนทุน (PP) ของโครงการ X, Y, Z 0 โครงการ X 0 พิจารณากระแสเงินสดเข้าแต่ละปี 0 เข้าสูตร X ระยะเวลาคืนทุน = เงินลงทุนเริ่มแรก - 1400 เงินสดรับสุทธิต่อปี 400 0 เงินลงทุนเริ่มแรก = ? 400 0 เงินสุดรับสุทธิต่อปี = ? 400 ������������������������ 400 0 ������������ = 400 ������������������ 400 0 ������������ = ������. ������ ปี หรือ 3 ปี 6 เดือน 7
  • 8. 21/07/54 ระยะคืนทุน (PP) ของโครงการ Y 0 โครงการ Y กระแสเงินสดรับสุทธิในแต่ละปีไม่เท่ากัน 0 คานวณโดยหากระแสเงินสดรับสะสม ปี กระแสเงินสดรับสุทธิ กระแสเงินสดรับสุทธิสะสม 1 300 300 กระแสเงินสดรับสุทธิ 2 400 700 สะสมในปี 4 จะ 3 500 1,200 เท่ากับ 1,400 ซึ่ง 4 200 1,400 เท่ากับเงินลงทุน เริ่มแรกพอดี ดังนั้น 5 500 1,900 ระยะเวลาคืนทุนจะ 6 500 2,400 เป็นปีที่ 4 15 ระยะคืนทุน (PP) ของโครงการ Z 0 โครงการ Z กระแสเงินสดรับสุทธิในแต่ละปีไม่เท่ากัน 0 คานวณโดยหากระเงินสดรับสะสม ปี กระแสเงินสดรับสุทธิ กระแสเงินสดรับสุทธิสะสม 1 400 400 กระแสเงินสดรับสุทธิ 2 600 1,000 สะสมที่ 1400 ที่ 3 200 1,200 ลงทุนไปจะอยู่ 4 800 2,000 ระหว่างปี 3 และ4 ดังนั้นระยะเวลาคืน 5 200 2,200 ทุนจะอยู่ระหว่าง 6 200 2,400 ปี 3-4 8
  • 9. 21/07/54 ระยะคืนทุน (PP) ของโครงการ Z 0 จะเห็นได้ว่าระยะเวลาคืนทุน คือ กระแสเงินสดรับ 1,400 จะอยู่ระหว่างปีที่ 3 และ 4 0 กระแสเงินสดรับสุทธิ 800 ใช้เวลา = 12 เดือน 0 กระแสเงินสดรับสุทธิ 200 ใช้เวลา = 3 เดือน 0 ระยะเวลาคืนทุนของโครงการ Z เป็น 3 ปี 3 เดือน ปี กระแสเงินสดรับ กระแสเงินสดรับสุทธิ เราต้องการหาค่าปีที่กระแส สุทธิ สะสม เงินสด = 1400 ซึ่งจะ 1 400 400 มากกว่า 1200 อยู่ 200 2 600 1,000 3 200 1,200 และระหว่างปีที่ 3-4 กระแส 4 800 2,000 เงินสด = 800 5 200 2,200 (2000-1200) 6 200 2,400 การตัดสินใจเลือกโครงการ PP 0 โครงการ X = 3 ปี 6 เดือน 0 โครงการ Y = 4 ปี 0 โครงการ Z = 3 ปี 3 เดือน 0 ทั้ง 3 โครงการมีระยะเวลาคืนทุนที่ต่างกัน การตัดสินใจจะเลือก โครงการที่มีระยะเวลาคืนทุนสั้น ที่สุด คือ โครงการ Z ซึ่งมี ระยะเวลาคืนทุน 3 ปี 3 เดือน แต่ถ้าพิจารณาถึงผลกาไรแล้วทั้ง 3 โครงการมีกาไรทั้งสิ้นและสามารถลงทุนได้ทั้ง 3 โครงการ 9
  • 10. 21/07/54 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV 0มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present value : NPV) หรือค่า ของทุน คือผลต่างระหว่างมูลค่าของเงินสดที่จะได้รับใน แต่ละปีตลอดอายุโครงการ กับมูลค่าที่จ่ายออกไปของ โครงการ ณ อัตราขั้นต่าของผลตอบแทนที่กาหนด การ ตัดสินใจ 0โครงการที่จะตัดสินใจลงทุนนั้นจะเป็นโครงการที่มีค่า NPV เป็นบวก ซึ่งหมายถึง โครงการที่มีกาไรและหากมี หลายโครงการจะเลือกโครงการที่มีค่า NPV เป็นบวก มากที่สุด มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV) หาค่า PV ของโครงการ ก่อน 0 สูตรในการคานวณ มูลค่าปัจจุบัน(NPV) = มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิ–เงินลงทุนเริ่มแรก 0 แบ่งออกได้เป็น 2 กรณีคือ NPV = PV– เงินลงทุนเริ่มแรก 0 กระแสเงินสดเข้าเท่าๆ กันทุกปี Pv = ผลรวมค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิ ณ ปีที่ n PV = a(PVIFA) A = กระแสเงินสดรับสุทธิในแต่ละปี ซึ่งเป็นงวด ๆ ละเท่ากัน PVIFA = ค่าปัจจัยดอกเบี้ยของมูลค่าปัจจุบันของเงินงวด 0 กรณีกระแสเงินสดรับสุทธิแต่ละปีไม่เท่ากัน PV= FV (PVIF i , n) PV = ค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิต่อปี ) FV = กระแสเงินสดรับสุทธิในแต่ละปี PVIF = ปัจจัยดอกเบี้ยของมูลค่าปัจจุบัน 20 10
  • 11. 21/07/54 จากตารางตัวอย่าง จงคานวณหาค่า NPV ของ โครงการ x y z 0 โครงการ X 0 กระแสเงินสดรับสุทธิ ปีที่ 1 – 6 เท่ากันทุกปี ปีละ 400 (พันบาท) PV = a(PVIFA) PV = ผลรวมค่าปัจจุบันของ กระแสเงินสดรับสุทธิ ณ ปีที่ n a = 400 a = กระแสเงินสดรับสุทธิในแต่ละ PVIFA (n = 6, I = 10%) ปี ซึ่งเป็นงวด ๆ ละเท่ากัน PVIFA = 4.355 PVIFA = ค่าปัจจัยดอกเบี้ยของ PV = 400 x 4.355 มูลค่าปัจจุบันของเงินงวด = 1,742 NPV = PV– เงินลงทุนเริ่มแรก NPV = 1,742 - 1,400 = 342 21 คานวณหาค่า NPV ของ โครงการ Y กระแสเงินสดรับสุทธิ (FV) PVIF (i=10%, n=..) PV ปี (หน่วย : ล้านบาท) (1) (2) (1) x (2) 1 300 0.909 272.7 2 400 0.826 330.4 3 500 0.751 375.5 4 200 0.683 136.6 5 500 0.621 310.5 6 500 0.564 282 PV= FV (PVIF i , n) รวม (PV) 1,707.7 เงินลงทุนเริ่มแรก 1,400 NPV = PV – เงินลงทุนเริ่มแรก NPV 307.7 22 11
  • 12. 21/07/54 คานวณหาค่า NPV ของ โครงการ Z กระแสเงินสดรับสุทธิ (FV) ปี PVIF(i=10%) PV (หน่วย : ล้านบาท) 1 400 0.909 330.4 2 600 0.826 495.6 3 200 0.751 150.2 4 800 0.683 546.4 5 200 0.621 124.2 6 200 0.564 112.8 PV= FV (PVIF i , n) รวม (PV) 1,759.6 เงินลงทุนเริ่มแรก 1,400 NPV = PV – เงินลงทุนเริ่มแรก NPV 359.6 การตัดสินใจเลือกโครงการ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) 0 โครงการ X = 342 ล้านบาท 0 โครงการ Y = 307.7 ล้านบาท 0 โครงการ Z = 359.6 ล้านบาท 0 โครงการ X, Y และ Z ให้ค่า NPV เป็นบวก แต่ โครงการ Z ให้ค่า NPV เป็นบวกมากที่สุดจึงตัดสินใจ ลงทุนในโครงการ Z 12
  • 13. 21/07/54 ดัชนีการทากาไร (Profitability Index หรือ PI) 0 คือ อัตราส่วนระหว่างมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิกับ เงินลงทุนเริ่มแรก 0 การตัดสินใจจะเลือกโครงการที่มี PI ที่ให้ค่าสูงที่สุด ������������ = มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสุดรับสุทธิ (������������) เงินลงทุนเริ่มแรก 0 PI โครงการ x = 1,742/1400 = 1.244 ค่า PV เราได้หาแล้วข้อ 0 PI โครงการ Y = 1,707.7/1400 = 1.219 ก่อนหน้านี้ 0 PI โครงการ Z = 1,759.6/1400 = 1.257 0 ตัดสินใจเลือกโครงการ Z 25 อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (Internal Rate of Return: IRR) 0 คือ อัตราผลตอบแทนลดค่าที่ทาให้มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่ คาดว่าจะต้องจ่ายเริ่มแรกโครงการเท่ากับมูลค่าปัจจุบันของกระแส เงินสดที่คาดว่าจะได้รับตลอดอายุโครงการ 0 การตัดสินใจ 0 โดยปกติเมื่อคานวณค่า IRR มีค่ามากกว่าค่าของทุนก็จะยอมรับ โครงการนั้น ถ้าโครงการมีหลายโครงการ จะตัดสินใจเลือกโครงการที่ ค่า IRR มีค่ามากกว่าค่าของทุน และมีค่า IRR สูงที่สุด 0จงคานวณหา PI โครงการ Y Z และตัดสินใจเลือกโครงการ 0 การคานวณแบ่งเป็น 2 แบบ 0 กรณีที่กระแสเงินสดรับเท่ากันทุกปี 0 กรณีที่กระแสเงินสดรับแต่ละปีไม่เท่ากัน 13
  • 14. 21/07/54 อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง (Internal Rate of Return หรือ IRR) 0 วิธีการคานวณ 0 ในกรณีที่กระแสเงินสดรับเท่ากันทุกปี 0 ขั้นที่ 1 หาปัจจัยดอกเบี้ยโดยประมาณเพื่อนาไปเปิด ตารางมูลค่าปัจจุบันของปัจจัยดอกเบี้ย โดยใช้สูตรต่อไปนี้ ปัจจัยดอกเบี้ยโดยประมาณ = เงินลงทุนเริ่มแรก กระแสเงินสดรับสุทธิรายปี (������������ปี) 0 โครงการ x ปัจจัยดอกเบี้ยโดยประมาณ = 1400/400 = 3.5 0 ขั้นที่ 2 เปิดตาราง PVIFA ที่ n = 6 (โครงการ 6 ปี) ค่า 3.5 อยู่ระหว่าง ปัจจัยดอกเบี้ยระหว่าง 17% กับ 18% คือ (17% = 3.589 18% = 3.498) 27 IRR โครงการ x (ต่อ) 0ขั้นที่ 3 เทียบบัญญัติไตรยางศ์คานวณหาอัตรา ผลตอบแทนแท้จริง 0ปัจจัยดอกเบี้ยต่างกัน (3.589 – 3.498 = 0.091) อัตราดอกเบี้ยต่างกัน 1% (17% ต่างกับ 18% ) 0ปัจจัยดอกเบี้ยต่างกัน (3.589 – 3.5 = 0.089) อัตราดอกเบี้ยต่างกัน 0.978% 0ดังนั้น ค่าปัจจัยดอกเบี้ยที่ 3.5 อัตราผลตอบแทนแท้จริง 3.5 จะ = 17% + 0.978% = 17.978% 14
  • 15. 21/07/54 IRR โครงการ Y 0 กรณีที่กระแสเงินสดรับแต่ละปีไม่เท่ากัน 0 ขั้นที่ 1 สุ่มหาอัตราผลตอบแทนที่ทาให้ค่าปัจจุบันของผลรวมของกระแสเงินสดมีค่า ใกล้เงินลงทุนเริ่มแรก สุ่ม 16% สุ่ม 17% กระแสเงินสด PVIF PVIF ปี PV ปี PV ปี รับสุทธิ (ลบ.) (i=16%) (i=17%) 1 300 0.862 258.6 0.855 256.5 2 400 0.743 297.2 0.731 292.4 3 500 0.681 340.5 0.624 312 4 200 0.552 110.4 0.534 106.8 5 500 0.476 238 0.456 228 6 500 0.410 205 0.390 195 PV n=6 1,449.7 1390.7 29 IRR โครงการ Y 0ขั้นที่ 2 การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ เพื่อหาอัตรา ผลตอบแทนแท้จริงของโครงการ Y ดังนี้ 0มูลค่าปัจจุบันสุทธิต่างกัน (1449.7 – 1390.7 = 59) i ต่างกัน 1 % 0มูลค่าปัจจุบันสุทธิต่างกัน (1449.7 – 1,400 = 49.7) i ต่างกัน = (1x49.7)/59 = 0.842 0ดังนั้น IRR ของโครงการ Y = 16% + 0.842 0 = 16.842 % 30 15
  • 16. 21/07/54 IRR โครงการ z สุ่ม 19% สุ่ม 20% กระแสเงินสด PVIF มูลค่าปัจจุบัน PVIF ปี มูลค่าปัจจุบัน รับสุทธิ (ลบ) (i=19%) (i=20%) 1 400 0.840 336 0.833 333.2 2 600 0.706 423.6 0.694 416.4 3 200 0.593 118.6 0.579 115.8 4 800 0.499 399.2 0.482 385.6 5 200 0.419 83.8 0.402 80.4 6 200 0.352 70.4 0.335 67 1,431.6 1,398.4 IRR โครงการ z 0คานวณหาค่า IRR 0 มูลค่าปัจจุบันสุทธิต่างกัน (1431.6 – 1398.4 =33.2) i ต่างกัน 1 % 0 มูลค่าปัจจุบันสุทธิต่างกัน (1431.6 – 1400 =31.6) i ต่างกัน (1x31.6)/33.2 = 0.952 % 0 ดังนั้น IRR ของโครงการ Z = 19% + 0.952% = 19.952% 16
  • 17. 21/07/54 การตัดสินใจเลือกโครงการ IRR 0 โดยปกติเมื่อคานวณค่า IRR มีค่ามากกว่าค่าของทุนก็จะยอมรับ โครงการนั้น ถ้าโครงการมีหลายโครงการ จะตัดสินใจเลือกโครงการที่ ค่า IRR มีค่ามากกว่าค่าของทุน และมีค่า IRR สูงที่สุด 0 IRR โครงการ x = 17.978% 0 โครงการ y = 16.842% 0 โครงการ z = 19.952% 0 จะตัดสินใจเลือกโครงการ z เพราะมีค่า IRR มากกว่าค่าของทุน (10%) และมีค่า IRR สูงที่สุด สรุปการประเมินโครงการลงทุน ภายใต้ภาวการณ์ที่แน่นอน • อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย (Average rate of return : ARR) เป็นการหาผลตอบแทน จากการลงทุนในทางบัญชี : ให้อัตราผลตอบแทนสูงสุดหรือมากกว่าก็ควรรับ • งวดเวลาคืนทุน (Payback period: PP) ระยะเวลาที่กระแสเงินสดรับสุทธิจากโครงการ ชดเชยกระแสเงินสดจ่ายตอนเริ่มโครงการพอดี : มีงวดเวลาคืนทุนเร็วกว่าควรรับ • มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present value : NPV) หรือค่าของทุน คือผลต่างระหว่าง มูลค่าของเงินสดที่จะได้รับในแต่ละปีตลอดอายุโครงการ กับมูลค่าที่จ่ายออกไปของ โครงการ ณ อัตราขั้นต่าของผลตอบแทนที่กาหนด : ค่ายิ่งมากโครงการยิ่งดี • ดัชนีการทากาไร (Profitability Index : PI) คืออัตราส่วนระหว่างมูลค่าปัจจุบันของ กระแสเงินสดที่จะได้รับในแต่ละปีโครงการกับมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดจ่ายของ โครงการ ณ อัตราค่าของทุน : ค่ายิ่งมากโครงการยิ่งดี • อัตราผลตอบแทนลดค่า (Internal rate of return : IRR) IRR ต้องมากกว่าค่าของทุน และมีค่าสูงที่สุด 17
  • 18. 21/07/54 สรุปการจัดอันดับโครงการตามวิธประเมินต่างๆ ี โครงการ ARR PP NPV PI IRR X 28.57% 3 ปี 6 เดือน 342 ลบ. 1.244 17.978% Y 28.57% 4 ปี 307.7 ลบ. 1.219 16.842% Z 28.57% 3 ปี 3 359.6 ลบ. 1.257 19.952% โครงการ ARR PP NPV PI IRR X 1 2 2 2 2 Y 1 3 3 3 3 Z 1 1 1 1 1 18