SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 524
ชีวา
ณ เคหาสน์
ณ อาศรม
ณ อารมณ์
ณ อาลัย
เรียบเรียงโดย เมทนี แสงธรรม
Complied by: Martin Chan
编制者: 马丁 陈
25/02/2566
12.33 PM.
๗
เคหาสน์
คาว่า คฤหาสน์
แปลว่า บ้านเรือน ที่อยู่อาศัย
เป็นคาสนธิภาษาสันสกฤต
จากคาว่า คฤห+อาสน
ส่วนภาษาบาลีนั้น
จะใช้ เคห+อาสน = เคหาสน์ มี
ความหมายว่า บ้านเรือน
หรือที่อยู่อาศัย เช่นเดียวกัน
(บางคน เคยชินกับคาว่า เคหะ
ในคาว่า เคหสถาน
ที่แปลความหมายเช่นเดียวกัน
มากกว่า )
ซึ่งมีหลายคนมักใช้ตัวการันต์ผิด
เพราะคงเคยผ่านตากับคาว่า คฤหัสถ์
ที่แปลว่า ผู้ครองเรือน มาบ้าง
จนจาสับสน
คาว่า คฤหัสถ์ แปลว่า ผู้ครองเรือน
มีความหมายเช่นเดียวกับ ฆราวาส
ใช้เรียกบุคคลทั่วไป
ที่ไม่ได้ดารงเพศสมณะ หรือเป็นสงฆ์
*ข้อควรจา*
คฤหัสถ์ ใช้ ถ์
เพราะ"ถือ"ครองความเป็นเจ้าเรือน
คฤหาสน์ ใช้ น์
เพราะสนธิกับคาว่า อาสน ซึ่งเป็น
ที่"นั่ง"
https://www.facebook.com/Ruk.pasa/posts/414682928601424/
อาศรม
อาศรม ในศาสนาฮินดู
หมายถึง ระยะของชีวิต 4 ระยะ
ซึ่งมีระบุไว้ในเอกสารยุคโบราณและยุค
กลางของฮินดู
อาศรมทั้งสี่ระยะ
ได้แก่ พรหมจรรยะ (ผู้เรียน),
คฤหัสถะ (ผู้ครองเรือน),
วานปรัสถะ (ผู้ออกจาริก) และ
สันยาสะ (ผู้ละทิ้งทางโลก)
อาศรมสี่
เป็นหนทางหนึ่งของแนวคิด ธรรมะ
ในศาสนาฮินดู
และเป็นส่วนหนึ่งของประเด็นทางจริยศ
าสตร์ของปรัชญาอินเดีย
ที่ซึ่งถูกรวม
เข้ากับเป้ าหมายสี่ประการของชีวิตมนุษ
ย์
(ปุรุษสรรถะ) เพื่อการเติมเต็ม,
ความสุข และการบรรลุทางจิตวิญญาณ
แนวคิดอาศรมสี่
ยังมีอิทธิพล
ต่อการวางแผนดารงชีวิตของผู้คน
โดยเฉพาะในอินเดีย
http://bit.ly/3HCgc6K
อารมณ์
อารมณ์
ส่งผลกระทบทั้งด้านร่างกาย จิตใจ
และพฤติกรรมของตนเอง
รวมทั้งส่งผลต่อผู้อื่นด้วย
การจัดการกับอารมณ์
เป็นทักษะ ที่สามารถพัฒนาได้
ด้วย วิธีการและเทคนิคต่างๆ
เช่น การควบคุมอารมณ์ทางลบ
ให้มีการแสดงออกทางอารมณ์ที่เหมาะ
สม
ถือเป็นการพัฒนาตนเอง
ให้มีความสามารถทางอารมณ์
ที่มีความจาเป็นในการใช้ชีวิต
และส่งผลต่อความสาเร็จในชีวิตด้วย
เทคนิคที่จะช่วยในการฝึกมีดังนี้
1.
ทบทวนการแสดงออกทางอารมณ์ของตั
วเราเอง
2.เตรียมการในการแสดงอารมณ์
3. ฝึกสติ
4. ฝึกการผ่อนคลายตนเอง
5. ประเมินสถานการณ์และอารมณ์
อาลัย
คาว่า “อาลัย”
ถ้าได้ยินคาว่า “อาลัย”
หลายคน
คงคิดถึงความหมาย
ประมาณว่า ความห่วงใย, ความพัวพัน,
ความระลึกถึงด้วยความเสียดาย
แน่นอน
แต่คาว่า “อาลัย”
ยังมีอีกความหมาย คือ ที่อยู่, ที่พัก
คาว่า “อาลัย” ในความหมายนี้
จะใช้ประกอบกับคาอื่น
ด้วยการสมาสแบบสนธิ
คาว่า “หิมาลัย” มาจาก หิมะ + อาลัย
มีความหมายว่า “ที่อยู่แห่งหิมะ”
คาว่า “ชลาลัย” มาจาก ชล + อาลัย
มีความหมายว่า “ที่อยู่แห่งน้า”
คาว่า “วิทยาลัย” มาจาก วิทยา + อาลัย
มีความหมายว่า “ที่อยู่แห่งความรู้”
คาว่า “เทวาลัย” มาจาก เทวะ + อาลัย
มีความหมายว่า “ที่อยู่แห่งเทวดา”
คาว่า “สุราลัย” มาจาก สุร + อาลัย
มีความหมายว่า “ที่อยู่แห่งเทวดา”
คาว่า “ศิวาลัย” มาจาก ศิวะ + อาลัย
มีความหมายว่า “ที่อยู่แห่งพระศิวะ”
https://www.facebook.com/kumthai.th/photos/a.1502532273398314/2353947471590
119/?type=3
13 ตำแหน่งทิศทำงดำวโคจรทั้ง 9
ดวงประจำปีพ.ศ. 2566
30 เมืองในอดีตที่จมบำดำล กับ
เกำะที่กำลังจะจมน้ำทะเลในอนำคต
95 ตอนที่ 1: กำรไหลในธรรมชำติ
สารบัญ
128
กำรไหลทำงสังคมและเศรษฐศำสตร ์เชิงอุณหพลศำสตร ์
162
กำรไหลทำงสังคมกับกำรเปิดกำแพงเชิงเศรษฐกิจอำเซีย
น
203 จำงเชียนรำชทูตผู้บุกเบิกเส้นทำงสำยไหม
241 เส้นทำงสู่ออฟฟิศไร้พรมแดน
273 อนำคตของกำรทำงำน
364 หยิน-หยำงกับอำหำรกำรกิน
405 ควำมรับรู้ที่ลดลง ตัวตนที่แปลกแยกไป
เมื่อเรำใช ้ชีวิตอย่ำงไร ้ฤดูกำล
421 ตอนที่ 29
ในหนึ่งปีไม่ได้มีแค่ 4 ฤดู
กำรแบ่ง 24 ช่วงของฤดูกำลของญี่ปุ่น คืออะไร ?
439 ไขคำถำมที่หลำยคนสงสัย
หลังดู Spider-Man: No Way Home
ตาแหน่งทิศทางดาวโคจรทั้ง
9 ดวง
ประจาปีพ.ศ. 2566
http://bit.ly/3WMwCOd
ตาแหน่งทิศที่เป็นมงคลและอัปมงคล
แบ่งออกได้ดังนี้
ทิศมหามงคล : ทิศใต้ (8)
ทิศมงคล : ทิศเหนือ(9)
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ (1)
ทิศปานกลาง : จุดศูนย์กลาง (4)
ทิศตะวันตก (6)
ทิศอัปมงคล : ทิศตะวันออก(2)
ทิศตะวันออกฉียงใต้(3)
ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (5)
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ(7)
3 8 1
2 4 6
7 9 5
วิธีใช้เข็มทิศวัดทิศทาง
1.ยืนถือเข็มทิศอยู่ ณ จุดกึ่งกลางห้อง
หรือกึ่งกลางบ้าน (ขึ้นอยู่กับจุด
ประสงค์ของท่านว่าต้องการทราบตาแห
น่งทิศที่ตั้งของวัตถุหรือ
เฟอร์นิเจอร์ชิ้นใด)
2.โดยปกติแล้ว
ปลายลูกศรในเข็มทิศ
จะชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ
ตามแรงดึงดูดของขั้วแม่เหล็กโลกทางทิ
ศเหนือ
ดังนั้นท่านจึงต้องหมุน เข็มทิศ
โดยพยายามจัดให้ปลายลูกศร
ชี้ไปที่ตัว N (NORTH - ทิศเหนือ)
หรือตัวเลข 360 องศา บนตัวเข็มทิศ
3.เมื่อเข็มทิศนิ่งสนิทแล้ว
(โดยมีลูกศรชี้ไปทางทิศเหนือ)
ให้อ่านในตัว เข็มทิศ
ดูว่า วัตถุหรือเฟอร์นิเจอร์
ที่ท่านต้องการวัดนั้น ตกอยู่ในมุม
ของทิศใด
โดยอาจคะเนดูคร่าวๆ ด้วยตาเปล่า
หรือหากต้องการ องศาที่ละเอียดลึกซึ้ง
ท่านสามารถเทียบได้จากข้อมูลดังนี้
N NORTH ทิศเหนือ
มีองศาอยู่ระหว่าง 337.5 - 22.49
NE NORTH EAST ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
มีองศาอยู่ระหว่าง 22.5 - 67.49
E EAST ทิศตะวันออก
มีองศาอยู่ระหว่าง 67.5 - 112.49
SE SOUTH EAST ทิศตะวันออกเฉียงใต้
มีองศาอยู่ระหว่าง 112.5 - 157.49
S SOUTH ทิศใต้
มีองศาอยู่ระหว่าง 157.5 - 202.49
SW SOUTH WEST
ทิศตะวันตกเฉียงใต ้ มีองศาอยู่ระหว่าง 202.5 – 247.49
W WEST ทิศตะวันตก
มีองศาอยู่ระหว่าง 247.5 – 292.49
NW NORTH WEST
ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ มีองศาอยู่ระหว่าง 292.5 – 337.49
4.ในขณะที่ท่านใช้เข็มทิศอยู่
มีข้อควรระวังคือ อย่าอยู่ใกล้กับสิ่งของ
หรือวัสดุที่เป็นโลหะ เช่น นาฬิกา
รั้วเหล็ก เครื่องใช้ไฟฟ้ าต่างๆ ที่มี
ส่วนประกอบของเหล็ก
เพราะจะทาให้การวัดองศาในเข็มทิศ
คลาดเคลื่อนได้
ในภาควิชาฮวงจุ้ยชั้นสูง
คือ ทิศทางประจาปี
สัมพันธ์สอดคล้อง
กับตาแหน่งของดวงดาว
หรือ “ฮวงจุ้ยหลุ่งหลิ่วจ้วง”
คือ
การโคจรของดวงดาวหมุนเวียนสลับสับ
เปลี่ยนกันทาหน้าที่ส่งผลดีและร้ายต่อม
นุษย์
ประจาอยู่ในแปดทิศหลักใหญ่
เรียกว่า “หลิ่งนี้ฮวงจุ้ย”
หากท่านผู้อ่าน
สามารถทราบล่วงหน้า
ว่าตาแหน่งทิศทางใด
ที่เมื่อตั้งโต๊ะทางานหรือเตียงนอนแล้ว
จะบังเกิดความเป็นมงคลความเจริญรุ่งเ
รือง
ก็จะได้ขยับขยายเคลื่อนย้ายจุดต่างๆ
ในบ้าน
เพื่อเปิดรับโชคลาภโภคทรัพย์
ณ ตาแหน่งทิศทางนั้น
อย่างเต็มที่
แต่หากไม่สามารถขยับขยายได้
ก็จะได้หาสิ่งของอันเป็นสิริมงคล
เพื่อกระตุ้นโชคลาภ
และหลีกเลี่ยงเคราะห์ภัยต่างๆ ต่อไป
โดยกลุ่มดาวเหนือ
ที่โคจรเข้ามาส่งผลจะมีอยู่ 9 ดวง
เมื่อหมุนเวียนไปประจาหน้าที่ใน 8
ทิศใหญ่แล้ว
จะมีอีกหนึ่งดวง
ที่ประจาอยู่ ณ
จุดกึ่งกลางที่บ้านของท่านทุกหลัง
ในปีเถาะ 2566 นี้
ดาวบินที่โคจรเข้ามา
ณ
ตาแหน่งจุดศูนย์กลางของบ้านท่านทุกห
ลัง
คือ ดาวบิน “สี่เขียว” (ซี้เล็ก) “บุ่งเข็ก”
โคจรเข้ามาสถิตอยู่
และตามหลักวิชานี้ ดาวบินอื่นๆ
ก็จะสถิตหมุนเวียนตามทิศต่างๆ ดังนี้
3 8 1
2 4 6
7 9 5
ทิศตะวันตกเฉียงใต้
(ทิศมงคล)
SW SOUTH WEST
ทิศตะวันตกเฉียงใต ้ มีองศาอยู่ระหว่าง 202.5 – 247.49
ทิศตะวันตกเฉียงใต้ (ทิศมงคล)
สาหรับ ดาวบิน
ที่โคจรเข้าสู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้
ในปี พ.ศ.2566 นี้
คือ “ดาวอิ๊กแปะ”
(หนึ่งขาว)
หรือ “ดาวทัมลั้ง”
ซึ่งจัดเป็น
ดาวมงคลแห่งสติปัญญาและวิชาการ
ดวงหนึ่งซึ่
งจะส่งผลให้ในด้านหน้าที่การงาน
หรือธุรกิจการค้าที่กาลังดาเนินอยู่
ให้ก้าวหน้าพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้น
อานวยลาภผลตอบแทน
เป็นกอบเป็นกา
การเจรจาตกลงทาข้อสัญญาต่างๆ
ราบรื่นไปได้สวย
ลูกหลานประสบความสาเร็จทางการศึก
ษา
และยังส่งผลถึงการสอบแข่งขันในด้าน
ต่างๆ
ก็จะมีแนวโน้มที่ดี
โดยเฉพาะ
สาหรับท่านใด
ที่มีตาแหน่งของประตู,หน้าต่าง,ช่องลม
,
หัวเตียงนอน หรือโต๊ะทางาน
ที่ด้านหลังพิงทิศตะวันตกเฉียงใต้พอดี
(ด้านหน้าคือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ)
ก็ล้วนจะเจริญก้าวหน้ารุ่งเรืองดี
ฉะนั้น
สาหรับท่านใดที่นั่งทางาน
หรือนอน
ในตาแหน่งที่
ด้านหลังพิงทิศตะวันตกเฉียงใต้
เป็นประจา
และต้องการกระตุ้น
เสริมพลังอานาจของดาวมงคล
“หนึ่งขาว”
ให้ส่งผลชัดเจนยิ่งๆ ขึ้นแล้ว
ท่านควรจัดตั้ง
“มังกรครองมุกสุขสมประสงค์”
1 ชิ้นไปวางไว้บนโต๊ะทางาน
หรือโต๊ะเก็บเงินที่ร้านค้า
โดยจัดให้วัตถุมงคล
อยู่ใกล้กับทิศทางนั้นให้มากที่สุด
หากท่านไม่สามารถขยับขยาย
ย้ายเฟอร์นิเจอร์
ให้มีทิศหลังพิงเป็นทิศตะวันตกเฉียงใต้
ดังที่กล่าวข้างต้นได้
แต่ต้องการกระตุ้นพลังมงคล
ก็ให้ท่านจัดตั้ง
“มังกรครองมุกสุขสมประสงค์” นี้
นาไปวางไว้บนเฟอร์นิเจอร์ชิ้นใหญ่อื่น
ใดก็ได้
ในห้องหรือในบ้านที่มีด้านหลังพิงทิศต
ะวันตกเฉียงใต้แทน
เพื่อเพิ่มพูนกาลังแห่งดาวดีก็ได้เช่นกัน
เนื่องจาก
ดาวมงคลธาตุน้า “อิ๊กแปะ” ดวงนี้
โคจรเข้ามาสถิตอยู่ทางทิศตะวันตกเฉีย
งใต้
ซึ่งเป็นกาลังของธาตุดิน
จึงช่วยทวีความแข็งแกร่งพลังแห่งดาว
นี้
ให้ชัดเจนขึ้น
ซึ่งจะช่วยอานวยผลความก้าวหน้าเจริญ
รุ่งเรือง
ต่อหน้าที่การงานและธุรกิจการค้าของท่
าน
มากเป็นทวีคูณ
กิจการงานราบรื่นสมดังใจปรารถนา
สามารถสร้างผลกาไรเพิ่มพูน
ทั้งเสริมให้มีความสุขความร่มเย็นไปตล
อดทั้งปี
เมืองในอดีตที่จมบาดาล
กับ
เกาะที่กาลังจะจมน้าทะเล
ในอนาคต
https://mgronline.com/science/detail/9650000112347
เวลำใครเอ่ยถึง Atlantis
ทุกคนจะรู้ว่ำ มันคือเมืองที่ Plato
ปรำชญ์กรีกโบรำณ
ได้เขียนบรรยำยไว้
ในบทสนทนำ Timaeus กับ Critias
เมื่อ 300 ปีก่อนคริสตกำล
ว่ำ ปู่ของ Plato
ได้ควำมรู้เกี่ยวกับเมืองนี้
จำกเพื่อนชื่อ Solon
ซึ่งได้รับข้อมูลจำกนักบวชชำวอียิปต์
อีกทอดหนึ่ง
ว่ำ Atlantis
ตั้งอยู่เบื้องหน้ำของ Pillars of
Hercules
ซึ่งเป็นภูเขำสองลูกที่แยกกันอยู่บนฝั่งข
องช่องแคบ Gibrraltar
อันเป็นเส้นทำงเรือเข้ำ-ออกของทะเล
Mediterranean
ดังนั้น
ถ้ำพิจำรณำตำมคำบอกเล่ำนี้
Atlantis
จึงน่ำจะเป็นเกำะที่ตั้งอยู่กลำงมหำสมุทร
Atlantic ซึ่งในเวลำนั้น
คงไม่มีใครรู้จักมำก
เพรำะทุกคนมีควำมเชื่อว่ำ
เรือลำใดก็ตำม
ที่แล่นใบผ่ำนเข้ำไปในมหำสมุทรลึกลับ
นี้
จะถูกกระแสน้ำ
พัดพำไปจนร่วงตกขอบโลกอย่ำงแน่นอ
น
เมื่อไม่มีใครได้เห็น
หรือมีควำมรู้ในรำยละเอียดใดๆ
เกี่ยวกับเมือง Atlantis
และสภำพแวดล้อมเลย
ดังนั้น Atlantis
จึงเป็นเมืองในจินตนำกำรของทุกคน
ตลอดเวลำที่ผ่ำนมำ Plato เอง
ได้เคยบรรยำยไว้ว่ำบน Atlantis
มีป่ำไม้ เหมืองแร่
และบ่อน้ำร ้อนให้ชำวเมืองได้อำบน้ำใน
ฤดูหนำว
รวมถึงมีบ่อน้ำเย็นให้ทุกคนได้อำบในฤ
ดูร ้อนด้วย
ตัวเมือง
มีกำแพงล้อมรอบรูปวงแหวน 5 วง
และมีสะพำนเชื่อมระหว่ำงกำแพงทุกกำ
แพง
ชำวเมืองได้รับกำรศึกษำ
และมีวัฒนธรรมที่ดีงำม
ด้ำนพลเมืองชำย
ก็มีควำมสำมำรถในกำรเดินเรือ
และกำรต่อสู้ในสงครำมได้เป็นอย่ำงดี
แต่เมื่อเวลำผ่ำนไปนำน ๆ
ศีลธรรมและจรรยำบรรณของประชำกร
ได้เสื่อมถอย
ควำมขัดแย้งภำยใน
ได้ทำให้ระบบกำรปกครองล้มเหลว
จนในที่สุดเทพ Zeus
ได้ทรงบันดำลให้คลื่นยักษ์ในทะเล
พุ่งเข้ำท่วมทำลำยเมือง
จนเมืองได้จมหำยไป
และไม่มีใครได้เห็นนคร Atlantis
อีกเลย
แม้วันเวลำ
จะผ่ำนไปนำนร่วม 2,000 ปีแล้วก็ตำม
ผู้คนในยุคหลัง Plato
ก็ยังฝังจิตฝังใจเชื่อว่ำ Atlantis มีจริง
และวันหนึ่งในอนำคต
จะมีนักสำรวจ
ที่ได้พบซำกของเมืองจมอยู่ใต้ทะเล
อย่ำงแน่นอน
ควำมเชื่อเช่นนี้
ได้ทำให้นักโบรำณคดี
นักประวัติศำสตร ์
และนักผจญภัยทั้งหลำย
พยำยำมค้นหำเมืองใต้บำดำลเมืองนี้
เพื่อพิสูจน์ให้ทุกคนรู้ว่ำ Plato
เขียนเรื่องนี้จำกควำมเป็นจริง
และทุกคนหวังว่ำ
หลักฐำนที่พบจะเปิดเผยให้โลกรู้ว่ำ
เมืองนี้เคยมีสภำพเช่นไร
รวมถึงให้รู้สำเหตุ
ที่ทำให้เมืองต้องอันตรธำน
สำบสูญไปจำกโลกด้วย
ในควำมพยำยำม
ที่จะค้นหำ Atlantis นี้
นักผจญภัยทุกคน
ได้เริ่มต้นศึกษำ
หลักฐำนอ้ำงอิง
จำกบันทึกในประวัติศำสตร ์
จำกนั้น
ก็ได้ตั้งสมมติฐำนของตนเอง
เพิ่มเติม
ด้วยเหตุนี้
จึงมีหลำยคน
ที่เชื่อว่ำ Atlantis
อยู่บนเกำะ Spartel
ซึ่งเคยตั้งอยู่กลำงช่องแคบ Gibraltar
และเกำะได้จมหำยไปทะเล
เมื่อ 11,500 ปีก่อน
บ้ำงก็อ้ำงว่ำ
บริเวณทำงตอนใต้ของสเปน
ซึ่งอยู่ติดทะเล Mediterranean
เคยเป็นที่ตั้งของเมือง Atlantis
และบริเวณนี้
ได้ถูกคลื่นสึนำมิถล่ม
เมื่อ 650 ปีก่อนคริสตกำล
แต่กำรสำรวจทุกบริเวณในอดีต
ก็มิได้พบซำกปรักหักพังของเมือง
แต่อย่ำงใด
แม้ควำมพยำยำมค้นหำ Atlantis
ในสถำนที่ต่ำง ๆ ทั่วโลก จะไร ้ผล
แต่ควำมพยำยำมเหล่ำนี้
ก็มิได้สูญเปล่ำ
เพรำะบำงกำรสำรวจ
ได้ทำให้ทุกคนรู้ว่ำ
ในอดีต
โลกเคยมีเมืองหลำยเมือง
ที่ปัจจุบันกำลังจมอยู่ใต้บำดำล
ซึ่งเป็นเรื่องที่สังคมปัจจุบันไม่เคยรู้มำก่
อน
นอกจำกนี้
กำรวิเครำะห์วัตถุโบรำณ
ที่จมอยู่ใต้น้ำเป็นเวลำนำน
ได้ช่วยให้เรำได้รู้
และเข้ำใจอำรยธรรมโบรำณในอดีต
รวมถึงภัยธรรมชำติที่ได้ทำลำยเมืองเห
ล่ำนั้นด้วย
ซึ่งกำรศึกษำเรื่องเหล่ำนี้
ได้ช่วยให้เรำปัจจุบัน
มีทำงป้องกัน
มิให้ภัยหำยนะที่ร ้ำยแรงได้เกิดขึ้นอีก
โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง
ได้มีกำรพบเมืองที่จมอยู่ในทะเล
หลำยเมือง
เช่น Herakleion กับ Canopus
ในอียิปต์, เมือง Pavlopetri ในกรีซ,
เมือง Port Royal ในจำไมกำ
และ เมือง Atlit-Yam ในอิสรำเอล
เป็นต้น
สำหรับเมือง Herakleion
กับ Canopus นั้น
นักประวัติศำสตร ์กรีก
ชื่อ Herodotus, Strabo
และ Diodorus
ได้เคยบันทึกไว้ว่ำ
เมืองทั้งสอง
เคยเป็นสถำนที่ที่เจ้ำชำย Paris
ได้ทรงลักพำตัวพระนำง Helen
มำซ่อนพระองค์ไว้
ซึ่งเป็นเหตุกำรณ์
ที่ทำให้เกิดสงครำมกรุงทรอย
เพรำะว่ำเมืองทั้งสอง
ตั้งอยู่บนดินดอนสำมเหลี่ยมปำกแม่น้ำไ
นล์
ดังนั้นจึงอยู่บนตำแหน่งที่เหมำะสม
สำหรับกำรนำวีพำณิชย์
เพรำะเรือสินค้ำต่ำงชำติ
ทุกลำจะต้องผ่ำนเข้ำ-ออกอียิปต์
เมืองจึงมีรำยได้จำกกำรเก็บภำษีมำก
จนสำมำรถสร ้ำงศำสนสถำนที่สำคัญแล
ะสวยงำม
ให้นักจำรึกแสวงบุญ
ได้เดินทำงมำทำบุญทุกปี
เป็นจำนวนนับหมื่นคน
ครั้นเมื่อ Frank Goddio
(1947-ปัจจุบัน)
ซึ่งเป็นผู้อำนวยกำร
ด้ำนโบรำณคดีใต้น้ำ
แห่ง European Institute for
Underwater Archaeology
ได้อ่ำนบันทึกของนักประวัติศำสตร ์กรีก
ซึ่งได้กล่ำวถึงเมืองทั้งสอง
เขำก็ได้รับแรงดลใจ
ให้ออกค้นหำเมืองที่โลกลืมนี้ทันที
Goddio
เป็นนักสำรวจคนสำคัญ
คนหนึ่งของโลก
ที่สนใจวิทยำกำรด้ำนประวัติศำสตร ์มำก
และได้เคยประสบควำมสำเร็จ
ในกำรพบซำกเรือสินค้ำ
หลำยลำที่จมลงในทะเล
ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 11-16
และได้พบซำกพระรำชวังส่วนหนึ่ง
ของฟำโรห์Ptolemy ที่ 3
ซึ่งจมอยู่ในอ่ำว
นอกเมือง Alexandria ของอียิปต์
อีกทั้งยังได้พบซำกเรือธง
ชื่อ Orient ของจักรพรรดิ Napoleon
Bonaparte (1769-1821)
ที่ได้จมลงในอ่ำวนอกเมือง Alexandria
เมื่อปี 1798 ด้วย
เพรำะกรำบเรือ
ถูกกระสุนปืนใหญ่เจำะทะลุ
ขณะฝรั่งเศสทำสงครำมทำงเรือ
กับกองทัพอังกฤษ
ภำยใต้
กำรนำของนำยพล Horatio Nelson
(1758-1805)
ในสงครำม Battle of the Nile
กำรมีจิตวิญญำณ
เป็นนักโบรำณคดี
ผู้ทำงำนวิจัย
เพื่อควำมรู้ล้วน ๆ
ได้ทำให้ Goddio
ได้รับกำรสนับสนุนจำกรัฐบำลต่ำง ๆ
มำกมำย
รวมถึงจำกองค์กำร UNESCO ด้วย
อีกทั้งยังได้รับควำมร่วมมือ
จำกนักวิทยำศำสตร ์หลำยสำขำ
เช่น นักโบรำณคดี นักอียิปต์วิทยำ
นักประวัติศำสตร ์นักธรณีวิทยำ
วิศวกรคอมพิวเตอร ์
และนักสมุทรศำสตร ์เป็นต้น
ด้วยกำรสนับสนุนจำกมูลนิธิ Hilti
และคณะโบรำณคดีของมหำวิทยำลัยอ๊
อกซฟอร ์ด
ในอังกฤษ
Goddio
ได้เริ่มค้นหำเมือง Herakleion
กับ Canopus
ที่บริเวณอ่ำว Abe Qir
ซึ่งอยู่ในทะเล Mediterranean
ที่มีน้ำลึกโดยเฉลี่ยประมำณ 10-12
เมตร
และลึกที่สุด 18 เมตร
อ่ำวมีพื้นที่ประมำณ 550
ตำรำงกิโลเมตร
โดยกำรใช้เทคโนโลยี sonar
ที่ให้เรือส่งคลื่นเสียงออกไป
แล้วรับฟังเสียงสะท้อน
เพื่อช่วยนำทำง วัดระยะทำง
และสำรวจหำวัตถุใต้น้ำ
เช่น เสำหรือสิ่งก่อสร ้ำงที่จมอยู่ในโคลน
และเมื่อใดก็ตำม
ที่เครื่องรับสัญญำณ sonar
รำยงำนกำร “เห็น” วัตถุที่ต้องสงสัย
Goddio ก็ให้นักประดำน้ำดำน้ำลงไป
เพื่อนำวัตถุนั้นขึ้นมำดูกันทันที
ควำมพยำยำมของ Goddio
ได้บรรลุผลในอีก 3 ปีต่อมำ
เมื่อเขำพบซำก
ของเมือง Canopus
จมอยู่ใต้ทะเล
ณ ตำแหน่งที่ห่ำงจำกฝั่ง 1.6 กิโลเมตร
โดยอยู่ในน้ำที่ลึก 6-8 เมตร
อีก 1 ปีต่อมำ
เขำก็พบซำกของเมือง Herakleion
จมอยู่ห่ำงจำกฝั่ง 6.5 กิโลเมตร
โดยกระจัดกระจำย
อยู่ในพื้นที่ 1,000x800 ตำรำงเมตร
และได้พบแท่นบูชำที่ทำด้วยหินแกรนิต
ซึ่งชำวเมือง
ใช้ในพิธีบูชำฟำโรห์Nectambo ที่ 1
เพรำะบนแท่นบูชำ
มีอักษรจำรึกพระนำมของพระองค์
และมีอักษรที่แกะสลักตำมมำ
ซึ่งบรรยำยเหตุกำรณ์ทำงดำรำศำสตร ์
ที่ได้เกิดขึ้น
เมื่อ 380-362 ปีก่อนคริสตกำล
นอกจำกนี้
ก็ยังได้พบเหรียญทองคำ
หลำยเหรียญที่แกะสลัก
เป็นพระพักตร ์ของพระนำง Cleopatra
และอนุสำวรีย์
ที่ปรำศจำกพระเศียร
ของเทพธิดำ Isis ด้วย
กำรวัดอำยุของอนุสำวรีย์เหล่ำนี้
ได้แสดงว่ำ มันมีอำยุประมำณ 1,200 ปี
และ Goddio
ยังได้พบอนุสำวรีย์
ของเทพธิดำ Hapi แห่งแม่น้ำไนล์
ผู้ทรงบันดำลให้น้ำในแม่น้ำท่วมทุกปีด้ว
ย
ซึ่งอนุสำวรีย์นี้
ทำด้วยหินแกรนิตเช่นกัน
ท้ำยที่สุด
นักประดำน้ำ
ยังได้นำแผ่นหินแกรนิตขนำดใหญ่
ที่มีอักษรจำรึกว่ำ
เมืองนี้ชื่อ Herakles
ซึ่งก็สอดคล้องกับชื่อ Herakleion ที่
โลกรู้จักในปัจจุบัน
แม้กำรขุดพบซำกโบรำณนี้
จะได้ทำให้คนทั้งโลกรู้สึกตื่นเต้น
แต่ทุกคน
ก็ยังมีประเด็นสงสัย
ว่ำ อะไรคือสำเหตุที่ทำให้เมืองทั้งสอง
ต้องจมบำดำล
ในกำรตอบคำถำมนี้
Goddio ได้เชิญนักธรณีวิทยำ 2 ท่ำน
มำเข้ำร่วมโครงกำรสำรวจของเขำด้วย
คนแรก
ชื่อ Amos Nur (1938-ปัจจุบัน)
จำกมหำวิทยำลัย Stanford ในอเมริกำ
ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชำญเรื่องแผ่นดินไหว
และคนที่สอง
เป็นนักโบรำณคดีเชิงธรณีวิทยำ
ชื่อ Jean-Daniel Stanley
จำกสถำบัน Smithsonian
ที่ Washington DC.
ซึ่งเชี่ยวชำญ
เรื่องกำรเลื่อนไถลของดินดอนสำมเหลี่
ยม
ในบริเวณปำกแม่น้ำ
ในที่สุด Nur และ Stanley
ก็มีควำมเห็นพ้องกัน
ว่ำ อำคำรในเมืองทั้งสอง
ได้ทรุดตัวลงเป็นระยะทำงลึกถึง 8 เมตร
อย่ำงทันทีทันใด
โดย Nur
คิดว่ำ
สำเหตุหลักเกิดจำกเหตุกำรณ์แผ่นดินไ
หว
แต่ Stanley
คิดว่ำสำเหตุเกิดจำกน้ำท่วมหนัก
นอกจำกนี้
คนทั้งสองก็ยังรู้ว่ำ
เมืองทั้งคู่ได้ล่มสลำยในเวลำที่แตกต่ำง
กัน
คือ Herakleion ได้ทรุดก่อน
เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 1
และ Canopus
ได้ล่มสลำยในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 8
เหตุกำรณ์บ้ำนทรุดเมืองพังพินำศ
อย่ำงปัจจุบันทันด่วนนี้
เป็นเรื่องที่อนุมำนได้
จำกกำรเห็นอัญมณี
และเครื่องใช ้ต่ำง ๆ ของชำวเมือง
ถูกทิ้งขว้ำงอย่ำงไม่เป็นระเบียบ
เพรำะเจ้ำของไม่มีเวลำจะเก็บนำติดตัวไ
ปด้วย
หลังจำกที่ได้เห็นเสำขนำดใหญ่ในเมือง
ล้มระเนระนำด
ซึ่งอำจจะล้มทับชำวเมืองจนเสียชีวิตได้
Nur
ยังได้พบอีกว่ำ
สถำนที่ตั้งของเมืองทั้งสอง
ได้เกิดเหตุกำรณ์แผ่นดินไหว
ซึ่งมีควำมรุนแรงถึงระดับ 8.5 บ่อย
(ที่ระดับ 8.0 หรือสูงกว่ำ
บริเวณโดยรอบศูนย์กำรสั่นสะเทือน
จะถูกทำลำยจนหมดสิ้น)
และได้มีคลื่นสึนำมิ
เกิดขึ้นรวมทั้งสิ้น 8 ครั้ง
ในระหว่ำงปีค.ศ. 320-1301
เพรำะได้เห็นที่ใต้ซำกของอำคำร
มีรอยแยกของแผ่นดินที่ลึก 2 เมตร
เป็นระยะทำงหลำยร ้อยเมตร
ดังนั้น
เมื่อแผ่นเปลือกโลกที่รองรับตัวเมือง
ได้เลื่อนไถลไปในแนวนอน
เมืองทั้งเมือง ก็จะเลื่อนลงทะเลในทันที
ด้ำน Stanley
กลับมีควำมเห็นที่แตกต่ำงออกไป
ว่ำ ดินดอนปำกแม่น้ำไนล์
น่ำจะเป็นสำเหตุสำคัญ
ที่ทำให้เมืองทั้งสอง
ต้องล่มสลำย
เพรำะเมื่อครั้งที่มีกำรสร ้ำงเมืองใหม่ ๆ
นั้น
ภูมิประเทศของดินดอน
มีควำมแตกต่ำงไปจำกปัจจุบันมำก
การเปลี่ยนทิศทางการไหลของแม่
น้าไนล์
ได้ทำให้น้ำท่วมฝั่ง
เป็นบริเวณกว้ำงบ่อย
และกระแสน้ำ
ได้พัดพำโคลนตมไปด้วยในปริมำณมำ
ก
เวลำน้ำไหลลงสู่ทะเล
เพรำะดินตะกอนที่อยู่ใต้เมือง
เป็นดินอ่อน
ที่มีควำมหนำประมำณ 20 เมตร
และดินสำมำรถอุ้มน้ำได้ในปริมำณมำก
ตลอดเวลำ
ดังนั้นเมื่อน้ำท่วมมำก
ดินก็จะยุบตัวอย่ำงรวดเร็ว
กำรวิเครำะห์สภำพดิน
ใต้เมือง Canopus
ในสำมมิติ
แสดงให้เห็นว่ำ ชั้นดินตะกอน
ได้ถูกดันขึ้นเป็นโดมโค้งที่สูงหลำยเมตร
เมื่อเป็นเช่นนี้
อำคำรใดก็ตำมที่ตั้งอยู่บนตะกอน
ก็จะล้มคว่ำ
อย่ำงไม่มีทำงหลีกเลี่ยงได้
Stanley
ยังได้ศึกษำชั้นตะกอน
และวัดอำยุของสำรอินทรีย์ที่แฝงอยู่ในโ
คลน
ใต้ซำกปรักหักพัง
และได้ข้อมูลที่แสดงว่ำ
ได้เกิดเหตุกำรณ์น้ำท่วมหนักจริง ๆ
และอุทกภัยประเภทนี้ได้เกิดขึ้นบ่อย
เพรำะนักประวัติศำสตร ์อียิปต์
ได้บันทึกเหตุกำรณ์น้ำท่วมทุกปี
ดังนั้นกำรล่มสลำยของเมืองจึงเกิดขึ้น
เพรำะเหตุกำรณ์น้ำท่วมหนัก
หำได้เกิดจำกแผ่นดินไหวไม่
โดย Stanley
ได้วิเครำะห์เหรียญทองคำที่พบในเมือง
และได้ข้อมูล
ซึ่งแสดงว่ำ
เหรียญถูกทำขึ้น เมื่อค.ศ. 731
หลังจำกที่กองทัพอำหรับ
ได้บุกเข้ำยึดครองอียิปต์
ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 แล้ว
ก็ได้เกิดน้ำท่วมใหญ่อีก
เมื่อค.ศ. 741-742
และเหตุกำรณ์น้ำท่วมใหญ่ได้เกิดขึ้น
อีกครั้งหนึ่งในอีก 63 ปีต่อมำ
แต่ Stanley ก็ได้สรุปว่ำ
อะไรที่เกิดขึ้นที่เมือง Canopus
ก็ไม่จำเป็นต้องเกิดขึ้น
ที่เมือง Herakleion
ดังนั้นเหตุกำรณ์น้ำท่วมใหญ่
ก็อำจจะเป็นปัจจัยเสริม
ที่ทำให้เกิดกำรจมใต้บำดำล
ของเมือง Herakleion ก็ได้
นอกจำก
เมือง Herakleion กับ Canopus แล้ว
โลกก็ยังมี เมือง Port Royal
ก็ยังเป็นอีกเมืองหนึ่งที่จมอยู่ใต้น้ำด้วย
เมืองนี้
อยู่บนเกำะ Jamaica ในทะเล
Caribbean
และมีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 17
ว่ำเป็นเมืองบำปที่สุดในโลก
เพรำะเป็นแหล่งบ่มเพำะโจรสลัด
และมีซ่องโสเภณีเกลื่อนกลำด
ในปี 1494
กองทัพสเปน
ได้จัดตั้งเมืองนี้ขึ้น
เพื่อเป็นเมืองอำณำนิคม
ที่มีพลเมืองอำศัยอยู่ประมำณหมื่นคน
ควำมรุ่งเรืองของเมือง
เกิดจำกเงินและทรัพย์สมบัติ
ที่โจรสลัดปล้นเรือสินค้ำที่ขนทองคำ
จำกอเมริกำใต้ไปสเปน
และสำเหตุกำรล่มสลำยของเมือง
เกิดจำกกำรที่เมือง
ตั้งอยู่บนดินดอนที่เป็นดินปนทรำย
โดยอยู่สูงจำกระดับน้ำทะเลน้อยกว่ำ 1
เมตร
ดังนั้นเมื่อเกิดเหตุกำรณ์แผ่นดินไหว
ในวันที่ 7 มิถุนำยน ปี 1692
ดินทรำยที่อยู่ใต้อำคำร
ได้ทรุดตัวลงถึง 5 เมตร
และ 2 ใน 3
ของเมืองได้จมลงไปในทะเล
ทำให้มีคนเสียชีวิตเป็นจำนวนมำก
ถึง 2,000 คน
กำรขุดสำรวจซำกเมือง
เมื่อปี 1981-1990
ได้แสดงให้เห็นว่ำ
ซำกเมืองที่เหลือ
ได้ถูกพำยุเฮอริเคน
พัดกระหน่ำอีก
จนทำให้บ้ำนเรือนหลำยหลังพังทลำย
และอุปกรณ์เครื่องใช ้ของชำวบ้ำน
แตกกระจำย
นำฬิกำเรือนหนึ่งของชำวบ้ำนได้หยุดเดิ
น
เมื่อเวลำ 11:43 น.
ซึ่งเป็นเวลำที่เกิดเหตุกำรณ์แผ่นดินไหว
ในเมือง
อีกหมู่บ้ำนหนึ่งที่จมอยู่ใต้น้ำ
คือ หมู่บ้ำน Atlit-Yam ใน อิสรำเอล
ซึ่งปัจจุบันอยู่ห่ำงจำกเมือง Haifa
ออกไปในทะเล
เป็นระยะทำงประมำณ 1 กิโลเมตร
และเป็นหมู่บ้ำนโบรำณ
ที่อยู่ในสภำพดีมำก
เพรำะมีกำรพบกระดูกคน
และกองหินวำงเรียงกันเป็นวงกลม
ตัวหมู่บ้ำน
มีพื้นที่ประมำณ 40,000 ตำรำงเมตร
โดยได้ถูกสร ้ำงขึ้น
เมื่อประมำณ 7,000 ปีก่อนคริสตกำล
จึงเป็นหมู่บ้ำนที่โบรำณมำกที่สุดแห่งห
นึ่งของโลก
ในหมู่บ้ำนไม่มีถนนหนทำง
พื้นบ้ำนปูด้วยอิฐ
ในบ้ำนมีเตำ และห้องเก็บของ
นักโบรำณคดีผู้พบหมู่บ้ำนนี้
คือ Ehud Galili (1950-ปัจจุบัน)
ซึ่งเป็นเจ้ำหน้ำที่
ของสมำคมมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศำส
ตร ์
โดยได้พบหมู่บ้ำนนี้
ขณะไปสำรวจค้นหำซำกเรืออับปำง
เมื่อปี 1984
และได้เห็นหมู่บ้ำนที่จมอยู่ใต้น้ำ
เป็นเวลำนำนร่วม 9,000 ปี
กำรสำรวจสภำพของหมู่บ้ำนใต้น้ำ
แสดงให้เห็น
ควำมเป็นอยู่ของคนในยุคหินใหม่
Neolithic
ซึ่งเป็นเวลำที่มนุษย์เริ่มนำพืชมำปลูก
และนำสัตว์มำเลี้ยง
ชำวบ้ำน Atlit-Yam
ได้รู้จักล่ำสัตว์ป่ำ เลี้ยงแกะ แพะ หมู
รู้จักปลูกพืช เช่น ข้ำวสำลี ถั่ว และปอ
ด้ำนคนที่มีอำชีพประมง
ก็รู้จักใช ้เบ็ดที่ทำจำกกระดูกสัตว์
ชำวบ้ำนผู้ชำยดำน้ำเก่ง
เพื่อหำอำหำรจำกทะเล
และมีกำรพบศพที่ตำยด้วยวัณโรคด้วย
ในหมู่บ้ำน มีบ่อน้ำ
มีกองหินใหญ่ที่หนัก
วำงเรียงกันเป็นรูปครึ่งวงกลม
(Stonehenge) แต่มีขนำดเล็กกว่ำ
เมื่อระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นๆ
หลังจำกที่ยุคน้ำแข็งสิ้นสุด
น้ำทะเลได้ท่วมเข้ำไปในเกำะ
จนทำให้ผู้คนต้องทิ้งถิ่นอำศัยไปอย่ำงถ
ำวร
เมืองสุดท้ำย
ที่จะกล่ำวถึง
คือ เมือง Pavlopetri ใน กรีซ
โดยนักโบรำณคดี
ชื่อ Nicholas Flemming
คือ นักธรณีวิทยำ
จำกมหำวิทยำลัย Southamton
ในอังกฤษ
ได้พบเมืองโบรำณนี้
จมอยู่ในน้ำ เมื่อปี 1967
ในยุคทองสำริด
เมืองนี้เคยรุ่งเรือง
แต่ปัจจุบันกลับจมอยู่ใต้น้ำที่ลึก 4 เมตร
ในอ่ำว Laconia ของกรีซ
กำรสำรวจเมืองใต้น้ำ
ได้พบถนนหนทำง พื้นบ้ำนถูกปูด้วยหิน
เมืองมีหลุมฝังศพอยู่กระจัดกระจำยหลำ
ยแห่ง
มีเครื่องปั้นดินเผำ
ที่ถูกทำขึ้นตั้งแต่ยุค Mycenaen
คือเมื่อ 1,600-1,100 ปีก่อนคริสตกำล
ควำมเก่ำแก่โบรำณของเมืองนี้
ได้ทำให้นักโบรำณคดีสันนิษฐำนว่ำ
เมื่อครั้งที่เกิดสงครำมกรุง Troy
กองทัพกรีก
ได้ยกทัพเรือออกจำกท่ำของเมืองนี้
เพรำะได้เห็นซำกเรือ
หลำยลำที่มีควำมยำวตั้งแต่ 10 -20
เมตร
ในปี 2009
คณะนักโบรำณคดี
จำกมหำวิทยำลัย Nottingham
ในอังกฤษ
ได้ใช้laser และ sonar
ศึกษำพื้นที่ 150 ตำรำงเมตรของเมือง
และพบห้องโถงกับหลุมฝังศพ
ควำมกว้ำงใหญ่ของอำคำร
ได้ทำให้ทุกคนคิดว่ำ
นี่คงเป็นรำชสำนักของกษัตริย์
แต่ก็มีคำถำมที่น่ำสงสัย
คือ เมืองนี้ได้จมน้ำไปเพรำะสำเหตุใด
ซึ่งกำรเลื่อนไถลของดินใต้เมือง
ได้ทำให้ชำวเมืองต้องทิ้งเมืองไป
เมื่อ 1,100 ปีก่อนคริตกำลใช่หรือไม่
และนักโบรำณคดี
ก็ยังไม่มั่นใจว่ำ กำรล่มสลำยของเมือง
ได้เกิดขึ้นจำกเหตุกำรณ์แผ่นดินไหวครั้
งใหญ่
เพียงครั้งเดียว หรือจำกครั้งเล็กๆ
หลำยครั้ง
ตอนที่ 1: กำรไหลในธรรมชำติ
กำรไหล-ไม่ใช่แค่นั้น
https://mgronline.com/science/detail/9560000054643
ดูเหมือนว่ำปรำกฏกำรไหลจะอยู่รอบๆ
ตัวเรำทั่วไปซึ่งมักจะเป็นกำรไหลของ
ของเหลวและแก๊สต่ำงๆ
และน่ำจะมีเพียงแค่นี้เท่ำนั้นที่เรำต้องศึก
ษำกัน (แต่.......อ่ำนไปอีกหน่อยนะครับ)
กำรไหลในของไหล
ย่อมเป็นกำรส่งถ่ำยมวลสำร
และอำจส่งถ่ำย
พลังงำนที่มำกับของไหลด้วยก็ได้
เราได้ใช้ประโยชน์
จากการไหลนั้นมากมาย
หำกไม่มีกำรไหลของอำกำศ
น้ำและสำรละลำยต่ำงๆ
ชีวิตก็ย่อมไม่อำจอุบัติขึ้นได้ตั้งแต่แรกเ
ริ่มโลก
กำรไหลสำคัญถึงขนำดนั้นเชียวครับ
วันนี้ผมจะเล่ำเรื่องกำรไหลให้ฟังครับ
ก่อนอื่นเรำต้องเข้ำใจว่ำ ของไหลนั้น
เป็นตัวกลำงที่มีเนื้อสำรต่อเนื่องกัน
และไม่มีสภำพแข็งเกร็ง
หรือมีสภำพหนืดจนเกินไป
“แบะแซ” คงไม่ใช่ของไหลครับ
ยกเว้น
เมื่อโดนควำมร ้อนเข้ำไป
“ตังเม” สีสวยๆ หนืดตำมงำนงิ้ว
อำจเรียกได้ว่ำเป็นของไหลได้เช่นกัน
เพียงแค่มันไม่ค่อยอยำกจะไหลสักเท่ำไ
รแล้วครับ
นมข้นหวำน
มีสภำพเป็นของไหลมำกกว่ำ
เพรำะไม่หนืดเหนียวเหนอะมำก
ดังเช่นตังเม หรือแบะแซ
ที่ไหลได้ง่ายที่สุด
เห็นจะเป็ นสารในสถานะแก๊สครับ
ในกำรไหลของมวลสำร
ของของไหล
เรำจะต้องนิยำมให้ชัดเจนเสียก่อนว่ำ
สภำพเช่นไร
จึงจะเรียกว่ำมีกำรไหลเกิดขึ ้น
กำรที่จะพูดได้ว่ำน้ำไหลในท่อ
(ที่วำงในแนวนอน) ได้นั้น
เราต้องพิจารณา
พื้นที่หน้าตัดสมมติ
ขึ้นมาในใจ
หำกมีมวลของน้ำจำนวนหนึ่ง
“เคลื่อนที่”
ผ่ำนพื้นที่หน้ำตัดสมมติอันนี้
ไปในเวลำช่วงหนึ่ง
จะกล่ำวได้ว่ำ
ในเวลำช่วงนั้นๆ มี “กระแส”
(current) ของน้ำเกิดขึ้น
กระแสน้า
จึงเป็ นปริมาณทางฟิ สิกส์
ในรูปของ
มวลของน้าที่ผ่านพื้นที่หน้าตัดนี้
ไปหารด้วย
ช่วงเวลาที่มวลของน้านี้ผ่านไป
กำรมี “กระแส” ที่ไม่เป็นศูนย์
สมมูลกับกำรมี “กำรไหล”
(flow) เกิดขึ้นในระบบนั้น
แต่อะไรเล่ำ
ที่เป็นตัวการ
ที่ทำให้มีกำรเคลื่อนที่ของมวลของ
ของไหลไปผ่ำนพื ้นที่หน้ำตัดสมมตินี ้
การไหล
จะเกิดขึ้น
ต้องมีอานาจอะไรบางอย่าง
ระหว่างสองตาแหน่ง
ในตัวกลางต่อเนื่องที่เป็ นของไหล
นี้
ในกรณีของน้ำไหล
ในท่อที่วำงนอนอยู่นี้
จะต้องมีควำมดันที่แตกต่ำงกัน
ที่ตำแหน่งสองแห่งในท่อ
จึงจะเกิดกำรไหลระหว่ำงสองตำแหน่งนี ้
ได้
หำกมีควำมดัน
แต่มีค่ำของควำมดันเท่ำกัน
ก็ไม่เกิดกำรไหล
ค่ำควำมดันที่ “แตกต่ำง” กัน
ระหว่ำงสองแห่งนั้น
จึงจะเป็นอำนำจที่ทำให้มีกำรไหลขึ้น
(ผมไม่พิจำรณำ
เรื่องกำรที่เรำเปิดก๊อกน้ำแล้ว
น้ำไหลตกลงมำนะครับ
เพรำะมันมีแรงโน้มถ่วงมำกระทำด้วย)
รูปที่ 1:
ในของไหลที่เป็นตัวกลำงต่อเนื่อง
กำรไหลจะเกิดขึ้น
เมื่อมีอำนำจระหว่ำงสองตำแหน่งในตัวก
ลำง
อำนำจนี้อำจเขียนในรูปปริมำณสเกลำร ์
เวกเตอร ์
หรือเท็นเซอร ์ก็ได้
อำนำจนี้มีลักษณะเป็น “สนำม”
เช่นสนำมแรงเป็นต้น
อำนำจที่ว่ำนี้
อำจเขียนเป็นปริมำณสเกลำร ์
เวกเตอร ์หรือเท็นเซอร ์
ก็ได้ เช่นพลังงำนศักย์เป็นสเกลำร ์
(ดูรูปที่ 1 ครับ)
ที่สำมำรถเขียนในรูปของแรงได้
โดยกำรหำอนุพันธ์เทียบกับตำแหน่ง
(คือหำกรำเดียนท์-gradient) ได้ครับ
ปริมำณสเกลำร ์ที่ว่ำนี้
ต้องเป็น “สนำม” (field)
กล่ำวคือเป็นฟังก์ชันของตำแหน่ง
ด้วยครับ
ในกรณีของน้ำที่ไหลในท่อนั้น
อานาจที่ทาให้เกิดการไหล
ก็คือความแตกต่างกันของความดั
น P
ที่ทาให้มวล m ของน้าเคลื่อนที่
คือไหลผ่านพื้นที่หน้าตัดสมมติหนึ่
งๆในท่อ
ในระยะเวลาหนึ่งๆได้
จนเป็ น “กระแสของมวลน้า”
[ก็คือกระแสน้ำนั่นละครับ
ควำมรัดกุมของผมอำจน่ำรำคำญไปหน่
อยนะครับ]
จะเห็นได้ว่า
การไหลของน้านั้น
ก็คือการที่มี “กระแส” ของมวลน้า
และสาเหตุของการไหลของมวล
ระหว่างสองตาแหน่งนี้
ก็มาจากอานาจที่เป็ นความแตกต่า
ง
ของ “สนามสเกลาร ์”
(ซึ่งก็คือสนามความดัน
–
ความดันเป็ นฟังก์ชันของตาแหน่ง
) ที่แตกต่างกันนั่นเอง
ควำมแตกต่ำง
ของ “สนำมสเกลำร ์”
ตำมตำแหน่งที่เปลี่ยนไปนี้
เรียกกันเท่ห์ๆ ว่ำ
กรำเดียนท์ของสนำมสเกลำร ์
ครับ
เจ้ำปริมำณนี้เอง
ที่เป็นตัวกำรที่ทำให้เกิดกำรไหลขึ้น
สนำมสเกลำร ์นี้
จึงถูกมองว่ำ
ทำหน้ำที่เป็น “ศักย์แห่งกำรไหล”
(flow potential) ครับผม
ยังมีการไหลในลักษณะอื่นๆ
ที่ไม่ใช่การไหลของ
“มวลของไหล”
ในธรรมชาติอีกหลายอย่าง
อันหนึ่งที่น่ำสนใจ
ก็คือกำรไหลของควำมร ้อน Q
เจ้ำ “ของไหลควำมร ้อน Q” นี้
ซึ่งมีชื่อในเชิงประวัติศำสตร ์
ว่ำ ของไหลแคลอริก
(caloric fluid) ครับ
สมมติว่ำ Q ไหลในตัวกลำงต่อเนื่อง
ที่มีคุณสมบัติเฉพำะตัว
ในกำรนำกำรไหลนี้เป็น k
ซึ่งประมำณให้เป็นค่ำคงที่
ก็แล้วกันนะครับ
รูปที่ 2: กำรนำควำมร ้อนผ่ำนวัสดุ
ตำมแบบจำลองที่ว่ำควำมร ้อนนั้น
ไหลผ่ำนวัสดุที่เป็นตัวกลำงต่อเนื่อง
ด้ำนล่ำงเป็นไฟจำกตะเกียง
และด้ำนบนเป็นน้ำแข็ง
พื้นที่หน้ำตัดของน้ำแข็งคือ A
อุณหภูมิที่ด้ำนบนและด้ำนล่ำงของวัสดุ
แตกต่ำงกัน
ดังแสดงในรูป
กระแสควำมร ้อน
เขียนเป็นสมกำรดังในรูปนี้
ซึ่งมีชื่อเรียกว่ำ
กฎกำรนำควำมร ้อนของฟูเรียร ์
(Fouriers law of heat conduction)
กระแสควำมร ้อน dQ/dtนั้น
แปรตำมกับกรำเดียนท์ของสนำมอุณห
ภูมิ
ลองดูกำรทดลองในรูปที่ 2
ซึ่งเป็นกำรนำควำมร ้อนในตัวกลำงนะค
รับ
สนำมสเกลำร ์ในที่นี้
คือ สนำมอุณหภูมิ T
ซึ่งเป็นฟังก์ชัน
ของตำแหน่งที่กำหนดระยะตำมแนวตั้ง
กล่ำวคือ
อุณหภูมิในตัวกลำงต่อเนื่อง(วัสดุ)
จะเย็นลงเรื่อยตำมควำมสูงของวัสดุ
และของไหลควำมร ้อนนี้จะไหลขึ้นไปด้ำ
นบน
จะเห็นได้ว่ำ
กระแสควำมร ้อน (dQ/dt)
ก็คือปริมำณควำมร ้อน
ที่ผ่ำนพื้นที่หน้ำตัด A ต่อเวลำ
นั่นเอง
ศักย์แห่งกำรไหล
ก็คือ สนำมอุณหภูมิ
และตัวกำรอำนำจที่ทำให้เกิดกำรไหลขึ้
นได้
ก็คือ กรำเดียนท์ของสนำมอุณหภูมิ
ครับ
ในสถำนกำรณ์อื่่น
ที่เป็นกำรไหลของปริมำณต่ำงๆ
ก็เช่นกำรไหลของประจุไฟฟ้ ำ q
(กระแสไฟฟ้ำ I = dq/dt)
ดังที่เรียนในชั้น ม.6
โดยมี ศักย์แห่งกำรไหล ก็คือศักย์ไฟฟ้ ำ
และอำนำจที่ทำให้เกิดกำรไหล
ก็คือ กรำเดียนท์ของศักย์ไฟฟ้ ำ
(อยำกจะเรียนคุณครูและนักเรียนที่อ่ำน
อยู่ครับ
ว่ำ ศักย์ไฟฟ้ำ V(r) ที่เรียนกันใน ม.6
ก็เป็นสนำมครับ
เพรำะเป็นฟังก์ชันของตำแหน่ง r
แต่มักเรียกกันสั้นๆว่ำศักย์ไฟฟ้ ำเฉยๆ
ส่วนปริมำณ
สนำมไฟฟ้ ำ E(r) ที่เป็นเวกเตอร ์นั้น
มีชื่อเต็มๆว่ำ ควำมเข้มสนำมไฟฟ้ำ
(electric field intensity)
ซึ่งเป็นสนำมเวกเตอร ์ครับ
แต่ก็นิยมเรียกกันสั้นๆ
แค่ว่ำ สนำมไฟฟ้ำ เท่ำนั้น)
อีกอันหนึ่ง
ก็เช่น กำรไหลของเลขโมล n
ในกระบวนกำรแพร่ (diffusion)
ในสำรละลำย
เลขโมล
ก็คือวิธีกำรบอกปริมำณสำรวิธีหนึ่ง
ซึ่งมักใช ้กับสำรละลำย
(idea ก็คือ เลขโมล นั้น “ไหลได้” -
บรรเจิดจริงจัง!)
แต่ไม่ใช่กำรไหลผ่ำนพื้นที่หน้ำตัด
แต่อย่ำงใด
หำกแต่คือ n เปลี่ยนแปลงตำมเวลำได้
และเป็นผลจำกอำนำจที่เป็นศักย์แห่งกำ
รไหล เช่นเดียวกับกำรไหลอย่ำงอื่นๆ
ศักย์แห่งกำรไหลในที่นี้
ก็คือ ควำมเข้มข้น (concentration)
ของสำรละลำยชนิดหนึ่งๆ
เช่น ควำมเข้มข้นของสำรละลำย A
มีค่ำเปลี่ยนไปตำมตำแหน่ง
จึงถือว่ำ ควำมเข้มข้นนี้
เป็นฟังก์ชันของตำแหน่ง
นั่นคือเป็น “สนำม”
และเขียนเป็นสัญลักษณ์ได้ว่ำ [A]
(ดูรูปที่ 3)
รูปที่ 3:
ใช ้สัญลักษณ์ทำงฟิสิกส์แบบเดียวกับชั้
น ม.6 (บน) กำรนำไฟฟ้ ำนั้น
เป็นกำรไหลของประจุไฟฟ้ ำ
เริ่มจำกกฎของโอห์ม
เรำสำมำรถหำได้ว่ำกระแสไฟฟ้ ำนั้น
แปรตำมกับกรำเดียนท์ของสนำมศักย์ไ
ฟฟ้ ำได้
(กลำง) กระแสเลขโมล
แปรตำมกับกรำเดียนท์ของสนำมควำมเ
ข้มข้น
(ล่ำง) กระแสของมวลน้ำนั้น
แปรตำมกับกรำเดียนท์ของสนำมควำม
ดัน
รูปที่ 4:
กำรไหลเกิดขึ้นได้ด้วยเหตุฉะนี้นี่เองครั
บ
เห็นไหมครับว่ำ
เมื่อใดในตัวกลำงต่อเนื่อง
หำกมีกรำเดียนท์ของสนำมสเกลำร ์
(คือมีกำรเปลี่ยนค่ำของปริมำณสเกลำร ์
หนึ่งๆไป
เมื่อเปลี่ยนตำแหน่งไปในตัวกลำง)
เรำจะมีกระแสหรือกำรไหล (flow)
เกิดขึ้น
ดังสรุปไว้ในรูปที่ 4 ครับ
โดย อำนำจอิทธิพล
คือกรำเดียนท์ของสนำมสเกลำร ์หนึ่งๆ
ที่ทำหน้ำที่เป็นศักย์แห่งกำรไหล
และผลที่ตำมมำก็คือกำรไหลของปริมำ
ณ X ใดๆ
ยังมีตัวอย่ำงของปรำกฎกำรณ์ธรรมชำ
ติอีกมำก
ที่สร ้ำงเป็นแบบจำลองกำรไหลได้ครับ
สำหรับในครั้งหน้ำ
ผมจะเล่ำแนวคิดของกำรไหล
ในสังคมศำสตร ์นะครับ
ก่อนจะจบตอนนี้
อยำกบอกผู้อ่ำนที่เป็นครูหรือนักเรียน
ว่ำ หลักของวิชำฟิสิกส์จริงๆ
แล้วมีไม่กี่เรื่องครับ
ส่วนใหญ่
กำรสร้ำงแบบจำลองทำงควำมคิด
จะคล้ำยๆ
กันดังที่เห็นในเรื่องกำรไหลนี้ครับ
หำกเรำได้เห็น กฎของโอห์ม
ในวิชำไฟฟ้ำกระแสแล้วละก็
ให้สงสัยไว้ได้เลยครับ
ว่ำจะมี กฎที่มีหน้ำตำคล้ำยๆ
กฎของโอห์ม
ในกำรไหลของน้ำในท่อ
กฎของโอห์มในกำรนำควำมร ้อน
หรือ กฎของโอห์ม
สำหรับกำรไหลของขบวนมด
ที่กำลังเดินขบวนขนเศษอำหำร
หรือกฎของโอห์ม
สำหรับกำรไหลของยำนพำหนะ
ในกำรจรำจรได้อีกหรือไม่ครับ
“ฟิสิกส์
เป็นวิชำที่มีโครงสร ้ำงชัดเจน
และมีควำมเป็นเอกภำพสูงครับ
มันก็เลยทั้งสวยและซ๊ำกันบ่อยๆ ครับ”
แท้จริงแล้ว
ฟิสิกส์
จึงไม่ใช่วิชำที่ยำกเลยครับ
บุรินทร ์กาจัดภัย
สำเร็จกำรศึกษำ
ด้ำนฟิสิกส์ทฤษฎีและจักรวำลวิทยำ
จำกประเทศอังกฤษ
มีอำชีพเป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎี
ปัจจุบันทำงำนวิจัย
และสอนในฐำนะอำจำรย์ประจำ
ที่สถำบันสำนักเรียนท่ำโพธิ์ฯ
วิทยำลัยเพื่อกำรค้นคว้ำระดับรำกฐำน
หรือ IF มหำวิทยำลัยนเรศวร
Perspective 7
เป็นบทควำมเกี่ยวกับทรรศนะของตัวผู้เ
ขียนเอง
ซึ่งเป็นนักวิทยำศำสตร ์
ต่อธรรมชำติ สังคม และปรัชญำ
ทรรศนะเหล่ำนี้
นำเสนอในหลำยประเด็น
ผ่ำนหลำยเรื่องรำวจำกประสบกำรณ์ขอ
งผู้เขียนเอง
โดยผ่ำนเลนส์ตำของวิทยำศำสตร ์
“สิ่งที่สำคัญยิ่งกว่ำศีลธรรมและจำรีต
คือ สติและกำรรู้จักตัวตนของตัวเอง”
การไหลทางสังคมและเศ
รษฐศาสตร ์เชิงอุณหพล
ศาสตร ์
(กำรไหลไม่ใช่แค่นั้น ตอนที่ 2)
https://mgronline.com/science/detail/9560000068761
เมื่อตอนที่แล้ว
ผมได้เล่ำให้ท่ำนผู้อ่ำนฟัง
เรื่องกำรไหลในธรรมชำติแล้วครับ
กำรไหลในธรรมชำตินั้น
เกิดขึ้นทั่วไป
และเกิดขึ้นในบริบทของกำรศึกษำค้นค
ว้ำ
ของทุกสำขำวิชำ
เช่นวิทยำศำสตร ์โลกและดำวเครำะห์
สมุทรศำสตร ์อุตุนิยมวิทยำ
ปฏิกิริยำเคมี วิศวกรรมศำสตร ์
ในฟิสิกส์ของดำวฤกษ์และดวงอำทิตย์
ดำรำศำสตร ์
ในวัสดุ
ในระบบทำงชีววิทยำและทำงกำรแพทย์
ในระบบวงจรไฟฟ้ำและวัสดุอิเล็กทรอนิ
กส์ต่ำงๆ
และอื่นๆ อีกมำก
กำรไหล
เกิดขึ้นในทุกสำขำวิชำกำรวิทยำศำสต
ร ์
และเทคโนโลยี
วันนี้
จะเล่ำเรื่องกำรไหลของปริมำณ
ทำงวิทยำศำสตร ์สังคม (สังคมศำสตร ์)
ครับ
เดิมที
แนวคิดในกำรสร้ำงแบบจำลองทำงสังค
มนั้น
ได้รับอิทธิพลจำกวิธีสร ้ำงแบบจำลอง
ในวิทยำศำสตร ์ธรรมชำติเป็นอย่ำงมำก
ไม่ว่ำจะเป็นฟิสิกส์เคมี หรือชีววิทยำ
จนต่อมำ
สังคมศำสตร ์
ได้ผนวกแนวคิดทำงจิตวิทยำ
และพฤติกรรมศำสตร ์เข้ำไปด้วย
ถ้ำไม่คิดว่ำกำรไหลของเรำ
เป็นกำรไหลแบบน้ำที่กำลังไหลไป
หำกแต่เป็นเรื่องของกำรถ่ำยโอน
(transfer)
ของปริมำณบำงสิ่งบำงอย่ำง
กำรไหลของสิ่งหนึ่ง
จึงเป็นกำรถ่ำยโอนปริมำณของสิ่งนั้น
ไปยังอีกที่หนึ่งนั่นเองครับ
สำหรับ
กำรไหล (ถ่ำยโอน) ของควำมร ้อน
ในวิชำอุณหพลศำสตร ์นั้น
โดยมำก
จะไม่ก่อประโยชน์
และหมดสิ้นไปตรงนั้นเอง
เช่น ถ้ำเรำเอำกำแฟร ้อนๆ สักถ้วย
วำงไว้ในห้องแอร ์
หรือขนมน้ำแข็งใสที่กำลังละลำย
เป็นต้น
กำรไหลของควำมร ้อน
สำหรับสองเหตุกำรณ์นี้
เป็นกำรไหลไปแล้วไหลเลยครับ
แต่ในกำรไหลของควำมร ้อน
บำงลักษณะนั้น
หำกเรำจัดวำงจัดเตรียม
ส่วนประกอบของระบบดีๆแล้ว
เรำสำมำรถทำให้กำรไหลของควำมร้อน
นั้น
ทำให้เกิด “งำนกล”
(หรือกระทั่งงำนแม่เหล็ก
หรืองำนไฟฟ้ำ) ขึ้นได้
การไหลของความร้อน
ผ่านระบบที่สามารถสร้าง “งาน”
ได้นี้
เราเรียก
การทางานของเครื่องยนต์ความร้อ
น
เมื่อระบบอุปกรณ์
ที่เรียกว่ำเครื่องยนต์ควำมร ้อนนี้
ทำงำนย้อนกลับทิศทำง
อุปกรณ์นี้จะเรียกว่ำ “ตู้เย็น”
เรำจะเห็นได้ว่ำ
กำรไหลบำงประเภทนั้น
สำมำรถสร ้ำงงำนที่นำมำใช ้ประโยชน์ไ
ด้
หำกมีกำรจัดวำงอุปกรณ์ในระบบ
ให้เหมำะสมครับ
กำรไหลของควำมร ้อนบำงประเภทนั้น
สำมำรถสร ้ำงงำนที่นำมำใช ้ประโยชน์ไ
ด้
เช่นในเครื่องยนต์ควำมร ้อน
จำกตอนที่แล้ว
ท่ำนผู้อ่ำน
คงจำได้ว่ำ
กำรที่จะมีกำรไหลเกิดขึ้นได้นั้น
จะต้องมีควำมแตกต่ำงกัน
ของ “ศักย์แห่งกำรไหล”
ณ สองตำแหน่ง
ศักย์แห่งกำรไหล
ซึ่งก็คือ “อำนำจ”
(ชื่อคุณพ่อผมเองครับพี่น้อง) นี้
จะเท่ำเทียมกันไม่ได้
ที่สองตำแหน่ง
มิเช่นนั้นจะไม่มีกำรไหลเกิดขึ้นครับ
ผมจะเรียก
ตำแหน่งที่มีแหล่งของศักย์อำนำจนี้
ตั้งอยู่ว่ำ pole หรือขั้วแห่งอำนำจ
ดังนั้น
หำกเรำอยำกให้กำรไหล
ทำงำนที่เป็นประโยชน์ได้
เรำต้องจัดกำรให้ระบบเป็นอุปกรณ์เครื่อ
งยนต์
และต้องมีขั้วแห่งอำนำจ
ที่ขนำดอำนำจแตกต่ำงกัน
อย่ำงน้อยก็สองขั้วครับ
(no pole ก็ no work ครับ)
เช่น ในกรณีของกำรไหลของควำมร ้อน
ก็ต้องมีอุณหภูมิที่ต่ำงกันสองแห่ง
กำรไหลของประจุไฟฟ้ ำ
ก็ต้องมีขั้วไฟฟ้ ำ
ที่ให้ศักย์ไฟฟ้ ำแตกต่ำงกันสองแห่ง
(ต่ำงกันนิดนึง
ก็ตรงที่กำรไหลของประจุไฟฟ้ำนั้น
ไม่อำจนำมำจัดวำงเป็นเครื่องยนต์ได้
และเพรำะประจุไฟฟ้ ำกับงำนนั้นเป็นคน
ละสิ่งกัน
ไม่เหมือนกับ
ในกรณีของควำมร ้อนที่สำมำรถกลำยเ
ป็นงำนได้)
กำรไหลในเครื่องยนต์นั้น
สร ้ำงงำนที่เป็นประโยชน์ได้
แต่ประสิทธิภำพที่ได้จะค่อนข้ำงต่ำ
ขั้วอำนำจ
ที่ให้ขนำดของศักย์ที่แตกต่ำงกัน
จะทำให้เกิดกำรไหลขึ้น
ในตัวกลำงต่อเนื่อง
คิดกันเล่นๆ ว่ำ
ทุกอย่ำงมันเกี่ยวกับกำรไหล
หรือกำรถ่ำยโอนทั้งสิ้น
แล้วในระบบสังคมล่ะ
กำรไหลอะไรบ้ำงที่เกิดขึ้น
ในวิชำต่ำงๆที่ว่ำด้วยระบบทำงสังคม
ใน อุณหพลศำสตร ์
(thermodynamics)
การไหลของความร้อน
ทาให้เกิดเหตุการณ์
หรือกิจกรรมทางอุณหพลศาสตร ์
ในวิชำไฟฟ้ำ
การไหลของประจุ
ทาให้เกิดเหตุการณ์หรือกิจกรรมท
างไฟฟ
้ า
ในเศรษฐศำสตร ์
เมื่อมีกำรเคลื่อนย้ำย
หรือเปลี่ยนมือ(ไหล)ของปัจจัยกำรผลิต
เช่น ทุน แรงงำน ที่ดิน
หรือผู้ประกอบกำร
ก็จะเกิดกิจกรรมทำงกำรผลิตทำงเศรษฐ
กิจขึ้น
ผลที่ตำมมำก็คือ รายได้
ประเภท ค่ำเช่ำ (จำกกำรเช่ำ)
กำไร (จำกกำรซื้อขำย) ดอกเบี้ย
(จำกกำรลงทุน) หรือค่ำจ้ำง
(จำกกำรใช้แรงงำน)
เมื่อมองในแง่บวกครับ
(ในแง่ประวัติศำสตร ์แล้ว
จุดกำเนิดของเศรษฐศำสตร ์จุลภำค
ยุคคลำสสิก
โดย Adam Smith
ได้รับอิทธิพลอย่ำงมำก
จำกแนวคิดของกลศำสตร ์นิวตัน
และกฎของแก๊สอุดมคติของโรเบิร ์ต
บอยล์
ซึ่งส่งผลต่อรูปร่ำง
ของแนวคิดสำนักเศรษฐศำสตร ์มหภำค
ของคีนส์(Keynes)
ในแง่ของระบบ
และกำรเข้ำแทรกแซงระบบเศรษฐกิจโด
ยรัฐ)
ในวิชำกำรเมือง
(รัฐศำสตร ์)
เมื่อมีกำรเคลื่อนย้ำย
หรือเปลี่ยนมือ (ไหล) ของ “อำนำจ”
จะเกิดกิจกรรมทำงกำรเมืองขึ้น
อันนี้ผมรู้น้อยมำกครับ
ในวิชำกำรศึกษำ
(ศึกษำศำสตร ์)
เมื่อมีกำรเคลื่อนย้ำย
หรือเปลี่ยนมือ (ไหล) ของ “ควำมรู้”
จะเกิดกิจกรรมทำงกำรศึกษำ
คือ กำรเรียนรู้ขึ้น
อันนี้ผมไม่ค่อยจะแน่ใจเท่ำไรครับ
ในวิชำกำรสื่อสำร
(นิเทศศำสตร ์)
เมื่อมีกำรเคลื่อนย้ำย
หรือเปลี่ยนมือ (ไหล) ของ “สำร”
(information)
จะเกิดกิจกรรมกำรสื่อสำรขึ้น
เช่น กำรส่งและรับสำร
มีกำรเข้ำรหัส ถอดรหัสของสำร
โดยมีนัยยะที่ของสื่อชัดเจน
หรือผ่ำนสัญลักษณ์ทำงอ้อมต่ำงๆ
ของสื่อสิ่งแสดง
อันนี้ผมก็รู้น้อยมำกครับ
ผมรู้น้อยแค่นี้
แต่ขอบังอำจคิดต่อไปเล่นๆ
เพื่อควำมสนุกนะครับ
ว่ำ กำรไหลถ่ำยโอน
ถ่ำยทอดวัฒนธรรมของมนุษย์
ในสังคมโลกนั้น
เป็นกำรถ่ำยโอน
“กำรยอมรับในเรื่องว่ำด้วยคุณค่ำ
(value)”
เดิมทีมนุษย์ที่อยู่ในชุมชนคนละซีกโลก
จะให้คุณค่ำต่ำงๆ กันกับสิ่งต่ำงๆ กัน
กำรไหลของวัฒนธรรม
จึงเป็นกำรถ่ำยทอด
วิธีคิดที่เกี่ยวกับควำมยอมรับที่ว่ำด้วยคุ
ณค่ำ
กำรไหลเชิงสังคม
เรำต้องใจกว้ำงครับ
ที่จะยอมรับว่ำ วิทยำศำสตร ์สังคม
หรือสังคมศาสตร ์นั้น
ตั้งอยู่บนข้อสมมติฐำนหลำยๆประกำร
ซึ่งทำให้วิทยำศำสตร ์สังคมนั้น
เป็น soft science
คือ กฎของมัน ไม่แม่นยำมำกนัก
ในกำรทำนำยเหตุกำรณ์ทำงสังคม
ซึ่งทำให้สังคมศำสตร ์นั้น
“ยำก” กว่ำ วิทยำศำสตร ์ธรรมชำติ
ในกำรสร้ำงแบบจำลอง
ศำสตร ์ใหม่ๆ
ที่ผมได้มีโอกำสได้อ่ำนบ้ำง
ก็คือ เศรษฐศำสตร ์เชิงอุณหพลศำสตร ์
(Thermodynamical Ecomomics)
ครับ
ในกระบวนคิดของศำสตร ์นี้
เขำได้มองว่ำ ทุน
(capital)
ซึ่งเป็นหนึ่งในปัจจัยกำรผลิตทำงเศรษฐ
กิจนั้น
อุปมำก็คือ พลังงำนภำยใน
(internal energy)
ในทำงอุณหพลศำสตร ์
และมองว่ำ
การเคลื่อนย้ายเปลี่ยนมือ
หรือ กำรลงทุน
จึงอุปมำเป็น การถ่ายโอนพลังงาน
ในรูปแบบของ กำรไหลของควำมร ้อน
(heat)
หรือ งำน (work)
และมี ตัวแปร
บำงตัวในเศรษฐศำสตร ์
ที่ทำหน้ำที่คล้ำยกับ “อุณหภูมิ”
ของระบบเศรษฐกิจ
เรื่องน่ำสนใจสำหรับผม
ก็คือกำรเปรียบเทียบ
กระบวนกำรทำงอุณหพลศำสตร ์เคมี
ในปฏิกิริยำเคมี
กับกระบวนกำรทำงเศรษฐศำสตร ์ครับ
อุณหพลศำสตร ์สมดุลกับเศรษฐศำสตร ์
จุลภำค(สมดุล)
วิชำอุณหพลศำสตร ์
แบบไม่สมดุล
(non-equilibrium thermodynamics)
ได้บอกเรำว่ำ
โครงสร ้ำงและแบบลำย
(structure and pattern formation)
จะก่อกำเนิดขึ้นได้เอง
หำก ระบบนั้น
มีกำรผลิต เอนโทรปี
แบบเชิงเส้น
ในกำรก่อกำเนิดนี้
ระบบจะมีกำรจัดเรียงตัวเอง
(self-organization)
กำรจัดเรียงตัวเองนี้
เกิดในทำงฟิสิกส์เคมี ชีววิทยำ
ธรณีวิทยำ
และในระบบทุกประเภททำงกำยภำพ
โดยทั่วไป
ระบบที่มีกำรผลิตเอนโทรปีแบบเชิงเส้น
มักเป็น
ระบบที่ถูกรบกวนโดยอำนำจภำยนอกแ
บบสม่ำเสมอหรือเป็นคำบ (periodic)
ผมมักลองเวลำอำบน้ำครับ
ให้น้ำจำกฝักบัวไหลไปตำมนิ้วมือของผ
ม
โดยไม่ขยับตัวเลย
ให้ตกไปกระทบ
กับพื้นที่ตำแหน่งที่มีครำบสบู่จำกกำรอ
ำบน้ำอยู่
โดยให้น้ำกระทบพื้นที่จุดเดียวซ้ำๆ กัน
สักพักหนึ่ง
เรำจะเห็น “แบบลำย” ที่เสถียรระยะสั้นๆ
ขึ้น
บนครำบสบู่สกปรกนั่นครับ
(ถ้ำสำมำรถควบคุมจังหวะน้ำที่ตกลง
และป้องกัน
ไม่ให้มีอะไรอย่ำงอื่น
มำรบกวนได้จะดีมำกครับ)
ที่เห็นได้ง่ำยที่สุดเลย
คือบริเวณใกล้ๆ sink
รูระบำยน้ำของห้องน้ำ
....... ลองเล่นในอ่ำงล้ำงชำมดูก็ได้ครับ
โดยใช ้ครำบของไขมันน้ำเหลือ
(เป็นคอลลอยด์)
จำกกำรล้ำงชำมด้วยน้ำยำล้ำงชำม
โดยพยำยำมให้กำรรบกวน
(ให้น้ำจำกก๊อกน้ำ
หรือให้น้ำไหลออกทำง sink) เกิดขึ้น
แบบเป็นจังหวะสม่ำเสมอ
ระบบสังคมที่ไม่สมดุล
แต่มีกำรผลิตเอนโทรปีเชิงสังคม
ที่เป็นเชิงเส้น
จะนำไปสู่กำรจัดเรียงตัวเอง
ทำงสังคมและวัฒนธรรม?
เอำละครับ
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx
ชีวา ณ 7.docx

Mais conteúdo relacionado

Mais de SunnyStrong

คุณเป็นใคร 2.docx
คุณเป็นใคร 2.docxคุณเป็นใคร 2.docx
คุณเป็นใคร 2.docxSunnyStrong
 
คุณเป็นใคร 3.docx
คุณเป็นใคร 3.docxคุณเป็นใคร 3.docx
คุณเป็นใคร 3.docxSunnyStrong
 
คุณเป็นใคร 1.docx
คุณเป็นใคร 1.docxคุณเป็นใคร 1.docx
คุณเป็นใคร 1.docxSunnyStrong
 
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
5 Signs of a Strong Novel Plot.docxSunnyStrong
 
7 Fear Archetypes.docx
7 Fear Archetypes.docx7 Fear Archetypes.docx
7 Fear Archetypes.docxSunnyStrong
 
คุณเป็นใคร.docx
คุณเป็นใคร.docxคุณเป็นใคร.docx
คุณเป็นใคร.docxSunnyStrong
 
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docxThe Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docxSunnyStrong
 
Mom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxMom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxSunnyStrong
 
100 words for people.docx
100 words for people.docx100 words for people.docx
100 words for people.docxSunnyStrong
 
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docxHow to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docxSunnyStrong
 
characterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxSunnyStrong
 
characterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxSunnyStrong
 
ฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docxฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docxSunnyStrong
 
ฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docxฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docxSunnyStrong
 
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docxไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docxSunnyStrong
 
Mom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxMom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxSunnyStrong
 
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptxพื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptxSunnyStrong
 

Mais de SunnyStrong (20)

คุณเป็นใคร 2.docx
คุณเป็นใคร 2.docxคุณเป็นใคร 2.docx
คุณเป็นใคร 2.docx
 
คุณเป็นใคร 3.docx
คุณเป็นใคร 3.docxคุณเป็นใคร 3.docx
คุณเป็นใคร 3.docx
 
คุณเป็นใคร 1.docx
คุณเป็นใคร 1.docxคุณเป็นใคร 1.docx
คุณเป็นใคร 1.docx
 
Austria.docx
Austria.docxAustria.docx
Austria.docx
 
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
5 Signs of a Strong Novel Plot.docx
 
7 Fear Archetypes.docx
7 Fear Archetypes.docx7 Fear Archetypes.docx
7 Fear Archetypes.docx
 
คุณเป็นใคร.docx
คุณเป็นใคร.docxคุณเป็นใคร.docx
คุณเป็นใคร.docx
 
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docxThe Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx
The Hero’s Journey A 17 Step Story Structure Beat Sheet.docx
 
12 Poems.docx
12 Poems.docx12 Poems.docx
12 Poems.docx
 
Mom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxMom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docx
 
12 Poems.docx
12 Poems.docx12 Poems.docx
12 Poems.docx
 
100 words for people.docx
100 words for people.docx100 words for people.docx
100 words for people.docx
 
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docxHow to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
 
characterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docx
 
characterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docx
 
ฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docxฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docx
 
ฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docxฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docx
 
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docxไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
 
Mom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxMom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docx
 
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptxพื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
 

ชีวา ณ 7.docx