SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 546
ไหว้ฟ้ า
12/03/2566 @10.11 AM.



กราบดิน
1 เรียบเรียงโดย เมทนี แสงธรรม
Complied by: Martin Chan
编制者: 马丁 陈
ผล เหตุ
ประเพณี ความเชื่อ
พิธีกรรม ศรัทธา
พฤติกรรม สิ่งแวดล้อม
กฎหมาย การรับรู้
ปรัชญาเต๋า
อี้จิง (ปา-กว้า)
24 อุตุปักษ์ (ฤดูกาล)
ปาจื้อ (ดวงจีน)
จิตวิยาครอบครัว
พฤติกรรมศาสตร ์
การตื่นรู้
8 โบร่าโบราณ.....การแต่งงานแบบจีน
40 “ชง” ความหมาย-ความเชื่อ
ในภาษาและวัฒนธรรมจีน
84 โป้ยก่วย By Zhuq!Ching
126 ดวงสามีที่ส่งเสริมภรรยา
และดวงชายที่ภรรยาส่งเสริมสามี ดูกันแบบนี้
137 ปฐมบท
158 เปลี่ยนดวงเรียกเนื้อคู่
162 เคล็ดลับเปลี่ยนดวงปังๆด้วยศาสตร ์จีนโบราณ
169 ฤกษ์ยามระบบ 12 Day Officers Method
(12 วันเจ้าการ) (十二值日星) 12 เกี๋ยง
218 การอ่านปฎิทินจีนของน่าเอี๊ยง
276 หลักฮวงจุ้ยง่ายๆ ซื้อร ้อยครั้ง อยู่สบายร ้อยครั้ง
สารบัญ
288 รายงานสภาพอากาศ ประจาวันที่ 19 มีนาคม
2566
293 ฉักลักษณ์และความหมายที่ 1 เฉียน สวรรค์
ภาวะสัมบูรณ์
296 การแพทย์ตะวันตกในศตวรรษที่ 20
313 รสชาติกับสุขภาพ
330 “สีมงคล” ไหนถูกโฉลกช่วยดูดทรัพย์
ค้าขายร่ารวยได้
358 มาค้นหา “เลขประจาตัว” ฮวงจุ้ยกัน !!
368 การหา “ทิศดี” จาก “เลขประจาตัว” ฮวงจุ้ย
375 เงินกับความสุข
397 ทาไมเงินของคนรวยถึงซื้อความสุขไม่ได้?
431 EP12 ความหมายของดาวคู่ (ดาว2)
433 EP16 ความหมายของดาวคู่ (ดาว6)
435 ฮวงจุ้ยที่ดิน แบบไหนดีต้องรู้!!!
474 ฮวงจุ้ย กับ วันแม่
486 กัวหมิง หมายเลขประจาตัวฮวงจุ้ย
โบร่ำโบรำณ
.....กำรแต่งงำนแบบจีน
http://www.weddinginlove.com/content/Chinese_wedding_traditions-
64.html
สาหรับธรรมเนียมการแต่งงานแบบจีนนั้
น
เป็นตัวอย่างธรรมเนียมที่มีการปรับไปเรื่
อยๆ
ตามยุคตามสมัยและความนิยม
ชุดแต่งงำนจีนโบรำณ
สมัยก่อนราชวงศ์ฉินใส่สีดา
ราชวงศ์เหนือใต้ ใส่สีขาวเป็นหลัก
สมัยถังและซ่ง เจ้าบ่าวใส่สีแดง
เจ้าสาวใส่สีเขียว
และที่สังเกตจะไม่มีผ้าคลุมหน้าเจ้าสาว
แต่จะใช้พัดปิดบังใบหน้าแทน
แล้วต่สถานภาพของทั้งสองฝ่าย
เมื่อ 3,200 ปีก่อน
คนแซ่เดียวกัน
ห้ามแต่งงานกันเอง
สมัยก่อน
หมั้นกันเป็นเดือน...ค่อยแต่ง
เดี๋ยวนี้หมั้นเช ้าแต่งเย็น
แบบไม่หมั้นแต่แต่งเลยก็มี
บางยุค
พ่อแม่ฝ่ายเจ้าสาว
เตรียมข้าวของเครื่องใช ้และของหมั้นให้
เยอะมาก เตรียมกระทั่งโลงศพก็มี
เพื่อไม่ให้ฝ่ายชายมาดูถูกลูกสาวเขา
ได้ว่าพ่อแม่ไม่ดูแลรับผิดชอบ
แต่ปัจจุบันไม่ต้องถึงขนาดนั้น
สิ่งสาคัญของการแต่งงานแบบจีน
ไม่ใช่เรื่องของการเตรียมสิ่งของให้พร ้อ
ม
แต่อยู่ที่
กำรให้เกียรติผู้ใหญ่ของทั้งสองฝ
่ ำ
ย
มำกกว่ำ
ควรถาม
ญาติผู้ใหญ่ของทั้งสองฝ่าย
ว่าอยากเห็นอะไรในธรรมเนียมจีน
สิ่งไหนที่อยำกให้ทำ
เพื่อควำมสบำยใจบ้ำง
ถ้าฝ่ายหญิง
มีอาม่า
มักมีธรรมเนียมค่าน้านมข้าวป้อน
หรือ อั่งเปำน้ำนม
เพราะเคยช่วยเลี้ยงหลานคนนี้มา
หรือท่านอยากเห็นเอี๊ยมแดง
ก็จัดให้ท่าน
สิ่งที่อำม่ำเคยเห็น
และฝังใจว่ำดี
ถ้าอีกฝ่ายไม่ทาตามนั้น
อาม่า
อาจเกิดความรู้สึกมีอคติกับอีกฝ่ายก็ได้
เพราะการที่คนสองคนแต่งงานกัน
ไม่ได้แต่งแค่สองคน
แต่เป็ นกำรรวมสองครอบครัว
เข้ำด้วยกัน
ยิ่งถ้าวิถีชีวิตของจีน
ถูกสอนให้ผูกพัน
และกตัญญูกับผู้ใหญ่
อะไรที่ทาแล้วท่านไม่ชอบ
ก็เลี่ยงไปดีกว่า
เดิมทีชาวจีนสมัยก่อน
เรียกพิธีแต่งงาน
ว่า ฮุนหลี่
ซึ่งแปลตรงตัวได้ว่า
พิธีกรรมยามโพล้เพล้
เพราะงานสมรสส่วนใหญ่
มักจัดขึ้นในยามเย็น
นอกจากนี้
ชุดเจ้าบ่าว
ใครที่เป็ นคอหนังจีนโบรำณ
คงเคยเห็นพิธีแต่งงำน
แบบอลังกำรงำนสร้ำงของจีน
มำบ้ำงแล้ว
เป็นงานมงคลที่เต็มไปด้วยสีแดง
และพิธีกรรมมากมาย
แต่หลายท่าน
คงไม่ทราบถึงพิธีจริงในงาน
รวมถึงธรรมเนียมต่างๆ
บ๊องบ๊อง
ไปเสาะหามากฝากกันแล้วค่ะ
เผื่อท่านที่กาลังคิดจะแต่งงาน
อาจจะลองเลือกพิธีแบบจีนโบราณกันบ้
าง
– ส่วน ชุดเจ้ำสำว
ที่ใช ้ในพิธี
ต้องเป็นสีแดง
ที่ถือกันว่าเป็นสีมงคลของชาวจีน
โดยการแต่งงาน
จะยึดตามหลักสาคัญที่ขาดไม่ได้
ตามความเชื่อของชาวจีนโบราณ
ก็คือ หลัก 3 หนังสือ 6 พิธีการ
สู่ขอ
ผู้ใหญ่ฝ่ายชายและแม่สื่อ
เดินทางไปสู่ขอกับพ่อแม่ฝ่ายหญิง
พร ้อมมอบของขวัญ
ที่มีความหมายมงคลให้แก่บ้านผู้หญิง
ซึ่งทางครอบครัวฝ่ายหญิงเอง
จะถือโอกาสนี้
สอบถามแม่สื่อ
เกี่ยวกับครอบครัวฝ่ายชาย
ขอวันเดือนปีเกิด
หลังจากสู่ขอสาเร็จ
เป็นที่เรียบร ้อยแล้ว
พ่อแม่ฝ่ายหญิง
จะมอบวันเดือนปีเกิดของลูกสาว
ให้แก่บ้านฝ่ายชาย
เพื่อนาไปเสี่ยงทาย
เสี่ยงทาย
หลังจาก
รับบันทึกวันเดือนปีเกิดของฝ่ายหญิงมา
แล้ว
พ่อแม่ฝ่ายชาย
จะนาแผ่นวันเดือนปีเกิด
ไปวางไว้หน้ารูปปั้นเทพเจ้า
หรือบนโต๊ะบูชาบรรพบุรุษ
เพื่อให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์
หรือบรรพบุรุษ
ชี้แนะว่าการแต่งงานครั้งนี้
จะนาโชคดีหรือร ้ายมาสู่ครอบครัว
ว่ำที่คู่บ่ำวสำวดวงชงกันหรือไม่
หากไม่มีสัญญาณ
บ่งชี้ถึงความไม่เป็นมงคลเกิดขึ้น
การเตรียมงานแต่ง
ก็เริ่มขึ้น ณ บัดนี้
ฝ่ายชาย
จะส่งหนังสือหมายหมั้น
และหนังสือแสดงสินสอด
มายังบ้านฝ่ายหญิง ก่อนถึงวันงาน
โดยระยะเวลานั้น
อยู่ที่ ขอฤกษ์ครอบครัวฝ่ายชาย
รับหน้าที่หาฤกษ์งามยามดี
เพื่อจัดงาน
และจะนาวันที่ได้
ไปขอความเห็นจากฝ่ายหญิง
รับเจ้าสาว
ในวันมงคลสมรส
เจ้าบ่าว
พร ้อมด้วยแม่สื่อ
ญาติสนิทและมิตรสหาย
เดินทางไปรับเจ้าสาวที่บ้าน
เมื่อถึงบ้านเจ้าสาวแล้ว
เจ้าบ่าว
ต้องไปเคารพศาลบรรพชนของฝ่ายหญิ
ง
หลังจากนั้น
ก็รับเจ้าสาว
มาทาพิธีกราบไหว้ฟ้าดิน
ที่บ้านฝ่ายชาย
พิธียกน้าชา
คารวะญาติผู้ใหญ่
วิธีกำรยกน้ำชำ
เริ่มจากการจัดที่นั่งให้ผู้ใหญ่
โดยให้คุณพ่อเจ้าบ่าว
นั่งด้านซ ้ายของคุณแม่
จากนั้น
บ่าวสาวคลานเข่า
ยกถำดน้ำชำ
ที่มีถ้วยชา 2 ใบรินน้าชาเตรียมไว้
แล้วยกให้คุณพ่อคุณแม่
ท่านจะหยิบถ้วยน้าชาขึ้นดื่มกัน
โดยจะจิบแค่นิดหน่อย
ห้ำมจิบหมดถ้วย
เพราะถือว่ามอบน้าชาที่เหลือ
เป็นทุนกลับไปให้บ่าวสาว
จากนั้น
จึงยกน้าชาให้ญาติผู้ใหญ่ท่านอื่น
ตามลาดับอาวุธโส
แต่ทุกครั้งที่ยกน้าชา
ต้องรินชาใส่ถ้วย 2 ใบทุกครั้ง
จากนั้น
บ่าวสาว
รับประทานขนมอี๊ร่วมกัน
เป็นอันเสร็จพิธี
ลักษณะของกาและถ้วยชาที่เหมาะสม
ในพิธียกน้าชา ต้องเป็นถ้วยชาจีน
ไม่ควรใช้ถ้วยชำที่มีหู
เพราะเป็นถ้วยชาแบบฝรั่ง
และควรมีถำดในการยาน้าชาด้วยทุก
ครั้ง
ส่วนชาที่ใช ้ในพิธีจะเป็นชาจีนหรือชาฝ
รั่ง
ก็ไม่ผิดธรรมเนียมแต่อย่างใด
อาหารมงคลที่ใช ้ในพิธีแต่งงาน10
อย่าง
วุ้นเส้น เส้นหมี่ หรือบะหมี่
หมายถึง ให้อายุยืนยาว รักกันนานๆ
เห็ดหอม หมายถึง ชีวิตคู่ที่หอมหวาน
ผักกุยช่ำย หมายถึง ให้รักกันนานๆ
หรือร่ารวย
ผักเกำฮะโฉ่ หมายถึง
ให้รักใคร่ปรองดองกัน
หัวใจหมู หมายถึง
ให้รักกันเป็นใจเดียว
ไส้หมู-กระเพำะหมู
(อย่างใดอย่างหนึ่ง)
หมายถึง ให้ปรับตัวเข้าหากัน
ตับ หมายถึง
ให้มีความรุ่งเรืองและเจริญก้าวหน้า
ปลำ หมายถึง
ให้ร่ารวยเหลือกินเหลือใช ้
ปู หมายถึง ทาอะไรคล่องแคล่วว่องไว
ขยันทามาหากิน
ไก่ หมายถึง ความสติปัญญา กล้าหาญ
และเที่ยงตรง
เมื่อเสร็จพิธีไหว้ฟ้ าดินแล้ว
ก็ถือว่าบ่าวสาวทั้งสอง
เป็นสามีภรรยากันโดยถูกต้อง
จากนั้น
ก็ส่งตัวทั้งคู่เข้าสู่ห้องหอ
ซึ่งการแต่งงานแบบจีน
เรียกกันติดปากว่า แต่งเข้าบ้าน
เนื่องจากฝ่ายหญิงจะไปเริ่มชีวิตครอบค
รัว
ที่บ้านของฝ่ายชายเสมอ
เกร็ดความเชื่อเรื่องประเพณีแต่งงานจีน
-เชื่อกันว่า ถ้าคู่รักอายุห่างกัน 6 ปี
ดวงจะชง
ห้ามแต่งงานกัน เพราะถึงแต่งไปก็ไม่ดี
-เมื่อเจ้าบ่าวยกขันหมากมา
พ่อแม่เจ้าสาวต้องหลบไปก่อน
ห้ามประจันหน้ากับเจ้าบ่าว
และขบวนขันหมาก
เพราะถือว่าอีกหน่อยจะไม่ลงรอยกัน
-ตาม ฤกษ์วันแต่ง
ซินแส
จะกาหนดว่าคนเกิดราศีใดบ้างที่เป็นกา
ลกิณี
คนราศีนั้นต้องหลบหน้าไปจาก
พิธีรับตัวเจ้าสาว
-เจ้าสาวต้องซื้อหวี 4 เล่ม
เอาเคล็ดคามงคล
ว่า " ซี้ซี้อู่หอซิว " แปลว่า
จะได้รับทรัพย์ตลอดเวลา
-แม่สามี
สมัยก่อนมักหาจังหวะดี ๆ
แอบกดหัวเจ้าสาว
เพื่ออีกหน่อยตนจะได้เป็นฝ่ายคุมลูกสะ
ใภ้
-ก่อนออกจากบ้าน
เจ้าสาวต้องถอดตุ้มหูออก
เพราะเชื่อว่าตุ้มหูจะถ่วงความเจริญ
และรั้งเจ้าสาวไว้กับบ้านเก่า
เมื่อไปถึงบ้านเจ้าบ่าว
จึงจะสามารถใส่ได้
-เมื่อเจ้าสาวจะเข้าบ้านฝ่ายชาย
มีธรรมเนียมจีนโบราณอยู่ว่า
ให้เจ้าบ่าวเอามือเท้าประตู
แล้วให้เจ้าสาวมุดเข้าไป
เป็นเคล็ดว่าให้ภรรยาอยู่ใต้อานาจสามี
-คู่แต่งงานใหม่ให้วางส้มเช้ง 2 ลูก
ไว้หัวเตียง
เพราะเชื่อว่าจะทาให้ได้ลูกชาย
-ในงาน ตึ่งฉู่
บางบ้าน
จะมีธรรมเนียมที่อนุญาตให้ฝ่ายเจ้าสาว
เอาสิ่งของ ของฝ่ายชาย เช่น
เอารองเท้าไปซ่อน
เพื่อเรียกอั่งเปา เป็นการไถ่คืน
-คนจีนไม่นิยมแต่งงานช่วงกินเจ
เพราะเป็นช่วงที่ทั้งประตูสวรรค์
และประตูนรกเปิด
ทาให้อาจมีสิ่งไม่ดีเข้ามาใน งานมงคล
และติดตัวไปตลอด ชีวิตการแต่งงาน
.....
ในที่สุด
เราก็เรียนรู้พิธีการ
และความเชื่อของชาวจีนกันเรียบร้อยแ
ล้วนะคะ
บ๊องบ๊อง
ไม่รู้ว่า จะมีท่านใด
สนใจจัดพิธีแต่งงานแบบจีนกันบ้าง
แต่ไม่ว่าจะจัดงานแบบไหน
บ๊องบ๊องเชื่อว่าคงจะอบอวลไปด้วยความ
รักและความสุขสมหวังกันถ้วนหน้าแน่น
อนค่ะ
เอ้า...คานับหนึ่ง คานับสอง
หนังสือที่กล่าวถึงนั้น
ได้แก่ หนังสือหมั้นหมาย
หนังสือแสดงสินสอด
และหนังสือรับตัวเจ้าสาว
ส่วน 6 พิธีการ
เป็นขั้นตอนการปฏิบัติ
ที่เริ่มตั้งแต่การหมั้น
ไปจนถึงพิธีแต่งงาน
ได้แก่ (บ๊องบ๊องไม่แน่ใจว่า
หากมีสัญญาณไม่ดี
ทางฝ่ายชายจะทาอย่างไร)
มอบสินสอด
2 สัปดาห์- 1 เดือน
ทางครอบครัวฝ่ายชาย
จะเชิญญาติที่เป็นหญิง 2 หรือ 4 คน
(เป็นหญิงที่มีความสุขในชีวิตแต่งาน)
พร ้อมทั้งแม่สื่อ
นาสินสอดทองหมั้นไปให้ฝ่ายหญิง
และทางครอบครัวฝ่ายหญิง
ก็จะมอบของขวัญตอบ
(ขณะออกเดินทาง
ครอบครัวฝ่ายหญิง
บางครอบครัว
จะนาน้ำสะอำด
สาดตามหลังเกี้ยว
หมายถึง ลูกสำวแต่งงำนไปแล้ว
ก็ถือว่ำเป็ นสมำชิกของครอบครัวฝ
่
ำยชำย
เพรำะต้องไปใช้ชีวิตที่บ้ำนทำงฝ
่ ำ
ยชำย
เหมือนน้ำที่สำดออกไป)
“ชง”
ควำมหมำย-ควำมเชื่อ
ในภำษำและวัฒนธรรมจี
น
https://www.silpa-mag.com/culture/article_80737
คาว่า “ชง”
ที่ใช ้ในความหมายเชิงโหราศาสตร ์จีน
เดิมใช้อักษร 衝
ต่อมาเปลี่ยนเป็นอักษร 重
ถึงยุคสาธารณรัฐประชาชนจีน
ที่มีการใช ้อักษรตัวตัด จึงเขียนเป็น 冲
แต่รูปมาตรฐาน
ที่ใช ้มานาน 2,000 กว่าปี
คือ 衝
คาว่า ชง (冲–衝)
ตามหลักโหราศาสตร ์จีนนั้น
เป็นความหมายเก่า
ที่สืบทอดมาตามความเชื่อ
และศาสตร ์เฉพาะวิชาของจีน
ตามความเข้าใจเชิงโหราศาสตร ์จีน
อย่างชาวบ้าน
ชง (冲)
คือ ขัดแย้ง, เข้ากันไม่ได้
เช่น ก ชงกับ ข
ก็คือ ก กับ ข เข้ากันไม่ได้
หรือขัดกันตามเกณฑ์โหราศาสตร ์จีน
ไม่ใช่ชนหรือปะทะกัน
ปีชวดชงกับปีมะเส็ง (สมมุติ)
หมายถึง
คนที่เกิดสองปีนี้
มีดวงขัดกันหรือเข้ากันไม่ได้
คงไม่ถึงชนหรือปะทะกัน
ตามความหมายในภาษาไทย
ชง (冲)
ในความหมายว่า
ขัดแย้งกัน ตามโหราศาสตร ์จีน
น่าจะตรงกับคาภาษาจีน
ว่า 冲突 (ชงถู-ขัดแย้ง)
หรือ 冲犯 (ชงฟ่าน-ล่วงเกิน ขัดแย้ง)
มากกว่า ชน ปะทะ
ซึ่งภาษาจีนว่า 冲撞 (ชงจ้วง)
มหาพจนานุกรมจีน เล่ม 3
(汉语大词典)
อธิบายคา 衝 (冲 Chong ชง)
และคาผสมที่เกิดจากคานี้
ไว้ใน น. 1,083-1090
มีความหมายของ “ชง”
ในเชิงโหราศาสตร ์จีน
อยู่ในคา 衝犯 (Chongfàn)
แต้จิ๋ว
อ่าน ชงหวม ดังนี้
衝犯 (Chongfàn)
1. ฝ่า กระทบ (冲, 触犯)
2. บุกรุก (进犯)
3. ล่วงเกิน ปะทะ ขัดแย้ง (犯, 冲撞)
4. ความเชื่องมงายในอดีตอย่างหนึ่ง
เชื่อว่าธาตุทั้งห้า (ปัญจธาตุ)
ขัดข่มกันอยู่
(旧时– 种迷信说法,
谓五行相冲克)
2 คำสุดท้ำย
ในคานิยามของความหมายนี้
คือ 冲克 คา 冲
ก็คือ ขัดแย้ง 克
คือ ข่ม ปราบ เอาชนะกัน นี่เอง
คือที่มาของคาว่า “ชง”
ในเชิงโหราศาสตร ์จีน
คาอธิบายนี้
อิงอยู่กับหลักปัญจธาตุ
(五行 ธาตุทั้งห้า)
ของปรัชญาสานักยินหยาง
สำนักยินหยำง
ถือว่ำโลกนี้
มีธำตุมูลฐำนอยู่ 5 อย่ำง
คือ ดิน (土) น้า (水) ไฟ (火) ไม้ (木)
และโลหะ (金)
คาสุดท้ายนี้
มักแปลผิดเป็นทอง
อักษร 金
(Jin จิน แต้จิ๋ว กิม)
แปลว่าโลหะ หรือทองคา
แต่ในเรื่องปัญจธำตุ หมำยถึง
โลหะ
สรรพสิ่งในโลกนี้
ล้วนมีธำตุเหล่ำนี้
ประกอบหรือกำกับอยู่
เช่น เรื่องทิศและสีประจาทิศ
ทิศเหนือธาตุน้า สีดา
ทิศใต้ธาตุไฟ สีแดง
ทิศตะวันออกธาตุไม้สีเขียว
(หรือน้าเงิน)
ทิศตะวันตกธาตุโลหะสีขาว
ศูนย์กลางธาตุดินสีเหลือง
ปี เกิดของคน
ก็มีธำตุประจำปี
ซึ่งแยกย่อย
เป็นยิน (阴) กับหยาง (阳)
คือ ปีชวด ธาตุน้าหยาง
ฉลู-ดินยิน
ขาล-ไม้หยาง เถาะ-ไม้ยิน มะโรง-
ดินหยาง
มะเส็ง-ไฟยิน มะเมีย-ไฟหยาง มะแม-
ดินยิน
วอก-โลหะหยาง ระกา-โลหะยิน จอ-
ดินหยาง
กุน-น้ายิน
ธาตุดินประจาปีเกิดรวม 4 ปี
นอกนั้นธาตุละ 2 ปี
โดยแยกเป็นยินกับหยาง
ธาตุทั้งห้านี้
ให้กาเนิดและขัดข่มกันเองเป็นวงจร
คือ ธาตุดินให้กาเนิดโลหะ
โลหะให้กาเนิดน้า
น้าให้กาเนิดไม้ ไม้ให้กาเนิดไฟ
ไฟให้กาเนิดดิน
ในแง่การขัดข่มกัน
ดินข่มน้า น้าข่มไฟ ไฟข่มโลหะ
โลหะข่มไม้ ไม้ข่มดิน เป็นวงจร
ธำตุที่เป็ นคู่ให้กำเนิดนั้น
ช่วยเหลือกัน
ส่วนคู่ขัดข่มนั้น
ควบคุมข่มกัน
แต่แยกออกจำกกันไม่ขำด
มีคู่ให้กำเนิด
สิ่งนั้นจึงเกิดขึ้น
มีคู่ขัดข่ม
สิ่งนั้นจึงเปลี่ยนแปลงพัฒนำไปอย่
ำงสมดุลกลมกลืน
เป็ นปรัชญำเรื่องกำรเกิดขึ้น
เปลี่ยนแปลง
และแตกดับของสรรพสิ่งในโลก
ในทางโหราศาสตร ์จีน
เรื่อง “ชง”
ได้เอาหลักการขัดข่มกันของปัญจธาตุ
นั้น
เป็นฐานศึกษาวิเคราะห์
และเพิ่มเติมรายละเอียดไปตามศาสตร ์ข
องตน
ซึ่งไม่ขอกล่าวรายละเอียด
แต่ขอตั้งข้อสังเกตไว้ว่า
“ชง” หรือขัดข่มกันนั้น
ไม่ได้มีแต่ด้านร ้าย
แต่เป็นปัจจัยกระตุ้น
ให้เกิดความเปลี่ยนแปลงไปอย่างสันติ
ไม่หยุดนิ่งอยู่
ทาให้มีพัฒนาการของชีวิตและสรรพสิ่ง
วกกลับมาที่คาว่า “ชง (冲-衝)”
ตำมหลักโหรำศำสตร ์จีน
ว่ำควรแปลเป็ นไทยว่ำอะไร
แม้ว่า
ความหมายหนึ่ง
ของอักษร ชง (衝) จะตรงกับคาว่า
“ชน”
ในภาษาไทย
แต่ที่ใช ้ไม่ตรงกัน
จึงไม่ควรใช้เป็นคาแปล คาจีน-
ไทยที่เสียงและความหมายพ้องกัน
แต่ที่ใช ้ไม่ตรงกัน
ในลักษณะนี้
ยังมีอีก
เช่น คา 错 cuò-ชั่ว
เสียงตรงกับคาว่า “ชั่ว” ของไทย
แต่ในภาษาจีนหมายถึง ผิด ไม่ถูกต้อง
ไม่ใช่ชั่วช ้า เลวร ้าย อย่างในภาษาไทย
ใช้แทนกันหรือใช ้เป็นคาแปลกันไม่ได้
ได้แค่ใช้เทียบเคียงกัน
ว่าพ้องเสียงกัน
และความหมายไปในทานองเดียวกัน
คงเป็ นคำที่มำจำกคำดั้งเดิม
คำเดียวกัน (cognate)
แต่ต่อมา
ความหมายและที่ใช ้ต่างกันไป
โหราศาสตร ์
หรือวิชาหมอดูของไทย
มีความเชื่อเรื่อง “ขัด” อยู่ด้วย
หมายถึง
“เกิดปัญหาหรือทุกข์ภัย
เพราะขัดแย้งหรือล่วงเกินสิ่งศักดิ์สิทธิ์”
ความขัดแย้งล่วงเกินนั้น
มักเกิดเพราะปฏิบัติต่อท่านไม่ถูกต้อง
หรือพลั้งเผลอล่วงเกินโดยไม่ตั้งใจ
แล้วเกิดความเจ็บป่วยหรือปัญหาในชีวิ
ต
หมอดู
จะทานายว่า “ขัด” สิ่งศักดิ์สิทธิ์ใด
เช่น ขัดเจ้าที่ ขัดผีเรือน ขัดจอมปลวก
(ซึ่งคนไทยในชนบทบางคนนับถือ)
การขัดนี้
บางทีเป็นเรื่องเล็กน้อย
เช่น
เด็กวิ่งเล่นเอะอะตึงตังที่หน้าหิ้งผีเรือน
เผลอไปปัสสาวะใกล้ศาลพระภูมิ
แล้วเกิดอาการเจ็บป่วย
หมอดูจะแนะวิธีแก้ให้ง่ายๆ ไม่สิ้นเปลือง
หรือถือโอกาสเอาประโยชน์เข้าตัวหมอ
ซึ่งแต่เดิมถือกันว่าเป็นบาป
ความหมายของคาว่า “ขัด” ดังกล่าวนี้
พจนานุกรมทุกฉบับของไทยไม่ได้เก็บไ
ว้
เพราะเป็นความหมายเฉพาะของวิชาหม
อดูไทย
ไม่ใช่ความหมายทั่วไป
เรื่อง “ขัด” ของหมอดูไทย
มีส่วนคล้ายกับเรื่อง “ชง”
ของจีนอยู่บ้าง
ต่างก็เกิดจากอานาจลี้ลับเหมือนกัน
แต่เกิดเป็นปัญหาในลักษณะต่างกัน
ชงของจีน
เป็นเกณฑ์ห้ามทากิจนั้นกิจนี้
เพราะมีความขัดแย้งกันในความลี้ลับ
ส่วนขัดของไทย
เกิดปัญหาขึ้นแล้ว
จึงมาหาสาเหตุว่าขัดแย้งกับสิ่งลี้ลับใด
จะแก้ไขอย่างไร
แต่ก็ถือว่าเป็นเรื่องทานองเดียวกัน
อนึ่ง
ความเชื่อเรื่อง “ชง”
มีที่มาจากเรื่อง “ปัญจธาตุขัดข่มกัน
(五行冲克,五行相克)”
ธำตุทั้งห้ำ
มีควำมขัดแย้งข่มกันอยู่ในตัวเป็ น
วงจร
ดังกล่ำวมำแล้ว
ไม่ใช่กำรปะทะ ชนกัน
ซึ่งมีควำมรุนแรงกว่ำ
เพรำะในควำมขัดข่มเป็ นปฏิปักษ์กั
น
ยังมีควำมเกื้อกูลจุนเจือ
ให้ควำมงอกงำมแก่กันด้วย
เป็ นทั้งกำรสนับสนุนและควบคุมกั
น
เพื่อให้เกิดสมดุลของธรรมชำติ
ตำมหลักปรัชญำของสำนักยินหย
ำง
ดังนั้น
คาว่า “ชง” ตามความเชื่อ
เชิงโหราศาสตร ์ของจีน
จึงควรแปลเป็นไทยว่า ขัดแย้ง ล่วงเกิน
มากกว่าแปลว่า ชน ปะทะ
กล่าวอีกนัยหนึ่ง
ถ้าให้ระบุความหมาย
ของคาชง 冲 ในความหมายที่ว่านี้
เป็นภาษาจีน
ด้วยคาที่กะทัดรัด
ก็ควรจะเป็น 冲突 (ขัดแย้ง)
冲犯 (ล่วงเกิน ขัดแย้ง)
ไม่ใช่ 冲撞 (ชน ปะทะ)
หรือ 冲击 (ตี โจมตี)
ที่สาคัญ
มหาพจนานุกรมจีน (汉语大词 典)
ซึ่งเป็นพจนานุกรมฉบับใหญ่
และมาตรฐานที่สุดของจีนในปัจจุบัน
ก็เก็บความหมายของชง (冲衝)
เชิงความเชื่อทางโหราศาสตร ์ไว้
ในคาว่า 冲犯 (Chongfàn)
คือ ล่วงเกิน ขัดแย้ง
ถ้าอะไร “ชง” กัน
จึงไม่ควรเกี่ยวข้องกัน
เพราะจะขัดแย้งล่วงเกินกัน
ทาให้เกิดผลร ้ายตามมานั่นเอง
แต่ดังกล่าวแล้วว่า
ตามหลักปรัชญาสานักยินหยาง
“ชง”
หรือการขัดข่มกันเป็นของคู่
กับการเกื้อกูลให้กาเนิด
ดาเนินควบคู่กันไปตามสมดุลของธรรม
ชาตินั่นเอง
เป็นปกติวิสัยของธรรมชาติ
มิได้เลวร ้ายจนน่าสะพรึงกลัว
ควรเข้าใจและปฏิบัติให้ถูกต้องเหมาะสม
เท่านั้น
ปรัชญำยินหยำง
มีควำมสัมพันธ ์กับคัมภีร ์อี้จิง
(易经 คัมภีร ์แห่งความเปลี่ยนแปลง)
ซึ่งอธิบายจักรวำลวิทยำ
ตามความเชื่อของคนจีนโบราณไว้
ว่า จักรวาลนี้
เกิดจาก “อี้ (易)” คือความเปลี่ยนแปลง
ซึ่งขอแปลว่า อนิจลักษณ์
ในอรรถกถา
คัมภีร ์อี้จิง (易传)
บรรพจี้ฉือ (系辞)
อธิบายว่า
“อี้ (อนิจลักษณ์)
มีไท่จี๋ (ไท้เก๊ก 太极)
คือสภาวะสูงสุด (อุตตมภาวะ)
ไท่จี๋ (ไท้เก๊ก)
ทาให้เกิดทวิภาค
คือ ยินกับหยำง (阴阳)
ทวิภำค
หรือ ยินหยาง
ทาให้เกิดจตุลักษณ์
คือลักษณะอันเป็นสี่ เช่น ฤดูกาลทั้งสี่
จตุลักษณ์
ทาให้เกิดสภาวะทั้งแปด (อัฐภาวะ)
ได้แก่ ฟ้ า ดิน น้า ลม ไฟ
ฟ้ าร ้อง ห้วงน้า และภูเขา
จากนั้น
มีปฏิสัมพันธ์กัน
เกิดเป็นสรรพสิ่งในจักรวาล
ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงผันแปร
เป็นอนิจลักษณ์อยู่ตลอดเวลา
คนจีนจาลองความรู้นี้
ไว้ในภาพปา-กว้า
(八卦 แต้จิ๋วโป๊ ยข่วย)
คือสภาวะอันแทนด้วยลายลักษณ์ทั้งแป
ด ดังนี้
ปำ-กว้ำ (โป๊ ยข่วย) นี้
นิยมใช ้เป็นเครื่องรางของขลังด้วย
นิยมเรียกกันว่า ยันต์แปดเหลี่ยม
วงกลมด้ำนใน
คือ ไท่จี๋
(ไท้เก๊ก-อุตตมภาวะอันได้แก่จักรวาล)
ลูกน้ำ
หรือปลำขำวดำในวงกลม
คือหยางกับยิน
ซึ่งใช ้ลายเส้น
เป็นสัญลักษณ์แทนได้อีก
เส้นเต็ม — แทนหยาง
เส้นขาดหรือเส้นประ — แทนยิน
แต่ในปา-กว้า
จะเป็ น 3 เส้นซ้อนกัน
ลายเส้นซ ้อน ๓ เส้น
ที่ต่อกันเป็นแปดเหลี่ยม
ได้แก่สภาวะทั้งแปด
คือ ฟ้ า ดิน น้า ลม ไฟ ฟ้าร ้อง ห้วงน้า
และภูเขา
จักรวาลวิทยานี้
เกิดจากการสังเกตธรรมชาติของคนจีน
ว่า โลกนี้
มีควำมเปลี่ยนแปลงผันแปรอยู่ตลอ
ดเวลำ
จำกพื้นฐำนสำคัญ 2 ประกำร
ที่เป็ นคู่กัน
คือ ฟ้ า-ดิน
ดวงอาทิตย์-ดวงจันทร ์
กลางวัน-กลางคืน
มืด-สว่าง
จึงเรียกสภาวะพื้นฐาน 2 ประการนี้ว่า
หยาง-ยิน
(หรือยิน-หยาง)
ธรรมชาติที่เป็นตัวแทนหยาง
คือ ฟ
้ ำ ดวงอำทิตย์กลำงวัน สว่ำง
ตัวแทนยิน
ก็คือ ดวงจันทร ์ดิน กลำงคืน มืด
ฟ้ าดิน
ดวงอาทิตย์ดวงจันทร ์
จับคู่ปฏิสัมพันธ์กัน
จึงเกิดความผันแปร
เป็นสภาวะต่างๆ อีกเป็นอนันต์
อักษรควำมเปลี่ยนแปลง
易 (อี้ yì)
จึงประกอบด้วย
อักษรดวงอาทิตย์日
กับอักษรดวงจันทร ์月 แปลงรูปเป็น 勿
รวมกันเป็น 易
หมายถึงความเปลี่ยนแปลง
(จากปฏิสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์-
ดวงจันทร ์
ฟ้ า-ดิน)
ความเปลี่ยนแปลงนี้
เป็นอนันตภาวะไม่มีที่สิ้นสุด
เป็นสิ่งสูงสุด
จึงเรียกว่า ไท่จี๋ (太极)
หรือไท้เก๊กในภาษาแต้จิ๋ว
ซึ่งหมายถึง สภาวะสูงสุด
ควำมเข้ำใจควำมเปลี่ยนแปลงผัน
แปร
ปฏิสัมพันธ์ของธรรมชาติ
หรือ อี้ (易) จึงเป็นศาสตร ์ชั้นสูง
จากธรรมชาติศึกษา
เข้าสู่ปรัชญาของคนจีน
แล้วใช ้เป็นแนวทางดารงชีวิต
ให้สอดคล้องกับความจริงของธรรมชาติ
โดยดูจากสภาวะทั้งแปดในธรรมชาติ
ที่สาคัญคือ ดวงอาทิตย์ดวงจันทร ์
ฟ้ าดิน
มนุษย์
พบว่ำ ฟ
้ ำ มีกฎระเบียบมั่นคง
ดวงอาทิตย์ดวงจันทร ์
โคจรอย่างมีระบบหมุนเวียนตลอดเวลา
ไม่หยุดนิ่งเกียจคร ้าน
ถือเป็นคุณสมบัติพื้นฐานของฟ้า
ว่า “กระตือรือร ้นอยู่ตลอดเวลา (自强
不息)”
ส่วนดินเป็นที่เกิด
และรองรับสรรพสิ่งอย่างมั่นคงไม่ปฏิเสธ
มีคุณธรรมยิ่งใหญ่
รองรับสรรพภาวะ (厚德载物)
เป็นคุณสมบัติสาคัญ
จากธรรมชาติพื้นฐานของฟ้ าดิน
ตำมทรรศนะของจีน
นำไปสู่หลักกำรดำรงชีวิต
พื้นฐำนสำคัญ 2
ประกำรของคนจีน
คือ
ขยันขันแข็งกระตือรือร้นอยู่ตลอดเ
วลำเหมือนฟ
้ ำ
หนักแน่นอดทนเหมือนดิน
เมื่อประสบปัญหา
จะต่อสู้แก้ไขไม่งอมืองอตีน
หรือหวังพึ่งอานาจภายนอก
คนจีน
เคารพสิ่งศักดิ์สิทธิ์และธรรมชาติ
แต่จะต่อสู้เพื่อชีวิตที่ดีกว่าด้วยตนเอง
คือ เคารพสิ่งศักดิ์สิทธิ์แต่ไม่หวังพึ่ง
ดังนั้น
แม้คนจีนจะมีความเชื่อเรื่องสิ่งลี้ลับ
เป็นข้อห้ามอยู่มาก แต่ก็มีทางแก้ไข
ไม่ใช่เชื่องมงาย
จนถ่วงชีวิตตนเอง
ความเชื่อ
บางเรื่องเป็นกุศโลบายฝึกวินัย
ในโอกาสอันควร
เช่นวันแรกของปีใหม่จีน
(1 ค่า เดือนอ้ายจีน)
ห้ามพูดคาหยาบ
ห้ามทะเลาะเบาะแว้ง
ห้ามทาของแตกหัก
ก็เพื่อฝึกความสารวมระวัง
เป็นการเริ่มต้นที่ดีในปีใหม่
โป้ ยก่วย
By Zhuq!Ching
https://bit.ly/3oAofoY
หนึ่งในจานวนหลายๆ เรื่องของ 'อี้จิง'
ที่น่ากวนใจ
สาหรับผมก็คือ 'โป้ยก่วย'
หรือที่หลายๆ คน
มักจะเรียกกันว่า 'ยันต์แปดเหลี่ยม'
นั่นแหละครับ
เพราะเรามักจะพบเห็นว่า
ลาดับขีด 'หยิน-หยาง'
บน 'โป้ยก่วย' นั้น
มีลาดับที่แตกต่างกันอยู่สองแบบด้วยกั
น
แล้วก็ถือกันว่า
เป็น 'แบบมาตรฐานทางตารา'
ทั้งสองแบบซะด้วย ??!!
แบบดั้งเดิม
ที่เชื่อกันว่าถูกบัญญัติขึ้นมา
โดย Fu Xi
อันเป็นกษัตริย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร ์
นั้น
ถูกขนานนาม
ในเวลาต่อมาว่าเป็น 'อนุกรมแห่งฟ้ า'
แต่ฝรั่งเรียกว่า Earlier Heaven
Order
เพื่อให้ไปเทียบเคียง
กับแบบที่ได้รับการปรับปรุงขึ้นใหม่
โดย 'โจวเหวินอ๋อง'
หรือ King Wen
ซึ่งฝรั่งเรียกชื่อเป็น Later Heaven
Order …
แต่ตามที่มีบันทึกไว้
ในเอกสารหลายๆ แห่ง
ปรากฏว่า King Wen
ตีความให้อนุกรมของ Fu Xi
เป็น 'อนุกรมแห่งสวรรค์'
ซึ่งเป็นอนุกรมตามธรรมชาติ
ก่อนที่มนุษย์จะถือกาเนิดขึ้นมา
และเรียกอนุกรมแบบของตัวเอง
ในทานองว่าเป็น 'อนุกรมแห่งมนุษย์'
เพื่อจะประสานความสมดุลแห่ง 'ฟ้ า-
ดิน'
อันเป็นการสะท้อนให้เห็นถึง
แนวความคิดที่ต้องการจะดารงชีวิตอยู่ร่
วมกันอย่างกลมกลืน
กับ 'หยาง' และ 'หยิน' ในธรรมชาติ
ตามหลักคาสอนของปรัชญาเต๋านั่นเอง
…
แล้วนักวิชาการทั้งหลาย
ในยุคต่อๆ มา
ก็เลยเอา 'อนุกรมแห่งสวรรค์' ของ Fu
Xi
ไปจับคู่กับ 'อนุกรมเลขฐานสอง'
ที่มีเพียง 0 กับ 1 …
โดยกาหนดให้ 'หยิน'
ที่เคยใช ้'เส้นประ'
เป็นสัญลักษณ์ ถูกแทนที่ด้วยเลข 0
และกาหนดให้ 'หยาง'
ที่เคยใช ้'เส้นเต็ม' เป็นสัญลักษณ์
ถูกแทนที่ด้วยเลข 1 …
ซึ่งมันก็บังเอิญที่ทาได้อย่างลงตัวพอดิบ
พอดี !!?? …
ดังนั้น
เมื่อเรานาเอา 'อนุกรมแห่งสวรรค์'
ของ Fu Xi
มาเขียนเรียงลาดับทางแนวราบ
เราก็จะเห็นเป็น
'อนุกรมเลขฐานสอง' ที่ไม่ผิดเพี้ยนเลย
…
เมื่อเราแบ่งครึ่งซ ้าย
กับครึ่งขวาออกจากกัน
เราก็จะเห็น 'หยิน' กับ 'หยาง'
ที่ถูกแยกเป็น 2 ข้าง
เหมือนกับในภาพ 'โป้ยก่วย'
ของ Fu Xi
อย่างพอดิบพอดีด้วย …
และถ้าหาก
เราสังเกตดู 'คู่ตรงข้ามตามแนวแกน'
ทั้งหมด
ในแผนผังของ Fu Xi
เราก็จะเห็น 'ความสุดขั้ว' แห่ง
'คู่ตรงข้าม' นั้นๆ
อย่างชัดเจน …
☷ (000) ... ตรงข้ามกับ ... ☰ (111)
☶ (001) ... ตรงข้ามกับ ... ☱ (110)
☵ (010) ... ตรงข้ามกับ ... ☲ (101)
☴ (011) ... ตรงข้ามกับ ... ☳ (100)
มันเป็ นอนุกรมง่ำยๆ
ที่ดูแล้ว
แทบจะไม่ต้องอธิบำยอะไรอีกเลย
เพราะทุกอย่างดูลงตัว
และสมบูรณ์แบบมากๆ
การจับ 'คู่ตรงข้าม'
ไม่ว่าจะจับคู่จาก
'ลาดับอนุกรมแลขฐานสอง'
หรือจะมองให้สลับขั้ว 'หยิน' กับ 'หยาง'
แบบขีดต่อขีดในแต่ละคู่
ล้วนแล้วแต่ได้คาตอบที่ไม่ผิดเพี้ยนกันเ
ลยแม้แต่น้อย
และหากเราจะนับจานวนขีด
ของ 'หยิน' กับ 'หยาง'
ในแต่ละคู่
มันก็จะสมมาตรแบบ 3:3 ด้วยกันทุกๆ
คู่ด้วย …
แต่ว่า ... King Wen
น่าจะไม่ได้คิดอะไรง่ายๆ
เพียงแค่นั้น ... !!??!!
ปัญหาหนึ่ง
ของการแบ่ง 'หยิน' กับ 'หยาง'
อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด
อย่างที่ Fu Xi ทาไว้นั้น
กลับกลายเป็นโจทย์ใหม่ขึ้นมา
สาหรับ King Wen ไปซะได้ …
เนื่องจากไม่มีสิ่งใดในโลกนี้
ที่สามารถดารงอยู่ได้โดยลาพัง
ซึ่งแต่ละองค์ประกอบของธรรมชาติ
ก็ไม่ได้รับการยกเว้นเหมือนกัน …
ดังนั้น
หากเรานับจานวนขีด
ของ 'หยิน' และ 'หยาง'
ในแต่ละข้างของ 'อนุกรมแห่งสวรรค์'
ที่ Fu Xi ทาเอาไว้แล้ว
เราก็จะพบว่ามันไม่สมดุลกันทันที !!!!
… และนั่น
น่าจะเป็นจุดที่ทาให้ King Wen
เชื่อว่า ต้องมีอะไรบางอย่าง
ที่ควรจะได้รับการปรับปรุง … โดย
'มนุษย์' !!!
… จนในที่สุด
ก็ได้กลายมาเป็น 'อนุกรมประหลาด'
ที่สร ้างความปวดเศียรเวียนเกล้า
ให้กับบรรดานักคณิตศาสตร ์ทั่วโลก
ในศตวรรษ ถัดๆ มา
โดยที่ไม่มีใครรู้เลยว่า
จริงๆ แล้ว King Wen
กาลังคิดอะไรของแกอยู่ในเวลานั้น
เพราะแกใช้เวลาว่างๆ
ที่ถูกขังอยู่ในคุกของราชวงศ์ซาง
นานถึง 7 ปี
นั่งนึกนอนคิดอยู่กับภาพสัญลักษณ์ต่า
งๆ ที่ว่านั่น
แล้วก็เขียนบันทึกออกมา
เป็น 'ต้นร่าง' ของ 'คัมภีร ์อี้จิง'
อันลือลั่นสนั่นโลกฉบับนั้นขึ้นมา…
… ผมเองก็ไม่รู้!!! …
แต่ผม 'เชื่อ' ว่า King Wen
ที่ค่อนข้างจะยึดมั่นในอุดมการณ์
และหลักการดาเนินชีวิต
ตามแนวทางของลัทธิเต๋านั้น
ไม่น่าจะเป็น
มนุษย์ประเภทที่ชอบคิดอะไรให้มันยุ่งยา
ก
หรือมีความสลับซับซ้อน
เหมือนอย่างมนุษย์ในอีกหลายๆ
ศตวรรษต่อมา …
เพราะฉะนั้น …
แกก็น่าจะคิดอะไรที่มันง่ายๆ แค่นี้ …
รึเปล่า … ไม่รู้นะ ??!!??
… 'หยิน' และ 'หยาง'
ย่อมจะต้องถ่ายโอนพลังให้แก่กัน
เพื่อรักษาสมดุลให้กับทั้งระบบเสมอ …
จึงเป็นเหตุผล
ที่จะต้องเกิดการ 'แลกข้าง'
ระหว่างสมาชิกฝั่ง 'หยิน' กับสมาชิกฝั่ง
'หยาง'
เพื่อให้ 'พลังหยิน' และ 'พลังหยาง' ของ
'ฟ้ า-ดิน'
เกิดความสมดุล …
โดยการถ่ายโอนพลังดังกล่าว
จะต้องก่อให้เกิดเป็น 'กระแสแห่งพลัง'
ที่สอดประสานกันอย่างต่อเนื่อง
วัฏจักรแห่งสรรพชีวิต
จึงจะเกิดการวิวัฒน์อย่างไม่สิ้นสุด …
แล้ว King Wen
ก็น่ำจะมองเห็น
อนุกรมแบบก้ำวกระโดด
ที่ซ่อนอยู่ใน 'อนุกรมแห่งสวรรค์'
ของ Fu Xi อีกชั้นหนึ่ง
ซึ่งจะสามารถปรับเปลี่ยน
โยกย้าย 'พลังหยิน' และ 'พลังหยาง'
ระหว่างทั้งสองขั้ว
ให้เกิดความสมดุลกัน
อย่างสมบูรณ์
แล้วก็กลาย
มาเป็นการแบ่งขั้วของ 'หยิน-หยาง'
อีกลักษณะหนึ่ง
ซึ่งมีจำนวนขีด
ของ 'เส้นประ' และ 'เส้นเต็ม'
หรือมี 'พลังหยิน' กับ 'พลังหยำง'
ในขั้วทั้งสอง
ที่สมดุลกันแบบ 6:6 ทันที ...
แต่เรื่องที่ King Wen คิด
น่าจะไม่ได้จบลงง่ายๆ แค่เท่าที่เห็น
เพราะถ้าหากเราสังเกต
'ระดับของพลังหยิน' กับ
'ระดับของพลังหยาง'
จากทั้งสองฝั่งแล้ว
เราก็จะเห็นร่องรอย
ของการ 'ปะทะพลัง' กันอย่างจัง
ตรง 'แนวชายแดน' ของทั้งสองฝั่ง …
และยิ่งไปกว่านั้น
การเคลื่อนตัวของ 'คลื่นพลังหยิน'
และ 'คลื่นพลังหยาง'
ซึ่งโดยปรกติแล้ว
จะต้องมีทิศทางที่ 'ย้อนรอยกัน' นั้น
กลับแสดงอาการที่มีระดับสูงขึ้น
หรือต่าลงพร ้อมกัน
ในจังหวะเวลาแบบเดียวกันด้วย
อันเป็นสัญญาณ
ที่บ่งบอกถึง 'ความไม่สอดประสาน'
เพื่อเกื้อหนุนแก่กันและกัน
อย่างที่ควรจะเป็น …
และจากแผนภูมิแนวราบ
ที่เห็นนี้
เราก็จะเห็นคู่ตรงข้ามแบบใหม่
ของ 'หยิน' กับ 'หยาง'
ตาม 'อนุกรมแห่งมนุษย์'
ที่ King Wen
นาไปเขียนลงในแผนภาพ 'โป้ยก่วย'
ซึ่งกลายเป็นแบบฉบับมาตรฐาน
Later Heaven Order
อันเป็นต้นเรื่องของลาดับขีดทั้ง 384
ขีด
ใน 'คัมภีร ์อี้จิง'
ที่แยกเป็นหมวดหมู่ไว้ 64 บทนั่นเอง …
☱ (110) ... ตรงข้ามกับ ... ☳ (100)
☲ (101) ... ตรงข้ามกับ ... ☵ (010)
☴ (011) ... ตรงข้ามกับ ... ☰ (111)
☷ (000) ... ตรงข้ามกับ ... ☶ (001)
แล้วเราก็จะเห็นได้ว่า
คู่ตรงข้ามใหม่
ที่มีจานวน 'หยิน' กับจานวน 'หยาง'
เท่ากันนั้น
จะมีเพียง 2 คู่แรก
ซึ่งได้ถูกนาไปวาง
ในแนวแกนสมมาตรของ 'โป้ยก่วย'
โดยมีคู่แรก
คือ ☱ (110) กับ ☳ (100)
อยู่ตรงตาแหน่งแบ่งเขตแดน
ระหว่าง 'หยิน' กับ 'หยาง'
เหมือนกับที่เห็นในแผนภูมิแนวราบ …
ส่วนสองคู่หลัง
ซึ่งมีจานวน 'หยิน' กับ 'หยาง'
ไม่เท่ากัน
จะถูกวาง
ในตาแหน่งที่เอียงออกจากแนวแกนสม
มาตร
และถือเป็นกาลังหลัก
ของการ 'ขับเคลื่อน' ระบบทั้งระบบให้
'เคลื่อนตัว' ไปได้อย่างต่อเนื่อง …
จากตรงจุดนี้
ผมก็ได้แง่คิดหนึ่ง
จากความพยายาม
มองหาลาดับอนุกรม
ตามที่เล่าไว้ก็คือ …
แม้ว่า 'อนุกรมแห่งสวรรค์'
ของ Fu Xi
จะมีความเพียบพร ้อมสมบูรณ์
ในด้านของรูปแบบ
และความเป็นระบบระเบียบที่ชัดเจน
แต่การคะคานกาลังกันอย่างสมบูรณ์
ของ 'พลังหยิน' และ 'พลังหยาง'
ในลักษณะดังกล่าว
ย่อมส่งผลให้ระบบทั้งระบบ
หยุดนิ่งจนไม่อาจเคลื่อนไหว
เนื่องจากทั้ง 'แรงดึงดูด' และ 'แรงปะทะ'
ต่างก็สามารถหักล้างซึ่งกันและกัน
จนกระทั่ง
ระบบทั้งระบบต้องหยุดนิ่ง
และไม่อาจก่อให้เกิด
'กระแสแห่งการวิวัฒน์'
อันต่อเนื่อง …
ในขณะที่ 'อนุกรมแห่งมนุษย์'
ของ King Wen นั้น
อาจจะดูเหมือนขาดความสมบูรณ์
ในด้านรูปแบบ
และหากมองดูอย่างผิวเผิน
ก็เหมือนกับ
ไร้ความเป็นระบบระเบียบที่แน่นอน
แต่ในภำพรวมของระบบ
ทั้งระบบ
กลับมีความสมดุลอย่างลึกซึ ้
ง
ทั้งยังมีพลังแห่งการขับเคลื่อน
ที่ไม่เคยหยุดนิ่ง
ซึ่งสอดรับกับ
ความหมายของวงกลม 'ไท้เก๊ก'
ที่มองเห็นกำรพันตูกัน
ระหว่ำง 'หยิน' และ 'หยำง'
อันจะต้องคอยผ่อนหนักผ่อนเบำ
เพื่อเกื้อกูลซึ่งกันและกัน
ตลอดเวลำ
หำกเรำเปรียบเทียบกับกำรดำเนิน
ชีวิต
หรือกำรประกอบกิจกรรมกำรงำนต่
ำงๆ แล้ว
การมุ่งเน้น
ยึดติดอยู่กับกรอบเกณฑ์ต่างๆ
อย่างเข้มงวด
และการถือเอาระบบระเบียบต่างๆ
อย่างไม่ลดรา...วาศอก
ระหว่างกันและกัน
แม้ว่ำในทำงหลักกำร
จะเป็ นวิถีทำงที่ถูกต้อง
แต่ก็เป็ นควำมถูกต้อง
บนพื้นฐำนของกฎเกณฑ์ที่ปรำศจ
ำกชีวิต
และย่อมไม่อาจขับเคลื่อนกลไกใดๆ
ให้ก่อเกิดเป็น 'พลังแห่งการวิวัฒน์' …
เราอาจจะเรียกสภาวการณ์ดังกล่าว
ว่าเป็น 'สภาวะแห่งความยุติธรรม'
ซึ่งก็อาจจะแปลความได้ว่า
เป็น 'ธรรมแห่งความยุติ' …
เป็นวิถีทางที่ทุกสิ่งทุกอย่าง
อยู่ในอาการที่หยุดชะงักลงอย่างสมบูร
ณ์ …
ลักษณะดังกล่ำว
ก็ไม่ต่ำงไปจำก
'ลำดับอนุกรมแห่งสวรรค์'
ที่ Fu Xi บันทึกเอำไว้
แต่หำกเรำ
กระทำกำรต่ำงๆ อย่ำงไร้รูปแบบ
และปรำศจำก
ควำมคิดคำนึงถึง
ควำมสมดุลต่อภำพรวมทั้งระบบ
ชีวิตและสังคมนั้นๆ
ย่อมไม่อำจขับเคลื่อนไปอย่างมีประสิท
ธิภาพ
และย่อมขำดกาลังที่จะสนับสนุน
หรือส่งเสริมซึ่งกันและกันอย่างต่อเนื่อง
ความถูกต้อง
และความดีงามทั้งหลายทั้งปวง
ย่อมยำกที่จะก่อเกิดเป็นพลัง
สาหรับการวิวัฒน์ที่สมบูรณ์
ในทุกๆ โอกาสต่อๆ ไป …
แผนผังตำม
'ลำดับอนุกรมแห่งมนุษย์'
ของ King Wen
จึงเป็ นสิ่งสะท้อนให้เห็นถึง
แนวคิดที่มองทุกสรรพสิ่งอย่ำง
เป็ น 'พลวัตรที่สมดุล' …
และเป็ น 'ควำมสมดุล' ใน
'ควำมไม่เคยหยุดนิ่ง' เสมอ …
ตัวอักษรสาคัญ
ที่ถูกนามาใช ้เป็นชื่อของ 'คัมภีร ์อี้จิง'
ก็คือตัวอักษร 易 (yì, อี้)
ซึ่งหากเราสังเกตให้ดี
ก็จะเห็นว่า
ท่อนบนของตัวอักษรนั้น
คล้ายกับจะล้อภาพของ 'วงกลมไท้เก๊ก'
( ☯ )
อันถือเป็นจุดกาเนิดแห่งจักรวาล
ตามคติความเชื่อของปรัชญาเต๋า
ส่วนท่อนล่ำง
คล้ายกับจะล้อภาพ
ของ 'เกลียวคลื่นแห่งพลังหยิน-หยาง'
ที่สอดประสานกันไปมา
เพื่อที่จะก่อให้เกิด
'กระแสแห่งการวิวัฒน์ที่สมดุล'
ของทุกสรรพสิ่ง …
ควำมสวยงำมของตัวอักษร
ที่สอดคล้องกับ
ควำมลงตัวของ
'อนุกรมแห่งมนุษย์'
ตำมที่เล่ำมำนี้
อาจจะเป็นร่องรอยสาคัญ
ที่บ่งชี้ว่า King Wen ไม่ได้คิดอะไร
ให้มันสลับซับซ้อน
เหมือนอย่างที่นักคณิตศำสตร ์
ในยุคหลัง
มักจะนิยมอธิบายเรื่องง่ายให้เป็นเรื่องยา
ก
และอธิบายเรื่องยาก
ให้กลายเป็นปัญหาโลกแตก …
และแม้ว่า 'คัมภีร ์อี้จิง'
จะได้รับ 'การตีความ'
ให้ไปเกี่ยวข้องกับศาสตร ์ยุคใหม่อีก
ตั้งหลายแขนง
หรือแม้ว่าโดยส่วนตัวแล้ว
ผมเอง
ก็ยัง 'อยากจะเชื่อ' ว่า 'คัมภีร ์อี้จิง'
ได้ซุกซ่อนความหมายบางอย่างไว้อย่าง
จงใจก็ตาม …
มีอยู่สิ่งหนึ่ง
ที่เราจะต้องไม่ลืมอย่างเด็ดขาด
ก็คือ ตัวอกษร 易 (yì) นี้
นอกจาก
จะแปลว่า 'ความเปลี่ยนแปลง' แล้ว
มันยังมีอีกความหมายหนึ่ง
คือ 'ความเรียบง่าย' ด้วย !!! …
'การตีความ'
หรือ 'การทาความเข้าใจ' ใดๆ
เกี่ยวกับ 'คัมภีร ์อี้จิง'
จึงอาจจะไม่จาเป็นต้องใช ้วิธีการที่สลับ
ซับซ้อน
หรืออาจจะไม่จาเป็นต้องใช ้ศาสตร ์ชั้นสู
งใดๆ
เพื่อที่จะค้นหาความหมายของมัน …
เพราะความยุ่งยาก
เพียงประการเดียวของผู้คนในยุคสมัยปั
จจุบัน
ก็คือ การมองสิ่งต่างๆ
อย่างตรงไปตรงมา
เท่านั้นเอง
ดวงสำมีที่ส่งเสริมภรรยำ
และดวงชำยที่ภรรยำส่งเ
สริมสำมี
ดูกันแบบนี้
https://www.fengshuix.com/fengshui-content/bazi-destiny-good-
husband
มาแล้ว
สาวๆจ๋า...ดวงสามีที่สาวๆอยากได้ !!!
(สาวๆที่มีแฟนแล้วต้องอ่าน!!!)
วันก่อนครับ
มีโอกาสดูดวงลูกค้าท่านนึง
เปิดดวงมา ทั้งดวงไทยและดวงจีนคู่กัน
เจ้าของดวงนี้ถามผมว่า
อาจารย์ครับ ทาอย่างไรผมจะรวย?!?!?
ผมจะมีโอกาสรวยไหม?!?!
ผมดูปราดเดียวจึงตอบออกไปว่า
ทาตามนี้แล้วจะรวยนะ
หนึ่งคือ รักลูกค้า.... เหมือนเพื่อน
ดูแลลูกค้า...เหมือนตัวเอง
เอาใจใส่ลูกค้า... เหมือนใส่ใจตน
ทาแบบนี้ได้... รวยแน่หนึ่งอย่าง!!!
สองคือ...
ทางานให้มีหุ้นส่วน มีคนร่วมมือ
โดยรักหุ้นส่วน... เหมือนรักตนเอง
ดูแลผลประโยชน์หุ้นส่วน...
เสมือนของเรา
หำกต้องทะเลำะกัน...
ให้ยึดควำมสัมพันธ ์ไว้ก่อน
ผลประโยชน์ทีหลัง
สร ้าง Partner ไว้มากๆ
และทาแบบนี้กับทุกๆคน
ทำได้อย่ำงนี้...
จะทำงำนใหญ่ขึ้น
รวยขึ้นและสบำยขึ้น!!!
สามคือ...
เงินที่ได้มา... รายได้ที่มีเข้ามาทั้งหมด
จงเอาเข้าบัญชีภรรยา...
เงินทุกบาท...
โอนให้ภรรยาก่อนอันดับแรก
จะใช้อะไร... ให้ไปเบิกเอากับภรรยา
จะลงทุนอะไร
ให้ทำเรื่อง ทำแผนงำน
ไปเสนอแผนธุรกิจ
และตอบคำถำมภรรยำให้ได้ทุกคำ
ถำม
และสุดท้าย... ให้ภรรยาอนุมัติก่อน
จึงลงทุนได้ !!!!!
ดวงนี้ ทาได้สามอย่างนี้
รับประกันความรวย
และความสาเร็จเกิดขึ้นในชีวิตแน่นอน!!
?!?
วิธีสังเกตดวงแบบนี้
ให้ดูว่า
ดวงนี้เป็นดินหยิน
ดิถีอ่อน ไม่มีธาตุก่อเกิด
ตำแหน่งคู่ครองเป็นโชคลาภ
ส่งเสริมการเงิน
ตำแหน่งเพื่อนร่วมงำน
ส่งเสริมการเงิน
ในดวงไทยจักรราศี
ตาแหน่งคู่ครอง และหุ้นส่วน
เป็นโชคลาภ และการเงินเช่นกัน
ดาวโอบอุ้มหน้าหลังทางการเงินและควา
มสาเร็จ
ดังนั้นจึงเป็นที่มาว่า
ดวงนี้
ยิ่งส่งเสริมหุ้นส่วนและภรรยามากเท่าไห
ร่
ยิ่งทาให้เค้าเหล่านี้รวยมากขึ้นเท่าไหร่
เจ้าตัวก็จะประสบความสาเร็จ
และร่ารวยมากขึ้นๆ
ผมได้แนะนาและเน้นย้าไปด้วยว่า...
อย่าลืมเอาเงินให้ภรรยาเยอะๆ
ยิ่งให้มาก ยิ่งได้มาก...
ทิ้งท้ายไว้ด้วยว่า
นารูปภรรยาตั้งเป็น
วอลเปเปอร ์ในมือถือ
หรือคอมพิวเตอร ์ด้วย
จะเป็นมงคลยิ่งกว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งปวง!!!
แหมมมม....
นี่ถ้าแฟนเจ้าของดวงมาได้ยิน
คงยิ้มแก้มปริเลยทีเดียว
ท้ายนี้ ขอให้ทุกท่านได้คู่ครองที่ดี
ได้คู่ชีวิตส่งเสริมกันและกันครับ
ข้าพเจ้าเจ๋อหลาง
ผู้ย่นระยะทางความสาเร็จ...
ให้กับคุณ!!!
ปฐมบท
ก่อนเรียนดวงจีน
ผู้เขียนขอพูดถึงคาศัพท์2 คา คาแรก
คือ
1. หยิน–หยาง (อิม-เอี๊ยง)*
หมายถึง 2 สิ่งที่เป็นคู่ตรงข้ามกัน เช่น
หญิง-ชาย, กลางคืน-กลางวัน, เย็น-
ร ้อน เป็นต้น
2. เบญจธาตุ หรือ ธาตุทั้ง 5 ได้แก่
ธาตุดิน, ธาตุทอง, ธาตุน้า, ธาตุไม้,
ธาตุไฟ
สาหรับการเรียนดวงจีนในเบื้องต้น
ขอให้ผู้เรียน จดจาอักษรจีนให้ได้
ซึ่งจะใช ้เพียง 22 ตัวเท่านั้น
โดยผู้เขียน
ขอแบ่งอักษรจีนออกเป็น 2 กลุ่ม
– กลุ่มแรกมีอักษรจีน 10 ตัว
ผู้เขียนขอเรียกว่า “กลุ่มราศีบน”
เป็นกลุ่มที่เกี่ยวกับธาตุทั้ง 5
ส่วนอีกกลุ่มหนึ่ง
ขอเรียกว่า “กลุ่มราศีล่าง” หรือ 12
นักษัตร นั่นเอง
ราศีบน
ทุกปี
พ.ศ.
7 8 9 0 1 2 3 4 5 6
ที่ลงท้ำย
ด้วย
รำศีบน 甲 乙 丙 丁 戊 己 庚 辛 壬 癸
อ่ำนว่ำ กะ อิก
เปี้
ย เตงโบ่ว กี้ แก ซิง หยิม กุ๋ย
ธำตุ ไม้ ไม้ ไฟ ไฟ ดิน ดิน ทอง ทอง น้ำ น้ำ
อิม/เอี๊ย
ง
เอี๊
ยง อิม
เอี๊ย
ง อิม เอี๊ยง อิม เอี๊ยง อิม เอี๊ยง อิม
* หยิน-หยาง (เป็นภาษจีนกลาง)
อิม-เอี๊ยง (เป็นภาษจีนแต้จิ๋ว)
รำศีล่ำงอ่ำนว่ำ ปี นักษัตร ธำตุ
อิม/เอี๊ยง
ทั่วไป เทียนเต็ก
子 จื้อ หนู-ชวด น้ำ เอี๊ยง อิม
丑 ทิ่ว วัว-ฉลู ดิน อิม อิม
寅 เอี้ยง เสือ-ขำล ไม้ เอี๊ยง เอี๊ยง
卯 เบ้ำ
กระต่ำย-
เถำะ
ไม้ อิม อิม
辰 ซิ้ง
งูใหญ่-
มะโรง
ดิน เอี๊ยง เอี๊ยง
巳 จี๋ งูเล็ก-
มะเส็ง
ไฟ อิม เอี๊ยง
午 โง่ว
ม้ำ-
มะเมีย
ไฟ เอี๊ยง อิม
未 บี่ แพะ-
มะแม
ดิน อิม อิม
申 ซิม ลิง-วอก ทอง เอี๊ยง เอี๊ยง
酉 อิ้ว ไก่-ระกำ ทอง อิม อิม
戌 สุก สุนัข-จอ ดิน เอี๊ยง เอี๊ยง
亥 ไห หมู-กุน น้ำ อิม เอี๊ยง
ราศีบนและราศีล่างที่เทียบเท่ากัน**
ธำตุ รำศีบน อิม/เอี๊ยง รำศีล่ำง
ไม้ใหญ่ 甲 เอี๊ยง 寅
ไม้เล็ก 乙 อิม 卯
ไฟใหญ่ 丙 เอี๊ยง 巳
ไฟเล็ก 丁 อิม 午
ดินใหญ่ 戊 เอี๊ยง 辰 หรือ 戌
ดินเล็ก 己 อิม 丑 หรือ 未
ทองใหญ่ 庚 เอี๊ยง 申
ทองเล็ก 辛 อิม 酉
น้ำใหญ่ 壬 เอี๊ยง 亥
น้ำเล็ก 癸 อิม 子
** ตารางเทียบเท่าของราศีบนและล่างนี้
ยึด อิม-เอี๊ยง ตามราศีบน
ฉะนั้น ราศีล่างจึงต้องใช ้อิม-เอี๊ยง ตามราศีบน
วิธีเขียนอักษรตัวบนของจีน 10 ตัว
# รำศีบน อ่ำนว่ำ ธำตุ อิม/เอี๊ยง
1 กะ ไม้ใหญ่ เอี๊ยง
2 อิก ไม้เล็ก อิม
3 เปี้ย ไฟใหญ่ เอี๊ยง
4 เตง ไฟเล็ก อิม
5 โบ่ว ดินใหญ่ เอี๊ยง
6 กี้ ดินเล็ก อิม
7 แก ทองใหญ่ เอี๊ยง
8 ซิง ทองเล็ก อิม
9 ยิ้ม น้ำใหญ่ เอี๊ยง
10 กุ่ย น้ำเล็ก อิม
วิธีเขียนอักษรตัวล่ำง 12 นักษัตร
# รำศีล่ำง อ่ำนว่ำ ปี นักษัตร ธำตุ อิม/เอี๊ยง
1 จื้อ หนู-ชวด น้ำเล็ก อิม
2 ทิ่ว วัว-ฉลู ดินเล็ก อิม
3 เอี้ยง เสือ-ขำล ไม้ใหญ่ เอี๊ยง
4 เบ้ำ กระต่ำย-เถำะ ไม้เล็ก อิม
5 ซิ้ง งูใหญ่-มะโรง ดินใหญ่ เอี๊ยง
6 จี๋ งูเล็ก-มะเส็ง ไฟใหญ่ เอี๊ยง
7 โง่ว ม้ำ-มะเมีย ไฟเล็ก อิม
8 บี่ แพะ-มะแม ดินเล็ก อิม
9 ซิม ลิง-วอก ทองใหญ่ เอี๊ยง
10 อิ้ว ไก่-ระกำ ทองเล็ก อิม
11 สุก สุนัข-จอ ดินใหญ่ เอี๊ยง
12 ไห หมู-กุน น้ำใหญ่ เอี๊ยง
วัฏจักรของการให้กาเนิด (ส่งเสริม)
ของธาตุทั้ง 5 ***
*** อักษรจีนทั้ง 5 ตัวในแผนภาพนี้
ไม่รวมอยู่ใน 22 ตัวที่ต้องจดจา
และเป็นอักษรของธาตุทั้ง 5
ที่ไม่ได้แบ่งแยกเป็น อิม-เอี๊ยง
จากแผนภาพของ
“วัฏจักรของการให้กาเนิด (ส่งเสริม)
ของธาตุทั้ง 5” จะเห็นว่า
ธาตุดิน ให้กาเนิด ธาตุทอง
ธาตุทอง ให้กาเนิด ธาตุน้า
ธาตุน้า ให้กาเนิด ธาตุไม้
ธาตุไม้ ให้กาเนิด ธาตุไฟ
ธาตุไฟ ให้กาเนิด ธาตุดิน
วัฏจักรของการพิฆาต (ทาลาย)
ของธาตุทั้ง 5
จากแผนภาพ
ของ “วัฏจักรของการพิฆาต (ทาลาย)
ของธาตุทั้ง 5” จะเห็นว่า
ธาตุดิน พิฆาต ธาตุน้า
ธาตุน้า พิฆาต ธาตุไฟ
ธาตุไฟ พิฆาต ธาตุทอง
ธาตุทอง พิฆาต ธาตุไม้
ธาตุไม้ พิฆาต ธาตุดิน
ปฏิกิริยำของรำศีบนทั้ง 10
ตัวที่มีต่อกัน
1. การรวมธาตุของราศีบน
แล้วเปลี่ยนเป็นธาตุใหม่
เราเรียกว่า “ฮะ” ซึ่งจะมีอยู่ 5 คู่
รำศี
บน
(ธำตุ) ฮะ
รำศี
บน
(ธำตุ) เป็ น ธำตุ
甲 ไม้ใหญ่ + 己 ดินเล็ก = 土 (ดิน)
乙 ไม้เล็ก + 庚
ทองให
ญ่
= 金 (ทอง)
丙 ไฟใหญ่ + 辛 ทองเล็ก = 水 (น้ำ)
丁 ไฟเล็ก + 壬 น้ำใหญ่ = 木 (ไม้)
戊 ดินใหญ่ + 癸 น้ำเล็ก = 火 (ไฟ)
ข้อสังเกต
-ในแต่ละคู่จะเป็นธาตุที่พิฆาตกัน
ตัวหนึ่งจะเป็นพลัง เอี๊ยง
และอีกตัวหนึ่งจะเป็น พลัง อิม
อาจเรียกว่า เป็นคู่ ”พิฆาตต่างพลัง”
-ผลจากการรวมธาตุในแต่ละคู่
เราจะไม่สนใจว่า ธาตุใหม่ นั้น
เป็น อิม หรือ เอี๊ยง
2. การพิฆาตพลังเดียวกัน
หรือ ชง หรือ ชน (ของราศีบน เรียกว่า
ชนบน)
เอี๊ยง (陽) ชน เอี๊ยง (陽) อิม (陰) ชน อิม (陰)
戊 ดินใหญ่ พิฆำต壬 น้ำใหญ่ 己 ดินเล็ก พิฆำต癸 น้ำเล็ก
壬 น้ำใหญ่ พิฆำต丙 ไฟใหญ่ 癸 น้ำเล็ก พิฆำต丁 ไฟเล็ก
丙 ไฟใหญ่ พิฆำต庚ทองใหญ่ 丁 ไฟเล็ก พิฆำต辛 ทองเล็ก
庚 ทองใหญ่พิฆำต甲 ไม้ใหญ่ 辛 ทองเล็กพิฆำต乙 ไม้เล็ก
甲 ไม้ใหญ่ พิฆำต戊 ดินใหญ่ 乙 ไม้เล็ก พิฆำต己 ดินเล็ก
ปฏิกิริยำของรำศีล่ำงทั้ง 12
ตัวที่มีต่อกัน
1. การรวมธาตุ หรือ ฮะ (ภาคี)
กันของราศีล่าง
รำศีล่ำง (ธำตุ) ฮะรำศีล่ำง (ธำตุ) เป็ น ธำตุ
子 น้ำเล็ก + 丑 ดินเล็ก = 土 (ดิน)
寅 ไม้ใหญ่ + 亥 น้ำใหญ่ = 木 (ไม้)
卯 ไม้เล็ก + 戌 ดินใหญ่ = 火 (ไฟ)
辰 ดินใหญ่ + 酉 ทองเล็ก = 金 (ทอง)
巳 ไฟใหญ่ + 申 ทองใหญ่ = 水 (น้ำ)
午 ไฟเล็ก + 未 ดินเล็ก = 火 (ไฟ)
2. การพิฆาตกัน หรือ ชน ของราศีล่าง
รำศีล่ำง (ธำตุ) ชน รำศีล่ำง (ธำตุ)
子 น้ำเล็ก พิฆำต 午 ไฟเล็ก
丑 ดินเล็ก พิฆำต 未 ดินเล็ก
申 ทองใหญ่ พิฆำต 寅 ไม้ใหญ่
亥 น้ำใหญ่ พิฆำต 巳 ไฟใหญ่
辰 ดินใหญ่ พิฆำต 戌 ดินใหญ่
酉 ทองเล็ก พิฆำต 卯 ไม้เล็ก
3. การรวมกัน 3 ธาตุ
หรือ ซาฮะ (ไตรภาคี) ของราศีล่าง
รำศีล่ำง (ธำตุ) ฮะรำศีล่ำง (ธำตุ) ฮะรำศีล่ำง (ธำตุ) เป็ น ธำตุ
申 ทองใหญ่ + 子 น้ำเล็ก + 辰 ดินใหญ่ = 水 (น้ำ)
亥 น้ำใหญ่ + 卯 ไม้เล็ก + 未 ดินเล็ก = 木 (ไม้)
寅 ไม้ใหญ่ + 午 ไฟเล็ก + 戌 ดินใหญ่ = 火 (ไฟ)
巳 ไฟใหญ่ + 酉 ทองเล็ก + 丑 ดินเล็ก = 金(ทอง)
4. การรวมกัน 2 ธาตุ
หรือ ครึ่งฮะ (ครึ่งภาคี) ของราศีล่าง
รำศีล่ำง
(ธำตุ)
ฮะ
รำศีล่ำง
(ธำตุ)
หรือ
รำศีล่ำง
(ธำตุ)
ฮะ
รำศีล่ำง
(ธำตุ)
เป็ นธำตุ
申 ทองใหญ่+ 子 น้ำเล็ก หรือ子 น้ำเล็ก + 辰 ดินใหญ่= 水 (น้ำ)
亥 น้ำใหญ่ + 卯 ไม้เล็ก หรือ卯 ไม้เล็ก + 未 ดินเล็ก = 木 (ไม้)
寅 ไม้ใหญ่ + 午 ไฟเล็ก หรือ午 ไฟเล็ก + 戌 ดินใหญ่= 火 (ไฟ)
巳 ไฟใหญ่ + 酉 ทองเล็กหรือ酉 ทองเล็ก+ 丑 ดินเล็ก = 金 (ทอง)
ต้องมี “ตัวเชื่อม” วงจร
ไม่ให้ขาดออกจากกัน
คือ “แม่ธาตุ”
5. การรวมกัน 3 ธาตุ
อีกลักษณะหนึ่งตามทิศ
หรือ ฤดูกาล
หรือ ซาหวย ของราศีล่าง
รำศีล่ำง (ธำตุ) +
รำศีล่ำง
(ธำตุ)
+
รำศีล่ำง
(ธำตุ)
เป็ น ธำตุ
亥 น้ำใหญ่ + 子 น้ำเล็ก + 丑 ดินเล็ก = 水 (น้ำ)
寅 ไม้ใหญ่ + 卯 ไม้เล็ก + 辰 ดินใหญ่ = 木 (ไม้)
巳 ไฟใหญ่ + 午 ไฟเล็ก + 未 ดินเล็ก = 火 (ไฟ)
申 ทองใหญ่ + 酉 ทองเล็ก + 戌 ดินใหญ่ = 金 (ทอง)
สรุปเนื้อหา
ปฐมบท
เป็นเนื้อหาเบื้องต้นที่มีความสาคัญ
ซึ่งผู้เรียน
จะต้องใช ้ความพากเพียร
ในการหัดอ่าน - เขียนอักษรจีน ทั้ง 22
ตัว
พร ้อมทั้งจดจา
การชง – ฮะ ของราศีบนและราศีล่าง
อีกทั้งต้องย้อนกลับมาเปิดอ่านทบทวนอ
ยู่บ่อย ๆ
เพื่อเป็นการเตรียมความพร ้อม
ในการเรียนรู้เนื้อหา
ในบทต่อๆ ไปได้เป็นอย่างดี
เปลี่ยนดวงเรียกเนื้อคู่
https://www.nirvana-memorial.co.th/blog-
detail.php?Lang=L1&rid=199
เชื่อว่าคนอยากมีคู่
คงต้องเคยศึกษาว่าไหว้พระขอเนื้อคู่
ต้องไปไหว้
ไปมู(เตลู)ที่ไหนบ้าง
จริงๆแล้ว
เรื่องเนื้อคู่เป็นเรื่องของโชคชะตา
คนจีนเชื่อว่า
เนื้อคู่กันจะดึงดูดมาให้เจอกัน
ถ้าดวงชะตาไม่มีอะไรติดขัด
ดังนั้นการปรับชะตา
ให้พลังงานไหลเวียน
พัดพาเนื้อคู่ให้มาเจอกัน
พิธีปรับดวงชะตำที่ว่ำนี้
คือ พิธีแซกี
สมัยจีนโบราณ
จะมีแค่สมาชิกราชวงศ์และคหบดีเท่านั้น
ที่มีสิทธิทาพิธี
เพราะที่ดินที่ฮวงจุ้ยดีพอมีจากัด
และซินแสที่สืบทอดการทาพิธีมีไม่กี่ท่า
น
แซกี
คือ กำรปรับสมดุลของดวงชะตำ
โดยการใช ้พลังงานธาตุทั้ง 5
ที่มีอยู่ในธรรมชาติ
มาเสริมพลังงานธาตุที่เรามีมาแต่กาเนิด
เช่น
บางท่านเกิดธาตุดิน
คู่ที่เหมาะสมคือธาตุไฟหรือธาตุไม้
ซินแสก็จะคานวณทิศและที่ตั้งของแซกี
เพื่อให้พลังงานพัดพาคู่ที่เหมาะสมมาเจ
อกัน
เนื้อคู่ที่มีธาตุส่งเสริมกัน
ก็จะทาให้ทามาค้าขึ้น
ชีวิตคู่ร่มเย็นเป็นสุข
เคล็ดลับ
เปลี่ยนดวงปังๆ
ด้วยศำสตร ์จีนโบรำณ
https://www.nirvana-memorial.co.th/blog-
detail.php?Lang=L1&rid=12
ตามหลักความเชื่อ
ของศาสตร ์จีนโบราณ
กำรทำแซกี
เป็ นกำรแก้ไขดวงชะตำ
เพื่อให้เปลื่ยนไปในทิศทำงที่ดียิ่งขึ้
น
โดยการขอพลังงานจากฟ้ าดิน
เพื่อเป็นการดึงดูดพลังงานดิน น้า ลม
ฟ้ า
มาช่วยส่งเสริมโชคลาภ ขจัดทุกข์ภัย
เพื่อให้รากฐานชีวิตแข็งแรงขึ้น
เพรำะในอดีต
ไม่ใช่ทุกคนที่จะมีสิทธิทำแซกีได้
จะมีแค่เจ้ำขุนมูลนำยเท่ำนั้น
เนื่องด้วยสถานที่ในการทาแซกี
มีจากัด
และจะต้องมีสถานที่ตรงตามตารา
ที่ว่า มีดิน 5 สี มีภูเขาล้อมรอบ
มีน้าไหลเวียน
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx
ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx

Mais conteúdo relacionado

Mais de SunnyStrong

How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docxHow to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
SunnyStrong
 
characterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docx
SunnyStrong
 
ฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docxฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docx
SunnyStrong
 
ฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docxฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docx
SunnyStrong
 
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptxพื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
SunnyStrong
 
พื้นฐานชีวิต 42.pptx
พื้นฐานชีวิต 42.pptxพื้นฐานชีวิต 42.pptx
พื้นฐานชีวิต 42.pptx
SunnyStrong
 
พื้นฐานชีวิต 35.pptx
พื้นฐานชีวิต 35.pptxพื้นฐานชีวิต 35.pptx
พื้นฐานชีวิต 35.pptx
SunnyStrong
 
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptxพื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
SunnyStrong
 
พื้นฐานชีวิต 44.pptx
พื้นฐานชีวิต 44.pptxพื้นฐานชีวิต 44.pptx
พื้นฐานชีวิต 44.pptx
SunnyStrong
 
พื้นฐานชีวิต 38.pptx
พื้นฐานชีวิต 38.pptxพื้นฐานชีวิต 38.pptx
พื้นฐานชีวิต 38.pptx
SunnyStrong
 
พื้นฐานชีวิต 39.pptx
พื้นฐานชีวิต 39.pptxพื้นฐานชีวิต 39.pptx
พื้นฐานชีวิต 39.pptx
SunnyStrong
 
พื้นฐานชีวิต 43.pptx
พื้นฐานชีวิต 43.pptxพื้นฐานชีวิต 43.pptx
พื้นฐานชีวิต 43.pptx
SunnyStrong
 
พื้นฐานชีวิต 45.pptx
พื้นฐานชีวิต 45.pptxพื้นฐานชีวิต 45.pptx
พื้นฐานชีวิต 45.pptx
SunnyStrong
 
พื้นฐานชีวิต 36.pptx
พื้นฐานชีวิต 36.pptxพื้นฐานชีวิต 36.pptx
พื้นฐานชีวิต 36.pptx
SunnyStrong
 

Mais de SunnyStrong (20)

12 Poems.docx
12 Poems.docx12 Poems.docx
12 Poems.docx
 
Mom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxMom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docx
 
12 Poems.docx
12 Poems.docx12 Poems.docx
12 Poems.docx
 
100 words for people.docx
100 words for people.docx100 words for people.docx
100 words for people.docx
 
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docxHow to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
How to Write a Novel Writing a Book in 4 Steps.docx
 
characterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docx
 
characterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docxcharacterdevelopmentquestions.docx
characterdevelopmentquestions.docx
 
ฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docxฟาร์มสุข 1.docx
ฟาร์มสุข 1.docx
 
ฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docxฟาร์มสุข 2.docx
ฟาร์มสุข 2.docx
 
Mom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docxMom's Telling Stories1.docx
Mom's Telling Stories1.docx
 
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptxพื้นฐานชีวิต 40.pptx
พื้นฐานชีวิต 40.pptx
 
พื้นฐานชีวิต 42.pptx
พื้นฐานชีวิต 42.pptxพื้นฐานชีวิต 42.pptx
พื้นฐานชีวิต 42.pptx
 
พื้นฐานชีวิต 35.pptx
พื้นฐานชีวิต 35.pptxพื้นฐานชีวิต 35.pptx
พื้นฐานชีวิต 35.pptx
 
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptxพื้นฐานชีวิต 41.pptx
พื้นฐานชีวิต 41.pptx
 
พื้นฐานชีวิต 44.pptx
พื้นฐานชีวิต 44.pptxพื้นฐานชีวิต 44.pptx
พื้นฐานชีวิต 44.pptx
 
พื้นฐานชีวิต 38.pptx
พื้นฐานชีวิต 38.pptxพื้นฐานชีวิต 38.pptx
พื้นฐานชีวิต 38.pptx
 
พื้นฐานชีวิต 39.pptx
พื้นฐานชีวิต 39.pptxพื้นฐานชีวิต 39.pptx
พื้นฐานชีวิต 39.pptx
 
พื้นฐานชีวิต 43.pptx
พื้นฐานชีวิต 43.pptxพื้นฐานชีวิต 43.pptx
พื้นฐานชีวิต 43.pptx
 
พื้นฐานชีวิต 45.pptx
พื้นฐานชีวิต 45.pptxพื้นฐานชีวิต 45.pptx
พื้นฐานชีวิต 45.pptx
 
พื้นฐานชีวิต 36.pptx
พื้นฐานชีวิต 36.pptxพื้นฐานชีวิต 36.pptx
พื้นฐานชีวิต 36.pptx
 

ไหว้ฟ้ากราบดิน1.docx