SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 12
Baixar para ler offline
1. ให้แต่ละคนสรุป ความสาคัญของความคิดต่อไปนี้ ที่เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ตามสาขาวิชา
(ให้ทุกคนทาทุกคิด)
การคิดวิเคราะห์
การคิดวิเคราะห์ เป็นกระบวนการคิดในรายละเอียด ความสามารถในการคิดจาแนกแจกแจงองค์ประกอบต่างๆ ของข้อมูลหรือปัญหาต่างๆออกเป็นประเด็นย่อยๆ ใน
หลายๆแง่มุม รวมทั้งการหาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น แล้วนามาวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างเป็นระบบ
โดยที่เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วย การฝึกคิดวิเคราะห์ ประกอบด้วย6 ขั้นตอนคือ
1. ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลหรือสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์
2. กาหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายการคิดวิเคราะห์
3. ให้นักเรียนแยกแยะแจกแจงรายละเอียดสิ่งของที่ต้องการวิเคราะห์
4. ตรวจสอบโครงสร้างหรือความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบใหญ่และย่อย
5. นาเสนอข้อมูลการคิดวิเคราะห์
6. นาผลการคิดวิเคราะห์ไปใช้ตามเป้าหมาย
คิดอย่างมีวิจารณญาณ
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นการคิดที่มีกระบวนการทางปัญญาอย่าง เป็นระบบโดยมีการคิดพิจารณาใคร่ครวญ ไตร่ตรองอย่างมีเหตุผลรอบด้าน มีจุดมุ่งหมายเพื่อ
การ ตัดสินใจว่าสิ่งใด ข้อความใดเป็นจริง ซึ่งจะต้องอาศัยข้อมูลหลักฐานต่าง ๆ มาประกอบการคิดและ การตัดสินใจ บุคคลที่รู้จักใช้การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ย่อมจะเป็นผู้ที่กระทากิจกรรมงานต่าง ๆ ประสบความสาเร็จตามเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ
โดยที่เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วย
1. มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้น กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณอย่างเป็นระบบ ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ รู้จักคิดในแง่ของการตีความหมาย
ในรายละเอียด และสามารถอธิบายการกระทาของตนว่ามีเหตุผลอย่างไร การฝึกให้นักเรียนมีเหตุผลจะใช้คาถามว่า “ทาไม” ให้นักเรียนตอบ โดยมีพื้นฐานรองรับอยู่
เสมอ
2. ส่งเสริมให้นักเรียนตัดสินใจด้วยตนเอง เปิดโอกาสให้นักเรียนตัดสินใจด้วยตนเอง เป็นการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด มีความเชื่อมั่นในตนเองและมี
ความรู้สึกที่เป็นอิสระ
3. จัดสื่อการเรียนรู้แบบต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งสื่อมีหลายรูปแบบ สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ บทความประเภทต่าง ๆ
หนังสือพิมพ์นิทาน ฯลฯ เมื่อนักเรียนอ่านแล้วครูอาจใช้คาถามฝึกการคิด เช่น เรื่องนี้คล้ายคลึงหรือแตกต่างกันอย่างไร
4. ฝึกให้นักเรียนมีการอภิปรายร่วมกันตามหัวข้อต่าง ๆ ที่น่าสนใจ อภิปรายเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ ฝึกให้นักเรียนมีทักษะในการลงข้อสรุปและรู้จักประเมิน
ความคิดเห็นของผู้อื่น ทาให้นักเรียนรู้จักการอ้างเหตุผล และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยใจเป็นกลาง
5. ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักวางแผนการทางานหรือกิจกรรมต่าง ๆ โดยแนะนาให้นักเรียนวางเป้าหมาย ตรวจสอบขั้นตอนการดาเนินงานว่าเป็นไปตาม
จุดมุ่งหมายหรือไม่
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการคิดของสมองซึ่งมีความสามารถในการคิดได้หลากหลายและแปลกใหม่จากเดิม ความคิดสร้างสรรค์คือลักษณะของความคิดที่มีหลาย
มิติ หลายมุมมอง หลายทิศทาง สามารถคิดได้กว้างไกล ไร้กรอบ และไร้ขอบเขต ควรจะประกอบไปด้วย 3 ประการ คือ
1. สิ่งใหม่ (new, original) เป็นการคิดที่แหวกวงล้อมความคิดที่มีอยู่เดิม ที่ไม่เคยมีใครคิดได้มาก่อน ไม่ได้ลอกเลียนแบบใคร แม้กระทั่งความคิดเดิมๆ ของตนเอง
2.ใช้การได้ (workable) เป็นความคิดที่เกิดจากการสร้างสรรค์ที่ลึกซึ้ง และสูงเกินกว่าการใช้เพียง "จินตนาการเพ้อฝัน" คือ สามารถนามาพัฒนาให้เป็นจริง และใช้
ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม และสามารถตอบสนองวัตถุประสงค์ของการคิดได้เป็นอย่างดี
3. มีความเหมาะสม เป็นความคิดที่สะท้อนความมีเหตุมีผล ที่เหมาะสม และมีคุณค่า ภายใต้มาตรฐานที่ยอมรับกันโดยทั่วไป
โดยที่เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วย
1. การสอนเกี่ยวกับการคิดเห็นในลักษณะความคิดเห็นที่ขัดแย้งในตัวมันเอง กาหนดให้นักเรียนรวบรวมข้อคิดเห็นหรือคาถาม แล้วให้นักศึกษาแสดงทักษะด้วยการอภิปราย
โต้วาที หรือแสดงความคิดเห็นในกลุ่มย่อยก็ได้
2. การสอนให้นักเรียน คิดพิจารณาลักษณะต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ ทั้งของมนุษย์สัตว์สิ่งของ ในลักษณะที่แปลกแตกต่างไปกว่าที่เคยคิด รวมทั้งในลักษณะที่คาดไม่ถึง
3. การบอกสิ่งที่คลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง หมายถึง การแสดงความคิดเห็น บ่งชี้ถึงสิ่งที่คลาดเคลื่อนจากความจริง ผิดปกติไปจากธรรมดาทั่วไป หรือสิ่งที่ยังไม่
สมบูรณ์
4. การตั้งคาถามแบบปลายเปิดและใช้คาถามที่ยั่วยุ เร้าความรู้สึกให้ชวนคิดค้นคว้า เพื่อความหมายที่ลึกซึ้งสมบูรณ์ที่สุดเท่าที่จะเป็นได้
5. การฝึกให้คิดถึงการเปลี่ยนแปลงดัดแปลงการปรับปรุงสิ่งต่าง ๆ ที่คงสภาพมาเป็นเวลานานให้เป็นไปในรูปอื่น และเปิดโอกาสให้เปลี่ยนแปลงด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่าง
อิสระ
6. การฝึกให้นักเรียนรู้จักสร้างสิ่งใหม่ กฎเกณฑ์ใหม่ ความคิดใหม่ โดยอาศัยโครงสร้างเดิมหรือกฎเกณฑ์เดิมที่เคยมี แต่พยายามคิดพลิกแพลงให้ต่างไปจากเดิม
7. การฝึกให้แสดงความรู้สึกนึกคิดจากภาพในแง่มุม แปลกใหม่ ไม่ซ้าเดิม
การคิดแก้ปัญหา
การคิดแก้ปัญหา เป็นความสามารถทางสมองในการขจัดสภาวะความไม่สมดุลที่เกิดขึ้น โดยพยายาม ปรับตัวเองและสิ่งแวดล้อมให้ผสมกลมกลืนกลับเข้าสู่สภาวะ
สมดุลหรือสภาวะที่เราคาดหวัง
โดยที่เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วย
1. กาหนดปัญหา โดยวิธีการต่างๆ เช่น ถามนาเข้าสู่บทเรียน เล่าเรื่องหรือประสบการณ์ แล้วตั้งปัญหาเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ เช่น เกี่ยวกับวิทยาสตร์รอบตัวเรา
2. วิเคราะห์ปัญหา เมื่อได้ปัญหาจากข้อที่ 1 มาแล้ว ครูจะนานักเรียนให้คิดพิจารณาปัญหา จากนั้นก็จะแบ่งกลุ่ม เพื่อรับผิดชอบในการแก้ปัญหาแต่ละข้อ การสอนขั้น
นี้จะจบลงด้วยการเสนอแนะแหล่งความรู้ที่แต่ละกลุ่มควรไปค้นคว้าหาคาตอบเพื่อแก้ปัญหา
3. ตั้งสมมุติฐาน เป็นขั้นที่นักเรียนคาดเดาว่าปัญหานั้นๆมีสาเหตุมาจากอะไร หรือวิธีการแก้ปัญหานั้นน่าจะแก้ไขโดยวิธีใด หรือปัญหานั้นควรมีคาตอบว่าอย่างไร
เป็นต้น
4. เก็บรวบรวมข้อมูล นักเรียนแต่ละกลุ่มจะไปศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพื่อแก้ปัญหาด้วยการทากิจกรรมต่าง ๆตามที่วางแผนไว้ในข้อที่ 2
5. วิเคราะห์ข้อมูล แต่ละกลุ่มร่วมกันนาข้อมูลที่ไปค้นคว้าหรือทดลองมาวิเคราะห์และสังเคราห์ หาคาตอบที่ต้องการ หรือพิสูจน์ว่าสมมุติฐานที่ตั้งไว้นั้น ถูกต้อง
หรือไม่ คาตอบที่ถูกคืออะไร
6. สรุปผล เป็นขั้นที่นักเรียนสรุปผลการเรียนรู้และหลักการที่ได้จากการศึกษาหาปัญหานี้
การคิดเชิงคานวณ
การคิดเชิงคานวณ เป็นกระบวนการแก้ปัญหาในหลากหลายลักษณะ เช่น การจัดลาดับเชิงตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลและการสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไปทีละ
ขั้นตอน (หรือที่เรียกวว่า อัลกอริทึ่ม) รวมทั้งการย่อยปัญหาที่ช่วยให้รับมือกับปัญหาที่ซับซ้อนหรือมีลักษณะเป็นคาถามปลายเปิดได้ วิธีคิดเชิงคานวณมีความจาเป็น
ในการพัฒนาแอพพลิเคชันต่างๆ สาหรับคอมพิวเตอร์ แต่ในขณะเดียวกัน วิธีคิดนี้ยังช่วยแก้ปัญหาในวิชาต่างๆ ได้ด้วย ดังนั้นเอง เมื่อมีการบูรณาการวิธีคิดเชิง
คานวณผ่านหลักสูตรในหลากหลายแขนงวิชา จะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละวิชา รวมทั้งสามารถนาวิธีคิดที่เป็นประโยชน์ ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริงได้ใน
ระยะยาว โดยการคิดเชิงคานวณจะประกอบด้วยแนวคิดย่อย 4 อย่างดังต่อนี้
1) การแยกส่วนประกอบ และการย่อยปัญหา
2) การหารูปแบบ
3) ขั้นตอนวิธี
4) การคิดเชิงนามธรรม
โดยที่เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วยแนวคิดการหารูปแบบ คือ เป็นทักษะการหาความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้อง แนวโน้ม และลักษณะ
ทั่วไปของสิ่งต่าง ๆ เช่น
1. ในวิชาวิทยาศาสตร์ให้นักเรียนจัดหมวดหมู่สัตว์ที่คล้ายคลึงกัน ให้อยู่ในสปีชีส์เดียวกัน เพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา
2. ให้ลองดูรูปของพืชแต่ล่ะชนิด แล้วให้ลองระบุลักษณะที่เหมือนหรือแตกต่างกัน
3. การนาแนวคิดนี้ไปใช้ตอนเขียนโปรแกรม เมื่อมีการทางานของโปรแกรมที่หลากหลายแบบ แต่ทว่ามีรูปแบบที่แน่นอนซ้าๆ กัน เราสามารถยุบโค้ดมาอยู่ใน
ฟังก์ชั่นเดียวกันได้หรือไม่ หรือเขียนเป็นโปรแกรมวนลูป ให้อยู่ในลูปเดียวกัน เป็นต้น
2. ผู้เรียนแต่ละคนเขียนสรุปความสาคัญของตนเองเป็น Concept map หรือ InforGraphic
ประกอบด้วย ความหมาย ความหมาย ความสาคัญ และการนาการคิดไปใช้ในการจัดการการเรียนรู้ในชั้นเรียน
PPT ละคิด
เป็นกระบวนการคิดในรายละเอียด
ความสามารถในการคิดจาแนกแจก
แจงองค์ประกอบต่างๆ ของข้อมูล
หรือปัญหาต่างๆออกเป็นประเด็น
ย่อยๆ ในหลายๆแง่มุม รวมทั้งการ
ห า ค ว า ม สั ม พัน ธ์ ร ะ ห ว่ า ง
องค์ประกอบเหล่านั้น แล้วนามา
วิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของ
สิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างเป็นระบบ
ความหมาย
1. ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลหรือสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์
2. กาหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายการคิดวิเคราะห์
3. ให้นักเรียนแยกแยะแจกแจงรายละเอียดสิ่งของที่ต้องการวิเคราะห์
4. ตรวจสอบโครงสร้างหรือความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบใหญ่และ
ย่อย
5. นาเสนอข้อมูลการคิดวิเคราะห์
6. นาผลการคิดวิเคราะห์ไปใช้ตามเป้าหมาย
การนาการคิดไปใช้ใน
การจัดการชั้นเรียน
- ช่วยให้เรารู้ข้อเท็จจริง รู้เหตุผลเบื้องหลังของ
สิ่งที่เกิดขึ้น เข้าใจความเป็นมาเป็นไปของ
เหตุการณ์ต่าง ๆ
- เป็ นฐานความรู้ในการนาไปใช้ในการ
ตัดสินใจแก้ปญหา
- ช่วยให้เราหาเหตุผลที่สมเหตุสมผลให้กับสิ่งทิ่
เกิดขึ้นจริง
- ช่วยประมาณความน่าจะเป็น
ความสาคัญ
การคิด
วิเคราะห์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) เป็น
การคิดที่มีกระบวนการทางปัญญาอย่าง เป็นระบบ
โดยมีการคิดพิจารณาใคร่ครวญ ไตร่ตรองอย่างมี
เหตุผลรอบด้าน มีจุดมุ่งหมายเพื่อการ ตัดสินใจว่าสิ่ง
ใด ข้อความใดเป็ นจริง ซึ่งจะต้องอาศัยข้อมูล
หลักฐานต่าง ๆ มาประกอบการคิดและ การตัดสินใจ
ความหมาย
1. การแยกความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริง และความรู้สึกหรือ
ความคิดเห็น
2. การพิจารณาความเชื่อถือได้ของแหล่งข้อมูล
3. การพิจารณาความถูกต้องตามข้อเท็จจริงของข้อความนั้น
4. การแยกความแตกต่างระหว่างข้อมูล ข้อคิดเห็น หรือเหตุผลที่
เกี่ยวข้องและไม่ เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้น
5. การค้นหาสิ่งที่เป็นอคติหรือความลาเอียง
6. การระบุถึงข้ออ้าง ข้อสมมติทีไม่กล่าวไว้ก่อน
7. การระบุถึงข้อคิดเห็นหรือขัดโต้แย้งที่ยังคลุมเครือ
8. การแยกความแตกต่างระหว่างข้อคิดเห็นที่สามารถพิสูจน์ความ
ถูกต้องได้
9. การตระหนักในสิ่งที่ไม่คงที่ตามหลักการและเหตุผล
10. การพิจารณาความมั่นคงหนักแน่นในข้อโต้แย้งหรือข้อคิดเห็น
การคิดอย่างมี
วิจารณญาณ
ความสาคัญ
การนาการคิดไปใช้ในการจัดการชั้นเรียน
1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้น
กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
อย่างเป็นระบบ ให้นักเรียนมีส่วนร่วม
ในการเรียนรู้ รู้จักคิดในแง่ของการ
ตีความหมายในรายละเอียด
2. ส่งเสริมให้นักเรียนตัดสินใจด้วย
ตนเอง เป็ นการพัฒนาทักษะ
กระบวนการคิด มีความเชื่อมั่นใน
ตนเองและมีความรู้สึกที่เป็นอิสระ
3. จัดสื่อการเรียนรู้แบบต่าง ๆ เพื่อ
ส่งเสริมการฝึกทักษะการคิดอย่างมี
วิ จ า ร ณ ญ า ณ เ ช่ น ห นั ง สื อ
หนังสือพิมพ์ นิทาน
4. ฝึกให้นักเรียนมีการอภิปรายร่วมกัน
ตามหัวข้อต่าง ๆ ที่น่าสนใจ วิจารณ์
ฝึกให้นักเรียนมีทักษะในการลง
ข้อสรุปและรู้จักประเมินความคิดเห็น
ของผู้อื่น
5. ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักวางแผนการ
ทางานหรือกิจกรรมต่าง ๆ โดยแนะนา
ให้นักเรียนวางเป้าหมาย ตรวจสอบ
ขั้นตอนการดาเนินงานว่าเป็นไปตาม
จุดมุ่งหมายหรือไม่
ความคิด
สร้างสรรค์
ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ทาให้เกิดแนวทางใหม่ๆใน
การดาเนินชีวิต
พัฒนาสมองของคนให้มีความฉลาดเฉียบคม การฝึกการ
คิดหรือพยายามคิดเรื่องที่แปลกๆใหม่ๆเป็นประจา จะทา
ให้เกิดความเฉียบแหลมในการคิดแก้ปัญหาต่างๆเพิ่มขึ้น
ก่อให้เกิดความสนุก เป็นธรรมดาของมนุษย์ที่ต้องค้นหา
วิธีการคิดใหม่ๆขึ้นมาทดแทน ความคิดเก่าๆสาหรับโลกที่มี
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
สร้างความเชื่อมั่น เมื่อใดก็ตามที่เราพัฒนาขีด
ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์จนสามารถเผชิญหน้า
และแก้ปัญหาต่างๆได้อย่างราบรื่น
เป็นกระบวนการคิดของสมอง
ซึ่งมีความสามารถในการคิดได้
หลากหลายและแปลกใหม่จาก
เดิม ความคิดสร้างสรรค์คือ
ลักษณะของความคิดที่มีหลาย
มิติ หลายมุมมอง หลายทิศทาง
สามารถคิดได้กว้างไกล ไร้
กรอบ และไร้ขอบเขต
ความสาคัญ
ความหมาย
การนาการคิดไปใช้ใน
การจัดการชั้นเรียน
1. กาหนดให้นักเรียน
รวบรวมข้อคิดเห็นหรือ
คาถาม แล้วให้นักศึกษา
แสดงทักษะด้วยการ
อภิปรายโต้วาที หรือ
แสดงความคิดเห็นใน
กลุ่มย่อยก็ได้
การบอกสิ่งที่คลาดเคลื่อน
ไปจากความเป็ นจริ ง
หมายถึง การแสดงความ
คิดเห็น บ่งชี้ ถึงสิ่ งที่
คลาดเคลื่อนจากความจริง
ผิดปกติไปจากธรรมดา
ทั่วไป
การสอนให้นักเรียน
คิดพิจารณาลักษณะ
ต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ ทั้ง
ข อ ง ม นุ ษ ย์ สั ต ว์
สิ่งของ ในลักษณะที่
แปลกแตกต่างไปกว่า
ที่เคยคิด
การฝึ กให้คิดถึงการ
เปลี่ยนแปลงดัดแปลง
การปรับปรุงสิ่งต่าง ๆ
ที่ คง สภา พ มา เป็ น
เวลานานให้เป็นไปใน
รูปอื่น และเปิดโอกาส
ให้เปลี่ยนแปลงด้วย
วิธีการต่าง ๆ อย่าง
อิสระ
การฝึกให้นักเรียนรู้จัก
สร้างสิ่งใหม่ กฎเกณฑ์
ใหม่ ความคิดใหม่ โดย
อาศัยโครงสร้างเดิม
หรือกฎเกณฑ์เดิมที่เคย
มี แต่พยายามคิดพลิก
แพลงให้ต่างไปจากเดิม
ก า ร ฝึ ก ใ ห้ แ ส ด ง
ความรู้สึกนึกคิดจาก
ภาพในแง่มุม แปลก
ใหม่ ไม่ซ้าเดิม
การคิดแก้ปัญหา
ความหมาย
ความสาคัญเป็นความสามารถทางสมองใน
การขจัดสภาวะความไม่สมดุล
ที่เกิดขึ้น โดยพยายาม ปรับตัว
เองและสิ่งแวดล้อมให้ผสม
กลมกลืนกลับเข้าสู่สภาวะ
สมดุ ลหรื อสภา วะที่ เรา
คาดหวัง
การคิดแก้ปัญหาเป็นสิ่งสาคัญต่อวิถีการดาเนินชีวิตในสังคมของ
มนุษย์ ซึ่งจะต้องใช้การคิดเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นตลอดเวลา ทักษะ
การคิดแก้ปัญหาเป็นทักษะที่เกี่ยวข้องและมีประโยชน์ต่อการ
ดารงชีวิตที่วุ่นวายสับสนได้เป็นอย่างดี ผู้ที่มีทักษะการคิดแก้ปัญหา
จะสามารถเผชิญกับภาวะสังคมที่เคร่งเครียดได้อย่างเข้มแข็ง ทักษะ
การแก้ปัญหาจึงมิใช่เป็นเพียงการรู้จักคิดและรู้จักการใช้สมองหรือ
เป็นทักษะที่มุ่งพัฒนาสติปัญญาแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังเป็น
ทักษะที่สามารถพัฒนาทัศนคติ วิธีคิด ค่านิยมความรู้ ความเข้าใจใน
สภาพการณ์ของสังคมได้ดีอีกด้วย
การนาการคิดไปใช้ใน
การจัดการชั้นเรียน
1.กาหนดปัญหา โดยวิธีการต่างๆ
เช่น ถามนาเข้าสู่บทเรียน เล่าเรื่อง
หรือประสบการณ์ แล้วตั้งปัญหา
เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ เช่น เกี่ยวกับ
วิทยาสตร์รอบตัวเรา
2.วิเคราะห์ปัญหา ครูจะนานักเรียนให้คิด
พิจารณาปัญหา จากนั้นก็จะแบ่งกลุ่ม เพื่อ
รับผิดชอบในการแก้ปัญหาแต่ละข้อ การ
สอนขั้นนี้จะจบลงด้วยการเสนอแนะ
แหล่งความรู้ที่แต่ละกลุ่มควรไปค้นคว้า
หาคาตอบเพื่อแก้ปัญหา
3.ตั้งสมมุติฐาน เป็ นขั้นที่
นักเรียนคาดเดาว่าปัญหานั้นๆมี
สาเหตุมาจากอะไร หรือวิธีการ
แก้ปัญหานั้นน่าจะแก้ไขโดยวิธี
ใด หรือปัญหานั้นควรมีคาตอบ
ว่าอย่างไร เป็นต้น
4.เก็บรวบรวม
ข้อมูล นักเรียนแต่
ล ะ ก ลุ่ ม จ ะ ไ ป
ศึกษาค้นคว้าหา
ค ว า ม รู้ เ พื่ อ
แก้ปัญหาด้วยการ
ทากิจกรรมต่าง ๆ
5.วิเคราะห์ข้อมูล แต่
ละกลุ่มร่ วมกันนา
ข้อมูลที่ไปค้นคว้า
ห รื อ ท ด ล อ ง ม า
วิเคราะห์และสังเคราห์
หาคาตอบที่ต้องการ
ห รื อ พิ สู จ น์ ว่ า
สมมุติฐานที่ตั้งไว้นั้น
ถู ก ต้ อ ง ห รื อ ไ ม่
คาตอบที่ถูกคืออะไร
6.สรุปผล เป็น
ขั้นที่นักเรียน
ส รุ ป ผ ล ก า ร
เ รี ย น รู้ แ ล ะ
หลักการที่ได้
จากการศึกษา
หาปัญหานี้
การคิดเชิงคานวณ
- ไม่ได้จากัดอยู่เพียงการคิดให้เหมือน
คอมพิวเตอร์
- ไม่ได้จากัดอยู่เพียงการคิดในศาสตร์ของ
นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
- แต่เป็นกระบวนการคิดแก้ปัญหาของมนุษย์เพื่อ
สั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานและช่วยแก้ปัญหาตามที่
เราต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- วิธีคิดเชิงคานวณ ช่วยทาให้ปัญหาที่ซับซ้อน
เข้าใจได้ง่ายขึ้น เป็นทักษะที่เป็นประโยชน์อย่าง
ยิ่งต่อทุกๆสาขาวิชา และทุกเรื่องใน
ชีวิตประจาวัน
ความสาคัญ
เป็นกระบวนการแก้ปัญหาในหลากหลายลักษณะ
เช่น การจัดลาดับเชิงตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์
ข้อมูลและการสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไปทีละ
ขั้นตอน (หรือที่เรียกวว่า อัลกอริทึ่ม) รวมทั้งการ
ย่อยปัญหาที่ช่วยให้รับมือกับปัญหาที่ซับซ้อน
หรือมีลักษณะเป็นคาถามปลายเปิดได้ วิธีคิดเชิง
คานวณมีความจาเป็นในการพัฒนาแอพพลิเคชัน
ต่างๆ สาหรับคอมพิวเตอร์
ความหมาย
การนาการคิดไปใช้ในการจัดการชั้นเรียน
ในวิชาวิทยาศาสตร์ให้นักเรียนจัดหมวดหมู่
สัตว์ที่คล้ายคลึงกัน ให้อยู่ในสปีชีส์เดียวกัน
เพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา
จะใช้แนวคิดการหารูปแบบ
เป็นทักษะการหาความสัมพันธ์ที่
เกี่ยวข้อง แนวโน้ม และลักษณะ
ทั่วไปของสิ่งต่าง ๆ ให้ลองดูรูปของพืชแต่ล่ะชนิด แล้วให้ลอง
ระบุลักษณะที่เหมือนหรือแตกต่างกัน
การนาแนวคิดนี้ไปใช้ตอนเขียนโปรแกรม เมื่อมีการทางานของ
โปรแกรมที่หลากหลายแบบ แต่ทว่ามีรูปแบบที่แน่นอนซ้าๆกัน
เราสามารถยุบโค้ดมาอยู่ในฟังก์ชั่นเดียวกันได้หรือไม่ หรือเขียน
เป็นโปรแกรมวนลูป ให้อยู่ในลูปเดียวกัน เป็นต้น
https://youtu.be/XvyqFlJNt_8

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432CUPress
 
บทที่+8
บทที่+8บทที่+8
บทที่+8paynarumon
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8sirinan120
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณSaiiew
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8pajyeeb
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8pajyeeb
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 

Mais procurados (16)

การคิด
การคิดการคิด
การคิด
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432
 
Kaarkhidtaang
KaarkhidtaangKaarkhidtaang
Kaarkhidtaang
 
บทที่+8
บทที่+8บทที่+8
บทที่+8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
Data analysis
Data analysisData analysis
Data analysis
 
5 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 55 การประเมินโครงการ 5
5 การประเมินโครงการ 5
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 

Semelhante a ความสำคัญของการคิด

Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1Ptato Ok
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expertPtato Ok
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kwPtato Ok
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศThank Chiro
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมpimporn454
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
เนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Is
เนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Isเนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Is
เนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Issamaitiger
 

Semelhante a ความสำคัญของการคิด (20)

ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
เนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Is
เนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Isเนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Is
เนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Is
 

ความสำคัญของการคิด

  • 1. 1. ให้แต่ละคนสรุป ความสาคัญของความคิดต่อไปนี้ ที่เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ตามสาขาวิชา (ให้ทุกคนทาทุกคิด) การคิดวิเคราะห์ การคิดวิเคราะห์ เป็นกระบวนการคิดในรายละเอียด ความสามารถในการคิดจาแนกแจกแจงองค์ประกอบต่างๆ ของข้อมูลหรือปัญหาต่างๆออกเป็นประเด็นย่อยๆ ใน หลายๆแง่มุม รวมทั้งการหาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น แล้วนามาวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างเป็นระบบ โดยที่เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วย การฝึกคิดวิเคราะห์ ประกอบด้วย6 ขั้นตอนคือ 1. ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลหรือสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์ 2. กาหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายการคิดวิเคราะห์ 3. ให้นักเรียนแยกแยะแจกแจงรายละเอียดสิ่งของที่ต้องการวิเคราะห์ 4. ตรวจสอบโครงสร้างหรือความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบใหญ่และย่อย 5. นาเสนอข้อมูลการคิดวิเคราะห์ 6. นาผลการคิดวิเคราะห์ไปใช้ตามเป้าหมาย
  • 2. คิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นการคิดที่มีกระบวนการทางปัญญาอย่าง เป็นระบบโดยมีการคิดพิจารณาใคร่ครวญ ไตร่ตรองอย่างมีเหตุผลรอบด้าน มีจุดมุ่งหมายเพื่อ การ ตัดสินใจว่าสิ่งใด ข้อความใดเป็นจริง ซึ่งจะต้องอาศัยข้อมูลหลักฐานต่าง ๆ มาประกอบการคิดและ การตัดสินใจ บุคคลที่รู้จักใช้การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ย่อมจะเป็นผู้ที่กระทากิจกรรมงานต่าง ๆ ประสบความสาเร็จตามเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ โดยที่เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วย 1. มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้น กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณอย่างเป็นระบบ ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ รู้จักคิดในแง่ของการตีความหมาย ในรายละเอียด และสามารถอธิบายการกระทาของตนว่ามีเหตุผลอย่างไร การฝึกให้นักเรียนมีเหตุผลจะใช้คาถามว่า “ทาไม” ให้นักเรียนตอบ โดยมีพื้นฐานรองรับอยู่ เสมอ 2. ส่งเสริมให้นักเรียนตัดสินใจด้วยตนเอง เปิดโอกาสให้นักเรียนตัดสินใจด้วยตนเอง เป็นการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด มีความเชื่อมั่นในตนเองและมี ความรู้สึกที่เป็นอิสระ 3. จัดสื่อการเรียนรู้แบบต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งสื่อมีหลายรูปแบบ สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือ บทความประเภทต่าง ๆ หนังสือพิมพ์นิทาน ฯลฯ เมื่อนักเรียนอ่านแล้วครูอาจใช้คาถามฝึกการคิด เช่น เรื่องนี้คล้ายคลึงหรือแตกต่างกันอย่างไร 4. ฝึกให้นักเรียนมีการอภิปรายร่วมกันตามหัวข้อต่าง ๆ ที่น่าสนใจ อภิปรายเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ ฝึกให้นักเรียนมีทักษะในการลงข้อสรุปและรู้จักประเมิน ความคิดเห็นของผู้อื่น ทาให้นักเรียนรู้จักการอ้างเหตุผล และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยใจเป็นกลาง 5. ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักวางแผนการทางานหรือกิจกรรมต่าง ๆ โดยแนะนาให้นักเรียนวางเป้าหมาย ตรวจสอบขั้นตอนการดาเนินงานว่าเป็นไปตาม จุดมุ่งหมายหรือไม่
  • 3. ความคิดสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการคิดของสมองซึ่งมีความสามารถในการคิดได้หลากหลายและแปลกใหม่จากเดิม ความคิดสร้างสรรค์คือลักษณะของความคิดที่มีหลาย มิติ หลายมุมมอง หลายทิศทาง สามารถคิดได้กว้างไกล ไร้กรอบ และไร้ขอบเขต ควรจะประกอบไปด้วย 3 ประการ คือ 1. สิ่งใหม่ (new, original) เป็นการคิดที่แหวกวงล้อมความคิดที่มีอยู่เดิม ที่ไม่เคยมีใครคิดได้มาก่อน ไม่ได้ลอกเลียนแบบใคร แม้กระทั่งความคิดเดิมๆ ของตนเอง 2.ใช้การได้ (workable) เป็นความคิดที่เกิดจากการสร้างสรรค์ที่ลึกซึ้ง และสูงเกินกว่าการใช้เพียง "จินตนาการเพ้อฝัน" คือ สามารถนามาพัฒนาให้เป็นจริง และใช้ ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม และสามารถตอบสนองวัตถุประสงค์ของการคิดได้เป็นอย่างดี 3. มีความเหมาะสม เป็นความคิดที่สะท้อนความมีเหตุมีผล ที่เหมาะสม และมีคุณค่า ภายใต้มาตรฐานที่ยอมรับกันโดยทั่วไป โดยที่เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วย 1. การสอนเกี่ยวกับการคิดเห็นในลักษณะความคิดเห็นที่ขัดแย้งในตัวมันเอง กาหนดให้นักเรียนรวบรวมข้อคิดเห็นหรือคาถาม แล้วให้นักศึกษาแสดงทักษะด้วยการอภิปราย โต้วาที หรือแสดงความคิดเห็นในกลุ่มย่อยก็ได้ 2. การสอนให้นักเรียน คิดพิจารณาลักษณะต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ ทั้งของมนุษย์สัตว์สิ่งของ ในลักษณะที่แปลกแตกต่างไปกว่าที่เคยคิด รวมทั้งในลักษณะที่คาดไม่ถึง 3. การบอกสิ่งที่คลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง หมายถึง การแสดงความคิดเห็น บ่งชี้ถึงสิ่งที่คลาดเคลื่อนจากความจริง ผิดปกติไปจากธรรมดาทั่วไป หรือสิ่งที่ยังไม่ สมบูรณ์ 4. การตั้งคาถามแบบปลายเปิดและใช้คาถามที่ยั่วยุ เร้าความรู้สึกให้ชวนคิดค้นคว้า เพื่อความหมายที่ลึกซึ้งสมบูรณ์ที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ 5. การฝึกให้คิดถึงการเปลี่ยนแปลงดัดแปลงการปรับปรุงสิ่งต่าง ๆ ที่คงสภาพมาเป็นเวลานานให้เป็นไปในรูปอื่น และเปิดโอกาสให้เปลี่ยนแปลงด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่าง อิสระ 6. การฝึกให้นักเรียนรู้จักสร้างสิ่งใหม่ กฎเกณฑ์ใหม่ ความคิดใหม่ โดยอาศัยโครงสร้างเดิมหรือกฎเกณฑ์เดิมที่เคยมี แต่พยายามคิดพลิกแพลงให้ต่างไปจากเดิม 7. การฝึกให้แสดงความรู้สึกนึกคิดจากภาพในแง่มุม แปลกใหม่ ไม่ซ้าเดิม
  • 4. การคิดแก้ปัญหา การคิดแก้ปัญหา เป็นความสามารถทางสมองในการขจัดสภาวะความไม่สมดุลที่เกิดขึ้น โดยพยายาม ปรับตัวเองและสิ่งแวดล้อมให้ผสมกลมกลืนกลับเข้าสู่สภาวะ สมดุลหรือสภาวะที่เราคาดหวัง โดยที่เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วย 1. กาหนดปัญหา โดยวิธีการต่างๆ เช่น ถามนาเข้าสู่บทเรียน เล่าเรื่องหรือประสบการณ์ แล้วตั้งปัญหาเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ เช่น เกี่ยวกับวิทยาสตร์รอบตัวเรา 2. วิเคราะห์ปัญหา เมื่อได้ปัญหาจากข้อที่ 1 มาแล้ว ครูจะนานักเรียนให้คิดพิจารณาปัญหา จากนั้นก็จะแบ่งกลุ่ม เพื่อรับผิดชอบในการแก้ปัญหาแต่ละข้อ การสอนขั้น นี้จะจบลงด้วยการเสนอแนะแหล่งความรู้ที่แต่ละกลุ่มควรไปค้นคว้าหาคาตอบเพื่อแก้ปัญหา 3. ตั้งสมมุติฐาน เป็นขั้นที่นักเรียนคาดเดาว่าปัญหานั้นๆมีสาเหตุมาจากอะไร หรือวิธีการแก้ปัญหานั้นน่าจะแก้ไขโดยวิธีใด หรือปัญหานั้นควรมีคาตอบว่าอย่างไร เป็นต้น 4. เก็บรวบรวมข้อมูล นักเรียนแต่ละกลุ่มจะไปศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพื่อแก้ปัญหาด้วยการทากิจกรรมต่าง ๆตามที่วางแผนไว้ในข้อที่ 2 5. วิเคราะห์ข้อมูล แต่ละกลุ่มร่วมกันนาข้อมูลที่ไปค้นคว้าหรือทดลองมาวิเคราะห์และสังเคราห์ หาคาตอบที่ต้องการ หรือพิสูจน์ว่าสมมุติฐานที่ตั้งไว้นั้น ถูกต้อง หรือไม่ คาตอบที่ถูกคืออะไร 6. สรุปผล เป็นขั้นที่นักเรียนสรุปผลการเรียนรู้และหลักการที่ได้จากการศึกษาหาปัญหานี้
  • 5. การคิดเชิงคานวณ การคิดเชิงคานวณ เป็นกระบวนการแก้ปัญหาในหลากหลายลักษณะ เช่น การจัดลาดับเชิงตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลและการสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไปทีละ ขั้นตอน (หรือที่เรียกวว่า อัลกอริทึ่ม) รวมทั้งการย่อยปัญหาที่ช่วยให้รับมือกับปัญหาที่ซับซ้อนหรือมีลักษณะเป็นคาถามปลายเปิดได้ วิธีคิดเชิงคานวณมีความจาเป็น ในการพัฒนาแอพพลิเคชันต่างๆ สาหรับคอมพิวเตอร์ แต่ในขณะเดียวกัน วิธีคิดนี้ยังช่วยแก้ปัญหาในวิชาต่างๆ ได้ด้วย ดังนั้นเอง เมื่อมีการบูรณาการวิธีคิดเชิง คานวณผ่านหลักสูตรในหลากหลายแขนงวิชา จะเห็นความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละวิชา รวมทั้งสามารถนาวิธีคิดที่เป็นประโยชน์ ไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตจริงได้ใน ระยะยาว โดยการคิดเชิงคานวณจะประกอบด้วยแนวคิดย่อย 4 อย่างดังต่อนี้ 1) การแยกส่วนประกอบ และการย่อยปัญหา 2) การหารูปแบบ 3) ขั้นตอนวิธี 4) การคิดเชิงนามธรรม โดยที่เชื่อมโยงกับการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วยแนวคิดการหารูปแบบ คือ เป็นทักษะการหาความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้อง แนวโน้ม และลักษณะ ทั่วไปของสิ่งต่าง ๆ เช่น 1. ในวิชาวิทยาศาสตร์ให้นักเรียนจัดหมวดหมู่สัตว์ที่คล้ายคลึงกัน ให้อยู่ในสปีชีส์เดียวกัน เพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา 2. ให้ลองดูรูปของพืชแต่ล่ะชนิด แล้วให้ลองระบุลักษณะที่เหมือนหรือแตกต่างกัน 3. การนาแนวคิดนี้ไปใช้ตอนเขียนโปรแกรม เมื่อมีการทางานของโปรแกรมที่หลากหลายแบบ แต่ทว่ามีรูปแบบที่แน่นอนซ้าๆ กัน เราสามารถยุบโค้ดมาอยู่ใน ฟังก์ชั่นเดียวกันได้หรือไม่ หรือเขียนเป็นโปรแกรมวนลูป ให้อยู่ในลูปเดียวกัน เป็นต้น
  • 6. 2. ผู้เรียนแต่ละคนเขียนสรุปความสาคัญของตนเองเป็น Concept map หรือ InforGraphic ประกอบด้วย ความหมาย ความหมาย ความสาคัญ และการนาการคิดไปใช้ในการจัดการการเรียนรู้ในชั้นเรียน PPT ละคิด
  • 7. เป็นกระบวนการคิดในรายละเอียด ความสามารถในการคิดจาแนกแจก แจงองค์ประกอบต่างๆ ของข้อมูล หรือปัญหาต่างๆออกเป็นประเด็น ย่อยๆ ในหลายๆแง่มุม รวมทั้งการ ห า ค ว า ม สั ม พัน ธ์ ร ะ ห ว่ า ง องค์ประกอบเหล่านั้น แล้วนามา วิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของ สิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างเป็นระบบ ความหมาย 1. ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลหรือสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์ 2. กาหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายการคิดวิเคราะห์ 3. ให้นักเรียนแยกแยะแจกแจงรายละเอียดสิ่งของที่ต้องการวิเคราะห์ 4. ตรวจสอบโครงสร้างหรือความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบใหญ่และ ย่อย 5. นาเสนอข้อมูลการคิดวิเคราะห์ 6. นาผลการคิดวิเคราะห์ไปใช้ตามเป้าหมาย การนาการคิดไปใช้ใน การจัดการชั้นเรียน - ช่วยให้เรารู้ข้อเท็จจริง รู้เหตุผลเบื้องหลังของ สิ่งที่เกิดขึ้น เข้าใจความเป็นมาเป็นไปของ เหตุการณ์ต่าง ๆ - เป็ นฐานความรู้ในการนาไปใช้ในการ ตัดสินใจแก้ปญหา - ช่วยให้เราหาเหตุผลที่สมเหตุสมผลให้กับสิ่งทิ่ เกิดขึ้นจริง - ช่วยประมาณความน่าจะเป็น ความสาคัญ การคิด วิเคราะห์
  • 8. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) เป็น การคิดที่มีกระบวนการทางปัญญาอย่าง เป็นระบบ โดยมีการคิดพิจารณาใคร่ครวญ ไตร่ตรองอย่างมี เหตุผลรอบด้าน มีจุดมุ่งหมายเพื่อการ ตัดสินใจว่าสิ่ง ใด ข้อความใดเป็ นจริง ซึ่งจะต้องอาศัยข้อมูล หลักฐานต่าง ๆ มาประกอบการคิดและ การตัดสินใจ ความหมาย 1. การแยกความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริง และความรู้สึกหรือ ความคิดเห็น 2. การพิจารณาความเชื่อถือได้ของแหล่งข้อมูล 3. การพิจารณาความถูกต้องตามข้อเท็จจริงของข้อความนั้น 4. การแยกความแตกต่างระหว่างข้อมูล ข้อคิดเห็น หรือเหตุผลที่ เกี่ยวข้องและไม่ เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้น 5. การค้นหาสิ่งที่เป็นอคติหรือความลาเอียง 6. การระบุถึงข้ออ้าง ข้อสมมติทีไม่กล่าวไว้ก่อน 7. การระบุถึงข้อคิดเห็นหรือขัดโต้แย้งที่ยังคลุมเครือ 8. การแยกความแตกต่างระหว่างข้อคิดเห็นที่สามารถพิสูจน์ความ ถูกต้องได้ 9. การตระหนักในสิ่งที่ไม่คงที่ตามหลักการและเหตุผล 10. การพิจารณาความมั่นคงหนักแน่นในข้อโต้แย้งหรือข้อคิดเห็น การคิดอย่างมี วิจารณญาณ ความสาคัญ การนาการคิดไปใช้ในการจัดการชั้นเรียน 1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้น กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ อย่างเป็นระบบ ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ในการเรียนรู้ รู้จักคิดในแง่ของการ ตีความหมายในรายละเอียด 2. ส่งเสริมให้นักเรียนตัดสินใจด้วย ตนเอง เป็ นการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิด มีความเชื่อมั่นใน ตนเองและมีความรู้สึกที่เป็นอิสระ 3. จัดสื่อการเรียนรู้แบบต่าง ๆ เพื่อ ส่งเสริมการฝึกทักษะการคิดอย่างมี วิ จ า ร ณ ญ า ณ เ ช่ น ห นั ง สื อ หนังสือพิมพ์ นิทาน 4. ฝึกให้นักเรียนมีการอภิปรายร่วมกัน ตามหัวข้อต่าง ๆ ที่น่าสนใจ วิจารณ์ ฝึกให้นักเรียนมีทักษะในการลง ข้อสรุปและรู้จักประเมินความคิดเห็น ของผู้อื่น 5. ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักวางแผนการ ทางานหรือกิจกรรมต่าง ๆ โดยแนะนา ให้นักเรียนวางเป้าหมาย ตรวจสอบ ขั้นตอนการดาเนินงานว่าเป็นไปตาม จุดมุ่งหมายหรือไม่
  • 9. ความคิด สร้างสรรค์ ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ทาให้เกิดแนวทางใหม่ๆใน การดาเนินชีวิต พัฒนาสมองของคนให้มีความฉลาดเฉียบคม การฝึกการ คิดหรือพยายามคิดเรื่องที่แปลกๆใหม่ๆเป็นประจา จะทา ให้เกิดความเฉียบแหลมในการคิดแก้ปัญหาต่างๆเพิ่มขึ้น ก่อให้เกิดความสนุก เป็นธรรมดาของมนุษย์ที่ต้องค้นหา วิธีการคิดใหม่ๆขึ้นมาทดแทน ความคิดเก่าๆสาหรับโลกที่มี การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว สร้างความเชื่อมั่น เมื่อใดก็ตามที่เราพัฒนาขีด ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์จนสามารถเผชิญหน้า และแก้ปัญหาต่างๆได้อย่างราบรื่น เป็นกระบวนการคิดของสมอง ซึ่งมีความสามารถในการคิดได้ หลากหลายและแปลกใหม่จาก เดิม ความคิดสร้างสรรค์คือ ลักษณะของความคิดที่มีหลาย มิติ หลายมุมมอง หลายทิศทาง สามารถคิดได้กว้างไกล ไร้ กรอบ และไร้ขอบเขต ความสาคัญ ความหมาย การนาการคิดไปใช้ใน การจัดการชั้นเรียน 1. กาหนดให้นักเรียน รวบรวมข้อคิดเห็นหรือ คาถาม แล้วให้นักศึกษา แสดงทักษะด้วยการ อภิปรายโต้วาที หรือ แสดงความคิดเห็นใน กลุ่มย่อยก็ได้ การบอกสิ่งที่คลาดเคลื่อน ไปจากความเป็ นจริ ง หมายถึง การแสดงความ คิดเห็น บ่งชี้ ถึงสิ่ งที่ คลาดเคลื่อนจากความจริง ผิดปกติไปจากธรรมดา ทั่วไป การสอนให้นักเรียน คิดพิจารณาลักษณะ ต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ ทั้ง ข อ ง ม นุ ษ ย์ สั ต ว์ สิ่งของ ในลักษณะที่ แปลกแตกต่างไปกว่า ที่เคยคิด การฝึ กให้คิดถึงการ เปลี่ยนแปลงดัดแปลง การปรับปรุงสิ่งต่าง ๆ ที่ คง สภา พ มา เป็ น เวลานานให้เป็นไปใน รูปอื่น และเปิดโอกาส ให้เปลี่ยนแปลงด้วย วิธีการต่าง ๆ อย่าง อิสระ การฝึกให้นักเรียนรู้จัก สร้างสิ่งใหม่ กฎเกณฑ์ ใหม่ ความคิดใหม่ โดย อาศัยโครงสร้างเดิม หรือกฎเกณฑ์เดิมที่เคย มี แต่พยายามคิดพลิก แพลงให้ต่างไปจากเดิม ก า ร ฝึ ก ใ ห้ แ ส ด ง ความรู้สึกนึกคิดจาก ภาพในแง่มุม แปลก ใหม่ ไม่ซ้าเดิม
  • 10. การคิดแก้ปัญหา ความหมาย ความสาคัญเป็นความสามารถทางสมองใน การขจัดสภาวะความไม่สมดุล ที่เกิดขึ้น โดยพยายาม ปรับตัว เองและสิ่งแวดล้อมให้ผสม กลมกลืนกลับเข้าสู่สภาวะ สมดุ ลหรื อสภา วะที่ เรา คาดหวัง การคิดแก้ปัญหาเป็นสิ่งสาคัญต่อวิถีการดาเนินชีวิตในสังคมของ มนุษย์ ซึ่งจะต้องใช้การคิดเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นตลอดเวลา ทักษะ การคิดแก้ปัญหาเป็นทักษะที่เกี่ยวข้องและมีประโยชน์ต่อการ ดารงชีวิตที่วุ่นวายสับสนได้เป็นอย่างดี ผู้ที่มีทักษะการคิดแก้ปัญหา จะสามารถเผชิญกับภาวะสังคมที่เคร่งเครียดได้อย่างเข้มแข็ง ทักษะ การแก้ปัญหาจึงมิใช่เป็นเพียงการรู้จักคิดและรู้จักการใช้สมองหรือ เป็นทักษะที่มุ่งพัฒนาสติปัญญาแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังเป็น ทักษะที่สามารถพัฒนาทัศนคติ วิธีคิด ค่านิยมความรู้ ความเข้าใจใน สภาพการณ์ของสังคมได้ดีอีกด้วย การนาการคิดไปใช้ใน การจัดการชั้นเรียน 1.กาหนดปัญหา โดยวิธีการต่างๆ เช่น ถามนาเข้าสู่บทเรียน เล่าเรื่อง หรือประสบการณ์ แล้วตั้งปัญหา เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ เช่น เกี่ยวกับ วิทยาสตร์รอบตัวเรา 2.วิเคราะห์ปัญหา ครูจะนานักเรียนให้คิด พิจารณาปัญหา จากนั้นก็จะแบ่งกลุ่ม เพื่อ รับผิดชอบในการแก้ปัญหาแต่ละข้อ การ สอนขั้นนี้จะจบลงด้วยการเสนอแนะ แหล่งความรู้ที่แต่ละกลุ่มควรไปค้นคว้า หาคาตอบเพื่อแก้ปัญหา 3.ตั้งสมมุติฐาน เป็ นขั้นที่ นักเรียนคาดเดาว่าปัญหานั้นๆมี สาเหตุมาจากอะไร หรือวิธีการ แก้ปัญหานั้นน่าจะแก้ไขโดยวิธี ใด หรือปัญหานั้นควรมีคาตอบ ว่าอย่างไร เป็นต้น 4.เก็บรวบรวม ข้อมูล นักเรียนแต่ ล ะ ก ลุ่ ม จ ะ ไ ป ศึกษาค้นคว้าหา ค ว า ม รู้ เ พื่ อ แก้ปัญหาด้วยการ ทากิจกรรมต่าง ๆ 5.วิเคราะห์ข้อมูล แต่ ละกลุ่มร่ วมกันนา ข้อมูลที่ไปค้นคว้า ห รื อ ท ด ล อ ง ม า วิเคราะห์และสังเคราห์ หาคาตอบที่ต้องการ ห รื อ พิ สู จ น์ ว่ า สมมุติฐานที่ตั้งไว้นั้น ถู ก ต้ อ ง ห รื อ ไ ม่ คาตอบที่ถูกคืออะไร 6.สรุปผล เป็น ขั้นที่นักเรียน ส รุ ป ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ หลักการที่ได้ จากการศึกษา หาปัญหานี้
  • 11. การคิดเชิงคานวณ - ไม่ได้จากัดอยู่เพียงการคิดให้เหมือน คอมพิวเตอร์ - ไม่ได้จากัดอยู่เพียงการคิดในศาสตร์ของ นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ - แต่เป็นกระบวนการคิดแก้ปัญหาของมนุษย์เพื่อ สั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานและช่วยแก้ปัญหาตามที่ เราต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ - วิธีคิดเชิงคานวณ ช่วยทาให้ปัญหาที่ซับซ้อน เข้าใจได้ง่ายขึ้น เป็นทักษะที่เป็นประโยชน์อย่าง ยิ่งต่อทุกๆสาขาวิชา และทุกเรื่องใน ชีวิตประจาวัน ความสาคัญ เป็นกระบวนการแก้ปัญหาในหลากหลายลักษณะ เช่น การจัดลาดับเชิงตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์ ข้อมูลและการสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไปทีละ ขั้นตอน (หรือที่เรียกวว่า อัลกอริทึ่ม) รวมทั้งการ ย่อยปัญหาที่ช่วยให้รับมือกับปัญหาที่ซับซ้อน หรือมีลักษณะเป็นคาถามปลายเปิดได้ วิธีคิดเชิง คานวณมีความจาเป็นในการพัฒนาแอพพลิเคชัน ต่างๆ สาหรับคอมพิวเตอร์ ความหมาย การนาการคิดไปใช้ในการจัดการชั้นเรียน ในวิชาวิทยาศาสตร์ให้นักเรียนจัดหมวดหมู่ สัตว์ที่คล้ายคลึงกัน ให้อยู่ในสปีชีส์เดียวกัน เพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา จะใช้แนวคิดการหารูปแบบ เป็นทักษะการหาความสัมพันธ์ที่ เกี่ยวข้อง แนวโน้ม และลักษณะ ทั่วไปของสิ่งต่าง ๆ ให้ลองดูรูปของพืชแต่ล่ะชนิด แล้วให้ลอง ระบุลักษณะที่เหมือนหรือแตกต่างกัน การนาแนวคิดนี้ไปใช้ตอนเขียนโปรแกรม เมื่อมีการทางานของ โปรแกรมที่หลากหลายแบบ แต่ทว่ามีรูปแบบที่แน่นอนซ้าๆกัน เราสามารถยุบโค้ดมาอยู่ในฟังก์ชั่นเดียวกันได้หรือไม่ หรือเขียน เป็นโปรแกรมวนลูป ให้อยู่ในลูปเดียวกัน เป็นต้น