SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 82
Baixar para ler offline
หลวงพ่อครูบาเจ้าเพชร วชิรมโน


          สำนักปฏิบัติ อัญญาวิโมกข์โพธิรังษี (วัดป่ากล้วยไม้ดิน)
    บ้านหนองฟักทอง ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
                    www.kubajaophet.com
“	ยังกิญจิ	 	สมุทะยะ		ธัมมัง		สัพพันตัง		นิโรธะ	
ธัมมันติ”	
	 “สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นธรรมดา		
	 		สิ่งนั้นทั้งหมดทั้งสิ้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา”

       ส่วนหนึ่งของปฐมเทศนาธัมมจักรกัปปวัตตนสูตร
ที่ พ ระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ทรงแสดงพระธรรมนี้ ใ ห้ กั บ
ปัญจวัคคีย์ทั้งห้า และพระอัญญาโกณฑัญญะ
       หากพิจารณาให้เข้าถึงพระธรรมข้อนี้ เราจะมอง
เห็นซึ่งสัจธรรมของชีวิตในโลกปัจจุบัน หากเรารู้หลักใน
การดำเนินชีวิต ดำเนินชีวิตด้วยความไม่ประมาท มีสติ
ทุกขณะวินาทีของทุกการกระทำ ไม่ว่าสิ่งใดจะเกิดขึ้น
เราย่อมพร้อมรับผลของสิ่งนั้นด้วยสติ และปัญญา
       “สติ” คือตัวกำหนดความคิด ที่ก่อให้เกิดปัญญา
ปัญญาเกิดจากการภาวนา เพื่อให้รู้แจ้ง และรู้ทันจิต…
จิต คือสิงทีจบต้องและบังคับไม่ได้ แต่สามารถควบคุมได้
           ่ ่ั
ด้วยสติ
แล้ววิธีไหนล่ะ??
     ที่เราจะสามารถควบคุมสติ และรู้เท่าทันจิตของ
เราเอง
     ทุกคำแนะนำจากทุกตัวอักษรภายในหนังสือเล่มนี้
จะเป็นเหมือนเข็มทิศแนะแนวทางให้คุณ ได้ค้นพบหลัก
ของการควบคุมสติ ดูจิต และรู้ใจ เพียงคุณเริ่มเดินตาม
รอยเส้นทางของนักภาวนา เพื่อค้้นพบซึ่งคำว่า “สงบ”
และ “ปล่อยวาง”
     เส้นทางของนักภาวนา เพื่อการหลุดพ้น
     เริ่มต้นที่...“พุท...โธ”




คณะผู้จัดทำ	 :	 อัญญาวิโมกข์		
พิมพ์ครั้งที่	1	 :		 ตุลาคม	2553		(เป็นการถอดเทป)
จำนวน	           :	 1,500	เล่ม
สารบัญ

            7
หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา


           33
จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย	


           53
      ตอกย้ำเตือนจิต
หลักการปฏิบัติ	
            สมาธิภาวนา	

       พุทธ ธรรม สงฆ์ มีอยู่ที่ใจเรา...
       พระพุ ท ธเจ้ า พระธรรมเจ้ า พระอริ ย สงฆ์ เจ้ า
มีอยู่ที่ใจเรา
       เมื่อเรามีใจให้พระองค์ เมื่อเราน้อมพระองค์มา
ไว้ในใจ ใจเราจะเยือกเย็นสุขุม มีความสงบ แต่ทำไม
บางคนภาวนาแล้ ว น้ อ มถึ ง พระพุ ท ธ พระธรรม
พระสงฆ์ แ ล้ ว ไม่ เ กิ ด ความรู้ สึ ก อะไร เพราะว่ า จิ ต
ของเรามั น หยาบเกิ น ไป เราจึ ง ไม่ รู้ สึ ก ว่ า มี สิ่ ง พิ เ ศษ
มีอานุภาพพิเศษประดิษฐานในใจของเราแล้ว มีที่พึ่ง
อยู่ในใจของเราแล้ว จิตที่หยาบคือจิตที่ไม่ประกอบไป

                                   หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา
ด้วยศีล จิตที่ไม่ประกอบด้วยสมาธิ ไม่ประกอบด้วย
    ความสงบ เมื่อจิตที่ประกอบด้วยศีล ประกอบด้วย
    สมาธิ ประกอบด้วยความสงบ ย่อมสัมผัสไอแห่งความ
    เป็นทิพย์ ตั้งแต่เป็นทิพย์ชั้นต่ำๆ เช่น เทวดาอารักษ์
    บ้ า ง เสี ย งของคนที่ พู ด จากไกลๆ ได้ ยิ น ใกล้ ๆ บ้ า ง
    หรือเห็นสิ่งต่างๆ ล่วงหน้าบ้าง สิ่งเหล่านี้ก็เกิดจาก
    อานุภาพของใจทีมความสงบ ฉะนันความสงบของใจนี้
                          ่ี               ้
    ต้องสร้างขึ้น เวลาใจของเรามีความสงบ เราไม่ค่อย
    ได้ สั ง เกตว่ า มั น สงบ แต่ เรามั ก จะใส่ ใจในเรื่ อ งของ
    ความไม่ ส งบเป็ น ส่ ว นใหญ่ “นั่ น แหละ...จึ ง ทำให้

    ใจไม่สงบ”



          ฉะนัน เมือใจของเรามีความสงบแม้เพียงเล็กน้อย
               ้ ่
    ก็พึงใส่ใจในความสงบนั้น ถึงแม้เพียงแป๊บเดียวก็ตาม
    แล้วใจของเราก็ไปคิด การคิดไปในอดีต การคิดไป
ในอนาคต ก็เพราะอาศัยจิตที่คิดในปัจจุบัน เมื่อเรา
ไม่ใส่ใจในความคิดนั้น จิตที่มีความคิดนั้นก็จะยุติลง
เหลือแต่ความสงบ แต่เป็นความสงบที่ไม่ละเอียดนัก
เป็นความสงบชั่วคราว เมื่อเราใส่ใจในความสงบนั้น
เราก็ จ ะได้ รั บ ความสงบนั้ น อี ก สั ก พั ก ก็ ไ ปคิ ด อี ก
เป็นอย่างนี้ จะนั่งเป็นชั่วโมงก็มีลักษณะแบบนี้

    บางท่านก็สงบแป๊บเดียว...แล้วคิดไปนาน
    บางท่านก็สงบนาน...
    บางท่านสงบ...นานๆ ไปคิดที หมายความว่า
สงบนานกว่าคิด
    บางทีก็คิดนานกว่าสงบ...
    บางทีสงบกับความคิดเท่ากัน...
    บางวันก็ไม่เท่ากัน ไม่เสมอกัน



                                หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา
ถ้ า เราพยายามสั ง เกตดู ค วามสงบกั บ ความ
 ไม่ ส งบภายในจิ ต ใจ จะทราบได้ ว่ า ใจของเรานั้ น
 มีความไม่ทรงตัว เรียกว่า ความไม่เที่ยง ถ้ามีปัญญา
 ก็จะเห็นพระไตรลักษณ์ทันทีว่า...

   ความสงบนี้ก็ ไม่เที่ยง		
 	 ความคิดนี้ก็ ไม่เที่ยง			
 	 เพราะอาศัยใจไม่เที่ยง
 ทำอย่างไรหนอ...ใจมันจะเที่ยง
      พยายามรวบรวมกำลังใจของเราให้มีฐานที่ตั้ง
      ฐานที่ตั้งของใจ คือ สถานที่ฝึกสติ
      สถานที่ฝึกสติก็มีกาย มีเวทนา มีจิต แล้ว
 ก็มธรรม
    ี

10
แต่ตามโดยหลักวิธีที่โบราณจารย์ครูบาอาจารย์
ท่านแนะนำพร่ำสอน คือ ให้ใช้อานาปานสติ การใช้
ลมหายใจเข้าและออกเป็นเครื่องกำหนดสติ เป็นตัว
กำหนดใจ เพื่อให้ใจกับสติและนิมิต ได้แก่ ลมหายใจ
เข้าออกนันเป็นอันเดียวกัน เมือใจกับสติและลมหายใจ
           ้                     ่
เข้าออกเป็นอันเดียวกัน ไม่มีอารมณ์อื่นแทรก อย่างนี้
ครูบาอาจารย์ท่านกล่าวว่า เป็นเอกัคคตารมณ์ คือ
อารมณ์เป็นหนึ่ง แต่ตั้งอยู่ได้ไม่นานเท่าไหร่ ก็ฉวัด
เฉวี ย นไปคิ ด เรื่ อ งอื่ น พอได้ ส ติ ก็ ดึ ง กลั บ ลั ก ษณะ
แบบนีเ้ รียกว่า ขณิกสมาธิ คือ เล็กน้อย ไม่มากเท่าไหร่

     แต่ถ้าเราทำบ่อยๆ ใส่ใจบ่อยๆ ขณิกสมาธิก็ไม่ใช่
ของเด็ก เพราะเมื่อทำบ่อยเข้า...บ่อยเข้า ก็จะเป็น
อุปจารสมาธิ คือ สมาธินานๆ จะเคลื่อนที นานที
จิตจะส่ายไปที มีความตั้งมั่นมากขึ้น


                                 หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา	   11
เมือเราพยายามทำจิตของเรานันให้อยูในอารมณ์
             ่                                 ้     ่
 อั น เดี ย วกั น ได้ แ ก่ สติ ที่ อ ยู่ กั บ ลมหายใจเข้ า ออก
 มีจิตนั้นจดจ่ออยู่ เมื่อจิตอยู่ได้นานก็มีความสุขนาน
 มี ค วามสงบนาน เมื่ อ จิ ต อยู่ ไ ด้ ไ ม่ น านก็ มี ค วามสงบ
 ไม่นาน มีความสุขไม่นาน เป็นราคาเท่ากัน มีห้าบาท
 ก็ ซื้ อ ของได้ ห้ า บาท มี สิ บ บาทก็ ซื้ อ ของได้ สิ บ บาท
 แต่ เ มื่ อ เราเก็ บ ไปเรื่ อ ยๆ ก็ ส ามารถซื้ อ ของราคา
 ร้อยบาทได้

      เมื่ อ เราทำไม่ ห ยุ ด ไม่ ห ย่ อ น อาศั ย ความเพี ย ร
 แรงกล้ า อาศั ย การรั ก ษาสมาธิ ที่ ไ ด้ แ ล้ ว ไม่ ใ ห้ เ สื่ อ ม
 หนักเข้า...หนักเข้า ก็เป็น อัปปนาสมาธิ คือ สมาธิ
 แนบแน่น ดิ่งเป็นอารมณ์อันเดียวกัน จนปรากฏว่า
 มีความสว่าง...โปร่งใส...ใจสบาย...ใจสุข ในขณะนั้น
 ไม่อยากกิน ไม่อยากนอน เรียกว่า จิตเป็นหนึ่ง
 หรือ ภาษาบาลีเรียกว่า เอกัคคตาจิต

12
เมื่อ จิตเป็น หนึ่ง แล้ว จิตมี ความสงบเยือกเย็น
ดีแล้ว นั้นแหละเรียกว่า พลังงาน นำเอามาใช้ในการ
เจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานได้ คือ การกำหนด	               
ลงสู่กาย	 พิจารณาร่างกายของเรา
ให้เห็นตามความเป็นจริง ตั้งแต่ ผม ขน
เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก พอใจ
ส่ ว นไหน กำหนดส่ ว นนั้ น เป็ น อารมณ์	
เช่ น ถ้ า พอใจกระดู ก สั น หลั ง ก็ ก ำหนดลงที่ ก ระดู ก
สั น หลั ง กำหนดลงอยู่ อ ย่ า งนั้ น อย่ า ย้ า ยตำแหน่ ง
ให้จิตรวมกันเป็นเอกัคคตารมณ์ เป็นเอกัคคตาจิตที่
กระดูกสันหลัง จนจิตรวมลง คือ จิตรวมใหญ่ลง

       เมื่อจิตรวมใหญ่ลงแล้ว กระดูกสันหลังจะหายไป
เหลือแต่จตล้วนๆ โปร่งใส สว่าง สงบ สุข เหมือนเดิมอีก
            ิ
จิ ต ไม่ อ ยากหลั บ จิ ต ไม่ อ ยากนอน จิ ต ไม่ อ ยากกิ น


                             หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา	   13
จิตไม่อยากเที่ยว จิตอยากอยู่นิ่งๆ จิตเบิกบานผ่องใส
 “บางท่านเข้าใจว่าเป็นพระอรหันต์ไปแล้ว”
       เมื่ อ กำลั ง ฌานสมาธิ ถ อนตั ว ลงแล้ ว ก็ ป รากฏ
 ร่างกายขึน เห็นสภาพร่างกายนี้ อาจจะเห็นเป็นซากศพ
             ้
 หรือเห็นเป็นโครงกระดูกทังร่าง เห็นเป็นของน่าเกลียด
                           ้
 ไม่สะอาด ในขณะนั้นพึงใช้ไตรลักษณญาณ คือ

      “	การกำหนดว่าสิ่งนี้เป็นทุกข์		
 	    	 สิ่งนี้ไม่เที่ยง		สิ่งนี้ไม่ใช่ตัวเรา		
 
    
 สิงนีเ้ ป็นเพียงสักแต่วาธาตุเท่านัน

          ่                         ่           ้
 	    	 มีธาตุดน	ธาตุนำ	ธาตุลม	ธาตุไฟ

                   ิ          ้
 	    	 ไม่ช้าไม่นานก็แตกสลายหายไป		
 	    	 ไม่มั่นคง		และไม่ถาวรอยู่ได้”	

14
ตามคำสั่ ง สอนขององค์ ส มเด็ จ พระชิ น ศรี บ รม
ศาสดาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อเห็นอย่างนั้นแล้ว
ได้ชื่อว่าเห็นองค์สมเด็จพระทศพล เห็นพระพุทธเจ้า
ในนี้...
       เมื่อจิตเกิดความเบิกบานชุ่มฉ่ำ เกิดความเข้าใจ
แล้ว จิตจะคลายออกจากความกำหนัด คลายออก
จากความยินดี หมายมั่นถือมั่นในร่างกาย จิตจะเข้าสู่
สมาธิแนบแน่นอีก สว่าง โปร่งใส มีความสุข สงบดี
จิ ต จะสงบอยู่ อ ย่ า งนั้ น นานเท่ า นานตามกำลั ง ฌาน
สมาธิจะพออำนวยให้จิตทรงอยู่ได้

      เมื่อกำลังฌานสมาธิถอนตัว จิตก็จะลดตัวลงมา
สู่อารมณ์อุปจารสมาธิ คือ เข้าสู่กาย ก็พิจารณาลงสู่
กายนันอีก จะส่วนใดก็ตาม มันจะพิจารณาไปตามส่วน
      ้
ของมัน แล้วเอาพระไตรลักษณ์ คือ การเห็น การรู้
การไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตนในร่างกายสังขาร

                            หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา	   15
ของเรา เห็นอย่างนี้ มองอย่างนี้ เรียกว่าปฏิบัติทั้ง
 อนุโลมและปฏิโลม
      หรือบางท่านจะพิจารณาเวทนา เมื่อเรานั่งแล้ว
 เกิดความเจ็บปวดตามแข้งตามขา เอว สะโพก หลัง
 ตัว หัว หรือปวดไปทั่วสารพางค์กายทั้งภายในและ
 ภายนอก ให้กำหนดลงสูทปวดนัน กำหนดเพ่งทีปวดนัน
                      ่ ี่  ้             ่      ้
 กำหนดให้เห็นพระไตรลักษณ์ คือ

    เห็นอนิจจัง...	
 		 	 เห็นทุกขัง...		
 	 	 	 เห็นอนัตตา
 ให้ เ กิ ด ความเบื่ อ หน่ า ย คลายออกจากความยึ ด ติ ด
 ยึดมั่น สำคัญว่ากายเป็นตน หรือขันธ์ห้าเป็นตัวตน
 เราเขา เพ่งจนกว่ากายจะแตก

16
เมื่อจิตเกิดความสมดุลกัน จิตก็จะรวมลงอีกที
ก็ จ ะเกิ ด ความโปร่ ง โล่ ง ...สว่ า งไสว...สงบสุ ข อยู่ อี ก
เวทนาไม่ปรากฏ ถ้าปรากฏก็เป็นเวทนาสุข จิตค้าง
นานประมาณอยู่เท่าไหร่ แล้วแต่กำลังของฌานสมาธิ
พอหมดกำลังก็จะถอนตัวลง เมื่อถอนตัวลงแล้ว จะลง
สู่เวทนานั้นอีกก็ได้ ดูว่ามีเวทนาอะไรอีก...

     “ถึงแม้เวทนาสุขเกิดขึน	ก็ตองรูวา
                          ้    ้ ้่
เวทนานี้ ไม่ใช่เรา	 เป็นของไม่เที่ยง...	
ไม่ใช่ตวตน	เรียกว่า	การกำหนดเวทนา”
       ั

    หรื อ จะกำหนดจิ ต ก็ ไ ด้ เมื่ อ จิ ต ลงสู่ความ
สงบรวมลงแล้ ว โปร่ ง โล่ ง สว่ า งไสว สงบสุ ข ดี แ ล้ ว


                                 หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา	   1
จิตถอนตัวลงสู่อารมณ์ปกติธรรมดาแล้ว ให้กำหนดดู
 ที่จิตของเราว่าจิตขณะนี้ผ่องใสหรือเศร้าหมอง จิตมี
 ราคะอยู่ มีโทสะอยู่ มีโมหะอยู่ ให้รู้ชัดเจน หรือ
 จิตขัดเคือง จิตขุ่นหมองเศร้า หรือ จิตมีความอยาก
 ตั ณ หาที่ จ ะทะยานไปอี ก หรื อ จิ ต พอใจในอารมณ์
 ความสงบนี้ ก็ให้รู้จักว่าการที่เข้าไปสงบแบบนี้ หรือ
 ความสุขที่เกิดขึ้นกับจิตอย่างนี้ เป็นของไม่มีตัวตน
 อย่างนี้...เรียกว่า พิจารณาดูจิต หรือ กำหนด
 ดูลมหายใจเข้าออกจนจิตเข้าสู่ความสงบ โปร่งโล่งไสว
 สุขสงบดีแล้ว จนกว่าอารมณ์ฌานสมาธิจะเสื่อมลง

    เมื่ อ จิ ต ลงสู่ อุ ป จารสมาธิ จ ะ
 พิจารณาธรรมก็ ได้	 พิจารณาธรรมที่เป็น
 ส่วนกุศล ได้แก่ ความดี บุญ กรรมดี สิ่งที่เราเห็นว่า


1
สิ่งนี้เป็นของไม่ดีแล้วเราจะไม่ทำ สิ่งนี้เป็นของดีแล้ว
เราควรทำ เช่น การให้ทาน การรักษาศีล การเจริญ
ภาวนา การศึกษาพระธรรมคำสังสอนของพระพุทธเจ้า
                                 ่
หรือยกเอาข้อธรรมของพระพุทธเจ้ามากำหนดพิจารณา
เพื่อตีความหมายให้เกิดความซาบซึ้ง ความเข้าใจ เช่น
ศีล ๕, กุศลกรรมบถ หรือจะพิจารณาอกุศล เรียกว่า
บาป กรรมที่ไม่ดี ว่าสิ่งนี้เป็นความชั่ว สิ่งนี้ไม่ใช่ของดี
เช่น การพิจารณาอกุศลกรรมบถ ๑๐ เป็นต้น หรือจะ
พิ จ ารณาสภาวธรรมที่ เ กิ ด ขึ้ น ให้ เ ห็ น ว่ า ไม่ ใช่ สั ต ว์
บุคคล ตัว ตน เรา เขา ให้เห็นเป็นอนิจจัง ทุกขัง
อนัตตาก็ได้

      เมื่ อ จิ ต พิ จ ารณาแล้ ว เกิ ด ความสงบ ภาพนิ มิ ต
หรื อ อารมณ์ นั้ น ก็ จ ะหายไป จิ ต จะยกขึ้ น สู่ อ ารมณ์
อัปปนาสมาธิ สว่างโล่ง โปร่งใส สงบสุขเหมือนเดิม


                                  หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา	     1
เป็นลักษณะนี้อยู่เรื่อยๆ อย่างนี้เรียกว่าเป็นผู้ที่ปฏิบัติ
 เข้าสู่อนุโลมและปฏิโลม แล้วแต่การปฏิบัติของท่าน
 ทั้งหลายที่ได้ปฏิบัติกัน “ให้เน้นหนักในการใช้	             
 ลมหายใจเข้าออก	กับการพิจารณากาย
 เป็นสำคัญ	แต่เมืออาการธรรมใดเกิดขึน
                 ่                 ้
 ให้กำหนดอาการธรรมนั้นให้เห็นสภาพ
 ตามความเป็นจริง”
       บุ ค คลที่ ภ าวนาควรจะรู้ จั ก ยกตั ว อย่ า ง เช่ น
 เมื่อเรากำหนดกระดูกสันหลังอยู่ จะนั่งสมาธิก็ตาม
 จะเดิ น จงกรมอยู่ ก็ ต าม ให้ ก ำหนดอยู่ แ ต่ ก ระดู ก
 สันหลัง เมื่อจิตคิดไปทางอื่น ไปทางอดีต ไปอนาคต
 ก็ให้รู้ว่าจิตส่งออกนอก พยายามดึงจิตกลับมาให้อยู่
 แต่กระดูกสันหลัง และภาวนาพุทโธจนกว่าจิตจะรวมลง

20
จะเป็นอิริยาบถใดก็ตามก็ไม่ห่างไปจากกาย ไม่ห่างไป
จากลมหายใจเข้าออก

      สิ่งที่ควรจำและควรสังเกต คือ เวลา
ทำสมาธิ ทำอย่างไรจิตจะสงบลงได้ง่าย “วิธีไหน	      
ที่ ท ำให้ จิ ต สงบได้ ง่ า ย	 ให้ ท ำวิ ธี นั้ น
อย่าเปลี่ยน” ให้ปฏิบัติตามฉบับวิธีนั้นไป บางที
จั บ ลมหายใจเข้ า ออกแล้ ว จิ ต มั น ไม่ ล ง มั น ไม่ ส งบ
ต้องคิดหาอุบาย อาจจะกำหนดลมลงถึงท้อง
ผ่านหน้าอกออกปลายจมูก ปลายจมูกลงอกผ่านท้อง
หรือกำหนดกะโหลกศีรษะพร้อมดูลมหายใจเข้าออก
หรือกำหนดอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งในร่างกาย และ
กำหนดลมหายใจเข้าออกไปด้วย อย่างใดอย่างหนึ่ง
อาจจะต้ อ งใช้ นิ มิ ต ควบคู่ กั น ไปเพื่ อ ทำให้ จิ ต สงบลง
ได้ง่าย


                                หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา	   21
นักปฏิบต.ิ ..ถ้าไม่เห็นทุกข์ของ
             ั
 ขันธ์หา	ถือว่าปฏิบัติยังไม่ดี...	
       ้
 	 ทุกข์ของ...การเกิด...		
 	 	            การแก่...		
 	 	            การเจ็บ...		
 	 	            การตาย.	
 นันแหละ
จึงจะว่า
“เอาวะ...ตายเป็นตาย” ถ้ายังไม่เห็น
   ่
 การเกิด การแก่ การเจ็บ การตาย การพลัดพราก
 การสูญเสีย สิ่งที่หวังไว้ไม่ประสบความสำเร็จดังหวัง
 ถ้าเราไม่เห็นทุกข์พวกนี้เราก็ยังคิดว่าโลกนี้ยังดี ก็ยัง
 เดิ น ลอยชายอยู่ เดิ น ลอยนวลอยู่ คิ ด ว่ า มี ค วามสุ ข
 แข้งขาเดินได้ก็มีความสุข


22
“บางคนมี ค วามทุ ก ข์	 ความป่ ว ย
แทบจะตาย	 แต่พอหายทุกข์หายป่วย	
ก็ลืมทุกข์ลืมป่วย	 พอลืมทุกข์ลืมป่วย	
ก็ เ ลยลื ม ตั ว	 เลยประมาท	 ลื ม ตาย		
ใช้ชีวิตอย่างประมาทอีก”	
     สิ่ ง เหล่ า นี้ นั่ น เองที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า จึ ง ได้ ต รั ส ว่ า
“การช่ ว ยให้ ค นคลายจากความทุ ก ข์ ชั่ ว คราวน่ ะ

                    

มันไม่ใช่เป็นการช่วยจริงๆ
 บางครั้งอาจจะทำให้เขา
ประมาทมากขึ้นก็ได้” เวลาป่วยไข้ไม่สบายเจียนตาย
ตอนนั้นเรานึกอย่างไรบ้าง
     “อะไรก็ไม่เอาแล้ว...อยากหาย...”



 “อยากหายเจ็บ...อยากหายป่วย” แต่พอหาย
ป่วยแล้ว ก็จะคุยถึงเรืองอาการปวดนัน แต่ตวเองไม่รสก
                             ่               ้         ั          ู้ ึ

                                     หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา	        23
โทษของมั น แล้ ว ไม่ รู้ สึ ก กลั ว ว่ า มั น จะเกิ ด ขึ้ น อี ก
 ยังประมาทพลาดพลังกันต่อ อย่างนีเ้ รียกว่าการปฏิบติ
                        ้                                       ั
 มันยังไม่เกิดผล เพราะว่าเราไม่เห็นโทษของมัน ไม่เห็น
 ทุกข์ของมัน แต่เวลาเห็นคือตอนเราเป็นเท่านั้น
        “เราไม่เป็น
เราไม่ยอมเห็นมัน...นี่”


 
 “ความพลัดพรากเป็นอย่างไร”

 
 “การประสบกับสิงไม่เป็นทีรกทีชอบใจเป็นอย่างไร”

                          ่       ่ั ่
 
 “เห็นมั้ย”
        เราพบกันทุกวัน แต่เราไม่รู้สึกว่ามันเป็นทุกข์
 แต่สงเหล่านีตองได้รบการแก้ไข แต่ไม่ได้ไปแก้ไขคนอืน
     ิ่       ้้      ั                                           ่
 แต่มันต้องแก้ไขที่ตัวของเราเอง
        เพราะ...ตัวเราเอง...ตัวเราสร้าง...	                         
 ตัวเราทำ...ตัวเราก่อเวรก่อภัย	
       “ถ้าเราไม่แก้
ไม่รู้ใครจะมาแก้ให้เรา”


 
     “ต้องแก้ที่ใจเรานะ”


24
รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ถูกต้องด้วยกาย และ
ธรรมารมณ์ที่เกิดขึ้นที่ใจ สิ่งเหล่านี้ไม่ได้ทำร้ายเรา
มันเป็นแค่ท่อนฟืน แต่สิ่งที่ทำร้ายเรา คือ
     “ไฟที่อยู่ในใจ	ได้แก่

	 	 ความโลภ	ความโกรธ	ความหลง
รูปที่เห็น	 เสียงที่ ได้ยิน	 กลิ่นที่ได้จาก
ทางจมูก	รสที่ได้จากลิ้น	 สัมผัสที่ ได้
จากกาย	เรื่องราวที่ได้จากใจ”	

 สิ่งเหล่านี้เป็นฟืนเข้ามาสุมใส่ เข้ามาเป็นไฟในใจ
ทำให้รุกโชนขึ้น

     พระอริยเจ้าท่านไม่ได้ดับรูป ดับเสียง ดับกลิ่น
ดับรส ดับสัมผัส ดับความคิด และเรืองราวทีเ่ กิดขึนทีใจ
                                 ่              ้ ่
แต่ท่านดับไฟอันร้าย ได้แก่ ความโลภ ความโกรธ


                            หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา	   25
ความหลง เมื่อท่านดับไฟสามกองนี้แล้ว ฟืนทั้งหลาย
 ก็ไม่มีค่า เราจะว่าไฟร้อนหรือฟืนมันร้อน เรานั่งรอบ
 กองไฟแล้วเอาฟืนใส่ มีไฟร้อนโดนตัว
       “ฟืนมันร้อน
หรือ
ไฟมันร้อน”

 

 “ฟืนมันไม่ร้อนหรอก
แต่ไฟมันร้อน”


 
 “ตาที่เห็นรูป...รูปนั้นไม่ร้อนหรอก
 ถ้ามันไม่ม
                 ี
 ไฟในใจ”


 
 “หูที่ฟังเสียง...เสียงนั้นก็ไม่ร้อน
 ถ้าเราไม่มีไฟ
             

 อยู่ในใจ”


 
 “ลิ้ น ที่ รั บ รสอาหาร...มั น ก็ ไ ม่ ร้ อ น
 ถ้ า เราไม่ มี

 ไฟอยู่ในใจ”


 
 “จมูกที่ดมกลิ่น
กลิ่นนั้นก็ไม่เป็นของร้อน
ถ้าเรา
 ไม่มีไฟอยู่ในใจ”


       “กายที่ สั ม ผั ส
 เย็ น
 ร้ อ น
 อ่ อ น
 แข็ ง
 ก็ ไ ม่ ใช่

 ของร้อน
ถ้าเราไม่มีไฟอยู่ในใจ”



26
“แม้ แ ต่ ค วามคิ ด ฟุ้ ง ซ่ า น
 คิ ด ไปโน่ น ...อดี ต ...

อนาคตก็ตาม
มันก็ไม่เป็นของร้อน
ถ้าใจของเราไม่มไฟ”

    ี

       ฉะนั้น พระอริยเจ้าท่านดับไฟในใจ ท่านยังใช้
ตาเห็ น รู ป หู ฟั ง เสี ย ง จมู ก ดมกลิ่ น ลิ้ น ลิ้ ม รส
กายสั ม ผั ส ถู ก ต้ อ ง เย็ น ร้ อ น อ่ อ น แข็ ง และรั บ รู้
เรื่องราวที่ใจ ยังรับรู้สิ่งต่างๆ ทั้งหมด ปกติเหมือนคน
ธรรมดา แต่ใจของท่านเย็นแล้ว สงบแล้ว บริสุทธิ์แล้ว

      หน้าที่ของเราก็คือ ดับไฟในใจ
      ราคะคินาไฟ ได้แก่ ความโลภ
      โทสะคินาไฟ ได้แก่ ความโกรธ
      โมหะคินาไฟ ได้แก่ ความหลง
      ไฟสามกองนีเ้ องคือไฟอันร้าย เมือดับไฟสามกอง
                                             ่
แล้ ว ตาเห็ น อะไร...มั น ก็ สั ก แต่ ว่ า เห็ น หู ฟั ง อะไร...


                                  หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา	    27
ก็สักแต่ว่าได้ยิน จะดูอะไรมันก็สักแต่ว่า...เพราะว่าไฟ
 ในใจมันดับ เมื่อเวลาเราดูอะไร
       “หัดสังเกตซิอะไรที่มันร้อน
 
 ตาร้อนหรือเปล่า...มันก็ไม่ได้ร้อน

 

 ใจมันร้อนแล้วนะ...มันเห็นภาพไม่ดีมันก็ร้อน


       แต่ว่าถ้าใจไม่มีไฟ...ใจมันไม่ร้อน”
       ตาเห็นก็เป็นแค่ตาธรรมดา มันเป็นแค่กระบอกตา
 แล้วก็เป็นแค่รูหู ตุ่มลิ้น โพรงจมูก ผิวกาย รวมถึง
 ความรู้สึกที่เกิดขึ้นที่ใจ ก็เป็นสักแต่ว่าทั้งสิ้นเลย

      ฉะนั้ น จึ ง ให้ ห มั่ น ดู ใ จตั ว เองให้ ม าก
 อาการทีเ่ กิดขึนจากทางใจเป็นอะไรบ้าง	
                ้
 หมั่นวิตกวิจารณ์บ่อยๆ	


28
นักปฏิบัติ	จำไว้	๔	ข้อ		
	    	   	 ๑.	กินน้อย	
	    	   	 ๒.	นอนน้อย		
	    	   	 ๓.	พูดน้อย	
	    	   	 ๔.	สงสัยน้อย
อย่านอนมาก อย่ากินมาก อย่าพูดมาก อย่าสงสัยมาก
๔ ข้อนี้ คือคำของหลวงปู่มั่น “ท่านบอกว่าเสือมันเอา
ไปกินหมด
 ไอ้พวกภาวนาทั้งหลาย
 ไอ้พวกนอนมาก

กินมาก
 พูดมาก
 สงสัยมาก
 เสือเอาไปกินหมด
 ไม่ได้
ไปนิพพาน”






                          หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา	   29
ถึงแม้ว่า ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ใช่ไฟ แต่มัน
 ก็เป็นฟืน จึงต้องสำรวม	ระวัง	ตา	หู	 จมูก	
 ลิ้น	 กาย	 ใจ	 ระวังตาเมื่อเวลาเห็นรูปที่ชอบใจ
 หรือไม่ชอบใจก็ตาม ก็ให้เป็นสักแต่ว่า เรียกว่า ระวัง
 สำรวมทวารทั้ ง ๖ เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ใจของเรานั้ น เกิ ด ฟื น
 เกิดไฟขึ้น...

        การปฏิบัติธรรมจะอยู่บ้านก็ตาม อยู่วัดก็ตาม
 อยู่ป่าก็ตาม มันอันเดียวกัน เมื่อหลับตาลงแล้วมันก็
 ไม่เป็นบ้าน มันก็ไม่เป็นวัด ไม่เป็นป่า ไม่เป็นเมือง
 มันเป็นอะไรตอนนี้ เป็นโลภ เป็นโกรธ เป็นหลง
        “อยู่ป่าก็เป็นโลภ
เป็นโกรธ
เป็นหลงมั้ย”


 
 “อยู่วัดก็เป็นโลภ
เป็นโกรธ
เป็นหลงมั้ย”


 
 “อยู่เมืองก็เป็นโลภ
เป็นโกรธ
เป็นหลงมั้ย”


 
 “มันก็เป็นทุกที่แหละ”



30
“โลภ	โกรธ	หลง		มันอยู่ที่ใจเรา		
	 	 เราอยู่ที่ไหน		มันก็อยู่ที่นั่น”

      ใจให้มันเป็นศีล เป็นสมาธิ เป็นปัญญา
ฉะนั้น เราไม่เอาป่า เราไม่เอาวัด เราไม่เอาบ้าน
เราไม่เอาเมือง เราเอาศีล เอาสมาธิ เอาปัญญา

       คำว่า “ปฏิบัติ” นั้นไม่มีสิ่งใดจะมาขวางได้เลย
ถ้าบุคคลผู้นั้นต้องการจะปฏิบัติพ้นทุกข์จริงๆ เมื่อเรา
หลับตาลงแล้วมีแต่ศีลเท่านั้น สมาธิเท่านั้น ปัญญา
เท่ า นั้ น แหละ...ที่ อ ยู่ กั บ เรา “นี่ แ หละ...คื อ ป่ า ของ

                                                                

นักปฏิบตจริงๆ
ป่าสามป่า
ป่าศีล
ป่าสมาธิ
 ป่าปัญญา”
            ัิ
เป็นมหาวิทยาลัยสามมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปริญญาตรี
ปริญญาโท และปริญญาเอก มีอยู่ที่เรา ศึกษาที่ใจเรา


                                  หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา	    31
สิ่งที่เราควรกระทำในปัจจุบันนี้ คือ เอาชัยชนะ
 มาให้ได้ ปราบมันให้ได้ ฆ่ามันไม่ได้ก็ระวังอย่าให้มัน
 เข้ามาอีก

    “มีสติระวัง...	
 		 	ระวังด้วยวาจา	คือ
คำพูด		
 
 	ระวังด้วยการกระทำ	คือ	ทางกาย
 	 	และระวังความคิดทางใจ”	
        กายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม
มีแค่ ๓ อย่าง
 เท่านั้น มันจะเป็นที่ไหนก็ตาม ขอให้มันเป็นทั้งสามที่
 ในใจเราคือ ศีล สมาธิ และปัญญา õ




32
จิตเป็ทนั้งทีหลาย	
                        ่รวมของ	
            เหตุ

       คำสอนขององค์ ส มเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า
เป็นคำสอนที่ประกอบไปด้วยเหตุและผล เป็นสิ่งที่ทำ
ให้เรารู้จักความจริง ความจริงที่ประกอบอยู่ขึ้นทุก
วินาที ทุกชั่วโมง ทุกลมหายใจเข้าออก แต่ความจริงนี้
เราทุกคนก็รู้ เช่น การเกิด การแก่ การเจ็บ การตาย
ทุกคนก็รู้จักกัน แต่การรู้นั้นยังไม่มีมูลเหตุที่จะเข้าไป
รู้จริงเห็นจริงตามสัจธรรม สัจจะ แปลว่า ความจริง
เกิด แก่ เจ็บ ตาย ก็ความจริงอันหนึ่ง อนิจจัง ทุกขัง
อนัตตา ก็ความจริงอันหนึ่ง แต่โดยรวมแล้วคำสอน
ของพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงเน้นหนักลงที่ใจ เพราะ

                             จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย	   33
ใจเป็นสาเหตุ	 เป็นมูลเหตุ
 ทุกข์เกิดขึ้นที่ใจ
 แห่ ง ความทุ ก ข์ ทั้ ง หลาย อวิชชา ตัณหา
 อุปาทาน ไม่ใช่ว่าเราไม่รู้จัก เรารู้จัก...แต่เรายังไม่รู้
 จริงๆ ตามความเป็นจริงของมัน จึงต้องมาทำการศึกษา
 ทำความเข้าใจ

       มนุษย์เราเดี๋ยวนี้มักไม่ค่อยเห็นคุณค่าของการทำ
 กัมมัฏฐาน เห็นว่าเป็นเรื่องเหลวไหล คร่ำครึ ล้าสมัย
 ฉะนั้ น มนุ ษ ย์ จึ ง ต้ อ งระคนไปด้ ว ยความทุ ก ข์ ต่ า งๆ
 แต่เมื่อมาทำการศึกษาทำความเข้าใจในคำสอนของ
 พระพุทธเจ้า เราก็จะเริ่มรู้ว่าชีวิตเราทั้งชีวิต ตั้งแต่
 ลืมตามองดูโลก คือเกิดขึนจนถึงวันตาย กิจการงานใดๆ
                              ้
 ทังหมดทีเ่ รากระทำตังแต่เกิดจนตาย ความเป็นอยูใดๆ
    ้                      ้                            ่
 ทั้งหมด รวมถึงปกิณกะชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย ถ้าเรา
 ศึ ก ษาธรรมะของพระพุ ท ธเจ้ า แล้ ว พระองค์ ท รงรู้


34
ทรงเห็ น ทั้ ง หมดก่ อ นเหตุ ก ารณ์ ทั้ ง หลายจะเกิ ด ขึ้ น
กับเรา เรียกว่าพระองค์ทรงทราบโดยละเอียดแล้วว่า
มนุ ษ ย์ ทั้ ง หลายจะต้ อ งประสบภั ย เช่ น นี้ ทั่ ว หน้ า กั น
ทั้งหมด ไม่มีข้อยกเว้น ไม่ว่าจะเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ
พระราชา หรื อ ยาจก ขอทาน ก็ ต้ อ งพบภั ย พิ บั ติ
เช่นเดียวกัน

      การศึ ก ษาธรรมะคำสอนของพระพุ ท ธเจ้ า
ย่อมเป็นแนวทางเป็นแผนที่ให้เราได้รับทราบ ได้รับรู้
ชีวิตของเราว่าจะดำเนินไปอย่างไร อุปสรรคที่เกิดขึ้น
จะทำอย่างไร ใช้วิธีอะไรแก้ไข เรียกว่า ไม่หลงทาง
พระพุทธเจ้าทรงเน้นหนักลงที่ใจ ดั่งกับปฐมเทศนา
ธั ม มจั ก กั ป ปวั ต ตนสู ต รที่ แ สดงพระธรรมนี้ ใ ห้ กั บ
ปัญจวัคคียทงห้า และพระอัญญาโกณฑัญญะได้ดวงตา
              ์ ั้
เห็นธรรม “ยังกิญจิ
สะมุทะยะธัมมัง
สัพพันตัง
นิโรธะ
         



                                จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย	   35
ธัมมันติ” สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นธรรมดา นี่เรียกว่า
 เหตุ สิ่งนั้นทั้งหมดทั้งสิ้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา
 อันนี้เป็นผล

       “เหตุเกิดที่ไหน” เหตุเกิดที่ใจ
       “จะรู้ได้อย่างไรว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นแล้วมัน
 เป็นเรื่องธรรมดา”

       เราก็ต้องรู้จักคำสอน วิธีการกำหนดจิต วิธีการ
 ใช้ใจให้เป็น ต้องรูจกการทำความสงบ	ให้จต
                    ้ั                               ิ
 รูจกความสงบ	ให้จตรูจกความสบาย
    ้ั                   ิ ้ั
 รู้จักปีติ	 รู้จักการระงับนิวรณธรรม	๕
 จิตเข้าสูองค์ฌาน	เมือจิตมีความสงบ
           ่                ่
 จิ ต ของผู้ นั้ น ย่ อ มผ่ อ งใสขึ้ น	 ความ

36
เศร้าโศกย่อมไม่ปรากฏ	 ความทุกข์
ย่อมไม่ปรากฏเช่นกัน		
         เราจะเห็นแล้วว่าการนั่งสมาธิเป็นการช่วยให้จิต
นั้ น ได้ พั ก คื อ พั ก จากความคิ ด ที่ เ ป็ น นิ ว รณธรรม ๕
และจิตได้เข้าไปสงบสบายปราศจากกาม ปราศจาก
อามิสอย่างอื่น เพราะอาศัยตัวจิตเองนั้นเข้าไปสงบ
ตั ว จิ ต เอง โดยถู ก วิ ธี ต ามแนวทางของสมถภาวนา
เมื่อจิตเข้าไปสงบดีแล้ว ถ้าเกิดจิตมีความวิจารณ์ให้
พิจารณาใคร่ครวญที่ดวงจิตที่มีความสงบก็จะรู้เหตุ
ทันที

     จิตที่สงบลงไปนี้... “อาศัยอะไรเป็นทางเดิน”
     อาศัยการข่มจิตข่มใจ โดยมีกัมมัฏฐานที่ถูกกับ
จริตนิสัย บางคนก็ใช้การกำหนดดูลมหายใจเข้าออก

                               จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย	   37
พร้ อ มบริ ก รรมภาวนาว่ า “พุ ท ” หายใจเข้ า “โธ”
 หายใจออก บางคนดูแต่ลมหายใจเข้าออกไม่บริกรรม
 บางคนใช้ ล มหายใจเข้ า ออกแล้ ว กำหนดนิ มิ ต เป็ น
 เครืองหมาย สามารถทำให้จตล่วงเข้าไปสูความสงบได้
     ่                     ิ           ่
 ความสงบขันนีกเ็ ป็นการชำระล้างใจ ฟอกใจได้ในขันต้น
             ้ ้                              ้

      เมื่อเราทำอยู่บ่อยๆ อยู่เป็นประจำ จิตของเรา
 ก็จะเริ่มชินกับคำว่าจิตสงบ จิตเป็นสมาธิ “จิตก็	  
 มีอำนาจขึน	มีพลังขึน	พลังทีจตได้มา
          ้         ้       ่ิ
 จากสมาธิ	 ได้มาจากความสงบ	ย่อม
 เป็นบาทฐานของวิปัสสนาในอนาคต	
 ย่อมเป็นบาทฐานของปัญญา เรียกว่า
 สมาธิอบรมปัญญา”

38
แต่ ก็ ต้ อ งรู้ วิ ธี คื อ รู้ จั ก เหตุ ที่ กิ เ ลสมั น จะเกิ ด
กิเลสไม่ได้เกิดที่กาย ไม่ได้เกิดที่กายของคน หรือวัตถุ
สิ่งภายนอก กายเราเป็นแค่วัตถุกิเลส แต่กิเลสตัวร้าย
ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสให้กำจัด คือ กามกิเลส มีอยู่
ในใจของเราทุกคน ฉะนัน กิเลส อวิชชา ตัณหา อุปาทาน
                                ้
สาสวะทั้งหลายก็บังเกิดขึ้นที่ใจที่เดียว ใจจึงเป็น
มหาเหตุอันใหญ่ยิ่ง		
        แต่เราจะทำอย่างไร เพื่อสอนใจให้ใจรู้จักเหตุ
ที่ทำให้เกิดกิเลส เกิดความทุกข์ เมื่อจิตของเราเข้าสู่
ความสงบเข้าสู่สมาธิ ชั่วพลันหนึ่งจิตจะขยับตัวออก
เป็ น ธรรมชาติ ความนึ ก คิ ด ย่ อ มเกิ ด ขึ้ น ก็ ใ ห้ คิ ด
พิจารณาลงไปในกาย ให้เห็นกายในกายนี้อยู่เนืองนิจ
เพื่ อ เป็ น การสาวหาเหตุ เหตุ ที่ ท ำให้ จิ ต นั้ น มี กิ เ ลส
จิตทีมกเิ ลสเพราะยึดกายนีเ้ ป็นตัวตน
     ่ ี
                                     จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย	    39
พอจิ ต เข้ า ไปยึ ด กายของเรานี้ เ ป็ น ตั ว ตนเสี ย แล้ ว
 จิตนั้นก็จะยึดอายตนะที่ตากับรูป วิญญาณ สามอย่าง
 ประชุมกัน เกิดผัสสะ คือ การกระทบ การสัมผัสขึ้น
 ก็เกิดเวทนาขึ้นทันที จิตนั้นจึงกินผัสสะเป็นอาหาร

      เราจะดับวิญญาณได้ ต้องพยายามควบคุม
 ผัสสะ	ไม่ยนดีไม่ยนร้ายในอารมณ์นนๆ
              ิ          ิ                 ั้
 ทำให้จิตของเรานั้นเริ่มจะมองเห็นเหตุแห่งทุกข์
 เพราะจิตของเราไปหลงกาย สำคัญกายว่าเป็นตัวตน
 ของเราแท้จริง พระพุทธเจ้าจึงสอนให้เห็นกายนี้เป็น
 แดนทุกข์ เป็นบ่อเกิดแห่งทุกข์ ทุกข์นั้นก็อยู่ได้ไม่นาน
 มีการแปรผัน มีความเสื่อม คือ ความไม่เที่ยง	            
 อยู่เป็นปกติ	เมื่อสิ่งนั้นไม่เที่ยง	สิ่งนั้น
 เป็นทุกข์	 ควรหรือที่เราจะสำคัญว่า
 เป็นตัวตนเรา

40
ถ้าปัญญาเกิด มันก็จะกำหนดว่าไม่ควร จะคิดว่า
กายนี้เป็นตัวตนเราจริง จิตก็จะเริ่มคลายความสงสัย
คลายความยึ ด ติ ด ออกเบาบางลง อย่ า งนี้ เรี ย กว่ า
ตทังควิมุตตินิพพาน เรียกว่า หลุดพ้นตามองค์ที่เป็น
คู่ปรับกัน องค์ที่เป็นคู่ปรับกัน เช่น เราหลงในสุภะคือ
ติดอยู่ในความสวยความงาม ติดอยู่ในร่างกายของเรา
ร่างกายของคนอื่น ก็เอาอสุภะเข้ามากำหนด ให้เห็น
ร่างกายไม่สวยไม่งาม ร่างกายนี้เป็นเหมือนซากศพ
มีปฏิกูลเน่าเหม็นไหลเข้าไหลออกอยู่เนืองนิจ

       เมื่อกำหนดอย่างนี้ สุภะ หรือ กาม ความพอใจ
ในเพศ ความพอใจในความสวยความงามก็ ดั บ ไป
เมื่อดับไปแล้ว จิตจะเข้าสู่ความสงบอีกครั้ง ลักษณะ
อาการอย่ า งนี้ คื อ หลุ ด พ้ น ในขณะที่ ก ำหนดสมาธิ
ในองค์ของกัมมัฏฐานที่เป็นคู่ปรับกับกิเลสได้ถูกต้อง


                           จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย	   41
เช่น ไฟไหม้ก็เอาน้ำไปดับ...ไฟก็ดับ ไม่ใช่ไฟไหม้แล้ว
 เอาฟืนไปใส่ไฟมันก็ลุก มันไม่ดับ คือ
      “ต้องรู้คู่ปรับ...คู่ปรับกับกิเลส”

          แต่บางครั้งจิตสงบระงับลงไป ไม่ปรากฏกิเลส
 แม้ถอนออกมาแล้ว กิเลสก็ไม่ปรากฏ สงบนิ่ง อย่างนี้
 เรียกว่าเป็นการกดกิเลสเอาไว้ ด้วยอาศัยฌานสมาบัติ
 ถ้ า เรี ย กตามภาษาบาลี เรี ย กว่ า วิ ก ขั ม ภนวิ มุ ต ติ
 แต่การข่มกิเลสลงไปได้ การชนะด้วยอุบายวิธี คือของ
 แก้กัน อาศัยจิตเป็นผู้เดินอย่างเดียว จิตเป็นผู้กำหนด

      การที่เราจะสามารถทำสมาธิ ทำจิตเข้าสู่ความ
 สงบ ทำจิตให้เกิดปัญญาขึ้น ทำจิตให้หลุดพ้นได้นั้น
 จำเป็นที่จะต้องอาศัยสติกับสัมปชัญญะ เมื่อเวลา
 กิเลสเกิดขึ้นในจิตให้เรามีสติ คือ ความ

42
ระลึ ก ได้ ว่ า นี่ คื อ กิ เ ลสปรากฏขึ้ น ในจิ ต มี ขึ้ น ในจิ ต
แสดงขึ้นในจิตแล้ว สัมปชัญญะ คือ การรู้ตัว รู้สึกตัว
ว่ากิเลสกำเริบขึ้นแล้ว รู้สึกว่าจิตนี้กำลังจะไปยึดกิเลส
กองนั้น รู้สึกว่าจิตนี้จะเริ่มเป็นทุกข์

    เมื่อมีส ติ สั ม ปชั ญ ญะแก่ ก ล้ า เพราะ
การฝึ ก จิ ต ให้ เข้าสู่ความสงบและเป็นสมาธิได้ดีแล้ว
ควบคุมได้ดแล้ว สติกับสัมปชัญญะก็จะมีกำลัง มีพลัง
             ี
สามารถผลักดันความคิดทีเ่ ป็นกิเลสนัน                ้
ดับไปได้	 โดยอาศัยเห็นมันเป็นของไม่เที่ยง	
ไม่ยนดีไม่ยนร้าย	ไม่ใส่ใจกับมัน	ปล่อย	
     ิ          ิ
มั น ไป	 รู้ เ มื่ อ มั น เกิ ด ขึ้ น และมั น ดั บ ไป	
คอยเฝ้ า ดู อ ยู่ ที่ จิ ต อย่ า งเดี ย วเป็ น
สำคัญ		
                                 จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย	   43
บางคนอาจสงสัย จะกำหนดจิตอย่างไร เพราะ
 จิ ต นั้ น เป็ น นามธรรม มั น ไม่ ส ามารถเห็ น ภาพได้ . ..
 ความรู้ สึ ก อยู่ ที่ ไ หน	 จิ ต ก็ อ ยู่ ที่ นั่ น	
 “ตรงความรูสกนันแหละ”
จิตก็อาศัยตรงนันเหมือนกัน
             ้ึ ่                    ้
 เอาสติไปตั้งที่ความรู้สึกนั้น...

         พระพุทธเจ้าจึงสอนเรื่องสติปัฏฐาน เพื่อให้เรา
 รู้จักจิตนั่นเอง เช่น กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็คือ
 ให้จตกำหนดกายรูสกกาย รูสกอิรยาบถ เดิน ยืน นอน
       ิ             ้ึ     ้ึ ิ
 นั่ง และท่องเที่ยวไปกายในกาย เห็นอวัยวะภายใน
 การเห็นแบบนั้นจิตจะอยู่ตรงตำแหน่งที่กำหนดขึ้น
 ไม่ ไ ปไหน สติ ก็ จ ะรวมอยู่ ที่ นั่ น ไม่ เ คลื่ อ นไปไหน
 ถ้าเคลื่อนสติก็หาย สติตามจิตไม่ทัน	กิเลส	                  
 ก็ เ ข้ า ครอบงำ สติจึงเป็นเหมือนพี่เลี้ยงคอย
 คุ้มครองจิต

44
เราต้ อ งสร้ า งสติ ใ ห้ มี ก ำลั ง มาก โดยการทำจิ ต
ให้สงบ ฝึกทำบ่อยๆ ไม่ใช่ทำวันละหนึ่งชั่วโมงแล้วเลิก
แต่มันต้องทำตลอด...
     เมื่ อ เวลาเราจะ เดิ น เราก็ . .. กำหนดสติ
จะกำหนดลมหายใจเข้าออก หรือกำหนดชินส่วนชินใด้    ้
ชิ้นหนึ่งในร่างกายจะเป็น ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ
เอ็น กระดูก แล้วกำหนดเพ่งอยู่ที่นั่น ไม่ย้ายไปไหน

     เมื่อเวลาเราจะคุยเราก็คุยไป จะทำกิจการงาน
ใดๆ ก็ ท ำไป	 แต่ จิ ต ของเรานั้ น ก็ ไ ม่ ย้ า ย
ออกไปจากกาย	หรือย้ายออกไปจาก	
สิ่ ง ที่ เ รากำหนดขึ้ น เป็ น กั ม มั ฏ ฐาน	
อย่ า งนี้ เรี ย กว่ า เป็ น การฝึ ก สร้ า งสติ ฝึ ก ทำให้

                             จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย	   45
“ถ้าจิตมีสติเมือใด	
 จิตมีสติ จะสังเกตได้งายว่า
                      ่                      ่
 จิตจะเกิดความสงบสบาย	ไม่ฟุ้งซ่าน	
 ไม่ ร ำคาญ”	 เสี ย งที่ เ คยรำคาญก็ ไ ม่ ร ำคาญ
 คนที่ ก วนใจจนเกิ ด ความรำคาญก็ ไ ม่ รู้ สึ ก รำคาญ
 อาการอย่างนี้เรียกว่าจิตเข้าสู่ความสงบแล้ว


     คำว่า	 “ความสงบ”	ไม่ใช่
     นั่งทำสมาธิเฉยๆ	 แต่ความสงบ
     ที่จิตได้รับนั้น		จะต้องปรากฏขึ้น	
     ในอิ ริ ย าบถทั้ ง สี่	 คื อ	 ยื น	 เดิ น	
     นอน		นั่ง.	

46
ฉะนัน คำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นของทีอยูเ่ นือง
             ้                                   ่ ่
ด้วยตัวเรา มิใช่เนืองด้วยอย่างอืนเลย กิจวัตรประจำวัน
                   ่              ่
ของเราก็เป็นกิจวัตรที่เนื่องด้วยพระธรรมคำสอนของ
พระพุทธเจ้า เราจะไม่ศึกษาพระธรรมคำสอน จะไม่
ปฏิบัติตามพระธรรมคำสอน แต่วิถีชีวิตของเราก็เดิน
ไปตามสิ่ ง ที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า ทรงตรั ส คื อ อริ ย สั จ ๔
ทุกข์ทเี่ กิดจากตัณหา เรามีตณหา คือความอยากทังนัน
                               ั                      ้ ้
ความทะยานอยากทั้งนั้นจึงเป็นทุกข์

   มีใครบ้างไม่ทุกข์	 เพราะความทะยาน
อยาก ความต้องการ หรือความเกลียดชัง ความพอใจ
ความไม่พอใจ มีกันทุกคน
     “นี่แหละ...เป็นมูลเหตุแห่งความทุกข์

    
          เป็นที่มาของความทุกข์
                และอะไรที่มันเป็นทุกข์

                ไม่ใช่ใจหรือ...ที่เป็นทุกข์”

                             จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย	   4
อันนี้คือทางเกิดทุกข์ เราเจอกันทุกคน แต่เราก็
 หาวิธีทางดับทุกข์หลายวิธี วิ่งหาวิธีดับทุกข์ตามทาง
 ของตัวเอง คิดว่าถูก ไปทำวิธีกรรมต่างๆ บ้างไปแสดง
 กิ ริ ย าเมามายตามสถานที่ ต่ า งๆ บ้ า งไปผ่ อ นคลาย
 ด้วยการผิดลูกผิดเมีย คิดว่ามันจะผ่อนคลายทุกข์ได้
 ไปทำสิ่งต่างๆ นานาร้อยแปดพันประการ คิดว่ามันจะ
 ดับทุกข์ได้ มันก็ไม่ได้ดับทุกข์ได้จริง มันดับแค่เพียง
 สภาวะหนึ่ง

   เมื่ อ สภาวะดั บ ทุ ก ข์ ห นึ่ ง หายไป		
 สภาวะทุกข์ใหม่ก็เกิดขึ้นมาแทน และ
 ความทุกข์นั้นก็จะแรงขึ้น ทวีขึ้น เพราะเรากำลังเพิ่ม
 ความทุกข์ให้มากขึน จากหนึงเป็นสอง เหมือนไฟจะดับ
                  ้        ่
 ก็เอาฟืนไปใส่อก ไฟก็ลกโหมขึน โรมรันขึน ใจของผูนน
               ี      ุ      ้         ้        ้ ั้
 ก็ถูกเผาจนเหือดแห้งหาความสุขไม่ได้แม้แต่ยามนอน

4
“คนในโลกก็เป็นอย่างนี้กันหมด...แล้วธรรมะ
ของพระพุ ท ธเจ้ า จะไม่ มี ค่ า สำหรั บ มนุ ษ ย์ เชี ย วหรื อ



จะไม่มีประโยชน์สำหรับมนุษย์เชียวหรือ”


        พระพุ ท ธเจ้ า จึ ง สอนให้ รั ก ษาศี ล เป็ น บาทฐาน
เบื้ อ งต้ น ทำให้ ศี ล บริ สุ ท ธิ์ เพราะศี ล นั้ น รั ก ษากาย
วาจาให้เรียบร้อย ศีลถึงแม้จะมากข้อก็จริง แต่รักษา
เพียงทีเ่ ดียวเท่านัน ศีลทังหลายก็บริบรณ์แทบจะไม่ตอง
                    ้        ้            ู                  ้
รักษาศีลด้วยซ้ำ แต่รักษาที่เดียวตรงจุดเดียว คือ


                      รักษาใจ
 ไม่ให้ทำชั่ว		ไม่ให้พูดชั่ว		ไม่ให้คิดชั่ว		


                                จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย	   4
เมื่ อ เราไม่ พู ด ชั่ ว ไม่ ท ำชั่ ว ไม่ คิ ด ชั่ ว ศี ล กี่ ข้ อ
 ก็บริบรณ์ เพราะอาศัยใจนี้ คือ เอาใจไปควบคุมนันเอง
        ู                                                       ่
 ถ้าปราศจากใจไปควบคุมแล้ว กายก็เป็นกายทุจริต
 วาจาก็เป็นวจีทุจริต มโนก็เป็นมโนทุจริต มโนจึงเป็น
 ใหญ่ทสด เรียกว่า ใจ จำเป็นต้องควบคุมกำลังใจของเรา
          ี่ ุ
 ให้บริสุทธิ์
         พระพุ ท ธเจ้ า สอนให้ บ ริ สุ ท ธิ์ ด้ ว ยศี ล เรี ย กว่ า
 ศีลวิสุทธิ คือ เป็นความหมดจดเพราะอาศัยการรักษา
 ศีล รักษาจนไม่ต้องเจตนา จะรักษาศีลเพราะตัวเรา
 เป็นองค์ศีลเสียแล้ว ไม่ต้องอาศัยเจตนา หรือไม่ต้อง
 ตั้งใจรักษาศีลเลยก็ไม่ละเมิดศีลเพราะรักษาจนชิน
 จนศีลนั้นเป็นปกติ จิตนั้นไม่ทำชั่ว	ไม่พูดชั่ว
 ไม่คดชัว	เป็นปกติ จึงปราศจากเจตนานันแหละ
         ิ ่                                             ่
 เมื่ อ ศี ล สะอาด ศี ล หมดจดแล้ ว จิ ต ก็ มี ค วามสงบ
 มีความสบาย ยิ้มแย้มแจ่มใสได้ เพราะอาศัยศีลนั้น

50
บริสุทธิ์ จิตก็เป็นสมาธิ เมื่อจิตเป็นสมาธิก็ดับกิเลส
หรือคลายกิเลส คือ นิวรณธรรม ๕ ได้

      ระดับของสมาธิ ได้แก่ ขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ
อั ป ปนาสมาธิ ทำจนเกิ ด ความชำนาญ จิ ต นั้ น มี
ความบริสุทธิ์ขึ้น สะอาดขึ้น เรียกว่า จิตตวิสุทธิ คือ
ความหมดจดของจิต

เมื่อจิตมีความหมดจด                แล้ว...		
ความเห็นก็จะหมดจด	ย่อมมีความเห็นถูก
เห็นว่าการปฏิบัติอย่างนี้ถูก		
การปฏิบตอย่างนีผด		ทำอย่างนีผิด		
           ั ิ       ้ ิ         ้
ทำอย่างนีถก		รูจกสิงใดถูก		สิงใดผิด


             ้ ู ้ั ่          ่
สิ่งนี้ควรทำ		สิ่งนี้ไม่ควรทำ	

                           จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย	   51
อย่างนี้เรียกว่า ทิฏฐิวิสุทธิ คือ หมดจดในความเห็น
 จิ ต ของผู้ นั้ น ย่ อ มไม่ ส งสั ย ในความรู้ ใ นความเห็ น
 ของตน ย่ อ มไม่ เ คลื อ บแคลงในเรื่ อ งของศี ล และ
 ในเรื่องของสมาธิ õ




52
ตอกย้ำเตือนจิต	

     มรรคองค์ ๘ ขึ้นด้วยสัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็น
ชอบ ตามด้วยสัมมาสังกัปโป คือ ความดำริ ความตรึก
ในใจชอบ สองส่วนนี้เป็นฝ่ายปัญญา อธิปัญญาสิกขา
แล้ว แสดงว่า...
     “คนปฏิ บั ติ ธ รรม
 ไม่ ใช่ จ ะนั่ ง โง่ อ ย่ า งเดี ย วนะ
ภาวนาโง่น่ะ...มันไม่ใช่อย่างนั้น”
     มันต้องมีปัญญารู้ ทั น อาการของจิ ต ที่
อารมณ์มากระทบทุกครั้งไป ถ้าเราไม่รู้ทัน
อารมณ์ที่มากระทบจิตแล้ว เราก็โง่ทันที

                                             ตอกย้ำเตือนจิต	      53
๑. เกิดจากความสงสัย เรานั่งภาวนาพิจารณา
     ดูมันมีความสงสัยอยู่ในใจมั้ย “เราปฏิบัติมันจะได้ผล
     มัยนี,่ 
ปฏิบตมาตังนานมันก็ไม่ได้ผล” ความสงสัย
       ้          ัิ ้
     มันเป็นตัวก่อเชื้อทำให้กิเลสเจริญขึ้น
     ความสงสัยเกิดขึนเมือไหร่ ความไม่เชือก็เกิดขึนเมือนัน
                      ้ ่               ่        ้ ่ ้
     ไม่เชื่อเพราะเกิดจากความสงสัย

            ๒. เกิดจากความไม่อดทน จิตใจอ่อนแอ นังสมาธิ
                                                  ่
     ใจอ่อนแอ นั่ง ๕ นาที ๑๐ นาที อยากออกสมาธิ
     พอภาวนาจิ ต ไม่ ส งบก็ อ ยากออกสมาธิ “นี่ . ..คื อ ใจ

                                                          

     ไม่ อ ดทน” ใจอ่ อ นแอเป็ น ช่ อ งทางทำให้	           
     กิเลสเกิดขึ้น	จิตก็ ไม่สงบด้วย



54
๓. เกิดจากจิตมีความเกียจคร้าน ชอบผลัดวัน
ประกั น พรุ่ ง “ยั ง ดึ ก อยู่ เ ดี๋ ย วก่ อ น,
 ใกล้ ค่ ำ ค่ อ ยทำ,


                                                                     

เช้าเกินไปเดี๋ยวค่อยทำ,
 ตอนสายค่อยทำ,
 สายเกินไป
เดี๋ ย วค่ อ ยทำ,
 หิ ว ข้ า วเดี๋ ย วค่ อ ยทำ,
 กิ น ข้ า วก่ อ น,



กินแล้วง่วงนอน,
นอนก่อนค่อยทำ,
อากาศร้อนนังไม่ได้,
           ่
ภาวนาไม่ดีเดี๋ยวค่อยทำ,
 แอร์เย็นเกินไปนั่งแล้วมัน

จะง่วง
 ออกข้างนอกแล้วค่อยทำ” หนักเข้า...หนักเข้า
กี่ ปี . ..กี่ ปี มั น ก็ ผ ลั ด วั น ประกั น พรุ่ ง เพราะอาศั ย
จิตมีความขี้คร้าน	คือ	ขี้เกียจ	ซึ่งเป็น
ช่ อ งทางทำให้ กิ เ ลสบั ง เกิ ด ขึ้ น และ
ทำให้จิตไม่สงบ



                                                 ตอกย้ำเตือนจิต	   55
๔. คือ จิตไม่มีสติ เรียกว่า ปล่อยสติ ไม่ฝึกสติ
     จะเดิน จะยืน จะนั่ง จะทำอะไรก็แล้วแต่ ให้กำหนด
     ลงสู่ใจ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ทรงตรัสว่า
           “สติเป็นสิ่งสำคัญ”
           ถ้าเราศึกษาพระบาลีในพระไตรปิฎกจะกล่าวว่า
     “หทัยยัง
จิตตัง” คือ จิตอาศัยหทัยวัตถุอยู่ หทัยวัตถุ
     คือ หัวใจของมนุษย์ “อยู่ตรงไหน” คือ กลางใจเรา
     จิตอาศัยหัวใจนี้อยู่ที่กลางหน้าอก เราก็กำหนดที่กลาง
     หน้าอก รูลมหายใจเข้าออก	ภาวนาพุทโธ
                ้
     ในขณะที่เราเดิน เรายืน เรานั่ง เรานอน เว้นไว้
     แต่ว่าเราต้องสนทนาพูดคุยพบปะก็ให้จับที่ความรู้สึก
     ที่หน้าอกที่ใจเราไว้ เมื่อเราตั้งสติในอิริยาบถยืน เดิน
     นั่ง และนอน อยู่อย่างนี้ เรียกว่า ไม่ปล่อยสติ	
        	
     ถ้ า มั น เผลอไผลไปสั ก พั ก	 ได้ ส ติ ก็	
     ตั้งกลับ	จับลมหายใจใหม่		
     
56
การทำใหม่ๆ มันจะรูสกว่าเหมือนไม่ได้ประโยชน์
                        ้ึ
อะไร “มานั่ ง จั บ ลมทำไม...มาภาวนาพุ ท โธทำไม

เหมือนไม่ได้ประโยชน์อะไร”



       สำหรับผู้ที่ไม่เห็นคุณค่า และไม่เห็นประโยชน์
ของการมีสติหรือการฝึกสติ ไม่มีใครในโลกนี้อยาก
เป็นคนบ้า คนบ้าทำอะไรไม่ได้ เรียกว่า โมฆะบุรุษ
หรือ โมฆะสตรี เป็นคนบ้าแล้วหาดีไม่ได้ ทำความดี
ไม่ได้ ฉะนั้นเราทุกคนถ้าขาดสติมันก็บ้า เริ่มจะเป็นบ้า
หน่อยๆ “เพราะอะไร”

     เมื่อความโกรธเกิดขึ้นก็ตะลึงพึงพืด เอาเรื่องราว
กับคนที่ทำให้เราโกรธ ราคะเกิดขึ้นก็ระงับไม่ได้เพราะ
ขาดสติ ก็สนองราคะ กิเลสใดมาก็รับสนอง	               
หมดทุกกิเลสเลย	เพราะไม่มสติยงชังใจ
                        ี ั้ ่

                                      ตอกย้ำเตือนจิต	   57
สติจึงทำให้เรานั้นเป็นคนตื่นรู้ตัว ไม่เป็นคนบ้าบอนะ
     ฉะนันก็ไม่ควรปล่อยสติ ถ้าเราปล่อยสติกเป็น
         ้                                           ็ 	
     ช่องทางทำให้กิเลสเกิดขึ้น	 สติย่อม
     ไม่ตั้งมั่น	จิตย่อมไม่ทรงตัว
           ๕. คื อ ตกอยู่ ใ ต้ อ ำนาจความไม่ รู้ จ ริ ง ได้ แ ก่
     หลงในสังขาร มนุษย์เราทั้งหลายนี้ติดอยู่กับความคิด
     เรียกว่า โลกแห่งความคิด มักจะลุมหลงอยูในความคิด
                                       ่         ่
     แล้วถอนออกจากความคิดไม่ได้ จิตจึงไม่ว่าง จิตจึง
     ไม่มีความสงบสงัด เราทำงานเหนื่อยยังต้องนอนหลับ
     พักกาย แต่จิตนี้ไม่มีเวลาพักเลย อยู่กับความคิดนึก
     แม้เรานั่งอ่านหนังสืออยู่ แต่เราก็ยังไปคิดเรื่องนอก
     หนังสือ ย่อมแสดงให้เห็นว่าจิตของเราไม่เคยได้ฝึก
     ให้จิตมีความสงบ เมื่อจิตเราไม่มีความสงบ ไฉนเลย
     สมาธิจะเกิดขึ้น

58
สมาธิ จ ะเกิ ด ขึ้ น ต้ อ งเกิ ด จากจิ ต ที่ มี ค วามสงบ
จิตที่มีความสงบต้องอาศัยการฝึกอบรม การฝึกอบรม
ต้องรู้วิธีในการฝึก การจะฝึกอบรมให้ได้ดีนั้น ต้องมี
ครูบาอาจารย์คอยสั่งสอน ครูบาอาจารย์ท่านสอนว่า
ให้จับลมและภาวนาพุทโธ ลมหายใจเข้าภาวนาว่า
“พุท” ลมหายใจออกภาวนาว่า “โธ” ทำความรู้สึก
ที่กลางหน้าอก

       เวลาเรานั่งสมาธิมีอาการปวดแข้งปวดขา...
       “ลองพิจารณาดูวาขามันปวด
 หรืออะไรมันปวด”

                        ่

 ตอนเรานั่งความปวดมีหรือเปล่า ความปวดไม่มี
แต่ภายหลังความปวดเกิดขึน แสดงว่าความปวดกับขา
                              ้
เป็ น คนละอั น กั น แท้ ที่ จ ริ ง นั้ น ขาไม่ ไ ด้ ป วดหรอก
ถ้าขามันปวดจริงทำไมคนตายมันไม่ร้อง
       “ที่คนตายมันไม่ร้อง
เพราะมันไม่มีอะไร”


                                             ตอกย้ำเตือนจิต	   59
“ที่คนเป็นมันร้อง
เพราะมันมีอะไร”


           มันมีใจมีจิต แสดงว่าความปวดนั้นมันอยู่ที่จิต
     มันจะร่นเข้ามา...ร่นเข้ามา เมื่อเราเพ่งลงไปที่ความ
     ปวดของขา มั น จะร่ น เข้ า มา มั น จะมี อ าการแป๊ บ ที่
     หัวใจ มีอาการเจ็บที่หัวใจ นั่นไม่ใช่ขาเจ็บแล้ว แต่มัน
     เป็นที่ใจ ใจมันเจ็บ เวลาจะดับก็ต้องดับที่ใจ ไม่ใช่ดับ
     ที่ขา เหตุอยู่ที่ใจ ไม่ใช่อยู่ที่ขา อันนี้ก็เช่นกัน เรียกว่า
     เราไม่หลงไป	 ไม่ติดอยู่ในอารมณ์ที่
     ไม่รู้จริง เรียกว่า เป็นอวิชชา
           การปฏิบตธรรมมันต้องมีปญญา ขาดปัญญาไม่ได้
                      ัิ          ั
     เวลาเรานังภาวนาพุทโธๆๆ รูลมหายใจเข้าออก กำหนด
               ่                ้
     ที่กลางหน้าอก จิตสงบอยู่ สักพักมันก็ไปคิดเรื่องราคะ
     ความรักระหว่างเพศ บางทีมีภาพนิมิตมาประกอบ
     ทำให้ จิ ต ใจนั้ น หลงใหลไป พยายามบั ง คั บ กลั บ มา


60
ภาวนาพุ ท โธมั น ก็ ไ ม่ ม า มั น ก็ ไ ปอยู่ กั บ ภาพนิ มิ ต
เป็นภาพราคะระหว่างหญิงกับชายอยู่นั้น ถ้าเรายังฝืน
ภาวนาพุ ท โธอยู่ ยั ง จั บ ลมหายใจอยู่ รั บ ประกั น ว่ า
มันผิดวิธี อาการอย่างนี้ต้องมีปัญญา ต้องรู้เลยว่า

  คำสอนของพระพุทธเจ้านั้น...	
  เป็ น อาวุ ธ ลั บ สำหรั บ ไว้ ฆ่ า และ
  บันทอนกิเลสทีแฝงตัวเข้ามาในจิต
    ่               ่
  และวางตั ว เข้ า มาในอารมณ์
  ทำให้จิตนั้นเสวยอารมณ์ที่ ไม่ดี	
  และทำให้จิตนั้นต้องโทษ	 เพราะ
  อาศัยอารมณ์นั้นเป็นเหตุ	


                                           ตอกย้ำเตือนจิต	     61
จำเป็นต้องพิจารณาอสุภกรรมฐาน นึกถึงซากศพหรือ
     ของเหม็นของเน่าที่เกิดจากกายคน หรือ เห็นร่างกาย
     นันเป็นของไม่สวยไม่งาม อันนีตองอาศัยจิตของตัวเอง
       ้                                ้้
     ที่มีปัญญาแยกแยะตามอุบายวิธีของตนเอง จะแยก
     ออก ตั ด แข้ ง ตั ด ขา ระเบิ ด ทิ้ ง หรื อ ทำอย่ า งไรก็ ไ ด้
     ทำให้เห็นว่ามันไม่สวยไม่งาม จนจิตของเราสงบจาก
     ราคะนั้นได้ เรียกว่า ตทังควิมุตตินิพพาน แปลว่า
     ดับกิเลสโดยเฉพาะจุดชั่วขณะหนึ่ง แค่แป๊บเดียว หรือ
     เรียกว่าดับกิเลสด้วยเป็นของคู่ปรับกัน ได้แก่
       “ราคะ	ความรักระหว่างเพศ		
     	 ปรับกันกับ...อสุภกรรมฐาน”
          คือ เห็นร่างกายเป็นของไม่สวยไม่งาม เมื่อกิเลส
     กองนั้นดับไปแล้วจิตก็เกิดความสงบสบาย ให้รู้จักว่า
     จิตสบายเป็นอย่างไร ก็ให้ภาวนาพุทโธ รู้ลมหายใจ
     เข้าออกต่อไป

62
แต่เมื่อความโกรธเกิ ด ขึ้ น ในจิ ต จู่ๆ
มันก็คดถึงคนทีเ่ ราโกรธเราเกลียด ทำให้ใจของเราขุนข้อง
        ิ                                           ่
หมองใจ พึ ง แผ่ เ มตตาไปให้ ก ว้ า งขวาง
อย่าไปเจาะจงบุคคลนันบุคคลเดียว แผ่ให้ทวหมดทังคน
                         ้                   ั่       ้
และสัตว์ ทัวอนัตตาไตรโลกนาถทัวไปหมดไม่มประมาณ
             ่                    ่             ี
เป็นอัปปมัญญาพรหมวิหาร ๔ แผ่ไปจนมีความ
รู้สึกว่ า จิ ต เยื อ กเย็ น บางครั้งก็ต้องใช้นิมิต
ประกอบในการแผ่เมตตา อาจจะเห็นแสงสว่างพุ่งจาก
กลางหน้ า อกของเรา หรื อ ขยายวงกว้ า งเหมื อ นกั บ
ระลอกน้ำก็ได้ ทำให้มีความรู้สึกว่าระลอกคลื่นนั้นคือ
กระแสคลื่ น แห่ ง ความเมตตา จิ ต ของเราแผ่ ไ ปทั่ ว
ไม่ มี ป ระมาณ เมื่ อ จิ ต ของเราเย็ น สงบดี แ ล้ ว ความ
โกรธบรรเทาลงแล้ว ให้จับภาวนาพุทโธ รู้ลมหายใจ
เข้าออกต่อ



                                        ตอกย้ำเตือนจิต	    63
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีTaweedham Dhamtawee
 
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนคำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนMI
 
พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54santidhamma
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกMI
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3Onpa Akaradech
 
Luangta mahabua
Luangta mahabuaLuangta mahabua
Luangta mahabuaMI
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo larMI
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616Sombat Nakasathien
 
Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2MI
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 

Mais procurados (20)

วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
 
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโนคำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
คำสอนหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54พรธรรมปีใหม่ 54
พรธรรมปีใหม่ 54
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโกคำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
คำสอนหลวงพ่ออินทร์ถวาย สันตุสสโก
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3
 
Luangta mahabua
Luangta mahabuaLuangta mahabua
Luangta mahabua
 
Luangpoo lar
Luangpoo larLuangpoo lar
Luangpoo lar
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
 
Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2Luangta Mahabua2
Luangta Mahabua2
 
คำนำทำ 4
คำนำทำ 4คำนำทำ 4
คำนำทำ 4
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 

Semelhante a คำนำทำ 3 ภาวนา

จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
Luangpor intawai13
Luangpor intawai13Luangpor intawai13
Luangpor intawai13MI
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
Pra ajarn pasanno
Pra ajarn pasannoPra ajarn pasanno
Pra ajarn pasannoMI
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตTaweedham Dhamtawee
 
คำสอนหลวงพ่อชุด1
คำสอนหลวงพ่อชุด1คำสอนหลวงพ่อชุด1
คำสอนหลวงพ่อชุด1MI
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
ธรรม
ธรรมธรรม
ธรรมaon04937
 
Pra ajarn boonchan
Pra ajarn boonchanPra ajarn boonchan
Pra ajarn boonchanMI
 
ธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยายธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยายWataustin Austin
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112MI
 
Luangpoo kumdee
Luangpoo kumdeeLuangpoo kumdee
Luangpoo kumdeeMI
 
Luangpoo suwat
Luangpoo suwatLuangpoo suwat
Luangpoo suwatMI
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศTพี่ชัย พันทะสี
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศTพี่ชัย พันทะสี
 

Semelhante a คำนำทำ 3 ภาวนา (20)

จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
Luangpor intawai13
Luangpor intawai13Luangpor intawai13
Luangpor intawai13
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
Kamnamtham 5
Kamnamtham 5Kamnamtham 5
Kamnamtham 5
 
Pra ajarn pasanno
Pra ajarn pasannoPra ajarn pasanno
Pra ajarn pasanno
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
คำสอนหลวงพ่อชุด1
คำสอนหลวงพ่อชุด1คำสอนหลวงพ่อชุด1
คำสอนหลวงพ่อชุด1
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ธรรม
ธรรมธรรม
ธรรม
 
Pra ajarn boonchan
Pra ajarn boonchanPra ajarn boonchan
Pra ajarn boonchan
 
ธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยายธรรมบรรยาย
ธรรมบรรยาย
 
Luangpor intawai112
Luangpor intawai112Luangpor intawai112
Luangpor intawai112
 
Luangpoo kumdee
Luangpoo kumdeeLuangpoo kumdee
Luangpoo kumdee
 
Luangpoo suwat
Luangpoo suwatLuangpoo suwat
Luangpoo suwat
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
 
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี  กศ
ขันธ์5 นายชาติชัย พันทะสี กศ
 

คำนำทำ 3 ภาวนา

  • 1.
  • 2. หลวงพ่อครูบาเจ้าเพชร วชิรมโน สำนักปฏิบัติ อัญญาวิโมกข์โพธิรังษี (วัดป่ากล้วยไม้ดิน) บ้านหนองฟักทอง ตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา www.kubajaophet.com
  • 3.
  • 4. “ ยังกิญจิ สมุทะยะ ธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะ ธัมมันติ” “สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดทั้งสิ้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา” ส่วนหนึ่งของปฐมเทศนาธัมมจักรกัปปวัตตนสูตร ที่ พ ระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า ทรงแสดงพระธรรมนี้ ใ ห้ กั บ ปัญจวัคคีย์ทั้งห้า และพระอัญญาโกณฑัญญะ หากพิจารณาให้เข้าถึงพระธรรมข้อนี้ เราจะมอง เห็นซึ่งสัจธรรมของชีวิตในโลกปัจจุบัน หากเรารู้หลักใน การดำเนินชีวิต ดำเนินชีวิตด้วยความไม่ประมาท มีสติ ทุกขณะวินาทีของทุกการกระทำ ไม่ว่าสิ่งใดจะเกิดขึ้น เราย่อมพร้อมรับผลของสิ่งนั้นด้วยสติ และปัญญา “สติ” คือตัวกำหนดความคิด ที่ก่อให้เกิดปัญญา ปัญญาเกิดจากการภาวนา เพื่อให้รู้แจ้ง และรู้ทันจิต… จิต คือสิงทีจบต้องและบังคับไม่ได้ แต่สามารถควบคุมได้ ่ ่ั ด้วยสติ
  • 5. แล้ววิธีไหนล่ะ?? ที่เราจะสามารถควบคุมสติ และรู้เท่าทันจิตของ เราเอง ทุกคำแนะนำจากทุกตัวอักษรภายในหนังสือเล่มนี้ จะเป็นเหมือนเข็มทิศแนะแนวทางให้คุณ ได้ค้นพบหลัก ของการควบคุมสติ ดูจิต และรู้ใจ เพียงคุณเริ่มเดินตาม รอยเส้นทางของนักภาวนา เพื่อค้้นพบซึ่งคำว่า “สงบ” และ “ปล่อยวาง” เส้นทางของนักภาวนา เพื่อการหลุดพ้น เริ่มต้นที่...“พุท...โธ” คณะผู้จัดทำ : อัญญาวิโมกข์ พิมพ์ครั้งที่ 1 : ตุลาคม 2553 (เป็นการถอดเทป) จำนวน : 1,500 เล่ม
  • 6. สารบัญ 7 หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา 33 จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย 53 ตอกย้ำเตือนจิต
  • 7.
  • 8. หลักการปฏิบัติ สมาธิภาวนา พุทธ ธรรม สงฆ์ มีอยู่ที่ใจเรา... พระพุ ท ธเจ้ า พระธรรมเจ้ า พระอริ ย สงฆ์ เจ้ า มีอยู่ที่ใจเรา เมื่อเรามีใจให้พระองค์ เมื่อเราน้อมพระองค์มา ไว้ในใจ ใจเราจะเยือกเย็นสุขุม มีความสงบ แต่ทำไม บางคนภาวนาแล้ ว น้ อ มถึ ง พระพุ ท ธ พระธรรม พระสงฆ์ แ ล้ ว ไม่ เ กิ ด ความรู้ สึ ก อะไร เพราะว่ า จิ ต ของเรามั น หยาบเกิ น ไป เราจึ ง ไม่ รู้ สึ ก ว่ า มี สิ่ ง พิ เ ศษ มีอานุภาพพิเศษประดิษฐานในใจของเราแล้ว มีที่พึ่ง อยู่ในใจของเราแล้ว จิตที่หยาบคือจิตที่ไม่ประกอบไป หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา
  • 9. ด้วยศีล จิตที่ไม่ประกอบด้วยสมาธิ ไม่ประกอบด้วย ความสงบ เมื่อจิตที่ประกอบด้วยศีล ประกอบด้วย สมาธิ ประกอบด้วยความสงบ ย่อมสัมผัสไอแห่งความ เป็นทิพย์ ตั้งแต่เป็นทิพย์ชั้นต่ำๆ เช่น เทวดาอารักษ์ บ้ า ง เสี ย งของคนที่ พู ด จากไกลๆ ได้ ยิ น ใกล้ ๆ บ้ า ง หรือเห็นสิ่งต่างๆ ล่วงหน้าบ้าง สิ่งเหล่านี้ก็เกิดจาก อานุภาพของใจทีมความสงบ ฉะนันความสงบของใจนี้ ่ี ้ ต้องสร้างขึ้น เวลาใจของเรามีความสงบ เราไม่ค่อย ได้ สั ง เกตว่ า มั น สงบ แต่ เรามั ก จะใส่ ใจในเรื่ อ งของ ความไม่ ส งบเป็ น ส่ ว นใหญ่ “นั่ น แหละ...จึ ง ทำให้ ใจไม่สงบ” ฉะนัน เมือใจของเรามีความสงบแม้เพียงเล็กน้อย ้ ่ ก็พึงใส่ใจในความสงบนั้น ถึงแม้เพียงแป๊บเดียวก็ตาม แล้วใจของเราก็ไปคิด การคิดไปในอดีต การคิดไป
  • 10. ในอนาคต ก็เพราะอาศัยจิตที่คิดในปัจจุบัน เมื่อเรา ไม่ใส่ใจในความคิดนั้น จิตที่มีความคิดนั้นก็จะยุติลง เหลือแต่ความสงบ แต่เป็นความสงบที่ไม่ละเอียดนัก เป็นความสงบชั่วคราว เมื่อเราใส่ใจในความสงบนั้น เราก็ จ ะได้ รั บ ความสงบนั้ น อี ก สั ก พั ก ก็ ไ ปคิ ด อี ก เป็นอย่างนี้ จะนั่งเป็นชั่วโมงก็มีลักษณะแบบนี้ บางท่านก็สงบแป๊บเดียว...แล้วคิดไปนาน บางท่านก็สงบนาน... บางท่านสงบ...นานๆ ไปคิดที หมายความว่า สงบนานกว่าคิด บางทีก็คิดนานกว่าสงบ... บางทีสงบกับความคิดเท่ากัน... บางวันก็ไม่เท่ากัน ไม่เสมอกัน หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา
  • 11. ถ้ า เราพยายามสั ง เกตดู ค วามสงบกั บ ความ ไม่ ส งบภายในจิ ต ใจ จะทราบได้ ว่ า ใจของเรานั้ น มีความไม่ทรงตัว เรียกว่า ความไม่เที่ยง ถ้ามีปัญญา ก็จะเห็นพระไตรลักษณ์ทันทีว่า... ความสงบนี้ก็ ไม่เที่ยง ความคิดนี้ก็ ไม่เที่ยง เพราะอาศัยใจไม่เที่ยง ทำอย่างไรหนอ...ใจมันจะเที่ยง พยายามรวบรวมกำลังใจของเราให้มีฐานที่ตั้ง ฐานที่ตั้งของใจ คือ สถานที่ฝึกสติ สถานที่ฝึกสติก็มีกาย มีเวทนา มีจิต แล้ว ก็มธรรม ี 10
  • 12. แต่ตามโดยหลักวิธีที่โบราณจารย์ครูบาอาจารย์ ท่านแนะนำพร่ำสอน คือ ให้ใช้อานาปานสติ การใช้ ลมหายใจเข้าและออกเป็นเครื่องกำหนดสติ เป็นตัว กำหนดใจ เพื่อให้ใจกับสติและนิมิต ได้แก่ ลมหายใจ เข้าออกนันเป็นอันเดียวกัน เมือใจกับสติและลมหายใจ ้ ่ เข้าออกเป็นอันเดียวกัน ไม่มีอารมณ์อื่นแทรก อย่างนี้ ครูบาอาจารย์ท่านกล่าวว่า เป็นเอกัคคตารมณ์ คือ อารมณ์เป็นหนึ่ง แต่ตั้งอยู่ได้ไม่นานเท่าไหร่ ก็ฉวัด เฉวี ย นไปคิ ด เรื่ อ งอื่ น พอได้ ส ติ ก็ ดึ ง กลั บ ลั ก ษณะ แบบนีเ้ รียกว่า ขณิกสมาธิ คือ เล็กน้อย ไม่มากเท่าไหร่ แต่ถ้าเราทำบ่อยๆ ใส่ใจบ่อยๆ ขณิกสมาธิก็ไม่ใช่ ของเด็ก เพราะเมื่อทำบ่อยเข้า...บ่อยเข้า ก็จะเป็น อุปจารสมาธิ คือ สมาธินานๆ จะเคลื่อนที นานที จิตจะส่ายไปที มีความตั้งมั่นมากขึ้น หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา 11
  • 13. เมือเราพยายามทำจิตของเรานันให้อยูในอารมณ์ ่ ้ ่ อั น เดี ย วกั น ได้ แ ก่ สติ ที่ อ ยู่ กั บ ลมหายใจเข้ า ออก มีจิตนั้นจดจ่ออยู่ เมื่อจิตอยู่ได้นานก็มีความสุขนาน มี ค วามสงบนาน เมื่ อ จิ ต อยู่ ไ ด้ ไ ม่ น านก็ มี ค วามสงบ ไม่นาน มีความสุขไม่นาน เป็นราคาเท่ากัน มีห้าบาท ก็ ซื้ อ ของได้ ห้ า บาท มี สิ บ บาทก็ ซื้ อ ของได้ สิ บ บาท แต่ เ มื่ อ เราเก็ บ ไปเรื่ อ ยๆ ก็ ส ามารถซื้ อ ของราคา ร้อยบาทได้ เมื่ อ เราทำไม่ ห ยุ ด ไม่ ห ย่ อ น อาศั ย ความเพี ย ร แรงกล้ า อาศั ย การรั ก ษาสมาธิ ที่ ไ ด้ แ ล้ ว ไม่ ใ ห้ เ สื่ อ ม หนักเข้า...หนักเข้า ก็เป็น อัปปนาสมาธิ คือ สมาธิ แนบแน่น ดิ่งเป็นอารมณ์อันเดียวกัน จนปรากฏว่า มีความสว่าง...โปร่งใส...ใจสบาย...ใจสุข ในขณะนั้น ไม่อยากกิน ไม่อยากนอน เรียกว่า จิตเป็นหนึ่ง หรือ ภาษาบาลีเรียกว่า เอกัคคตาจิต 12
  • 14. เมื่อ จิตเป็น หนึ่ง แล้ว จิตมี ความสงบเยือกเย็น ดีแล้ว นั้นแหละเรียกว่า พลังงาน นำเอามาใช้ในการ เจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานได้ คือ การกำหนด ลงสู่กาย พิจารณาร่างกายของเรา ให้เห็นตามความเป็นจริง ตั้งแต่ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก พอใจ ส่ ว นไหน กำหนดส่ ว นนั้ น เป็ น อารมณ์ เช่ น ถ้ า พอใจกระดู ก สั น หลั ง ก็ ก ำหนดลงที่ ก ระดู ก สั น หลั ง กำหนดลงอยู่ อ ย่ า งนั้ น อย่ า ย้ า ยตำแหน่ ง ให้จิตรวมกันเป็นเอกัคคตารมณ์ เป็นเอกัคคตาจิตที่ กระดูกสันหลัง จนจิตรวมลง คือ จิตรวมใหญ่ลง เมื่อจิตรวมใหญ่ลงแล้ว กระดูกสันหลังจะหายไป เหลือแต่จตล้วนๆ โปร่งใส สว่าง สงบ สุข เหมือนเดิมอีก ิ จิ ต ไม่ อ ยากหลั บ จิ ต ไม่ อ ยากนอน จิ ต ไม่ อ ยากกิ น หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา 13
  • 15. จิตไม่อยากเที่ยว จิตอยากอยู่นิ่งๆ จิตเบิกบานผ่องใส “บางท่านเข้าใจว่าเป็นพระอรหันต์ไปแล้ว” เมื่ อ กำลั ง ฌานสมาธิ ถ อนตั ว ลงแล้ ว ก็ ป รากฏ ร่างกายขึน เห็นสภาพร่างกายนี้ อาจจะเห็นเป็นซากศพ ้ หรือเห็นเป็นโครงกระดูกทังร่าง เห็นเป็นของน่าเกลียด ้ ไม่สะอาด ในขณะนั้นพึงใช้ไตรลักษณญาณ คือ “ การกำหนดว่าสิ่งนี้เป็นทุกข์ สิ่งนี้ไม่เที่ยง สิ่งนี้ไม่ใช่ตัวเรา สิงนีเ้ ป็นเพียงสักแต่วาธาตุเท่านัน ่ ่ ้ มีธาตุดน ธาตุนำ ธาตุลม ธาตุไฟ ิ ้ ไม่ช้าไม่นานก็แตกสลายหายไป ไม่มั่นคง และไม่ถาวรอยู่ได้” 14
  • 16. ตามคำสั่ ง สอนขององค์ ส มเด็ จ พระชิ น ศรี บ รม ศาสดาพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อเห็นอย่างนั้นแล้ว ได้ชื่อว่าเห็นองค์สมเด็จพระทศพล เห็นพระพุทธเจ้า ในนี้... เมื่อจิตเกิดความเบิกบานชุ่มฉ่ำ เกิดความเข้าใจ แล้ว จิตจะคลายออกจากความกำหนัด คลายออก จากความยินดี หมายมั่นถือมั่นในร่างกาย จิตจะเข้าสู่ สมาธิแนบแน่นอีก สว่าง โปร่งใส มีความสุข สงบดี จิ ต จะสงบอยู่ อ ย่ า งนั้ น นานเท่ า นานตามกำลั ง ฌาน สมาธิจะพออำนวยให้จิตทรงอยู่ได้ เมื่อกำลังฌานสมาธิถอนตัว จิตก็จะลดตัวลงมา สู่อารมณ์อุปจารสมาธิ คือ เข้าสู่กาย ก็พิจารณาลงสู่ กายนันอีก จะส่วนใดก็ตาม มันจะพิจารณาไปตามส่วน ้ ของมัน แล้วเอาพระไตรลักษณ์ คือ การเห็น การรู้ การไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตนในร่างกายสังขาร หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา 15
  • 17. ของเรา เห็นอย่างนี้ มองอย่างนี้ เรียกว่าปฏิบัติทั้ง อนุโลมและปฏิโลม หรือบางท่านจะพิจารณาเวทนา เมื่อเรานั่งแล้ว เกิดความเจ็บปวดตามแข้งตามขา เอว สะโพก หลัง ตัว หัว หรือปวดไปทั่วสารพางค์กายทั้งภายในและ ภายนอก ให้กำหนดลงสูทปวดนัน กำหนดเพ่งทีปวดนัน ่ ี่ ้ ่ ้ กำหนดให้เห็นพระไตรลักษณ์ คือ เห็นอนิจจัง... เห็นทุกขัง... เห็นอนัตตา ให้ เ กิ ด ความเบื่ อ หน่ า ย คลายออกจากความยึ ด ติ ด ยึดมั่น สำคัญว่ากายเป็นตน หรือขันธ์ห้าเป็นตัวตน เราเขา เพ่งจนกว่ากายจะแตก 16
  • 18. เมื่อจิตเกิดความสมดุลกัน จิตก็จะรวมลงอีกที ก็ จ ะเกิ ด ความโปร่ ง โล่ ง ...สว่ า งไสว...สงบสุ ข อยู่ อี ก เวทนาไม่ปรากฏ ถ้าปรากฏก็เป็นเวทนาสุข จิตค้าง นานประมาณอยู่เท่าไหร่ แล้วแต่กำลังของฌานสมาธิ พอหมดกำลังก็จะถอนตัวลง เมื่อถอนตัวลงแล้ว จะลง สู่เวทนานั้นอีกก็ได้ ดูว่ามีเวทนาอะไรอีก... “ถึงแม้เวทนาสุขเกิดขึน ก็ตองรูวา ้ ้ ้่ เวทนานี้ ไม่ใช่เรา เป็นของไม่เที่ยง... ไม่ใช่ตวตน เรียกว่า การกำหนดเวทนา” ั หรื อ จะกำหนดจิ ต ก็ ไ ด้ เมื่ อ จิ ต ลงสู่ความ สงบรวมลงแล้ ว โปร่ ง โล่ ง สว่ า งไสว สงบสุ ข ดี แ ล้ ว หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา 1
  • 19. จิตถอนตัวลงสู่อารมณ์ปกติธรรมดาแล้ว ให้กำหนดดู ที่จิตของเราว่าจิตขณะนี้ผ่องใสหรือเศร้าหมอง จิตมี ราคะอยู่ มีโทสะอยู่ มีโมหะอยู่ ให้รู้ชัดเจน หรือ จิตขัดเคือง จิตขุ่นหมองเศร้า หรือ จิตมีความอยาก ตั ณ หาที่ จ ะทะยานไปอี ก หรื อ จิ ต พอใจในอารมณ์ ความสงบนี้ ก็ให้รู้จักว่าการที่เข้าไปสงบแบบนี้ หรือ ความสุขที่เกิดขึ้นกับจิตอย่างนี้ เป็นของไม่มีตัวตน อย่างนี้...เรียกว่า พิจารณาดูจิต หรือ กำหนด ดูลมหายใจเข้าออกจนจิตเข้าสู่ความสงบ โปร่งโล่งไสว สุขสงบดีแล้ว จนกว่าอารมณ์ฌานสมาธิจะเสื่อมลง เมื่ อ จิ ต ลงสู่ อุ ป จารสมาธิ จ ะ พิจารณาธรรมก็ ได้ พิจารณาธรรมที่เป็น ส่วนกุศล ได้แก่ ความดี บุญ กรรมดี สิ่งที่เราเห็นว่า 1
  • 20. สิ่งนี้เป็นของไม่ดีแล้วเราจะไม่ทำ สิ่งนี้เป็นของดีแล้ว เราควรทำ เช่น การให้ทาน การรักษาศีล การเจริญ ภาวนา การศึกษาพระธรรมคำสังสอนของพระพุทธเจ้า ่ หรือยกเอาข้อธรรมของพระพุทธเจ้ามากำหนดพิจารณา เพื่อตีความหมายให้เกิดความซาบซึ้ง ความเข้าใจ เช่น ศีล ๕, กุศลกรรมบถ หรือจะพิจารณาอกุศล เรียกว่า บาป กรรมที่ไม่ดี ว่าสิ่งนี้เป็นความชั่ว สิ่งนี้ไม่ใช่ของดี เช่น การพิจารณาอกุศลกรรมบถ ๑๐ เป็นต้น หรือจะ พิ จ ารณาสภาวธรรมที่ เ กิ ด ขึ้ น ให้ เ ห็ น ว่ า ไม่ ใช่ สั ต ว์ บุคคล ตัว ตน เรา เขา ให้เห็นเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาก็ได้ เมื่ อ จิ ต พิ จ ารณาแล้ ว เกิ ด ความสงบ ภาพนิ มิ ต หรื อ อารมณ์ นั้ น ก็ จ ะหายไป จิ ต จะยกขึ้ น สู่ อ ารมณ์ อัปปนาสมาธิ สว่างโล่ง โปร่งใส สงบสุขเหมือนเดิม หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา 1
  • 21. เป็นลักษณะนี้อยู่เรื่อยๆ อย่างนี้เรียกว่าเป็นผู้ที่ปฏิบัติ เข้าสู่อนุโลมและปฏิโลม แล้วแต่การปฏิบัติของท่าน ทั้งหลายที่ได้ปฏิบัติกัน “ให้เน้นหนักในการใช้ ลมหายใจเข้าออก กับการพิจารณากาย เป็นสำคัญ แต่เมืออาการธรรมใดเกิดขึน ่ ้ ให้กำหนดอาการธรรมนั้นให้เห็นสภาพ ตามความเป็นจริง” บุ ค คลที่ ภ าวนาควรจะรู้ จั ก ยกตั ว อย่ า ง เช่ น เมื่อเรากำหนดกระดูกสันหลังอยู่ จะนั่งสมาธิก็ตาม จะเดิ น จงกรมอยู่ ก็ ต าม ให้ ก ำหนดอยู่ แ ต่ ก ระดู ก สันหลัง เมื่อจิตคิดไปทางอื่น ไปทางอดีต ไปอนาคต ก็ให้รู้ว่าจิตส่งออกนอก พยายามดึงจิตกลับมาให้อยู่ แต่กระดูกสันหลัง และภาวนาพุทโธจนกว่าจิตจะรวมลง 20
  • 22. จะเป็นอิริยาบถใดก็ตามก็ไม่ห่างไปจากกาย ไม่ห่างไป จากลมหายใจเข้าออก สิ่งที่ควรจำและควรสังเกต คือ เวลา ทำสมาธิ ทำอย่างไรจิตจะสงบลงได้ง่าย “วิธีไหน ที่ ท ำให้ จิ ต สงบได้ ง่ า ย ให้ ท ำวิ ธี นั้ น อย่าเปลี่ยน” ให้ปฏิบัติตามฉบับวิธีนั้นไป บางที จั บ ลมหายใจเข้ า ออกแล้ ว จิ ต มั น ไม่ ล ง มั น ไม่ ส งบ ต้องคิดหาอุบาย อาจจะกำหนดลมลงถึงท้อง ผ่านหน้าอกออกปลายจมูก ปลายจมูกลงอกผ่านท้อง หรือกำหนดกะโหลกศีรษะพร้อมดูลมหายใจเข้าออก หรือกำหนดอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งในร่างกาย และ กำหนดลมหายใจเข้าออกไปด้วย อย่างใดอย่างหนึ่ง อาจจะต้ อ งใช้ นิ มิ ต ควบคู่ กั น ไปเพื่ อ ทำให้ จิ ต สงบลง ได้ง่าย หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา 21
  • 23. นักปฏิบต.ิ ..ถ้าไม่เห็นทุกข์ของ ั ขันธ์หา ถือว่าปฏิบัติยังไม่ดี... ้ ทุกข์ของ...การเกิด... การแก่... การเจ็บ... การตาย. นันแหละ จึงจะว่า “เอาวะ...ตายเป็นตาย” ถ้ายังไม่เห็น ่ การเกิด การแก่ การเจ็บ การตาย การพลัดพราก การสูญเสีย สิ่งที่หวังไว้ไม่ประสบความสำเร็จดังหวัง ถ้าเราไม่เห็นทุกข์พวกนี้เราก็ยังคิดว่าโลกนี้ยังดี ก็ยัง เดิ น ลอยชายอยู่ เดิ น ลอยนวลอยู่ คิ ด ว่ า มี ค วามสุ ข แข้งขาเดินได้ก็มีความสุข 22
  • 24. “บางคนมี ค วามทุ ก ข์ ความป่ ว ย แทบจะตาย แต่พอหายทุกข์หายป่วย ก็ลืมทุกข์ลืมป่วย พอลืมทุกข์ลืมป่วย ก็ เ ลยลื ม ตั ว เลยประมาท ลื ม ตาย ใช้ชีวิตอย่างประมาทอีก” สิ่ ง เหล่ า นี้ นั่ น เองที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า จึ ง ได้ ต รั ส ว่ า “การช่ ว ยให้ ค นคลายจากความทุ ก ข์ ชั่ ว คราวน่ ะ มันไม่ใช่เป็นการช่วยจริงๆ บางครั้งอาจจะทำให้เขา ประมาทมากขึ้นก็ได้” เวลาป่วยไข้ไม่สบายเจียนตาย ตอนนั้นเรานึกอย่างไรบ้าง “อะไรก็ไม่เอาแล้ว...อยากหาย...” “อยากหายเจ็บ...อยากหายป่วย” แต่พอหาย ป่วยแล้ว ก็จะคุยถึงเรืองอาการปวดนัน แต่ตวเองไม่รสก ่ ้ ั ู้ ึ หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา 23
  • 25. โทษของมั น แล้ ว ไม่ รู้ สึ ก กลั ว ว่ า มั น จะเกิ ด ขึ้ น อี ก ยังประมาทพลาดพลังกันต่อ อย่างนีเ้ รียกว่าการปฏิบติ ้ ั มันยังไม่เกิดผล เพราะว่าเราไม่เห็นโทษของมัน ไม่เห็น ทุกข์ของมัน แต่เวลาเห็นคือตอนเราเป็นเท่านั้น “เราไม่เป็น เราไม่ยอมเห็นมัน...นี่” “ความพลัดพรากเป็นอย่างไร” “การประสบกับสิงไม่เป็นทีรกทีชอบใจเป็นอย่างไร” ่ ่ั ่ “เห็นมั้ย” เราพบกันทุกวัน แต่เราไม่รู้สึกว่ามันเป็นทุกข์ แต่สงเหล่านีตองได้รบการแก้ไข แต่ไม่ได้ไปแก้ไขคนอืน ิ่ ้้ ั ่ แต่มันต้องแก้ไขที่ตัวของเราเอง เพราะ...ตัวเราเอง...ตัวเราสร้าง... ตัวเราทำ...ตัวเราก่อเวรก่อภัย “ถ้าเราไม่แก้ ไม่รู้ใครจะมาแก้ให้เรา” “ต้องแก้ที่ใจเรานะ” 24
  • 26. รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ถูกต้องด้วยกาย และ ธรรมารมณ์ที่เกิดขึ้นที่ใจ สิ่งเหล่านี้ไม่ได้ทำร้ายเรา มันเป็นแค่ท่อนฟืน แต่สิ่งที่ทำร้ายเรา คือ “ไฟที่อยู่ในใจ ได้แก่ ความโลภ ความโกรธ ความหลง รูปที่เห็น เสียงที่ ได้ยิน กลิ่นที่ได้จาก ทางจมูก รสที่ได้จากลิ้น สัมผัสที่ ได้ จากกาย เรื่องราวที่ได้จากใจ” สิ่งเหล่านี้เป็นฟืนเข้ามาสุมใส่ เข้ามาเป็นไฟในใจ ทำให้รุกโชนขึ้น พระอริยเจ้าท่านไม่ได้ดับรูป ดับเสียง ดับกลิ่น ดับรส ดับสัมผัส ดับความคิด และเรืองราวทีเ่ กิดขึนทีใจ ่ ้ ่ แต่ท่านดับไฟอันร้าย ได้แก่ ความโลภ ความโกรธ หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา 25
  • 27. ความหลง เมื่อท่านดับไฟสามกองนี้แล้ว ฟืนทั้งหลาย ก็ไม่มีค่า เราจะว่าไฟร้อนหรือฟืนมันร้อน เรานั่งรอบ กองไฟแล้วเอาฟืนใส่ มีไฟร้อนโดนตัว “ฟืนมันร้อน หรือ ไฟมันร้อน” “ฟืนมันไม่ร้อนหรอก แต่ไฟมันร้อน” “ตาที่เห็นรูป...รูปนั้นไม่ร้อนหรอก ถ้ามันไม่ม ี ไฟในใจ” “หูที่ฟังเสียง...เสียงนั้นก็ไม่ร้อน ถ้าเราไม่มีไฟ อยู่ในใจ” “ลิ้ น ที่ รั บ รสอาหาร...มั น ก็ ไ ม่ ร้ อ น ถ้ า เราไม่ มี ไฟอยู่ในใจ” “จมูกที่ดมกลิ่น กลิ่นนั้นก็ไม่เป็นของร้อน ถ้าเรา ไม่มีไฟอยู่ในใจ” “กายที่ สั ม ผั ส เย็ น ร้ อ น อ่ อ น แข็ ง ก็ ไ ม่ ใช่ ของร้อน ถ้าเราไม่มีไฟอยู่ในใจ” 26
  • 28. “แม้ แ ต่ ค วามคิ ด ฟุ้ ง ซ่ า น คิ ด ไปโน่ น ...อดี ต ... อนาคตก็ตาม มันก็ไม่เป็นของร้อน ถ้าใจของเราไม่มไฟ” ี ฉะนั้น พระอริยเจ้าท่านดับไฟในใจ ท่านยังใช้ ตาเห็ น รู ป หู ฟั ง เสี ย ง จมู ก ดมกลิ่ น ลิ้ น ลิ้ ม รส กายสั ม ผั ส ถู ก ต้ อ ง เย็ น ร้ อ น อ่ อ น แข็ ง และรั บ รู้ เรื่องราวที่ใจ ยังรับรู้สิ่งต่างๆ ทั้งหมด ปกติเหมือนคน ธรรมดา แต่ใจของท่านเย็นแล้ว สงบแล้ว บริสุทธิ์แล้ว หน้าที่ของเราก็คือ ดับไฟในใจ ราคะคินาไฟ ได้แก่ ความโลภ โทสะคินาไฟ ได้แก่ ความโกรธ โมหะคินาไฟ ได้แก่ ความหลง ไฟสามกองนีเ้ องคือไฟอันร้าย เมือดับไฟสามกอง ่ แล้ ว ตาเห็ น อะไร...มั น ก็ สั ก แต่ ว่ า เห็ น หู ฟั ง อะไร... หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา 27
  • 29. ก็สักแต่ว่าได้ยิน จะดูอะไรมันก็สักแต่ว่า...เพราะว่าไฟ ในใจมันดับ เมื่อเวลาเราดูอะไร “หัดสังเกตซิอะไรที่มันร้อน ตาร้อนหรือเปล่า...มันก็ไม่ได้ร้อน ใจมันร้อนแล้วนะ...มันเห็นภาพไม่ดีมันก็ร้อน แต่ว่าถ้าใจไม่มีไฟ...ใจมันไม่ร้อน” ตาเห็นก็เป็นแค่ตาธรรมดา มันเป็นแค่กระบอกตา แล้วก็เป็นแค่รูหู ตุ่มลิ้น โพรงจมูก ผิวกาย รวมถึง ความรู้สึกที่เกิดขึ้นที่ใจ ก็เป็นสักแต่ว่าทั้งสิ้นเลย ฉะนั้ น จึ ง ให้ ห มั่ น ดู ใ จตั ว เองให้ ม าก อาการทีเ่ กิดขึนจากทางใจเป็นอะไรบ้าง ้ หมั่นวิตกวิจารณ์บ่อยๆ 28
  • 30. นักปฏิบัติ จำไว้ ๔ ข้อ ๑. กินน้อย ๒. นอนน้อย ๓. พูดน้อย ๔. สงสัยน้อย อย่านอนมาก อย่ากินมาก อย่าพูดมาก อย่าสงสัยมาก ๔ ข้อนี้ คือคำของหลวงปู่มั่น “ท่านบอกว่าเสือมันเอา ไปกินหมด ไอ้พวกภาวนาทั้งหลาย ไอ้พวกนอนมาก กินมาก พูดมาก สงสัยมาก เสือเอาไปกินหมด ไม่ได้ ไปนิพพาน” หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา 29
  • 31. ถึงแม้ว่า ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ใช่ไฟ แต่มัน ก็เป็นฟืน จึงต้องสำรวม ระวัง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ระวังตาเมื่อเวลาเห็นรูปที่ชอบใจ หรือไม่ชอบใจก็ตาม ก็ให้เป็นสักแต่ว่า เรียกว่า ระวัง สำรวมทวารทั้ ง ๖ เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ใจของเรานั้ น เกิ ด ฟื น เกิดไฟขึ้น... การปฏิบัติธรรมจะอยู่บ้านก็ตาม อยู่วัดก็ตาม อยู่ป่าก็ตาม มันอันเดียวกัน เมื่อหลับตาลงแล้วมันก็ ไม่เป็นบ้าน มันก็ไม่เป็นวัด ไม่เป็นป่า ไม่เป็นเมือง มันเป็นอะไรตอนนี้ เป็นโลภ เป็นโกรธ เป็นหลง “อยู่ป่าก็เป็นโลภ เป็นโกรธ เป็นหลงมั้ย” “อยู่วัดก็เป็นโลภ เป็นโกรธ เป็นหลงมั้ย” “อยู่เมืองก็เป็นโลภ เป็นโกรธ เป็นหลงมั้ย” “มันก็เป็นทุกที่แหละ” 30
  • 32. “โลภ โกรธ หลง มันอยู่ที่ใจเรา เราอยู่ที่ไหน มันก็อยู่ที่นั่น” ใจให้มันเป็นศีล เป็นสมาธิ เป็นปัญญา ฉะนั้น เราไม่เอาป่า เราไม่เอาวัด เราไม่เอาบ้าน เราไม่เอาเมือง เราเอาศีล เอาสมาธิ เอาปัญญา คำว่า “ปฏิบัติ” นั้นไม่มีสิ่งใดจะมาขวางได้เลย ถ้าบุคคลผู้นั้นต้องการจะปฏิบัติพ้นทุกข์จริงๆ เมื่อเรา หลับตาลงแล้วมีแต่ศีลเท่านั้น สมาธิเท่านั้น ปัญญา เท่ า นั้ น แหละ...ที่ อ ยู่ กั บ เรา “นี่ แ หละ...คื อ ป่ า ของ นักปฏิบตจริงๆ ป่าสามป่า ป่าศีล ป่าสมาธิ ป่าปัญญา” ัิ เป็นมหาวิทยาลัยสามมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก มีอยู่ที่เรา ศึกษาที่ใจเรา หลักการปฏิบัติสมาธิภาวนา 31
  • 33. สิ่งที่เราควรกระทำในปัจจุบันนี้ คือ เอาชัยชนะ มาให้ได้ ปราบมันให้ได้ ฆ่ามันไม่ได้ก็ระวังอย่าให้มัน เข้ามาอีก “มีสติระวัง... ระวังด้วยวาจา คือ คำพูด ระวังด้วยการกระทำ คือ ทางกาย และระวังความคิดทางใจ” กายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม มีแค่ ๓ อย่าง เท่านั้น มันจะเป็นที่ไหนก็ตาม ขอให้มันเป็นทั้งสามที่ ในใจเราคือ ศีล สมาธิ และปัญญา õ 32
  • 34. จิตเป็ทนั้งทีหลาย ่รวมของ เหตุ คำสอนขององค์ ส มเด็ จ พระสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า เป็นคำสอนที่ประกอบไปด้วยเหตุและผล เป็นสิ่งที่ทำ ให้เรารู้จักความจริง ความจริงที่ประกอบอยู่ขึ้นทุก วินาที ทุกชั่วโมง ทุกลมหายใจเข้าออก แต่ความจริงนี้ เราทุกคนก็รู้ เช่น การเกิด การแก่ การเจ็บ การตาย ทุกคนก็รู้จักกัน แต่การรู้นั้นยังไม่มีมูลเหตุที่จะเข้าไป รู้จริงเห็นจริงตามสัจธรรม สัจจะ แปลว่า ความจริง เกิด แก่ เจ็บ ตาย ก็ความจริงอันหนึ่ง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็ความจริงอันหนึ่ง แต่โดยรวมแล้วคำสอน ของพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงเน้นหนักลงที่ใจ เพราะ จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย 33
  • 35. ใจเป็นสาเหตุ เป็นมูลเหตุ ทุกข์เกิดขึ้นที่ใจ แห่ ง ความทุ ก ข์ ทั้ ง หลาย อวิชชา ตัณหา อุปาทาน ไม่ใช่ว่าเราไม่รู้จัก เรารู้จัก...แต่เรายังไม่รู้ จริงๆ ตามความเป็นจริงของมัน จึงต้องมาทำการศึกษา ทำความเข้าใจ มนุษย์เราเดี๋ยวนี้มักไม่ค่อยเห็นคุณค่าของการทำ กัมมัฏฐาน เห็นว่าเป็นเรื่องเหลวไหล คร่ำครึ ล้าสมัย ฉะนั้ น มนุ ษ ย์ จึ ง ต้ อ งระคนไปด้ ว ยความทุ ก ข์ ต่ า งๆ แต่เมื่อมาทำการศึกษาทำความเข้าใจในคำสอนของ พระพุทธเจ้า เราก็จะเริ่มรู้ว่าชีวิตเราทั้งชีวิต ตั้งแต่ ลืมตามองดูโลก คือเกิดขึนจนถึงวันตาย กิจการงานใดๆ ้ ทังหมดทีเ่ รากระทำตังแต่เกิดจนตาย ความเป็นอยูใดๆ ้ ้ ่ ทั้งหมด รวมถึงปกิณกะชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย ถ้าเรา ศึ ก ษาธรรมะของพระพุ ท ธเจ้ า แล้ ว พระองค์ ท รงรู้ 34
  • 36. ทรงเห็ น ทั้ ง หมดก่ อ นเหตุ ก ารณ์ ทั้ ง หลายจะเกิ ด ขึ้ น กับเรา เรียกว่าพระองค์ทรงทราบโดยละเอียดแล้วว่า มนุ ษ ย์ ทั้ ง หลายจะต้ อ งประสบภั ย เช่ น นี้ ทั่ ว หน้ า กั น ทั้งหมด ไม่มีข้อยกเว้น ไม่ว่าจะเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ พระราชา หรื อ ยาจก ขอทาน ก็ ต้ อ งพบภั ย พิ บั ติ เช่นเดียวกัน การศึ ก ษาธรรมะคำสอนของพระพุ ท ธเจ้ า ย่อมเป็นแนวทางเป็นแผนที่ให้เราได้รับทราบ ได้รับรู้ ชีวิตของเราว่าจะดำเนินไปอย่างไร อุปสรรคที่เกิดขึ้น จะทำอย่างไร ใช้วิธีอะไรแก้ไข เรียกว่า ไม่หลงทาง พระพุทธเจ้าทรงเน้นหนักลงที่ใจ ดั่งกับปฐมเทศนา ธั ม มจั ก กั ป ปวั ต ตนสู ต รที่ แ สดงพระธรรมนี้ ใ ห้ กั บ ปัญจวัคคียทงห้า และพระอัญญาโกณฑัญญะได้ดวงตา ์ ั้ เห็นธรรม “ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะ จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย 35
  • 37. ธัมมันติ” สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นธรรมดา นี่เรียกว่า เหตุ สิ่งนั้นทั้งหมดทั้งสิ้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา อันนี้เป็นผล “เหตุเกิดที่ไหน” เหตุเกิดที่ใจ “จะรู้ได้อย่างไรว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นแล้วมัน เป็นเรื่องธรรมดา” เราก็ต้องรู้จักคำสอน วิธีการกำหนดจิต วิธีการ ใช้ใจให้เป็น ต้องรูจกการทำความสงบ ให้จต ้ั ิ รูจกความสงบ ให้จตรูจกความสบาย ้ั ิ ้ั รู้จักปีติ รู้จักการระงับนิวรณธรรม ๕ จิตเข้าสูองค์ฌาน เมือจิตมีความสงบ ่ ่ จิ ต ของผู้ นั้ น ย่ อ มผ่ อ งใสขึ้ น ความ 36
  • 38. เศร้าโศกย่อมไม่ปรากฏ ความทุกข์ ย่อมไม่ปรากฏเช่นกัน เราจะเห็นแล้วว่าการนั่งสมาธิเป็นการช่วยให้จิต นั้ น ได้ พั ก คื อ พั ก จากความคิ ด ที่ เ ป็ น นิ ว รณธรรม ๕ และจิตได้เข้าไปสงบสบายปราศจากกาม ปราศจาก อามิสอย่างอื่น เพราะอาศัยตัวจิตเองนั้นเข้าไปสงบ ตั ว จิ ต เอง โดยถู ก วิ ธี ต ามแนวทางของสมถภาวนา เมื่อจิตเข้าไปสงบดีแล้ว ถ้าเกิดจิตมีความวิจารณ์ให้ พิจารณาใคร่ครวญที่ดวงจิตที่มีความสงบก็จะรู้เหตุ ทันที จิตที่สงบลงไปนี้... “อาศัยอะไรเป็นทางเดิน” อาศัยการข่มจิตข่มใจ โดยมีกัมมัฏฐานที่ถูกกับ จริตนิสัย บางคนก็ใช้การกำหนดดูลมหายใจเข้าออก จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย 37
  • 39. พร้ อ มบริ ก รรมภาวนาว่ า “พุ ท ” หายใจเข้ า “โธ” หายใจออก บางคนดูแต่ลมหายใจเข้าออกไม่บริกรรม บางคนใช้ ล มหายใจเข้ า ออกแล้ ว กำหนดนิ มิ ต เป็ น เครืองหมาย สามารถทำให้จตล่วงเข้าไปสูความสงบได้ ่ ิ ่ ความสงบขันนีกเ็ ป็นการชำระล้างใจ ฟอกใจได้ในขันต้น ้ ้ ้ เมื่อเราทำอยู่บ่อยๆ อยู่เป็นประจำ จิตของเรา ก็จะเริ่มชินกับคำว่าจิตสงบ จิตเป็นสมาธิ “จิตก็ มีอำนาจขึน มีพลังขึน พลังทีจตได้มา ้ ้ ่ิ จากสมาธิ ได้มาจากความสงบ ย่อม เป็นบาทฐานของวิปัสสนาในอนาคต ย่อมเป็นบาทฐานของปัญญา เรียกว่า สมาธิอบรมปัญญา” 38
  • 40. แต่ ก็ ต้ อ งรู้ วิ ธี คื อ รู้ จั ก เหตุ ที่ กิ เ ลสมั น จะเกิ ด กิเลสไม่ได้เกิดที่กาย ไม่ได้เกิดที่กายของคน หรือวัตถุ สิ่งภายนอก กายเราเป็นแค่วัตถุกิเลส แต่กิเลสตัวร้าย ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสให้กำจัด คือ กามกิเลส มีอยู่ ในใจของเราทุกคน ฉะนัน กิเลส อวิชชา ตัณหา อุปาทาน ้ สาสวะทั้งหลายก็บังเกิดขึ้นที่ใจที่เดียว ใจจึงเป็น มหาเหตุอันใหญ่ยิ่ง แต่เราจะทำอย่างไร เพื่อสอนใจให้ใจรู้จักเหตุ ที่ทำให้เกิดกิเลส เกิดความทุกข์ เมื่อจิตของเราเข้าสู่ ความสงบเข้าสู่สมาธิ ชั่วพลันหนึ่งจิตจะขยับตัวออก เป็ น ธรรมชาติ ความนึ ก คิ ด ย่ อ มเกิ ด ขึ้ น ก็ ใ ห้ คิ ด พิจารณาลงไปในกาย ให้เห็นกายในกายนี้อยู่เนืองนิจ เพื่ อ เป็ น การสาวหาเหตุ เหตุ ที่ ท ำให้ จิ ต นั้ น มี กิ เ ลส จิตทีมกเิ ลสเพราะยึดกายนีเ้ ป็นตัวตน ่ ี จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย 39
  • 41. พอจิ ต เข้ า ไปยึ ด กายของเรานี้ เ ป็ น ตั ว ตนเสี ย แล้ ว จิตนั้นก็จะยึดอายตนะที่ตากับรูป วิญญาณ สามอย่าง ประชุมกัน เกิดผัสสะ คือ การกระทบ การสัมผัสขึ้น ก็เกิดเวทนาขึ้นทันที จิตนั้นจึงกินผัสสะเป็นอาหาร เราจะดับวิญญาณได้ ต้องพยายามควบคุม ผัสสะ ไม่ยนดีไม่ยนร้ายในอารมณ์นนๆ ิ ิ ั้ ทำให้จิตของเรานั้นเริ่มจะมองเห็นเหตุแห่งทุกข์ เพราะจิตของเราไปหลงกาย สำคัญกายว่าเป็นตัวตน ของเราแท้จริง พระพุทธเจ้าจึงสอนให้เห็นกายนี้เป็น แดนทุกข์ เป็นบ่อเกิดแห่งทุกข์ ทุกข์นั้นก็อยู่ได้ไม่นาน มีการแปรผัน มีความเสื่อม คือ ความไม่เที่ยง อยู่เป็นปกติ เมื่อสิ่งนั้นไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์ ควรหรือที่เราจะสำคัญว่า เป็นตัวตนเรา 40
  • 42. ถ้าปัญญาเกิด มันก็จะกำหนดว่าไม่ควร จะคิดว่า กายนี้เป็นตัวตนเราจริง จิตก็จะเริ่มคลายความสงสัย คลายความยึ ด ติ ด ออกเบาบางลง อย่ า งนี้ เรี ย กว่ า ตทังควิมุตตินิพพาน เรียกว่า หลุดพ้นตามองค์ที่เป็น คู่ปรับกัน องค์ที่เป็นคู่ปรับกัน เช่น เราหลงในสุภะคือ ติดอยู่ในความสวยความงาม ติดอยู่ในร่างกายของเรา ร่างกายของคนอื่น ก็เอาอสุภะเข้ามากำหนด ให้เห็น ร่างกายไม่สวยไม่งาม ร่างกายนี้เป็นเหมือนซากศพ มีปฏิกูลเน่าเหม็นไหลเข้าไหลออกอยู่เนืองนิจ เมื่อกำหนดอย่างนี้ สุภะ หรือ กาม ความพอใจ ในเพศ ความพอใจในความสวยความงามก็ ดั บ ไป เมื่อดับไปแล้ว จิตจะเข้าสู่ความสงบอีกครั้ง ลักษณะ อาการอย่ า งนี้ คื อ หลุ ด พ้ น ในขณะที่ ก ำหนดสมาธิ ในองค์ของกัมมัฏฐานที่เป็นคู่ปรับกับกิเลสได้ถูกต้อง จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย 41
  • 43. เช่น ไฟไหม้ก็เอาน้ำไปดับ...ไฟก็ดับ ไม่ใช่ไฟไหม้แล้ว เอาฟืนไปใส่ไฟมันก็ลุก มันไม่ดับ คือ “ต้องรู้คู่ปรับ...คู่ปรับกับกิเลส” แต่บางครั้งจิตสงบระงับลงไป ไม่ปรากฏกิเลส แม้ถอนออกมาแล้ว กิเลสก็ไม่ปรากฏ สงบนิ่ง อย่างนี้ เรียกว่าเป็นการกดกิเลสเอาไว้ ด้วยอาศัยฌานสมาบัติ ถ้ า เรี ย กตามภาษาบาลี เรี ย กว่ า วิ ก ขั ม ภนวิ มุ ต ติ แต่การข่มกิเลสลงไปได้ การชนะด้วยอุบายวิธี คือของ แก้กัน อาศัยจิตเป็นผู้เดินอย่างเดียว จิตเป็นผู้กำหนด การที่เราจะสามารถทำสมาธิ ทำจิตเข้าสู่ความ สงบ ทำจิตให้เกิดปัญญาขึ้น ทำจิตให้หลุดพ้นได้นั้น จำเป็นที่จะต้องอาศัยสติกับสัมปชัญญะ เมื่อเวลา กิเลสเกิดขึ้นในจิตให้เรามีสติ คือ ความ 42
  • 44. ระลึ ก ได้ ว่ า นี่ คื อ กิ เ ลสปรากฏขึ้ น ในจิ ต มี ขึ้ น ในจิ ต แสดงขึ้นในจิตแล้ว สัมปชัญญะ คือ การรู้ตัว รู้สึกตัว ว่ากิเลสกำเริบขึ้นแล้ว รู้สึกว่าจิตนี้กำลังจะไปยึดกิเลส กองนั้น รู้สึกว่าจิตนี้จะเริ่มเป็นทุกข์ เมื่อมีส ติ สั ม ปชั ญ ญะแก่ ก ล้ า เพราะ การฝึ ก จิ ต ให้ เข้าสู่ความสงบและเป็นสมาธิได้ดีแล้ว ควบคุมได้ดแล้ว สติกับสัมปชัญญะก็จะมีกำลัง มีพลัง ี สามารถผลักดันความคิดทีเ่ ป็นกิเลสนัน ้ ดับไปได้ โดยอาศัยเห็นมันเป็นของไม่เที่ยง ไม่ยนดีไม่ยนร้าย ไม่ใส่ใจกับมัน ปล่อย ิ ิ มั น ไป รู้ เ มื่ อ มั น เกิ ด ขึ้ น และมั น ดั บ ไป คอยเฝ้ า ดู อ ยู่ ที่ จิ ต อย่ า งเดี ย วเป็ น สำคัญ จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย 43
  • 45. บางคนอาจสงสัย จะกำหนดจิตอย่างไร เพราะ จิ ต นั้ น เป็ น นามธรรม มั น ไม่ ส ามารถเห็ น ภาพได้ . .. ความรู้ สึ ก อยู่ ที่ ไ หน จิ ต ก็ อ ยู่ ที่ นั่ น “ตรงความรูสกนันแหละ” จิตก็อาศัยตรงนันเหมือนกัน ้ึ ่ ้ เอาสติไปตั้งที่ความรู้สึกนั้น... พระพุทธเจ้าจึงสอนเรื่องสติปัฏฐาน เพื่อให้เรา รู้จักจิตนั่นเอง เช่น กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ก็คือ ให้จตกำหนดกายรูสกกาย รูสกอิรยาบถ เดิน ยืน นอน ิ ้ึ ้ึ ิ นั่ง และท่องเที่ยวไปกายในกาย เห็นอวัยวะภายใน การเห็นแบบนั้นจิตจะอยู่ตรงตำแหน่งที่กำหนดขึ้น ไม่ ไ ปไหน สติ ก็ จ ะรวมอยู่ ที่ นั่ น ไม่ เ คลื่ อ นไปไหน ถ้าเคลื่อนสติก็หาย สติตามจิตไม่ทัน กิเลส ก็ เ ข้ า ครอบงำ สติจึงเป็นเหมือนพี่เลี้ยงคอย คุ้มครองจิต 44
  • 46. เราต้ อ งสร้ า งสติ ใ ห้ มี ก ำลั ง มาก โดยการทำจิ ต ให้สงบ ฝึกทำบ่อยๆ ไม่ใช่ทำวันละหนึ่งชั่วโมงแล้วเลิก แต่มันต้องทำตลอด... เมื่ อ เวลาเราจะ เดิ น เราก็ . .. กำหนดสติ จะกำหนดลมหายใจเข้าออก หรือกำหนดชินส่วนชินใด้ ้ ชิ้นหนึ่งในร่างกายจะเป็น ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก แล้วกำหนดเพ่งอยู่ที่นั่น ไม่ย้ายไปไหน เมื่อเวลาเราจะคุยเราก็คุยไป จะทำกิจการงาน ใดๆ ก็ ท ำไป แต่ จิ ต ของเรานั้ น ก็ ไ ม่ ย้ า ย ออกไปจากกาย หรือย้ายออกไปจาก สิ่ ง ที่ เ รากำหนดขึ้ น เป็ น กั ม มั ฏ ฐาน อย่ า งนี้ เรี ย กว่ า เป็ น การฝึ ก สร้ า งสติ ฝึ ก ทำให้ จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย 45
  • 47. “ถ้าจิตมีสติเมือใด จิตมีสติ จะสังเกตได้งายว่า ่ ่ จิตจะเกิดความสงบสบาย ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่ ร ำคาญ” เสี ย งที่ เ คยรำคาญก็ ไ ม่ ร ำคาญ คนที่ ก วนใจจนเกิ ด ความรำคาญก็ ไ ม่ รู้ สึ ก รำคาญ อาการอย่างนี้เรียกว่าจิตเข้าสู่ความสงบแล้ว คำว่า “ความสงบ” ไม่ใช่ นั่งทำสมาธิเฉยๆ แต่ความสงบ ที่จิตได้รับนั้น จะต้องปรากฏขึ้น ในอิ ริ ย าบถทั้ ง สี่ คื อ ยื น เดิ น นอน นั่ง. 46
  • 48. ฉะนัน คำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นของทีอยูเ่ นือง ้ ่ ่ ด้วยตัวเรา มิใช่เนืองด้วยอย่างอืนเลย กิจวัตรประจำวัน ่ ่ ของเราก็เป็นกิจวัตรที่เนื่องด้วยพระธรรมคำสอนของ พระพุทธเจ้า เราจะไม่ศึกษาพระธรรมคำสอน จะไม่ ปฏิบัติตามพระธรรมคำสอน แต่วิถีชีวิตของเราก็เดิน ไปตามสิ่ ง ที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า ทรงตรั ส คื อ อริ ย สั จ ๔ ทุกข์ทเี่ กิดจากตัณหา เรามีตณหา คือความอยากทังนัน ั ้ ้ ความทะยานอยากทั้งนั้นจึงเป็นทุกข์ มีใครบ้างไม่ทุกข์ เพราะความทะยาน อยาก ความต้องการ หรือความเกลียดชัง ความพอใจ ความไม่พอใจ มีกันทุกคน “นี่แหละ...เป็นมูลเหตุแห่งความทุกข์ เป็นที่มาของความทุกข์ และอะไรที่มันเป็นทุกข์ ไม่ใช่ใจหรือ...ที่เป็นทุกข์” จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย 4
  • 49. อันนี้คือทางเกิดทุกข์ เราเจอกันทุกคน แต่เราก็ หาวิธีทางดับทุกข์หลายวิธี วิ่งหาวิธีดับทุกข์ตามทาง ของตัวเอง คิดว่าถูก ไปทำวิธีกรรมต่างๆ บ้างไปแสดง กิ ริ ย าเมามายตามสถานที่ ต่ า งๆ บ้ า งไปผ่ อ นคลาย ด้วยการผิดลูกผิดเมีย คิดว่ามันจะผ่อนคลายทุกข์ได้ ไปทำสิ่งต่างๆ นานาร้อยแปดพันประการ คิดว่ามันจะ ดับทุกข์ได้ มันก็ไม่ได้ดับทุกข์ได้จริง มันดับแค่เพียง สภาวะหนึ่ง เมื่ อ สภาวะดั บ ทุ ก ข์ ห นึ่ ง หายไป สภาวะทุกข์ใหม่ก็เกิดขึ้นมาแทน และ ความทุกข์นั้นก็จะแรงขึ้น ทวีขึ้น เพราะเรากำลังเพิ่ม ความทุกข์ให้มากขึน จากหนึงเป็นสอง เหมือนไฟจะดับ ้ ่ ก็เอาฟืนไปใส่อก ไฟก็ลกโหมขึน โรมรันขึน ใจของผูนน ี ุ ้ ้ ้ ั้ ก็ถูกเผาจนเหือดแห้งหาความสุขไม่ได้แม้แต่ยามนอน 4
  • 50. “คนในโลกก็เป็นอย่างนี้กันหมด...แล้วธรรมะ ของพระพุ ท ธเจ้ า จะไม่ มี ค่ า สำหรั บ มนุ ษ ย์ เชี ย วหรื อ จะไม่มีประโยชน์สำหรับมนุษย์เชียวหรือ” พระพุ ท ธเจ้ า จึ ง สอนให้ รั ก ษาศี ล เป็ น บาทฐาน เบื้ อ งต้ น ทำให้ ศี ล บริ สุ ท ธิ์ เพราะศี ล นั้ น รั ก ษากาย วาจาให้เรียบร้อย ศีลถึงแม้จะมากข้อก็จริง แต่รักษา เพียงทีเ่ ดียวเท่านัน ศีลทังหลายก็บริบรณ์แทบจะไม่ตอง ้ ้ ู ้ รักษาศีลด้วยซ้ำ แต่รักษาที่เดียวตรงจุดเดียว คือ รักษาใจ ไม่ให้ทำชั่ว ไม่ให้พูดชั่ว ไม่ให้คิดชั่ว จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย 4
  • 51. เมื่ อ เราไม่ พู ด ชั่ ว ไม่ ท ำชั่ ว ไม่ คิ ด ชั่ ว ศี ล กี่ ข้ อ ก็บริบรณ์ เพราะอาศัยใจนี้ คือ เอาใจไปควบคุมนันเอง ู ่ ถ้าปราศจากใจไปควบคุมแล้ว กายก็เป็นกายทุจริต วาจาก็เป็นวจีทุจริต มโนก็เป็นมโนทุจริต มโนจึงเป็น ใหญ่ทสด เรียกว่า ใจ จำเป็นต้องควบคุมกำลังใจของเรา ี่ ุ ให้บริสุทธิ์ พระพุ ท ธเจ้ า สอนให้ บ ริ สุ ท ธิ์ ด้ ว ยศี ล เรี ย กว่ า ศีลวิสุทธิ คือ เป็นความหมดจดเพราะอาศัยการรักษา ศีล รักษาจนไม่ต้องเจตนา จะรักษาศีลเพราะตัวเรา เป็นองค์ศีลเสียแล้ว ไม่ต้องอาศัยเจตนา หรือไม่ต้อง ตั้งใจรักษาศีลเลยก็ไม่ละเมิดศีลเพราะรักษาจนชิน จนศีลนั้นเป็นปกติ จิตนั้นไม่ทำชั่ว ไม่พูดชั่ว ไม่คดชัว เป็นปกติ จึงปราศจากเจตนานันแหละ ิ ่ ่ เมื่ อ ศี ล สะอาด ศี ล หมดจดแล้ ว จิ ต ก็ มี ค วามสงบ มีความสบาย ยิ้มแย้มแจ่มใสได้ เพราะอาศัยศีลนั้น 50
  • 52. บริสุทธิ์ จิตก็เป็นสมาธิ เมื่อจิตเป็นสมาธิก็ดับกิเลส หรือคลายกิเลส คือ นิวรณธรรม ๕ ได้ ระดับของสมาธิ ได้แก่ ขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ อั ป ปนาสมาธิ ทำจนเกิ ด ความชำนาญ จิ ต นั้ น มี ความบริสุทธิ์ขึ้น สะอาดขึ้น เรียกว่า จิตตวิสุทธิ คือ ความหมดจดของจิต เมื่อจิตมีความหมดจด แล้ว... ความเห็นก็จะหมดจด ย่อมมีความเห็นถูก เห็นว่าการปฏิบัติอย่างนี้ถูก การปฏิบตอย่างนีผด ทำอย่างนีผิด ั ิ ้ ิ ้ ทำอย่างนีถก รูจกสิงใดถูก สิงใดผิด ้ ู ้ั ่ ่ สิ่งนี้ควรทำ สิ่งนี้ไม่ควรทำ จิตเป็นที่รวมของเหตุทั้งหลาย 51
  • 53. อย่างนี้เรียกว่า ทิฏฐิวิสุทธิ คือ หมดจดในความเห็น จิ ต ของผู้ นั้ น ย่ อ มไม่ ส งสั ย ในความรู้ ใ นความเห็ น ของตน ย่ อ มไม่ เ คลื อ บแคลงในเรื่ อ งของศี ล และ ในเรื่องของสมาธิ õ 52
  • 54. ตอกย้ำเตือนจิต มรรคองค์ ๘ ขึ้นด้วยสัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็น ชอบ ตามด้วยสัมมาสังกัปโป คือ ความดำริ ความตรึก ในใจชอบ สองส่วนนี้เป็นฝ่ายปัญญา อธิปัญญาสิกขา แล้ว แสดงว่า... “คนปฏิ บั ติ ธ รรม ไม่ ใช่ จ ะนั่ ง โง่ อ ย่ า งเดี ย วนะ ภาวนาโง่น่ะ...มันไม่ใช่อย่างนั้น” มันต้องมีปัญญารู้ ทั น อาการของจิ ต ที่ อารมณ์มากระทบทุกครั้งไป ถ้าเราไม่รู้ทัน อารมณ์ที่มากระทบจิตแล้ว เราก็โง่ทันที ตอกย้ำเตือนจิต 53
  • 55. ๑. เกิดจากความสงสัย เรานั่งภาวนาพิจารณา ดูมันมีความสงสัยอยู่ในใจมั้ย “เราปฏิบัติมันจะได้ผล มัยนี,่ ปฏิบตมาตังนานมันก็ไม่ได้ผล” ความสงสัย ้ ัิ ้ มันเป็นตัวก่อเชื้อทำให้กิเลสเจริญขึ้น ความสงสัยเกิดขึนเมือไหร่ ความไม่เชือก็เกิดขึนเมือนัน ้ ่ ่ ้ ่ ้ ไม่เชื่อเพราะเกิดจากความสงสัย ๒. เกิดจากความไม่อดทน จิตใจอ่อนแอ นังสมาธิ ่ ใจอ่อนแอ นั่ง ๕ นาที ๑๐ นาที อยากออกสมาธิ พอภาวนาจิ ต ไม่ ส งบก็ อ ยากออกสมาธิ “นี่ . ..คื อ ใจ ไม่ อ ดทน” ใจอ่ อ นแอเป็ น ช่ อ งทางทำให้ กิเลสเกิดขึ้น จิตก็ ไม่สงบด้วย 54
  • 56. ๓. เกิดจากจิตมีความเกียจคร้าน ชอบผลัดวัน ประกั น พรุ่ ง “ยั ง ดึ ก อยู่ เ ดี๋ ย วก่ อ น, ใกล้ ค่ ำ ค่ อ ยทำ, เช้าเกินไปเดี๋ยวค่อยทำ, ตอนสายค่อยทำ, สายเกินไป เดี๋ ย วค่ อ ยทำ, หิ ว ข้ า วเดี๋ ย วค่ อ ยทำ, กิ น ข้ า วก่ อ น, กินแล้วง่วงนอน, นอนก่อนค่อยทำ, อากาศร้อนนังไม่ได้, ่ ภาวนาไม่ดีเดี๋ยวค่อยทำ, แอร์เย็นเกินไปนั่งแล้วมัน จะง่วง ออกข้างนอกแล้วค่อยทำ” หนักเข้า...หนักเข้า กี่ ปี . ..กี่ ปี มั น ก็ ผ ลั ด วั น ประกั น พรุ่ ง เพราะอาศั ย จิตมีความขี้คร้าน คือ ขี้เกียจ ซึ่งเป็น ช่ อ งทางทำให้ กิ เ ลสบั ง เกิ ด ขึ้ น และ ทำให้จิตไม่สงบ ตอกย้ำเตือนจิต 55
  • 57. ๔. คือ จิตไม่มีสติ เรียกว่า ปล่อยสติ ไม่ฝึกสติ จะเดิน จะยืน จะนั่ง จะทำอะไรก็แล้วแต่ ให้กำหนด ลงสู่ใจ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ทรงตรัสว่า “สติเป็นสิ่งสำคัญ” ถ้าเราศึกษาพระบาลีในพระไตรปิฎกจะกล่าวว่า “หทัยยัง จิตตัง” คือ จิตอาศัยหทัยวัตถุอยู่ หทัยวัตถุ คือ หัวใจของมนุษย์ “อยู่ตรงไหน” คือ กลางใจเรา จิตอาศัยหัวใจนี้อยู่ที่กลางหน้าอก เราก็กำหนดที่กลาง หน้าอก รูลมหายใจเข้าออก ภาวนาพุทโธ ้ ในขณะที่เราเดิน เรายืน เรานั่ง เรานอน เว้นไว้ แต่ว่าเราต้องสนทนาพูดคุยพบปะก็ให้จับที่ความรู้สึก ที่หน้าอกที่ใจเราไว้ เมื่อเราตั้งสติในอิริยาบถยืน เดิน นั่ง และนอน อยู่อย่างนี้ เรียกว่า ไม่ปล่อยสติ ถ้ า มั น เผลอไผลไปสั ก พั ก ได้ ส ติ ก็ ตั้งกลับ จับลมหายใจใหม่ 56
  • 58. การทำใหม่ๆ มันจะรูสกว่าเหมือนไม่ได้ประโยชน์ ้ึ อะไร “มานั่ ง จั บ ลมทำไม...มาภาวนาพุ ท โธทำไม เหมือนไม่ได้ประโยชน์อะไร” สำหรับผู้ที่ไม่เห็นคุณค่า และไม่เห็นประโยชน์ ของการมีสติหรือการฝึกสติ ไม่มีใครในโลกนี้อยาก เป็นคนบ้า คนบ้าทำอะไรไม่ได้ เรียกว่า โมฆะบุรุษ หรือ โมฆะสตรี เป็นคนบ้าแล้วหาดีไม่ได้ ทำความดี ไม่ได้ ฉะนั้นเราทุกคนถ้าขาดสติมันก็บ้า เริ่มจะเป็นบ้า หน่อยๆ “เพราะอะไร” เมื่อความโกรธเกิดขึ้นก็ตะลึงพึงพืด เอาเรื่องราว กับคนที่ทำให้เราโกรธ ราคะเกิดขึ้นก็ระงับไม่ได้เพราะ ขาดสติ ก็สนองราคะ กิเลสใดมาก็รับสนอง หมดทุกกิเลสเลย เพราะไม่มสติยงชังใจ ี ั้ ่ ตอกย้ำเตือนจิต 57
  • 59. สติจึงทำให้เรานั้นเป็นคนตื่นรู้ตัว ไม่เป็นคนบ้าบอนะ ฉะนันก็ไม่ควรปล่อยสติ ถ้าเราปล่อยสติกเป็น ้ ็ ช่องทางทำให้กิเลสเกิดขึ้น สติย่อม ไม่ตั้งมั่น จิตย่อมไม่ทรงตัว ๕. คื อ ตกอยู่ ใ ต้ อ ำนาจความไม่ รู้ จ ริ ง ได้ แ ก่ หลงในสังขาร มนุษย์เราทั้งหลายนี้ติดอยู่กับความคิด เรียกว่า โลกแห่งความคิด มักจะลุมหลงอยูในความคิด ่ ่ แล้วถอนออกจากความคิดไม่ได้ จิตจึงไม่ว่าง จิตจึง ไม่มีความสงบสงัด เราทำงานเหนื่อยยังต้องนอนหลับ พักกาย แต่จิตนี้ไม่มีเวลาพักเลย อยู่กับความคิดนึก แม้เรานั่งอ่านหนังสืออยู่ แต่เราก็ยังไปคิดเรื่องนอก หนังสือ ย่อมแสดงให้เห็นว่าจิตของเราไม่เคยได้ฝึก ให้จิตมีความสงบ เมื่อจิตเราไม่มีความสงบ ไฉนเลย สมาธิจะเกิดขึ้น 58
  • 60. สมาธิ จ ะเกิ ด ขึ้ น ต้ อ งเกิ ด จากจิ ต ที่ มี ค วามสงบ จิตที่มีความสงบต้องอาศัยการฝึกอบรม การฝึกอบรม ต้องรู้วิธีในการฝึก การจะฝึกอบรมให้ได้ดีนั้น ต้องมี ครูบาอาจารย์คอยสั่งสอน ครูบาอาจารย์ท่านสอนว่า ให้จับลมและภาวนาพุทโธ ลมหายใจเข้าภาวนาว่า “พุท” ลมหายใจออกภาวนาว่า “โธ” ทำความรู้สึก ที่กลางหน้าอก เวลาเรานั่งสมาธิมีอาการปวดแข้งปวดขา... “ลองพิจารณาดูวาขามันปวด หรืออะไรมันปวด” ่ ตอนเรานั่งความปวดมีหรือเปล่า ความปวดไม่มี แต่ภายหลังความปวดเกิดขึน แสดงว่าความปวดกับขา ้ เป็ น คนละอั น กั น แท้ ที่ จ ริ ง นั้ น ขาไม่ ไ ด้ ป วดหรอก ถ้าขามันปวดจริงทำไมคนตายมันไม่ร้อง “ที่คนตายมันไม่ร้อง เพราะมันไม่มีอะไร” ตอกย้ำเตือนจิต 59
  • 61. “ที่คนเป็นมันร้อง เพราะมันมีอะไร” มันมีใจมีจิต แสดงว่าความปวดนั้นมันอยู่ที่จิต มันจะร่นเข้ามา...ร่นเข้ามา เมื่อเราเพ่งลงไปที่ความ ปวดของขา มั น จะร่ น เข้ า มา มั น จะมี อ าการแป๊ บ ที่ หัวใจ มีอาการเจ็บที่หัวใจ นั่นไม่ใช่ขาเจ็บแล้ว แต่มัน เป็นที่ใจ ใจมันเจ็บ เวลาจะดับก็ต้องดับที่ใจ ไม่ใช่ดับ ที่ขา เหตุอยู่ที่ใจ ไม่ใช่อยู่ที่ขา อันนี้ก็เช่นกัน เรียกว่า เราไม่หลงไป ไม่ติดอยู่ในอารมณ์ที่ ไม่รู้จริง เรียกว่า เป็นอวิชชา การปฏิบตธรรมมันต้องมีปญญา ขาดปัญญาไม่ได้ ัิ ั เวลาเรานังภาวนาพุทโธๆๆ รูลมหายใจเข้าออก กำหนด ่ ้ ที่กลางหน้าอก จิตสงบอยู่ สักพักมันก็ไปคิดเรื่องราคะ ความรักระหว่างเพศ บางทีมีภาพนิมิตมาประกอบ ทำให้ จิ ต ใจนั้ น หลงใหลไป พยายามบั ง คั บ กลั บ มา 60
  • 62. ภาวนาพุ ท โธมั น ก็ ไ ม่ ม า มั น ก็ ไ ปอยู่ กั บ ภาพนิ มิ ต เป็นภาพราคะระหว่างหญิงกับชายอยู่นั้น ถ้าเรายังฝืน ภาวนาพุ ท โธอยู่ ยั ง จั บ ลมหายใจอยู่ รั บ ประกั น ว่ า มันผิดวิธี อาการอย่างนี้ต้องมีปัญญา ต้องรู้เลยว่า คำสอนของพระพุทธเจ้านั้น... เป็ น อาวุ ธ ลั บ สำหรั บ ไว้ ฆ่ า และ บันทอนกิเลสทีแฝงตัวเข้ามาในจิต ่ ่ และวางตั ว เข้ า มาในอารมณ์ ทำให้จิตนั้นเสวยอารมณ์ที่ ไม่ดี และทำให้จิตนั้นต้องโทษ เพราะ อาศัยอารมณ์นั้นเป็นเหตุ ตอกย้ำเตือนจิต 61
  • 63. จำเป็นต้องพิจารณาอสุภกรรมฐาน นึกถึงซากศพหรือ ของเหม็นของเน่าที่เกิดจากกายคน หรือ เห็นร่างกาย นันเป็นของไม่สวยไม่งาม อันนีตองอาศัยจิตของตัวเอง ้ ้้ ที่มีปัญญาแยกแยะตามอุบายวิธีของตนเอง จะแยก ออก ตั ด แข้ ง ตั ด ขา ระเบิ ด ทิ้ ง หรื อ ทำอย่ า งไรก็ ไ ด้ ทำให้เห็นว่ามันไม่สวยไม่งาม จนจิตของเราสงบจาก ราคะนั้นได้ เรียกว่า ตทังควิมุตตินิพพาน แปลว่า ดับกิเลสโดยเฉพาะจุดชั่วขณะหนึ่ง แค่แป๊บเดียว หรือ เรียกว่าดับกิเลสด้วยเป็นของคู่ปรับกัน ได้แก่ “ราคะ ความรักระหว่างเพศ ปรับกันกับ...อสุภกรรมฐาน” คือ เห็นร่างกายเป็นของไม่สวยไม่งาม เมื่อกิเลส กองนั้นดับไปแล้วจิตก็เกิดความสงบสบาย ให้รู้จักว่า จิตสบายเป็นอย่างไร ก็ให้ภาวนาพุทโธ รู้ลมหายใจ เข้าออกต่อไป 62
  • 64. แต่เมื่อความโกรธเกิ ด ขึ้ น ในจิ ต จู่ๆ มันก็คดถึงคนทีเ่ ราโกรธเราเกลียด ทำให้ใจของเราขุนข้อง ิ ่ หมองใจ พึ ง แผ่ เ มตตาไปให้ ก ว้ า งขวาง อย่าไปเจาะจงบุคคลนันบุคคลเดียว แผ่ให้ทวหมดทังคน ้ ั่ ้ และสัตว์ ทัวอนัตตาไตรโลกนาถทัวไปหมดไม่มประมาณ ่ ่ ี เป็นอัปปมัญญาพรหมวิหาร ๔ แผ่ไปจนมีความ รู้สึกว่ า จิ ต เยื อ กเย็ น บางครั้งก็ต้องใช้นิมิต ประกอบในการแผ่เมตตา อาจจะเห็นแสงสว่างพุ่งจาก กลางหน้ า อกของเรา หรื อ ขยายวงกว้ า งเหมื อ นกั บ ระลอกน้ำก็ได้ ทำให้มีความรู้สึกว่าระลอกคลื่นนั้นคือ กระแสคลื่ น แห่ ง ความเมตตา จิ ต ของเราแผ่ ไ ปทั่ ว ไม่ มี ป ระมาณ เมื่ อ จิ ต ของเราเย็ น สงบดี แ ล้ ว ความ โกรธบรรเทาลงแล้ว ให้จับภาวนาพุทโธ รู้ลมหายใจ เข้าออกต่อ ตอกย้ำเตือนจิต 63