SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 31
Baixar para ler offline
โครงการ
เรื่อง จิตอาสาพัฒนาวัด
จัดทาโดย
นายอรรถพล ดีคา เลขที่ 1
นางสาวจิรายุ ไหลธรรมนูญ เลขที่ 7
นางสาวญาดา มีนาง เลขที่ 8
นางสาวสิริกาญจน์ บึงแก้ว เลขที่ 12
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
เสนอ
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS3
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
ก
คานา
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา IS3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เพื่อช่วยทาให้วัดมีความสะอาด
สวยงาม น่าอยู่ น่าเข้ามาปฏิบัติธรรม และได้จัดทาโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม คือ โครงการจิต
อาสาพัฒนาวัด และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์กับการทาโครงการที่จะนามาเผยแพร่ให้กับ
ผู้คนที่สนใจได้มาหาความรู้ คณะผู้จัดทาหวังว่าโครงการนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจจะศึกษาหา
ความรู้ หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทาขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
ข
เกี่ยวกับโครงการ
ชื่อโครงการ จิตอาสาพัฒนาวัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้ IS3
ผู้จัดทา 1. นายอรรถพล ดีคา เลขที่ 1
2. นางสาวจิรายุ ไหลธรรมนูญ เลขที่ 7
3. นางสาวญาดา มีนาง เลขที่ 8
4. นางสาวสิริกาญจน์ บึงแก้ว เลขที่ 12
ครูที่ปรึกษา คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
สถานที่ศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ค
กิตติกรรมประกาศ
โครงการเรื่อง จิตอาสาพัฒนาวัด จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือ และ
อนุเคราะห์สถานที่จาก หลวงพ่อบุญส่ง (อธิปปัญโญ) เจ้าอาวาสวัดเขาเม็งอมรเมศร์
นาย ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูประจาวิชาที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหา
ต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน ตลอดมา
เพื่อนๆที่ได้มาร่วมมือ ร่วมใจกันในการพัฒนาวัดเขาเม็งอมรเมศร์ให้มีความสะอาด
เรียบร้อย
คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
คานา.................................................................................................................................................ก
เกี่ยวกับโครงการ...............................................................................................................................ข
กิตติกรรมประกาศ.............................................................................................................................ค
บทที่ 1 บทนา...................................................................................................................................1
1. หลักการและเหตุผล.................................................................................................................1
2. วัตถุประสงค์............................................................................................................................1
3.กลุ่มเป้าหมาย............................................................................................................................1
4. สถานที่....................................................................................................................................1
5. การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่โครงการ..........................................................1
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง................................................................................................................2
บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา...............................................................................................................8
บทที่ 4 ผลการศึกษา.........................................................................................................................8
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ......................................................................................14
5.1. สรุป อภิปรายผล................................................................................................................14
5.2. ข้อเสนอแนะ ......................................................................................................................14
ภาคผนวก........................................................................................................................................15
บรรณานุกรม...................................................................................................................................23
สารบัญภาพ
5.1 เก็บขยะบริเวณวัด....................................................................................................................9
5.2 กวาดลานวัด...........................................................................................................................9
5.3 กวาดถนนภายในวัด...............................................................................................................10
5.4 ล้างห้องน้้า ...........................................................................................................................10
5.4.1 ก่อนล้าง ........................................................................................................................11
5.4.2 หลังล้าง ........................................................................................................................11
5.5 กวาดบริเวณบันไดทางขึ้น........................................................................................................11
5.5.1 ก่อนกวาด......................................................................................................................12
5.5.2 หลังกวาด......................................................................................................................13
ภาพที่ 6.1 เตรียมอุปกรณ์ล้างห้องน้้า..............................................................................................15
ภาพที่ 6.2 ก่อนล้างห้องน้้า.............................................................................................................16
ภาพที่ 6.3 กวาดพื้นหน้าห้องน้้า......................................................................................................16
ภาพที่ 6.4 ท้าการล้างห้องน้้า.........................................................................................................17
ภาพที่ 6.5 หลังล้างห้องน้้าเสร็จ.......................................................................................................17
ภาพที่ 6.6 หลังล้างพื้นหน้าห้องน้้า ..................................................................................................18
ภาพที่ 6.7 พาเพื่อนๆไปท้าความสะอาดบริเวณวัด..............................................................................18
ภาพที่ 6.8 ท้าการกวาดวัด ............................................................................................................19
ภาพที่ 6.9 กวาดถนน....................................................................................................................19
ภาพที่ 6.10 หลังจากกวาดถนนเสร็จ................................................................................................20
ภาพที่ 6.11 เก็บขยะบริเวณวัด .......................................................................................................20
ภาพที่ 6.12 พาเพื่อนๆไปกวาดบันไดวัด ...........................................................................................21
ภาพที่ 6.13 กวาดบันไดวัด.............................................................................................................21
ภาพที่ 6.14 หลังจากกวาดบันไดเสร็จ ..............................................................................................22
ภาพที่ 6.15 เว็บไซต์ครงการ http://yulove7.wix.com/yoojirayu...................................................22
บทที่ 1 บทนา
1. หลักการและเหตุผล
วัดเป็นสถานที่สาคัญที่เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของชาวพุทธทั้งหลาย เป็นศูนย์รวมของคน
ในชุมชนที่จะได้พบกันมาทาบุญด้วยกัน รวมสร้างบุญสร้างกุศล สร้างวัฒนธรรมอันดีงามทางศาสนา
ซึ่งเป็นศาสนาประจาชาติไทย ปัญหาที่พบมากในปัจจุบันคือคนที่มาทาบุญที่วัดไม่ดูแลรักษาความ
สะอาดส่งผลให้เกิดความสกปรกจานวนคนที่เข้าไปใช้มีมากแต่ไม่มีบุคลากรที่ทาความสะอาดเพียงพอ
ผู้คนที่ขาดจิตสานึกในสังคมไทยมีจานวนมาก โบสถ์หรือพื้นที่บริเวณรอบๆกุฏิพระสงฆ์ก็มีใบไม้และ
ขยะอยู่บ้างบางบริเวณ คณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นถึงปัญหาเหล่านี้และต้องการที่จะแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้น
เพื่อให้คนที่มาทาบุญที่วัดได้มีจิตใจที่ดีในการมาทาบุญและเพื่อบารุงพระพุทธศาสนาและศาสนสถาน
ให้คงอยู่กับพวกเราที่เป็นลูกหลานชาวพุทธสืบต่อไป
คณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นถึงปัญหาเหล่านี้และต้องการที่จะแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้นเพื่อให้คนที่มา
ทาบุญที่วัดได้มีจิตใจที่ดีในการมาทาบุญ และเพื่อบารุงพระพุทธศาสนาและศาสนสถานให้คงอยู่กับ
พวกเราที่เป็นลูกหลานชาวพุทธสืบต่อไป
2. วัตถุประสงค์
1. เพื่อปลูกฝังและสร้างจิตสานึกที่ดีให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม และรู้คุณค่า ของการแบ่งปัน
และการช่วยเหลือผู้อื่น
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีจิตสาธารณะ และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
3.กลุ่มเป้าหมาย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนรินทร์ กาญจนบุรี
จานวน 10-20 คน
4. สถานที่
วัดเขาเม็งอมรเมศร์ ตาบลปากแพรก อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี
5. การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่โครงการ
ความพอประมาณ คือ การลงมือปฏิบัติงานโดยการคานึงถึงกาลังทรัพย์ กาลังกาย และ
ความสามารถทางด้านจานวนวัสดุอุปกรณ์ที่มีอย่างจากัด
2
ความมีเหตุผล คือ การลงมือปฏิบัติด้วยจิตใจที่มีจิตสานึก มีจิตสาธารณะ และพร้อมที่จะ
ช่วยเหลือผู้อื่นอย่างไม่หวังสิ่งใดตอบแทน
ความมีภูมิคุ้มกัน คือ การศึกษาเกี่ยวกับสถานที่ที่จะไปทากิจกรรมจิตอาสา ว่ามีความ
เดือดร้อน หรือมีความจาเป็น มากแค่ไหน? และวัสดุอุปกรณ์ที่นาไปนั้นมีความเพียงพอต่อจานวนผู้
ร่วมกิจกรรมหรือไม่?
เงื่อนไขความรู้ คือ ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรู้จักข้อเสียของการทิ้งขยะ การไม่ดูแลความสะอาด
ของสถานที่ที่เป็นสถานที่สาคัญทางศาสนา
เงื่อนไขคุณธรรม คือ ปลูกฝังจิตสานึกสารธารณะ ช่วยกันรักษาความสะอาดของสถานที่
ส่วนรวม
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้
1. วัด
1.1 วัดเขาเม็งอมรเมศร์
2. การพัฒนา
3
1. วัด
วัด หมายถึง สถานที่ทางพระพุทธศาสนา ซึ่งปกติมีพระอุโบสถ พระวิหาร พระเจดีย์ รวมทั้งมี
พระภิกษุสงฆ์อยู่อาศัย
คาว่า “วัด” เป็นคาเรียกชื่อศาสนสถานแบบคาไทย โดยที่มาของคาว่า “วัด” นี้ ยังไม่มีข้อยุติ ด้วย
บางคนอธิบายว่า มาจากคาว่า “วตวา” ในภาษาบาลี แปลว่า เป็นที่สนทนาธรรม บ้างก็ว่ามาจาก
“วัตร” อันหมายถึงกิจปฏิบัติหรือหน้าที่ของพระภิกษุที่พึงกระทา หรือแปลอีกอย่างว่าการจาศีล ซึ่ง
วัด(วัตร) ตามนัยยะนี้จึงน่าจะหมายถึงสถานที่ซึ่งพระภิกษุสงฆ์ใช้เป็นที่จาศีลภาวนา หรือสถานที่ที่
พระภิกษุสงฆ์ใช้ปฏิบัติภาระกิจที่พึงกระทานั่นเอง แต่ก็มีบางคนสันนิษฐานว่ามาจากคาว่า “วัดวา”
อันหมายถึงการกาหนดขอบเขตของดินแดนที่สร้างเป็นศาสนสถาน เพราะวัดกับวามีความหมายอย่าง
เดียวกัน คือการสอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งต่างๆ เช่น ความยาว ความกว้าง เป็นต้น วัดในนัยยะ
อย่างหลังนี้จึงหมายถึง พื้นที่
แต่เดิมครั้งพุทธกาลนั้น มีการใช้คาว่า “อาราม” เป็นคาเรียกชื่อ ศาสนสถานในทางพุทธศาสนาที่ใช้
เรียกเสนาสนะที่มีผู้ศรัทธาถวายพระพุทธองค์ใน ระยะแรกๆ เช่น “เชตวนาราม” หรือชื่อเต็มว่า
“เชตวเนอนาถบิณฑิกสสอาราเม” ซึ่งมีความหมายว่า “สวนของอนาถบิณฑที่ป่าเชต” หรือ “เวฬุวนา
ราม” หรือ “บุปผาราม” เป็นต้น โดย “อาราเม” หรือ “อาราม” ในคาอ่านของไทยแปลว่าสวน
นอกจากนี้ในเวลาต่อมายังมีคาที่ใช้เรียกอีกอย่างว่า “วิหาระ” หรือ “วิหาร”
อย่างไรก็ตามก็ยังมีคาที่ให้ความหมายว่าวัดอยู่อีกชื่อหนึ่ง คือ “อาวาส” ดังชื่อเรียกสมภารผู้ครองวัด
ว่า “เจ้าอาวาส” ซึ่งแปลว่าผู้เป็นใหญ่ในวัด หรือชื่อเรียกวัด เช่นเทพศิรินทราวาส( เทพ+ ศิรินทรา+
อาวาส ) โดยปกติคาว่าอาวาสไม่เป็นที่นิยมใช้กันในความหมายว่าวัด ทั้งนี้เพราะนิยมนาไปใช้กับ
ความหมายที่แคบกว่าคาว่าอาราม โดยมักให้ความหมายในเชิงที่เป็นตัวเรือนที่อยู่อาศัยมากกว่า
อาวาสจึงเสมือนเป็นที่อยู่ส่วนย่อยภายในอารามที่หมายถึงพื้นที่ที่เป็นศาสนสถานทั้งเขต เช่น วัดราช
บพิธสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร,วัดบวรนิเวศวิหาร
กรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร, วัดกัลยาณมิตร ธนบุรี พระอารามหลวงชั้นโท
ชนิดราชวรมหาวิหาร, วัดปทุมวนาราม กรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดราชวรวิหาร,วัดอินทร
วิหาร วัดราษฎร์
1.1 วัดเขาเม็งอมรเมศร์
ที่อยู่ ถนน เขาเม็งพัฒนา เทศบาลเมืองกาญจนบุรี 71000
โทรศัพท์ 034 659 585
4
2. การพัฒนา
คาว่า การพัฒนา ใช้ในภาษาอังกฤษว่า Development นามาใช้เป็นคาเฉพาะและ
ใช้ประกอบคาอื่นก็ได้ เช่น การพัฒนาประเทศ การพัฒนาชนบท การพัฒนาเมือง และการพัฒนา
ข้าราชการ เป็นต้น การพัฒนาจึงถูกนาไปใช้กันโดยทั่วไปและมีความหมายแตกต่างกันออกไป
ดังกล่าวแล้ว เกี่ยวกับความหมายของการพัฒนานั้นได้มีผู้ให้ความหมายไว้หลายความหมายทั้ง
ความหมายที่คล้ายคลึงกัน และแตกต่างกัน ซึ่งอาจจาแนกออกได้เป็น 10 ลักษณะ คือ
2.1. ความหมายจากรูปศัพท์
โดยรูปศัพท์ การพัฒนา มาจากคาภาษาอังกฤษว่า Development แปลว่า การ
เปลี่ยนแปลงที่ละเล็กละน้อย โดยผ่านลาดับขั้นตอนต่างๆ ไปสู่ระดับที่สามารถขยายตัวขึ้น เติบโต
ขึ้น มีการปรับปรุงให้ดีขึ้น และเหมาะสมกว่าเดิมหรืออาจก้าวหน้าไปถึงขั้นที่อุดมสมบูรณ์เป็นที่น่า
พอใจ ส่วนความหมายจากรูปศัพท์ในภาษาไทยนั้น หมายถึง การทาความเจริญ การเปลี่ยนแปลง
ในทางที่เจริญขึ้น การคลี่คลายไปในทางที่ดี ถ้าเป็นกริยา ใช้คาว่า พัฒนา หมายความว่า ทาให้
เจริญ คือ ทาให้เติบโตได้ งอกงาม ทาให้งอกงามและมากขึ้น เช่น เจริญทางไมตรี การ
พัฒนา โดยความหมายจากรูปศัพท์จึงหมายถึง การเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เกิดความ
เจริญเติบโตงอกงามและดีขึ้นจนเป็นที่พึงพอใจ ความหมายดังกล่าวนี้ เป็นที่มาของความหมายใน
ภาษาไทยและเป็นแนวทางในการกาหนดความหมายอื่นๆ
2.2. ความหมายโดยทั่วไป
การพัฒนา ที่เข้าใจโดยทั่วไป มีความหมายใกล้เคียงกับความหมายจากรูปศัพท์ คือ
หมายถึง การทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพหนึ่งไปสู่อีกสภาพหนึ่งที่ดีกว่าเดิมอย่างเป็น
ระบบ หรือการทาให้ดีขึ้นกว่าสภาพเดิมที่เป็นอยู่อย่างเป็นระบบ ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบทางด้าน
คุณภาพระหว่างสภาพการณ์ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงเวลาที่ต่างกัน กล่าวคือ ถ้าในปัจจุบัน
สภาพการณ์ของสิ่งนั้นดีกว่า สมบูรณ์กว่าก็แสดงว่าเป็นการพัฒนา
การพัฒนา ในความหมายโดยทั่วไปจึงหมายถึงการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เกิดคุณภาพดีขึ้น
กว่าเดิม ความหมายนี้ นับว่าเป็นความหมายที่รู้จักกันโดยทั่วไป เพราะนามาใช้มากกว่าความหมาย
อื่นๆ แม้ว่าจะไม่เป็นที่ยอมรับของนักวิชาการก็ตาม
2.3. ความหมายทางเศรษฐศาสตร์
นักเศรษฐศาสตร์ได้ให้ความหมายของ การพัฒนา ว่า หมายถึง ความเจริญเติบโต โดยเน้น
ความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจเป็นสาคัญ เช่น ผลผลิตรวมของประเทศเพิ่มขึ้น รายได้
ประชาชาติเพิ่มขึ้น รายได้เฉลี่ยต่อหัวต่อคนของประชากรเพิ่มขึ้น มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจมาก
ขึ้น ประชากรมีรายได้เพียงพอที่สามารถตอบสนองความต้องการพื้นฐานของตนได้ ซึ่งอาจสรุปได้
ว่า การพัฒนา เป็นกระบวนการทางสังคม ที่ผลผลิตออกมาในรูปซึ่งสามารถวัดได้ด้วยเกณฑ์ทาง
เศรษฐศาสตร์
5
จะเห็นได้ว่า นักเศรษฐศาสตร์ได้กาหนดความหมายของการพัฒนา โดยใช้ความหมายจาก
รูปศัพท์และความหมายโดยทั่วไป คือ หมายถึง ความเจริญเติบโต แต่เป็นความเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจ ตามเนื้อหาของวิชาเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเป็นการเน้นความหมายเชิงปริมาณ คือ การ
เพิ่มขึ้น หรือการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากกว่าด้านอื่นๆ
2.4. ความหมายทางพัฒนบริหารศาสตร์
นักพัฒนาบริหารศาสตร์ได้ให้ความหมายของ การพัฒนา เป็น 2 ระดับ คือ ความหมาย
อย่างแคบและความหมายอย่างกว้าง ความหมายอย่างแคบ การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลง
ในตัวระบบการกระทาการให้ดีขึ้นอันเป็นการเปลี่ยนแปลงในด้านคุณภาพเพียงด้านเดียว ส่วน
ความหมายอย่างกว้างนั้น การพัฒนา เป็นกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงในตัวระบบการกระทา
ทั้งด้านคุณภาพ ปริมาณและสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้นไปพร้อมๆ กัน ไม่ใช่ด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว
การพัฒนา ในความหมายของนักพัฒนบริหารศาสตร์จะมีขอบข่ายกว้างขวางกว่าความหมาย
จากรูปศัพท์ ความหมายโดยทั่วไป และความหมายทางเศรษฐศาสตร์ที่กล่าวมาแล้ว เพราะ
หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ทั้งในด้านคุณภาพ (ดีขึ้น) ปริมาณ (มากขึ้น) และ
สิ่งแวดล้อม (มีความเหมาะสม) ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว
2.5. ความหมายทางเทคโนโลยี
ในทางเทคโนโลยี การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงระบบอุตสาหกรรม และการผลิต
ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ด้วยนักวิทยาศาสตร์และนักประดิษฐ์ ทาให้สังคมเปลี่ยนแปลงจากสังคม
ประเพณีนิยม เป็นสังคมสมัยใหม่ที่ทันสมัย หรือ การพัฒนา คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม
ของมนุษย์ด้วยเทคโนโลยีนั่นเอง
จะเห็นได้ว่า ความหมายของ การพัฒนา ในทางเทคโนโลยีแตกต่างออกไปจากความหมาย
ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น โดยหมายถึงการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ทันสมัยด้วยความเจริญก้าวหน้าทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นความหมายอีกแนวทางหนึ่ง
2.6. ความหมายทางการวางแผน
ในทางการวางแผน การพัฒนา เป็นเรื่องเกี่ยวกับการชักชวน การกระตุ้นเพื่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลง ด้วยการปฏิบัติตามแผนและโครงการอย่างจริงจัง เป็นไปตามลาดับขั้นตอนต่อเนื่องกัน
เป็นวงจร โดยไม่มีการสิ้นสุด ซึ่งองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ง
สหประชาชาติ (The United National Educational, Scientific and cultural Organizati
on : UNESCOสรุปได้ว่า การพัฒนาเป็นหน้าที่ (Function) ของการวางแผนและการจัดการ ดังนี้
D = f (P+M)
เมื่อ D = Development คือ การพัฒนา
P = Planning คือ การวางแผน
6
M = Management คือ การบริหารงานหรือการจัดการ
ดังนั้น การพัฒนา จะเกิดขึ้นได้ด้วยการวางแผนที่ดี มีการบริหารงานและการจัดการอย่าง
เป็นระบบ ทาให้การดาเนินการเป็นไปอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
การพัฒนา ในความหมายของนักวางแผน จะเป็นไปอีกแนวทางหนึ่ง โดยอาจสรุปได้
ว่า หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของมนุษย์ไว้ล่วงหน้า ในลักษณะของแผน
และโครงการ แล้วบริหารหรือจัดการให้เป็นไปตามแผนและโครงการจนประสบความสาเร็จตาม
วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วางไว้ จะเห็นได้ว่าความหมายของการพัฒนาทางการวางแผนกาหนดให้
การพัฒนาเป็นกิจกรรมของมนุษย์และเกิดขึ้นจากการเตรียมการไว้ล่วงหน้าเท่านั้น การเปลี่ยนแปลง
ที่ไม่ได้เกิดจากการวางแผนโดยมนุษย์ ไม่ใช่การพัฒนาในความหมายนี้
2.7. ความหมายเกี่ยวกับการปฏิบัติ
ในขั้นของการปฏิบัติ การพัฒนา หมายถึง การชักชวนหรือการกระตุ้นให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงโดยการปฏิบัติตามแผนและโครงการอย่างจริงจังและเป็นลาดับขั้นตอนต่อเนื่องกันใน
ลักษณะที่เป็นวงจร ไม่มีการสิ้นสุด
การพัฒนา ในความหมายของการปฏิบัติการนี้เป็นความหมายต่อเนื่องจากความหมาย
ทางการวางแผนโดยมุ่งเน้นถึงการนาแผนและโครงการไปดาเนินการอย่างจริงจังและอย่าง
ต่อเนื่อง เพราะถึงจะมีแผนและโครงการแล้วแต่ถ้าหากไม่มีการนาไปปฏิบัติการพัฒนาก็ไม่สามารถ
เกิดขึ้นได้
2.8. ความหมายทางพระพุทธศาสนา
พระราชวรมุนี ได้ให้ความหมายและอธิบายไว้ว่า ในทางพุทธศาสนา การพัฒนา มาจากคา
ภาษาบาลีว่า วัฒนะ แปลว่า เจริญ แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ การพัฒนา
คน เรียกว่า ภาวนา กับการพัฒนาสิ่งอื่นๆ ที่ไม่ใช่คน เช่น วัตถุสิ่งแวดล้อม
ต่างๆ เรียกว่า พัฒนา หรือ วัฒนา เช่น การสร้างถนน บ่อน้า อ่างเก็บน้า เป็นต้น ซึ่งเป็นเรื่อง
ของการเพิ่มพูนขยาย ทาให้มากหรือทาให้เติบโตขึ้นทางวัตถุและได้เสนอข้อคิดไว้ว่า คาว่า การ
พัฒนา หรือ คาว่า เจริญ นั้นไม่ได้แปลว่าทาให้มากขึ้น เพิ่มพูนขึ้นอย่างเดียวเท่านั้น แต่มี
ความหมายว่า ตัดหรือทิ้ง เช่น เจริญพระเกศา คือตัดผม มีความหมายว่า รก เช่น นุสิยา โลกวฑฺฒ
โน แปลว่า อย่างเป็นคนรกโลกอีกด้วย ดังนั้น การพัฒนาจึงเป็นสิ่งที่ทาแล้วมีความเจริญจริงๆ คือ
ต้องไม่เกิดปัญหาติดตามมาหรือไม่เสื่อมลงกว่าเดิม ถ้าเกิดปัญหาหรือเสื่อมลง ไม่ใช่เป็นการ
พัฒนา แต่เป็นหายนะ ซึ่งตรงกันข้ามกับการพัฒนา
กล่าวได้ว่า การพัฒนา ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึง การพัฒนาคนให้มีความสุขมี
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม การพัฒนาในความหมายนี้ มีลักษณะเดียวกันกับการพัฒนาใน
ความหมายทางด้านการวางแผน คือ เป็นเรื่องของมนุษย์เท่านั้น แตกต่างกนเพียงการวางแผนให้
ความสาคัญที่วิธีการดาเนินงาน ส่วนพุทธศาสนามุ่งเน้นผลที่เกิดขึ้น คือ ความสุขของมนุษย์เท่านั้น )
2.9. ความหมายทางสังคมวิทยา
7
นักสังคมวิทยาได้ให้ความหมายของ การพัฒนา ว่า เป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ
สังคม ซึ่งได้แก่ คน กลุ่มคน การจัดระเบียบความสัมพันธ์ทางสังคม ด้วยการจัดสรรทรัพยากรของ
สังคมอย่างยุติธรรมและมีประสิทธิภาพ การพัฒนา เป็นทั้งเป้าหมายและกระบวนการที่ครอบคลุมถึง
การเปลี่ยนแปลงทัศนคติของคนต่อชีวิตและการทางาน การเปลี่ยนแปลงสถาบันต่างๆ ทาง
สังคม วัฒนธรรมและการเมืองอีกด้วย
นักสังคมวิทยาได้ให้ความหมายของ การพัฒนา โดยเน้นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ
สังคม คือ มนุษย์ กลุ่มทางสังคม การจัดระเบียบทางสังคม ซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับความหมาย
ในทางพุทธศาสนา คือ การเปลี่ยนแปลงมนุษย์และสิ่งแวดล้อมให้มีความสุข และมีลักษณะ
เช่นเดียวกับความหมายทางการวางแผน คือ ด้วยวิธีการจัดสรรทรัพยากรของสังคมอย่างยุติธรรม
และมีประสิทธิภาพ ซึ่งนักวางแผน เรียกว่า การบริหารและการจัดการนั่นเอง
2.10. ความหมายทางด้านการพัฒนาชุมชน
นักพัฒนาชุมชนได้ให้ความหมายของ การพัฒนา ไว้ว่า หมายถึง การที่คนในชุมชนและ
สังคมโดยส่วนรวมได้ร่วมกันดาเนินกิจกรรมเพื่อปรับปรุงความรู้ความสามารถของตนเอง และร่วมกัน
เปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตของตนเองชุมชนสังคมให้ดีขึ้น การพัฒนาเป็นเสมือนกลวิธีหรือมรรควิธี
(Mean) ที่ทาให้เกิดผล (Ends) ที่ต้องการ คือ คุณภาพชีวิต ชุมชน และสังคมดีขึ้น
นักพัฒนาชุมชนได้ให้ความหมายของ การพัฒนา ไว้ใกล้เคียงกับนักสังคมวิทยา คือ เป็น
วิธีการเปลี่ยนแปลงมนุษย์และสังคมมนุษย์ให้ดีขึ้น แต่นักพัฒนาชุมชนมุ่งเน้นที่มนุษย์ในชุมชนต้อง
ร่วมกันดาเนินงานและได้รับผลจากการพัฒนาร่วมกัน
จากความหมายในด้านต่างๆ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นได้ว่า การพัฒนา มีความหมาย
ที่คล้ายคลึงกันและแตกต่างการออกไปบ้าง ซึ่งถ้าหากพิจารณาจากความหมายเหล่านี้อาจสรุปได้
ว่า การพัฒนา หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ดีขึ้น ทั้งทางด้าน
คุณภาพ ปริมาณ และสิ่งแวดล้อม ด้วยการวางแผนโครงการและดาเนินงานโดยมนุษย์ เพื่อ
ประโยชน์แก่ตัวของมนุษย์เอง
8
บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา
วัสดุอุปกรณ์
1.ไม้กวาด
2.ที่ตักขยะ
3.ที่ขัดห้องน้า
4.ถังน้า
5.น้ายาล้างห้องน้า
6.ถุงดา
วิธีดาเนินการศึกษา มีดังนี้
1.รวมกลุ่มและกาหนดหัวข้อในการทาโครงการ
2.สารวจสถานที่และหางบประมาณในการทาโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
3.ไปคุยกับทางวัดเขาเม็งอมรเมรศ์ในเรื่องที่จะยืมสถานที่วัดในการทาโครงการจิตอาสา
พัฒนาวัด
4.กาหนดวันที่จะไปทาโครงการ คือ วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2558
5.เตรียมอุปกรณ์ที่จะนาไปพัฒนาวัด
6.ไปทาโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด ณ วัดเขาเม็งอมรเมรศ์
7. เขียนรายงาน พร้อมสรุป และอภิปรายผล
8. นาเสนอโครงการ
บทที่ 4 ผลการศึกษา
9
1. สารวจสถานที่บริเวณวัดเขาเม็งอมรเมศร์
2. ไปคุยกับทางวัดเขาเม็งอมรเมรศ์ในเรื่องที่จะยืมสถานที่วัดในการทาโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดใน
วันที่ 22 สิงหาคม 2558
3. กาหนดวันที่จะไปทาโครงการ คือ วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2558
4. เตรียมอุปกรณ์ที่จะนาไปพัฒนาวัด
5. ไปทาโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด ณ วัดเขาเม็งอมรเมรศ์
5.1 เก็บขยะบริเวณวัด
5.2 กวาดลานวัด
10
5.3 กวาดถนนภายในวัด
5.4 ล้างห้องน้า
11
5.4.1 ก่อนล้าง
5.4.2 หลังล้าง
5.5 กวาดบริเวณ บันไดทางขึ้น
12
5.5.1 ก่อนกวาด
13
5.5.2 หลังกวาด
14
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
5.1. สรุป อภิปรายผล
โครงการ “ จิตอาสาพัฒนาวัด “ ได้ดาเนินกิจกรรมสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ตามวัตถุประสงค์
ที่ตั้งไว้ โดยโครงการนี้จัดขึ้นที่ วัดเขาเม็งอมรเมศร์ ภายในกิจกรรมมีการ เก็บขยะ กวาดลานวัด
กวาดถนนภายในวัด ล้างห้องน้า กวาดบริเวณบันไดทางขึ้น เป็นการปลูกฝังและสร้างจิตสานึกและ
ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ทั้งนี้เนื่องจากได้รับความร่วมมือจากเพื่อนๆ พี่ๆ น้องๆ และสมาชิกในกลุ่มของข้าพเจ้าทาให้
โครงการนี้สาเร็จไปได้ด้วยดีและนอกจากนี้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมก็ยังได้ความสุข ความสบายใจ ในการทา
กิจกรรมครั้งนี้
5.2. ข้อเสนอแนะ
ควรเชิญชวนเพื่อนๆพี่ๆน้องๆให้มากกว่านี้
15
ควรจะซื้อพวกไม้กวาดไปเองแล้วบริจาคให้กับวัดไปเลย
ภาคผนวก
ภาพที่ 6.1 เตรียมอุปกรณ์ล้างห้องน้า
16
ภาพที่ 6.2 ก่อนล้างห้องน้า
ภาพที่ 6.3 กวาดพื้นหน้าห้องน้า
17
ภาพที่ 6.4 ทาการล้างห้องน้า
ภาพที่ 6.5 หลังล้างห้องน้าเสร็จ
18
ภาพที่ 6.6 หลังล้างพื้นหน้าห้องน้า
ภาพที่ 6.7 พาเพื่อนๆไปทาความสะอาดบริเวณวัด
19
ภาพที่ 6.8 ทาการกวาดวัด
ภาพที่ 6.9 กวาดถนน
20
ภาพที่ 6.10 หลังจากกวาดถนนเสร็จ
ภาพที่ 6.11 เก็บขยะบริเวณวัด
21
ภาพที่ 6.12 พาเพื่อนๆไปกวาดบันไดวัด
ภาพที่ 6.13 กวาดบันไดวัด
22
ภาพที่ 6.14 หลังจากกวาดบันไดเสร็จ
ภาพที่ 6.15 เว็บไซต์ครงการ http://yulove7.wix.com/yoojirayu
23
บรรณานุกรม
 ปณิธานของคณะบุคคลต่างสาขาอาชีพคณะหนึ่ง.2556.ความหมายของวัด.(ออนไลน์).
แหล่งที่มา:http://www.phuttha.com/%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E
0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99/%E0%B8%A7%
E0%B8%B1%E0%B8%94/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1
%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%82%E0%B8%A
D%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94 . 14 กันยายน 2558
 พระอาจารย์สุทัศน์ รักแท้.2558.วัดเขาเม็งอมรเมศร์.(ออนไลน์).
แหล่งที่มา:https://www.facebook.com/pages/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B
8%94%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B
9%87%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%
B8%A1%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B9%8C/551113248253526 . 14 กันยายน
2558
 พระอนุรักษ์ อนีรกฺขิโต.2556.การพัฒนาวัด.(ออนไลน์).
แหล่งที่มา:https://www.gotoknow.org/posts/530701 . 17 กันยายน 2558
24

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานAriyaporn Suaekong
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Mais procurados (20)

โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Destaque

รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...Prawwe Papasson
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนNatthawut Sutthi
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้มmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
คำกล่าวรายงานในพิธีเปิดประชุมสัมมนา
คำกล่าวรายงานในพิธีเปิดประชุมสัมมนาคำกล่าวรายงานในพิธีเปิดประชุมสัมมนา
คำกล่าวรายงานในพิธีเปิดประชุมสัมมนาnunicetysohot
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล EditSiratcha Wongkom
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กับโครงงานจิตอาสา พาสะอาด
ชั้นประถมศึกษาปีที่  6  กับโครงงานจิตอาสา   พาสะอาดชั้นประถมศึกษาปีที่  6  กับโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กับโครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขโครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขN'Pop Intrara
 

Destaque (11)

รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
รูปเล่มโครงการแต้มสีเติมฝัน...
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
 
คำกล่าวรายงานในพิธีเปิดประชุมสัมมนา
คำกล่าวรายงานในพิธีเปิดประชุมสัมมนาคำกล่าวรายงานในพิธีเปิดประชุมสัมมนา
คำกล่าวรายงานในพิธีเปิดประชุมสัมมนา
 
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กับโครงงานจิตอาสา พาสะอาด
ชั้นประถมศึกษาปีที่  6  กับโครงงานจิตอาสา   พาสะอาดชั้นประถมศึกษาปีที่  6  กับโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กับโครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุขโครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
โครงงานคุณธรรม สร้างรอยยิ้ม สร้างความสุข
 

Semelhante a โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด

IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรักkessara61977
 
โครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดโครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดmaddemon madden
 
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มโครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มพัน พัน
 
ยางนาสาร ฉบับที่ 70
ยางนาสาร ฉบับที่  70ยางนาสาร ฉบับที่  70
ยางนาสาร ฉบับที่ 70Mr-Dusit Kreachai
 
โครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจโครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจพัน พัน
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันพัน พัน
 
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิง
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิงนันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิง
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิงpiyard
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานtongkesmanee
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxNiran Kultanan
 

Semelhante a โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด (20)

IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
IS โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
 
โครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิดโครงงานคอมเวิด
โครงงานคอมเวิด
 
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มโครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
 
ยางนาสาร ฉบับที่ 70
ยางนาสาร ฉบับที่  70ยางนาสาร ฉบับที่  70
ยางนาสาร ฉบับที่ 70
 
โครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจโครงการปันน้ำใจ
โครงการปันน้ำใจ
 
Cas 11 4
Cas 11 4Cas 11 4
Cas 11 4
 
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปันโครงการช่วยเหลือ เจือปัน
โครงการช่วยเหลือ เจือปัน
 
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิง
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิงนันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิง
นันทนาการ ประเภทดนตรี นาฏศิลป์ การแสดงและกิจกรรมบันเทิง
 
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 52554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
2554 สรุปผลการดำเนินกิจกรรม โครงการค่ายเยาวชนปฏิวัติจิตอาสาพัฒนาชนบท ครั้งที่ 5
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวนร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
6 1-2
6 1-26 1-2
6 1-2
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
 
Cas12 2
Cas12 2Cas12 2
Cas12 2
 
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docxชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
ชีวิตและงานเพื่อสังคมของ อ.นิรันดร์-ฉบับร่าง101.docx
 
Cas 11 1
Cas 11 1Cas 11 1
Cas 11 1
 

Mais de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Mais de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด

  • 1. โครงการ เรื่อง จิตอาสาพัฒนาวัด จัดทาโดย นายอรรถพล ดีคา เลขที่ 1 นางสาวจิรายุ ไหลธรรมนูญ เลขที่ 7 นางสาวญาดา มีนาง เลขที่ 8 นางสาวสิริกาญจน์ บึงแก้ว เลขที่ 12 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 เสนอ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS3 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
  • 2. ก คานา รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา IS3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เพื่อช่วยทาให้วัดมีความสะอาด สวยงาม น่าอยู่ น่าเข้ามาปฏิบัติธรรม และได้จัดทาโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม คือ โครงการจิต อาสาพัฒนาวัด และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็นประโยชน์กับการทาโครงการที่จะนามาเผยแพร่ให้กับ ผู้คนที่สนใจได้มาหาความรู้ คณะผู้จัดทาหวังว่าโครงการนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจจะศึกษาหา ความรู้ หากมีข้อผิดพลาดประการใดผู้จัดทาขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 3. ข เกี่ยวกับโครงการ ชื่อโครงการ จิตอาสาพัฒนาวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ IS3 ผู้จัดทา 1. นายอรรถพล ดีคา เลขที่ 1 2. นางสาวจิรายุ ไหลธรรมนูญ เลขที่ 7 3. นางสาวญาดา มีนาง เลขที่ 8 4. นางสาวสิริกาญจน์ บึงแก้ว เลขที่ 12 ครูที่ปรึกษา คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม สถานที่ศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
  • 4. ค กิตติกรรมประกาศ โครงการเรื่อง จิตอาสาพัฒนาวัด จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือ และ อนุเคราะห์สถานที่จาก หลวงพ่อบุญส่ง (อธิปปัญโญ) เจ้าอาวาสวัดเขาเม็งอมรเมศร์ นาย ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูประจาวิชาที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหา ต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน ตลอดมา เพื่อนๆที่ได้มาร่วมมือ ร่วมใจกันในการพัฒนาวัดเขาเม็งอมรเมศร์ให้มีความสะอาด เรียบร้อย คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 5. สารบัญ คานา.................................................................................................................................................ก เกี่ยวกับโครงการ...............................................................................................................................ข กิตติกรรมประกาศ.............................................................................................................................ค บทที่ 1 บทนา...................................................................................................................................1 1. หลักการและเหตุผล.................................................................................................................1 2. วัตถุประสงค์............................................................................................................................1 3.กลุ่มเป้าหมาย............................................................................................................................1 4. สถานที่....................................................................................................................................1 5. การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่โครงการ..........................................................1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง................................................................................................................2 บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา...............................................................................................................8 บทที่ 4 ผลการศึกษา.........................................................................................................................8 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ......................................................................................14 5.1. สรุป อภิปรายผล................................................................................................................14 5.2. ข้อเสนอแนะ ......................................................................................................................14 ภาคผนวก........................................................................................................................................15 บรรณานุกรม...................................................................................................................................23
  • 6. สารบัญภาพ 5.1 เก็บขยะบริเวณวัด....................................................................................................................9 5.2 กวาดลานวัด...........................................................................................................................9 5.3 กวาดถนนภายในวัด...............................................................................................................10 5.4 ล้างห้องน้้า ...........................................................................................................................10 5.4.1 ก่อนล้าง ........................................................................................................................11 5.4.2 หลังล้าง ........................................................................................................................11 5.5 กวาดบริเวณบันไดทางขึ้น........................................................................................................11 5.5.1 ก่อนกวาด......................................................................................................................12 5.5.2 หลังกวาด......................................................................................................................13 ภาพที่ 6.1 เตรียมอุปกรณ์ล้างห้องน้้า..............................................................................................15 ภาพที่ 6.2 ก่อนล้างห้องน้้า.............................................................................................................16 ภาพที่ 6.3 กวาดพื้นหน้าห้องน้้า......................................................................................................16 ภาพที่ 6.4 ท้าการล้างห้องน้้า.........................................................................................................17 ภาพที่ 6.5 หลังล้างห้องน้้าเสร็จ.......................................................................................................17 ภาพที่ 6.6 หลังล้างพื้นหน้าห้องน้้า ..................................................................................................18 ภาพที่ 6.7 พาเพื่อนๆไปท้าความสะอาดบริเวณวัด..............................................................................18 ภาพที่ 6.8 ท้าการกวาดวัด ............................................................................................................19 ภาพที่ 6.9 กวาดถนน....................................................................................................................19 ภาพที่ 6.10 หลังจากกวาดถนนเสร็จ................................................................................................20 ภาพที่ 6.11 เก็บขยะบริเวณวัด .......................................................................................................20 ภาพที่ 6.12 พาเพื่อนๆไปกวาดบันไดวัด ...........................................................................................21 ภาพที่ 6.13 กวาดบันไดวัด.............................................................................................................21
  • 7. ภาพที่ 6.14 หลังจากกวาดบันไดเสร็จ ..............................................................................................22 ภาพที่ 6.15 เว็บไซต์ครงการ http://yulove7.wix.com/yoojirayu...................................................22
  • 8. บทที่ 1 บทนา 1. หลักการและเหตุผล วัดเป็นสถานที่สาคัญที่เป็นที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจของชาวพุทธทั้งหลาย เป็นศูนย์รวมของคน ในชุมชนที่จะได้พบกันมาทาบุญด้วยกัน รวมสร้างบุญสร้างกุศล สร้างวัฒนธรรมอันดีงามทางศาสนา ซึ่งเป็นศาสนาประจาชาติไทย ปัญหาที่พบมากในปัจจุบันคือคนที่มาทาบุญที่วัดไม่ดูแลรักษาความ สะอาดส่งผลให้เกิดความสกปรกจานวนคนที่เข้าไปใช้มีมากแต่ไม่มีบุคลากรที่ทาความสะอาดเพียงพอ ผู้คนที่ขาดจิตสานึกในสังคมไทยมีจานวนมาก โบสถ์หรือพื้นที่บริเวณรอบๆกุฏิพระสงฆ์ก็มีใบไม้และ ขยะอยู่บ้างบางบริเวณ คณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นถึงปัญหาเหล่านี้และต้องการที่จะแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้น เพื่อให้คนที่มาทาบุญที่วัดได้มีจิตใจที่ดีในการมาทาบุญและเพื่อบารุงพระพุทธศาสนาและศาสนสถาน ให้คงอยู่กับพวกเราที่เป็นลูกหลานชาวพุทธสืบต่อไป คณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นถึงปัญหาเหล่านี้และต้องการที่จะแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้นเพื่อให้คนที่มา ทาบุญที่วัดได้มีจิตใจที่ดีในการมาทาบุญ และเพื่อบารุงพระพุทธศาสนาและศาสนสถานให้คงอยู่กับ พวกเราที่เป็นลูกหลานชาวพุทธสืบต่อไป 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อปลูกฝังและสร้างจิตสานึกที่ดีให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม และรู้คุณค่า ของการแบ่งปัน และการช่วยเหลือผู้อื่น 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีจิตสาธารณะ และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 3.กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนรินทร์ กาญจนบุรี จานวน 10-20 คน 4. สถานที่ วัดเขาเม็งอมรเมศร์ ตาบลปากแพรก อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 5. การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่โครงการ ความพอประมาณ คือ การลงมือปฏิบัติงานโดยการคานึงถึงกาลังทรัพย์ กาลังกาย และ ความสามารถทางด้านจานวนวัสดุอุปกรณ์ที่มีอย่างจากัด
  • 9. 2 ความมีเหตุผล คือ การลงมือปฏิบัติด้วยจิตใจที่มีจิตสานึก มีจิตสาธารณะ และพร้อมที่จะ ช่วยเหลือผู้อื่นอย่างไม่หวังสิ่งใดตอบแทน ความมีภูมิคุ้มกัน คือ การศึกษาเกี่ยวกับสถานที่ที่จะไปทากิจกรรมจิตอาสา ว่ามีความ เดือดร้อน หรือมีความจาเป็น มากแค่ไหน? และวัสดุอุปกรณ์ที่นาไปนั้นมีความเพียงพอต่อจานวนผู้ ร่วมกิจกรรมหรือไม่? เงื่อนไขความรู้ คือ ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรู้จักข้อเสียของการทิ้งขยะ การไม่ดูแลความสะอาด ของสถานที่ที่เป็นสถานที่สาคัญทางศาสนา เงื่อนไขคุณธรรม คือ ปลูกฝังจิตสานึกสารธารณะ ช่วยกันรักษาความสะอาดของสถานที่ ส่วนรวม บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. วัด 1.1 วัดเขาเม็งอมรเมศร์ 2. การพัฒนา
  • 10. 3 1. วัด วัด หมายถึง สถานที่ทางพระพุทธศาสนา ซึ่งปกติมีพระอุโบสถ พระวิหาร พระเจดีย์ รวมทั้งมี พระภิกษุสงฆ์อยู่อาศัย คาว่า “วัด” เป็นคาเรียกชื่อศาสนสถานแบบคาไทย โดยที่มาของคาว่า “วัด” นี้ ยังไม่มีข้อยุติ ด้วย บางคนอธิบายว่า มาจากคาว่า “วตวา” ในภาษาบาลี แปลว่า เป็นที่สนทนาธรรม บ้างก็ว่ามาจาก “วัตร” อันหมายถึงกิจปฏิบัติหรือหน้าที่ของพระภิกษุที่พึงกระทา หรือแปลอีกอย่างว่าการจาศีล ซึ่ง วัด(วัตร) ตามนัยยะนี้จึงน่าจะหมายถึงสถานที่ซึ่งพระภิกษุสงฆ์ใช้เป็นที่จาศีลภาวนา หรือสถานที่ที่ พระภิกษุสงฆ์ใช้ปฏิบัติภาระกิจที่พึงกระทานั่นเอง แต่ก็มีบางคนสันนิษฐานว่ามาจากคาว่า “วัดวา” อันหมายถึงการกาหนดขอบเขตของดินแดนที่สร้างเป็นศาสนสถาน เพราะวัดกับวามีความหมายอย่าง เดียวกัน คือการสอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งต่างๆ เช่น ความยาว ความกว้าง เป็นต้น วัดในนัยยะ อย่างหลังนี้จึงหมายถึง พื้นที่ แต่เดิมครั้งพุทธกาลนั้น มีการใช้คาว่า “อาราม” เป็นคาเรียกชื่อ ศาสนสถานในทางพุทธศาสนาที่ใช้ เรียกเสนาสนะที่มีผู้ศรัทธาถวายพระพุทธองค์ใน ระยะแรกๆ เช่น “เชตวนาราม” หรือชื่อเต็มว่า “เชตวเนอนาถบิณฑิกสสอาราเม” ซึ่งมีความหมายว่า “สวนของอนาถบิณฑที่ป่าเชต” หรือ “เวฬุวนา ราม” หรือ “บุปผาราม” เป็นต้น โดย “อาราเม” หรือ “อาราม” ในคาอ่านของไทยแปลว่าสวน นอกจากนี้ในเวลาต่อมายังมีคาที่ใช้เรียกอีกอย่างว่า “วิหาระ” หรือ “วิหาร” อย่างไรก็ตามก็ยังมีคาที่ให้ความหมายว่าวัดอยู่อีกชื่อหนึ่ง คือ “อาวาส” ดังชื่อเรียกสมภารผู้ครองวัด ว่า “เจ้าอาวาส” ซึ่งแปลว่าผู้เป็นใหญ่ในวัด หรือชื่อเรียกวัด เช่นเทพศิรินทราวาส( เทพ+ ศิรินทรา+ อาวาส ) โดยปกติคาว่าอาวาสไม่เป็นที่นิยมใช้กันในความหมายว่าวัด ทั้งนี้เพราะนิยมนาไปใช้กับ ความหมายที่แคบกว่าคาว่าอาราม โดยมักให้ความหมายในเชิงที่เป็นตัวเรือนที่อยู่อาศัยมากกว่า อาวาสจึงเสมือนเป็นที่อยู่ส่วนย่อยภายในอารามที่หมายถึงพื้นที่ที่เป็นศาสนสถานทั้งเขต เช่น วัดราช บพิธสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร,วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร, วัดกัลยาณมิตร ธนบุรี พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร, วัดปทุมวนาราม กรุงเทพฯ พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดราชวรวิหาร,วัดอินทร วิหาร วัดราษฎร์ 1.1 วัดเขาเม็งอมรเมศร์ ที่อยู่ ถนน เขาเม็งพัฒนา เทศบาลเมืองกาญจนบุรี 71000 โทรศัพท์ 034 659 585
  • 11. 4 2. การพัฒนา คาว่า การพัฒนา ใช้ในภาษาอังกฤษว่า Development นามาใช้เป็นคาเฉพาะและ ใช้ประกอบคาอื่นก็ได้ เช่น การพัฒนาประเทศ การพัฒนาชนบท การพัฒนาเมือง และการพัฒนา ข้าราชการ เป็นต้น การพัฒนาจึงถูกนาไปใช้กันโดยทั่วไปและมีความหมายแตกต่างกันออกไป ดังกล่าวแล้ว เกี่ยวกับความหมายของการพัฒนานั้นได้มีผู้ให้ความหมายไว้หลายความหมายทั้ง ความหมายที่คล้ายคลึงกัน และแตกต่างกัน ซึ่งอาจจาแนกออกได้เป็น 10 ลักษณะ คือ 2.1. ความหมายจากรูปศัพท์ โดยรูปศัพท์ การพัฒนา มาจากคาภาษาอังกฤษว่า Development แปลว่า การ เปลี่ยนแปลงที่ละเล็กละน้อย โดยผ่านลาดับขั้นตอนต่างๆ ไปสู่ระดับที่สามารถขยายตัวขึ้น เติบโต ขึ้น มีการปรับปรุงให้ดีขึ้น และเหมาะสมกว่าเดิมหรืออาจก้าวหน้าไปถึงขั้นที่อุดมสมบูรณ์เป็นที่น่า พอใจ ส่วนความหมายจากรูปศัพท์ในภาษาไทยนั้น หมายถึง การทาความเจริญ การเปลี่ยนแปลง ในทางที่เจริญขึ้น การคลี่คลายไปในทางที่ดี ถ้าเป็นกริยา ใช้คาว่า พัฒนา หมายความว่า ทาให้ เจริญ คือ ทาให้เติบโตได้ งอกงาม ทาให้งอกงามและมากขึ้น เช่น เจริญทางไมตรี การ พัฒนา โดยความหมายจากรูปศัพท์จึงหมายถึง การเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เกิดความ เจริญเติบโตงอกงามและดีขึ้นจนเป็นที่พึงพอใจ ความหมายดังกล่าวนี้ เป็นที่มาของความหมายใน ภาษาไทยและเป็นแนวทางในการกาหนดความหมายอื่นๆ 2.2. ความหมายโดยทั่วไป การพัฒนา ที่เข้าใจโดยทั่วไป มีความหมายใกล้เคียงกับความหมายจากรูปศัพท์ คือ หมายถึง การทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพหนึ่งไปสู่อีกสภาพหนึ่งที่ดีกว่าเดิมอย่างเป็น ระบบ หรือการทาให้ดีขึ้นกว่าสภาพเดิมที่เป็นอยู่อย่างเป็นระบบ ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบทางด้าน คุณภาพระหว่างสภาพการณ์ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งในช่วงเวลาที่ต่างกัน กล่าวคือ ถ้าในปัจจุบัน สภาพการณ์ของสิ่งนั้นดีกว่า สมบูรณ์กว่าก็แสดงว่าเป็นการพัฒนา การพัฒนา ในความหมายโดยทั่วไปจึงหมายถึงการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เกิดคุณภาพดีขึ้น กว่าเดิม ความหมายนี้ นับว่าเป็นความหมายที่รู้จักกันโดยทั่วไป เพราะนามาใช้มากกว่าความหมาย อื่นๆ แม้ว่าจะไม่เป็นที่ยอมรับของนักวิชาการก็ตาม 2.3. ความหมายทางเศรษฐศาสตร์ นักเศรษฐศาสตร์ได้ให้ความหมายของ การพัฒนา ว่า หมายถึง ความเจริญเติบโต โดยเน้น ความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจเป็นสาคัญ เช่น ผลผลิตรวมของประเทศเพิ่มขึ้น รายได้ ประชาชาติเพิ่มขึ้น รายได้เฉลี่ยต่อหัวต่อคนของประชากรเพิ่มขึ้น มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจมาก ขึ้น ประชากรมีรายได้เพียงพอที่สามารถตอบสนองความต้องการพื้นฐานของตนได้ ซึ่งอาจสรุปได้ ว่า การพัฒนา เป็นกระบวนการทางสังคม ที่ผลผลิตออกมาในรูปซึ่งสามารถวัดได้ด้วยเกณฑ์ทาง เศรษฐศาสตร์
  • 12. 5 จะเห็นได้ว่า นักเศรษฐศาสตร์ได้กาหนดความหมายของการพัฒนา โดยใช้ความหมายจาก รูปศัพท์และความหมายโดยทั่วไป คือ หมายถึง ความเจริญเติบโต แต่เป็นความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ ตามเนื้อหาของวิชาเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเป็นการเน้นความหมายเชิงปริมาณ คือ การ เพิ่มขึ้น หรือการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากกว่าด้านอื่นๆ 2.4. ความหมายทางพัฒนบริหารศาสตร์ นักพัฒนาบริหารศาสตร์ได้ให้ความหมายของ การพัฒนา เป็น 2 ระดับ คือ ความหมาย อย่างแคบและความหมายอย่างกว้าง ความหมายอย่างแคบ การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ในตัวระบบการกระทาการให้ดีขึ้นอันเป็นการเปลี่ยนแปลงในด้านคุณภาพเพียงด้านเดียว ส่วน ความหมายอย่างกว้างนั้น การพัฒนา เป็นกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงในตัวระบบการกระทา ทั้งด้านคุณภาพ ปริมาณและสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้นไปพร้อมๆ กัน ไม่ใช่ด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว การพัฒนา ในความหมายของนักพัฒนบริหารศาสตร์จะมีขอบข่ายกว้างขวางกว่าความหมาย จากรูปศัพท์ ความหมายโดยทั่วไป และความหมายทางเศรษฐศาสตร์ที่กล่าวมาแล้ว เพราะ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ทั้งในด้านคุณภาพ (ดีขึ้น) ปริมาณ (มากขึ้น) และ สิ่งแวดล้อม (มีความเหมาะสม) ไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดียว 2.5. ความหมายทางเทคโนโลยี ในทางเทคโนโลยี การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงระบบอุตสาหกรรม และการผลิต ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ด้วยนักวิทยาศาสตร์และนักประดิษฐ์ ทาให้สังคมเปลี่ยนแปลงจากสังคม ประเพณีนิยม เป็นสังคมสมัยใหม่ที่ทันสมัย หรือ การพัฒนา คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ของมนุษย์ด้วยเทคโนโลยีนั่นเอง จะเห็นได้ว่า ความหมายของ การพัฒนา ในทางเทคโนโลยีแตกต่างออกไปจากความหมาย ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น โดยหมายถึงการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ทันสมัยด้วยความเจริญก้าวหน้าทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งเป็นความหมายอีกแนวทางหนึ่ง 2.6. ความหมายทางการวางแผน ในทางการวางแผน การพัฒนา เป็นเรื่องเกี่ยวกับการชักชวน การกระตุ้นเพื่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง ด้วยการปฏิบัติตามแผนและโครงการอย่างจริงจัง เป็นไปตามลาดับขั้นตอนต่อเนื่องกัน เป็นวงจร โดยไม่มีการสิ้นสุด ซึ่งองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ง สหประชาชาติ (The United National Educational, Scientific and cultural Organizati on : UNESCOสรุปได้ว่า การพัฒนาเป็นหน้าที่ (Function) ของการวางแผนและการจัดการ ดังนี้ D = f (P+M) เมื่อ D = Development คือ การพัฒนา P = Planning คือ การวางแผน
  • 13. 6 M = Management คือ การบริหารงานหรือการจัดการ ดังนั้น การพัฒนา จะเกิดขึ้นได้ด้วยการวางแผนที่ดี มีการบริหารงานและการจัดการอย่าง เป็นระบบ ทาให้การดาเนินการเป็นไปอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ การพัฒนา ในความหมายของนักวางแผน จะเป็นไปอีกแนวทางหนึ่ง โดยอาจสรุปได้ ว่า หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของมนุษย์ไว้ล่วงหน้า ในลักษณะของแผน และโครงการ แล้วบริหารหรือจัดการให้เป็นไปตามแผนและโครงการจนประสบความสาเร็จตาม วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วางไว้ จะเห็นได้ว่าความหมายของการพัฒนาทางการวางแผนกาหนดให้ การพัฒนาเป็นกิจกรรมของมนุษย์และเกิดขึ้นจากการเตรียมการไว้ล่วงหน้าเท่านั้น การเปลี่ยนแปลง ที่ไม่ได้เกิดจากการวางแผนโดยมนุษย์ ไม่ใช่การพัฒนาในความหมายนี้ 2.7. ความหมายเกี่ยวกับการปฏิบัติ ในขั้นของการปฏิบัติ การพัฒนา หมายถึง การชักชวนหรือการกระตุ้นให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงโดยการปฏิบัติตามแผนและโครงการอย่างจริงจังและเป็นลาดับขั้นตอนต่อเนื่องกันใน ลักษณะที่เป็นวงจร ไม่มีการสิ้นสุด การพัฒนา ในความหมายของการปฏิบัติการนี้เป็นความหมายต่อเนื่องจากความหมาย ทางการวางแผนโดยมุ่งเน้นถึงการนาแผนและโครงการไปดาเนินการอย่างจริงจังและอย่าง ต่อเนื่อง เพราะถึงจะมีแผนและโครงการแล้วแต่ถ้าหากไม่มีการนาไปปฏิบัติการพัฒนาก็ไม่สามารถ เกิดขึ้นได้ 2.8. ความหมายทางพระพุทธศาสนา พระราชวรมุนี ได้ให้ความหมายและอธิบายไว้ว่า ในทางพุทธศาสนา การพัฒนา มาจากคา ภาษาบาลีว่า วัฒนะ แปลว่า เจริญ แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ การพัฒนา คน เรียกว่า ภาวนา กับการพัฒนาสิ่งอื่นๆ ที่ไม่ใช่คน เช่น วัตถุสิ่งแวดล้อม ต่างๆ เรียกว่า พัฒนา หรือ วัฒนา เช่น การสร้างถนน บ่อน้า อ่างเก็บน้า เป็นต้น ซึ่งเป็นเรื่อง ของการเพิ่มพูนขยาย ทาให้มากหรือทาให้เติบโตขึ้นทางวัตถุและได้เสนอข้อคิดไว้ว่า คาว่า การ พัฒนา หรือ คาว่า เจริญ นั้นไม่ได้แปลว่าทาให้มากขึ้น เพิ่มพูนขึ้นอย่างเดียวเท่านั้น แต่มี ความหมายว่า ตัดหรือทิ้ง เช่น เจริญพระเกศา คือตัดผม มีความหมายว่า รก เช่น นุสิยา โลกวฑฺฒ โน แปลว่า อย่างเป็นคนรกโลกอีกด้วย ดังนั้น การพัฒนาจึงเป็นสิ่งที่ทาแล้วมีความเจริญจริงๆ คือ ต้องไม่เกิดปัญหาติดตามมาหรือไม่เสื่อมลงกว่าเดิม ถ้าเกิดปัญหาหรือเสื่อมลง ไม่ใช่เป็นการ พัฒนา แต่เป็นหายนะ ซึ่งตรงกันข้ามกับการพัฒนา กล่าวได้ว่า การพัฒนา ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึง การพัฒนาคนให้มีความสุขมี สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม การพัฒนาในความหมายนี้ มีลักษณะเดียวกันกับการพัฒนาใน ความหมายทางด้านการวางแผน คือ เป็นเรื่องของมนุษย์เท่านั้น แตกต่างกนเพียงการวางแผนให้ ความสาคัญที่วิธีการดาเนินงาน ส่วนพุทธศาสนามุ่งเน้นผลที่เกิดขึ้น คือ ความสุขของมนุษย์เท่านั้น ) 2.9. ความหมายทางสังคมวิทยา
  • 14. 7 นักสังคมวิทยาได้ให้ความหมายของ การพัฒนา ว่า เป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ สังคม ซึ่งได้แก่ คน กลุ่มคน การจัดระเบียบความสัมพันธ์ทางสังคม ด้วยการจัดสรรทรัพยากรของ สังคมอย่างยุติธรรมและมีประสิทธิภาพ การพัฒนา เป็นทั้งเป้าหมายและกระบวนการที่ครอบคลุมถึง การเปลี่ยนแปลงทัศนคติของคนต่อชีวิตและการทางาน การเปลี่ยนแปลงสถาบันต่างๆ ทาง สังคม วัฒนธรรมและการเมืองอีกด้วย นักสังคมวิทยาได้ให้ความหมายของ การพัฒนา โดยเน้นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ สังคม คือ มนุษย์ กลุ่มทางสังคม การจัดระเบียบทางสังคม ซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับความหมาย ในทางพุทธศาสนา คือ การเปลี่ยนแปลงมนุษย์และสิ่งแวดล้อมให้มีความสุข และมีลักษณะ เช่นเดียวกับความหมายทางการวางแผน คือ ด้วยวิธีการจัดสรรทรัพยากรของสังคมอย่างยุติธรรม และมีประสิทธิภาพ ซึ่งนักวางแผน เรียกว่า การบริหารและการจัดการนั่นเอง 2.10. ความหมายทางด้านการพัฒนาชุมชน นักพัฒนาชุมชนได้ให้ความหมายของ การพัฒนา ไว้ว่า หมายถึง การที่คนในชุมชนและ สังคมโดยส่วนรวมได้ร่วมกันดาเนินกิจกรรมเพื่อปรับปรุงความรู้ความสามารถของตนเอง และร่วมกัน เปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตของตนเองชุมชนสังคมให้ดีขึ้น การพัฒนาเป็นเสมือนกลวิธีหรือมรรควิธี (Mean) ที่ทาให้เกิดผล (Ends) ที่ต้องการ คือ คุณภาพชีวิต ชุมชน และสังคมดีขึ้น นักพัฒนาชุมชนได้ให้ความหมายของ การพัฒนา ไว้ใกล้เคียงกับนักสังคมวิทยา คือ เป็น วิธีการเปลี่ยนแปลงมนุษย์และสังคมมนุษย์ให้ดีขึ้น แต่นักพัฒนาชุมชนมุ่งเน้นที่มนุษย์ในชุมชนต้อง ร่วมกันดาเนินงานและได้รับผลจากการพัฒนาร่วมกัน จากความหมายในด้านต่างๆ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นได้ว่า การพัฒนา มีความหมาย ที่คล้ายคลึงกันและแตกต่างการออกไปบ้าง ซึ่งถ้าหากพิจารณาจากความหมายเหล่านี้อาจสรุปได้ ว่า การพัฒนา หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ดีขึ้น ทั้งทางด้าน คุณภาพ ปริมาณ และสิ่งแวดล้อม ด้วยการวางแผนโครงการและดาเนินงานโดยมนุษย์ เพื่อ ประโยชน์แก่ตัวของมนุษย์เอง
  • 15. 8 บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา วัสดุอุปกรณ์ 1.ไม้กวาด 2.ที่ตักขยะ 3.ที่ขัดห้องน้า 4.ถังน้า 5.น้ายาล้างห้องน้า 6.ถุงดา วิธีดาเนินการศึกษา มีดังนี้ 1.รวมกลุ่มและกาหนดหัวข้อในการทาโครงการ 2.สารวจสถานที่และหางบประมาณในการทาโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด 3.ไปคุยกับทางวัดเขาเม็งอมรเมรศ์ในเรื่องที่จะยืมสถานที่วัดในการทาโครงการจิตอาสา พัฒนาวัด 4.กาหนดวันที่จะไปทาโครงการ คือ วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2558 5.เตรียมอุปกรณ์ที่จะนาไปพัฒนาวัด 6.ไปทาโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด ณ วัดเขาเม็งอมรเมรศ์ 7. เขียนรายงาน พร้อมสรุป และอภิปรายผล 8. นาเสนอโครงการ บทที่ 4 ผลการศึกษา
  • 16. 9 1. สารวจสถานที่บริเวณวัดเขาเม็งอมรเมศร์ 2. ไปคุยกับทางวัดเขาเม็งอมรเมรศ์ในเรื่องที่จะยืมสถานที่วัดในการทาโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดใน วันที่ 22 สิงหาคม 2558 3. กาหนดวันที่จะไปทาโครงการ คือ วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2558 4. เตรียมอุปกรณ์ที่จะนาไปพัฒนาวัด 5. ไปทาโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด ณ วัดเขาเม็งอมรเมรศ์ 5.1 เก็บขยะบริเวณวัด 5.2 กวาดลานวัด
  • 18. 11 5.4.1 ก่อนล้าง 5.4.2 หลังล้าง 5.5 กวาดบริเวณ บันไดทางขึ้น
  • 21. 14 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 5.1. สรุป อภิปรายผล โครงการ “ จิตอาสาพัฒนาวัด “ ได้ดาเนินกิจกรรมสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ตามวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้ โดยโครงการนี้จัดขึ้นที่ วัดเขาเม็งอมรเมศร์ ภายในกิจกรรมมีการ เก็บขยะ กวาดลานวัด กวาดถนนภายในวัด ล้างห้องน้า กวาดบริเวณบันไดทางขึ้น เป็นการปลูกฝังและสร้างจิตสานึกและ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทั้งนี้เนื่องจากได้รับความร่วมมือจากเพื่อนๆ พี่ๆ น้องๆ และสมาชิกในกลุ่มของข้าพเจ้าทาให้ โครงการนี้สาเร็จไปได้ด้วยดีและนอกจากนี้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมก็ยังได้ความสุข ความสบายใจ ในการทา กิจกรรมครั้งนี้ 5.2. ข้อเสนอแนะ ควรเชิญชวนเพื่อนๆพี่ๆน้องๆให้มากกว่านี้
  • 23. 16 ภาพที่ 6.2 ก่อนล้างห้องน้า ภาพที่ 6.3 กวาดพื้นหน้าห้องน้า
  • 24. 17 ภาพที่ 6.4 ทาการล้างห้องน้า ภาพที่ 6.5 หลังล้างห้องน้าเสร็จ
  • 25. 18 ภาพที่ 6.6 หลังล้างพื้นหน้าห้องน้า ภาพที่ 6.7 พาเพื่อนๆไปทาความสะอาดบริเวณวัด
  • 29. 22 ภาพที่ 6.14 หลังจากกวาดบันไดเสร็จ ภาพที่ 6.15 เว็บไซต์ครงการ http://yulove7.wix.com/yoojirayu
  • 30. 23 บรรณานุกรม  ปณิธานของคณะบุคคลต่างสาขาอาชีพคณะหนึ่ง.2556.ความหมายของวัด.(ออนไลน์). แหล่งที่มา:http://www.phuttha.com/%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E 0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99/%E0%B8%A7% E0%B8%B1%E0%B8%94/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1 %E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%82%E0%B8%A D%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94 . 14 กันยายน 2558  พระอาจารย์สุทัศน์ รักแท้.2558.วัดเขาเม็งอมรเมศร์.(ออนไลน์). แหล่งที่มา:https://www.facebook.com/pages/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B 8%94%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B 9%87%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0% B8%A1%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B9%8C/551113248253526 . 14 กันยายน 2558  พระอนุรักษ์ อนีรกฺขิโต.2556.การพัฒนาวัด.(ออนไลน์). แหล่งที่มา:https://www.gotoknow.org/posts/530701 . 17 กันยายน 2558
  • 31. 24