SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 21
Baixar para ler offline
แร่ คือ ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ที่เกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติ มีโครงสร้างภายในที่เป็นระเบียบ มีสมบัติทางเคมี
และทางกายภาพที่แน่นอน
จากการศึกษาลักษณะของหินบางชนิด พบว่ามีผลึกกระจัด
กระจายอยู่ทั่วไปในเนื้อหินมีสีสันแตกต่างกันไป ผลึกเหล่านี้คือ
ผลึกแร่นั่นเอง
ส่วนมากแร่ที่อยู่ในหินมักจะมีลักษณะที่เป็นผลึกที่ไม่
สมบูรณ์แทบทั้งสิ้น เช่น แร่สีขาวใส แร่สีขาวขุ่น และดา ที่อยู่ใน
หินแกรนิตล้วนเป็นผลึกที่ไม่สมบูรณ์ เพราะหินหนืดในบริเวณนั้น
มีสารหลายชนิดปนกัน และตกผลึกในเนื้อที่จากัด ทาให้ผลึกของ
สารแต่ละอย่างไม่มีโอกาสขยายตัวได้เต็มที่ในทุกทิศทุกทางเม็ด
ทรายในหินทรายก็เป็นแร่เช่นกัน ส่วนมากมักจะมีลักษณะเป็น
เพียงเศษของผลึกเท่านั้นเพราะเม็ดทรายเกิดจากการแตกหักของ
แร่สีขาวใสในหินแกรนิตอีกต่อหนึ่ง
ในการตรวจแร่เพื่อจะบอกชนิดของแร่มักจะดูสมบัติต่าง ๆ
ซึ่งเป็นสมบัติเฉพาะตัวของแร่ มักจะพิจารณาดังนี้
สีของแร่สามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า แร่แต่ละชนิดอาจมีสีเหมือนกัน
หรือแตกต่างกัน และแร่ชนิดเดียวกันอาจมีหลายสีก็ได้ เช่น แร่คอรันดัม
ที่มีสีแดง ฟ้า ม่วง และเทา คือ ทับทิม สีน้าเงินคือ ไพลิน สีเขียวคือ
เขียวส่อง สีเหลืองคือ บุศราคัม เป็นต้น การที่แร่มีสีต่างกันเพราะมี
สารเจือปนต่างกัน
เป็นสีของผงละเอียดที่หลุดจากแร่ โดยการเอาแร่มาฝนลงบน
แผ่นกระเบื้องสีขาวที่ไม่ได้เคลือบ มีประโยชน์ในการวินิจฉัยแร่
โลหะ เนื่องจากแร่บางชนิดสีผงอาจต่างไปจากสีตัวแร่ เช่น
ไพไรต์ สีทอง แต่สีผงสีเทาแกมเขียว
ความวาว คือลักษณะผิวแร่ที่เกิดการสะท้อนแสงและหักเหแสง
แตกต่างกัน สังเกตได้โดยนาแร่ชนิดนั้นไปส่องดูกับแสง แบ่งออก
ได้เป็น 3 พวก คือ
1.ความวาวแบบโลหะ (metallic luster)
2.ความวาวแบบอโลหะ (non-metallic luster)
3.ความวาวแบบกึ่งโลหะ (sub-metallic luster)
ไพไรต์ (pyrite) แมกนีไทต์ (magnetite) ทองคา (gold)
โครเมียม (chromium) แมงกานีส (manganese)
 วาวแบบแก้ว (vitreous luster) เช่น ควอตซ์
 วาวแบบเพชร (adamentine luster) เช่น เพชร
 วาวแบบยางสน (resinous luster) หรือวาวแบบไข (waxy luster)
 วาวแบบมุก (pearly luster) เช่น มัสโคไวต์
 วาวแบบอาบน้ามัน (greasy luster) เช่น โอปอ
 วาวแบบใยไหม (silky luster) เช่น แร่ใยหิน
 ด้านเหมือนดิน (earthy luster หรือ dull luster) เช่น ดินขาว
อิลเมไนต์ (ilmenite) โครไมต์ (chromite)
ความโปร่งแสง ดูจากลักษณะแสงที่ผ่านไปได้ จาแนกออกเป็น 3 แบบ คือ
1.โปร่งใส (transparent) คือ ความโปร่งที่สามารถมองทะลุผ่านได้ เช่น หินเขี้ยว
หนุมาน (rock crystal)
2.โปร่งแสง (translucent) คือ ความโปร่งที่ยอมให้แสงทะลุผ่านได้อย่างเดียว
เช่น คาลซิโดนี (chalcedony)
3.ทึบแสง (opaque) คือ ไม่ยอมให้แสงและสายตาผ่านได้ เช่น ควอตซ์สีขาวขุ่น
แนวแตกของแร่จะขนานไปตามผิวหน้าของแร่เสมอ แร่ต่าง ๆ อาจมี
แนวแตกได้หลายทิศทาง
ไมกา
แคลไซต์
ออร์โทเคลส กาลีนา
ฟลูออไรต์
ผลึกประกอบด้วยหน้าผลึก ซึ่งจัดเรียงกันอย่างมีระเบียบ และสัมพันธ์กับ
โครงสร้างการจับกันของอะตอม มุมระหว่างหน้าผลึกที่ติดกันคงตัว
การเกิดผลึกที่สมบูรณ์ ผลึกที่สมบูรณ์ คือ ผลึกที่มีรูปทรงมีเหลี่ยมมุม
ครบถ้วนตามธรรมชาติของแร่แต่ละชนิด การเกิดผลึกที่สมบูรณ์จะต้องมี
ปัจจัยดังนี้
 มีปริมาณของสารละลายมากพอ
 มีความเข้มข้นพอเหมาะ
 มีแกนให้ผลึกเกาะ
 มีเนื้อที่มากพอที่จะให้ผลึกโตได้เต็มที่ในทุกทิศทุกทาง
ตัวอย่างผลึกของแร่
รอยแตก คือ ผิวแตกของแร่ไม่สม่าเสมอ ไม่มีทิศทางแน่นอน มีหลายลักษณะ
รอยแตกโค้งเว้า (Conchoidal) รอยแตกแบบเสี้ยน (Splintery) รอยแตกหยักแหลม (Hackly)
รอยแตกขรุขระ (Uneven) รอยแตกเรียบ (Even)
ความแข็ง หมายถึงความคงทนของแร่ต่อการขูดขีดหรือขูดวัตถุอื่น
ได้มากน้อยเพียงใด ซึ่งไม่สามารถบอกได้ว่าแร่แต่ละชนิดมีความแข็ง
เป็นค่าเท่าไรแต่บอกได้โดยการทดสอบความแข็งของแร่ และ
เปรียบเทียบกับแร่มาตรฐาน10 แร่ โดยแร่ที่มีความแข็ง 1 จัดว่าเป็น
แร่ที่อ่อนที่สุด ส่วนแร่ที่มีความแข็ง 10 จัดว่าเป็นแร่ที่แข็งที่สุด
ความแข็ง ลาดับความแข็ง ชื่อแร่ ผลการขูดขีด
อ่อนที่สุด
แข็งที่สุด
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ทัลก์
ยิปซัม
แคลไซต์
ฟลูออไรด์
อะพาไทต์
ออร์โทเคลส
ควอร์ตซ์
โทแพช
คอรันดัม
เพชร
เล็บขูดเข้า อ่อนลื่นมือ
เล็บขูดเข้าผิวฝืดมือ
เหรียญทองแดงขีดให้เป็นรอยได้
มีดหรือตะไบขูดเป็นรอย
กระจกขีดเป็นรอยได้เล็กน้อย
ขีดกระจกให้เป็นรอยบนกระจกได้
ใบมีดขูดไม่เข้า แต่ขีดกระจกเป็นรอยได้ง่าย
ขีดแร่ที่แข็ง 1 – 7 เป็นรอยได้
ขีดแร่ที่แข็ง 1 – 8 เป็นรอยได้
ขีดแร่ที่แข็ง 1 – 9 เป็นรอยได้
ตารางแสดงสมบัติของแร่ด้านความแข็ง
ความถ่วงจาเพาะ เป็นอัตราส่วนระหว่างน้าหนักของสสารต่อ
น้าหนักของน้า ณ อุณหภูมิหนึ่งๆ (โดยปกติเป็นอุณหภูมิ 20 C) ถ้า
หากแร่ชนิดหนึ่งมีน้าหนัก 2.5 เท่า ของน้าที่มีปริมาตรเท่ากัน แสดง
ว่า แร่ชนิดนั้นมีความถ่วงจาเพาะ 2.5 ความถ่วงจาเพาะมักเรียกโดย
ย่อว่า “ถ.พ.” แร่ทั่วไปมี ถ.พ.ประมาณ 2.7 ส่วนแร่โลหะจะมี
ถ.พ.มากกว่า เช่น แร่ทองมี ถ.พ. 19, แร่เงินมี ถ.พ. 10.5, แร่
ทองแดงมี ถ.พ. 8.9 เป็นต้น
ครูมณีรัตน์ กาลสุวรรณ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาsoysuwanyuennan
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaThanyamon Chat.
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์Biobiome
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8Varin D' Reno
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกsoysuwanyuennan
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีsoysuwanyuennan
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีsoysuwanyuennan
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxSumarin Sanguanwong
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์Wichai Likitponrak
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 

Mais procurados (20)

ดิน
ดินดิน
ดิน
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์สารสังเคราะห์
สารสังเคราะห์
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
 
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocxใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
ใบความรู้เรื่องการแพร่และออสโมซิสDocx
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 

Mais de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Mais de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

แร่