SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 30
Baixar para ler offline
โครงงาน
                  เว็บไซต์โทษของบุหรี่


                       ครู ที่ปรึ กษา

                นาย ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม


                         สมาชิก

          นาย ชนุตร์        เจียมจิระพร
          นาย ศรัณย์        ศิรินิคม
          นาย จีรพัฒน์      กุลธนวิวฒน์
                                    ั
          นายพีรพล          รัตนผล


            ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555
โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี
โครงงาน
                  เว็บไซต์โทษของบุหรี่


                       ครู ที่ปรึ กษา

                นาย ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม


                         สมาชิก

          นาย ชนุตร์        เจียมจิระพร
          นาย ศรัณย์        ศิรินิคม
          นาย จีรพัฒน์      กุลธนวิวฒน์
                                    ั
          นายพีรพล          รัตนผล


            ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555
โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี
สารบัญ


             เรื่ อง                                                            หน้า
           บทคัดย่อ                                                              ก
      กิตติกรรมประกาศ                                                            ข
            บทที่ 1               บทนา
                                  ที่มาละความสาคัญ                               1
                                  จุดประสงค์                                     1
                                  ผลที่ได้รับ                                    1
           บทที่ 2                เอกสารที่เกี่ยวข้อง                            2
        ประวัติของบุหรี่
                                  ประวัติความเป็ นมาของบุหรี่                    2
                                  การสูบบุหรี่ ในประเทศไทย                       2
                                  ชนิดของยาสูบ                                   3
                                  ลักษณะบุหรี่                                   3
                                  สารเคมีในบุหรี่                                4
กลยุทธ์รับมือกับอาการอยากบุหรี่
                                  กลยุทธ์รับมือกับอาการอยากบุหรี่                4
                โทษของบุหรี่

                                  พิษจากควันบุหรี่                               5
                                  โทษของการสูบบุหรี่                             6
      องค์กรร่ วมต้านบุหรี่

                                  มูลนิธิรณรงค์ช่วยให้เลิกบุหรี่ และสารเสพติด    7
          ประวัติ google site

                                              ประวัติ google site                8
สารบัญ(ต่อ)
  บทที่ 3       การดาเนินการ
                วิธีการดาเนินงาน                  13
                การดาเนินงาน                      13
                วิธีการทา google site             14
                เว็บไซต์ที่จดทาขึ้น
                            ั                     16
  บทที่ 4       ผลการดาเนินการ
                สรุ ปผลการดาเนินงาน               17
  บทที่ 5       สรุ ปการดาเนินการ อภิปรายผล การ
                ดาเนินงาน
บทที่ 5 (ต่อ)   สรุ ปผลการศึกษา                   18
                อภิปรายผล                         18
                ปัญหาและอุปสรรค                   18
                ข้อเสนอแนะ                        18
บรรณนุกรรม                                        19
 ภาคผนวก                                          20
  ผูจดทา
    ้ั                                            24
ก


                                             บทคัดย่อ


        โครงงานเรื่ อง เว็บไซต์โทษของบุหรี่ จัดทาโดยมีวตถุประสงค์ต่าง ๆ ดังนี้ เพื่อเผยแพร่ โทษและ
                                                       ั
ลักษณะของบุหรี่ เพื่อเป็ นการให้ความรู้ถึงโทษของการสูบบุหรี่ แก่บุคคลอื่น ๆ และเพื่อเผยโรคต่าง ๆ ของ
การสูบบุหรี่ แก่บุคคลอื่น ๆ

        การดาเนินโครงงาน สามารถนาไปเผยแพร่ ได้จริ ง โดยใช้อินเตอร์เน็ตในการเผยแพร่ เพื่อประโยชน์
แก่บุคคลทัว ๆ ไปที่อยากทราบในเนื้อหาเพิ่มเติม ในบุคคลที่ไม่เคยรู้
          ่
ข


                                       กิตติกรรมประกาศ


         โครงงานเรื่ องเว็บไซต์โทษของบุหรี่ สาเร็ จลงได้ดวยความอนุเคราะห์จากบุคคลต่าง ๆ คณะผูจดทา
                                                         ้                                   ้ั
ขอกราบขอบคุณ ผูปกครองของคณะผูจดทาที่ได้ช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และยังช่วยเหลือในเรื่ องให้
               ้             ้ั
คาแนะนาในโครงงานเรื่ องนี้ ขอขอบพระคุณ ทุกท่านที่ได้ให้ความแนะนาโครงงานนี้ และช่วยเหลือในสิ่ง
ต่าง ๆ

                                                                                       คณะผูจดทา
                                                                                            ้ั
1

                                                บทที่ 1

                                                บทนา
ที่มาละความสาคัญ

         เนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบนมีจานวนผูติดบุหรี่ มาก ๆ ขึ้น และช่วงปัจจุบนมีการติดบุหรี่ มากจนถึง
                                   ั ํ         ้                              ั
ช่วงเด็กที่กาลังศึกษาอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจนถึงผูสูงอายุ และในแต่ละปี มีผที่เสียชีวิตจากโรคต่าง
             ํ          ่                                  ้                     ู้
ๆ ที่ก่อจากบุหรี่ และมีความคาดว่าน่ามีความสูงขึ้น และความคาดว่าการติดบุหรี่ จะมากขึ้นไปเรื่ อย ๆ แล้ว
กลุ่มของข้าพเจ้าจึงเล็งเห็นปัญหาทางสังคมเรื่ องนี้ และกลุ่มของข้าพเจ้าไปศึกษาการสร้างเว็บไซต์จาก
โปรแกรมสร้างเว็บออนไลน์คือ Google site โดยที่ไม่ตองเสียค่าใช้จ่าย
                                                      ้

จุดประสงค์

    1. เพื่อเผยแพร่ โทษและลักษณะของบุหรี่
    2. เพื่อเป็ นการให้ความรู้ถึงโทษของการสูบบุหรี่ แก่ บุคคลอื่น ๆ
    3. เพื่อเผยโรคต่าง ๆ ของการสูบบุหรี่ แก่บุคคลอื่น ๆ



ผลที่ได้ รับ

1. มีผเู้ ข้าชมเว็บไซต์โทษของบุหรี่ ผานทางด้านอินเตอร์เน็ต
                                     ่
2. มีผที่รู้ถึงโทษของบุหรี่
       ู้
2

                                                  บทที่ 2

                                           เอกสารที่เกี่ยวข้ อง
    1. ประวัตของบุหรี่
             ิ

1.1 ประวัตความเป็ นมาของบุหรี่
          ิ
       ชาวอินเดียนแดงซึ่งเป็ นชนพื้นเมืองในทวีปอเมริ กา ได้เริ่ มต้นใช้ยาสูบเป็ นพวกแรก โดยปลูกยาสูบเพื่อ
ใช้เป็ นยาและนํามาสูบในพิธีกรรมต่างๆ ใน พ.ศ. ๒๐๓๕ เมื่อคริ สโตเฟอร์ เดินเรื อไปขึ้นฝั่งที่ซนซัลวาดอร์ ใน
                                                                                           ั
หมู่เกาะเวสต์อินดีส์น้ น ได้เห็นชาวพื้นเมืองนําเอาใบไม้ชนิดหนึ่งมามวนและจุดไฟตอนปลายแล้วดูดควัน
                       ั
ต่อมา พ.ศ. ๒๐๙๑ มีการปลูกยาสูบในบราซิลซึ่งเป็ นอาณานิคมของโปรตุเกสในทวีปอเมริ กาใต้ เพื่อเป็ นสินค้า
ส่งออก เป็ นผลให้ยาสูบแพร่ หลายเข้าไปในประเทศโปรตุเกสและสเปนตามลําดับ ต่อมาใน พ.ศ. ๒๑๐๓
นายฌอง นิโกต์ (Jean Nicot) เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจําประเทศโปรตุเกส ได้ส่งเมล็ดยาสูบมายังราชสํานัก
ฝรั่งเศส ชื่อของนายนิโกต์จึงเป็ นที่มาของชื่อสารนิโคติน (Nicotin) ที่รู้จกกันในปัจจุบน ใน พ.ศ. ๒๑๐๗ เซอร์
                                                                         ั           ั
จอห์น ฮอคกินส์ (Sir John Hawkins) ได้นายาสูบเข้าไปในประเทศอังกฤษ และใน พ.ศ. ๒๑๕๕ นายจอห์น
                                      ํ
รอลฟ์ (John Rolfe) ชาวอังกฤษ ประสบผลสําเร็ จในการปลูกยาสูบเชิงพาณิ ชย์ เป็ นครั้งแรก และ ๗ ปี ต่อมา ก็
ได้ส่งออกผลผลิตไปยังประเทศอาณานิคมเป็ นจํานวนมหาศาล อีก ๒๐๐ ปี ต่อมา การทําไร่ ยาสูบเชิงพาณิ ชย์จึง
เกิดขึ้นอย่างแพร่ หลายทัวโลก
                        ่

1.2 การสู บบุหรี่ในประเทศไทย
       ในประเทศไทยมีการใช้ยาสูบตั้งแต่สมัยอยุธยาแล้ว โดยมีหลักฐานจากจดหมายเหตุของ เมอร์ซิเออร์
เดอลาลูแบร์ (Monsieur De La Loub•re) อัครราชทูตฝรั่งเศสที่เดินทางมาเมืองไทยสมัยสมเด็จพระ
นารายณ์มหาราช เมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๐ ได้เขียนเล่าเรื่ องประเทศสยามว่า คนไทยชอบใช้ยาสูบอย่างฉุนทั้งผูชาย
                                                                                             ้
และผูหญิง โดยได้ยาสูบมาจากเมืองมะนิลา ในหมู่เกาะฟิ ลิปปิ นส์ จากประเทศจีน และที่ปลูกในประเทศเอง
     ้
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหนาทราชดุรงค์ฤทธิ์ได้ทรง
                                       ่ ั
ประดิษฐ์บุหรี่ กนป้ านขึ้น เพื่อสูบควันและอมยากับหมากพร้อมกัน ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ
                ้
จุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว มีการผลิตบุหรี่ ข้ ึนโดยบริ ษทที่มีชาวอังกฤษ เป็ นเจ้าของได้เปิ ดดําเนินการเป็ นบริ ษท
                  ่ ั                             ั                                                       ั
แรกใน พ.ศ. ๒๔๖๐ การผลิตบุหรี่ ในระยะแรกจะมวนด้วยมือ ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ
เกล้าเจ้าอยูหว มีการนําเครื่ องจักรเข้ามาจากประเทศเยอรมนี และทําการผลิตบุหรี่ ออกมาจําหน่ายหลายยีหอ
            ่ ั                                                                                  ่ ้
3

การสูบบุหรี่ จึงแพร่ หลายมากขึ้น จนกระทังใน พ.ศ. ๒๔๘๒ รัฐบาลได้จดตั้งโรงงานยาสูบขึ้น โดยซื้อ
                                        ่                       ั
กิจการมาจากห้างหุนส่วนบูรพายาสูบ จํากัด (สะพานเหลือง) ถนนพระราม ๔ กรุ งเทพฯ และดําเนินกิจการ
                 ้
อุตสาหกรรมยาสูบภายใต้การควบคุมของกรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง หลังจากนั้น รัฐบาลได้ซ้ือ
กิจการของบริ ษทกวางฮก บริ ษทฮอฟฟัน และบริ ษทบริ ติชอเมริ กนโทแบกโคเพิ่มขึ้น แล้วรวมกิจการ
              ั            ั               ั              ั
ทั้งหมดเข้าด้วยกัน และดําเนินการภายใต้ชื่อว่าโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง มาจนถึงปัจจุบน
                                                                                     ั

         2. บุหรี่

2.1 ชนิดของยาสู บ
        ยาสูบที่ใช้กนอยูมีหลายรู ปแบบ ทั้งแบบสูด แบบดม แบบอมและเคี้ยว
                    ั ่
        - แบบสูด โดยกระทําให้เกิดการเผาไหม้ใบยาสูบซึ่งอยูในรู ปของบุหรี่ หรื อซิการ์ (cigar) ที่ใช้ใบยาสูบ
                                                               ่
มวนผงใบยาสูบอยูภายใน หรื อไปป์ (pipe) ที่บรรจุใบยาไว้ในกล้องยาสูบ แล้วจุดไฟให้เกิดการเผาไหม้ แล้ว
                     ่
ผูสูบสูดควันเข้าสู่ร่างกาย
  ้
       - แบบดม โดยบดใบยาสูบให้ละเอียด แล้วผสมในรู ปของยานัตถุ์
       - แบบอมและเคี้ยว โดยนําใบยาสูบแห้งมาหันเป็ นฝอย นํามาเคี้ยวแล้วอมอยูระหว่างริ มฝี ปากกับเหงือก
                                                     ่                         ่
บางครั้งเรี ยกว่า บุหรี่ ไร้ควัน
 ยาสูบส่วนใหญ่มีการใช้สารเคมีเพื่อปรุ งแต่งกลิ่นรส และเพื่อลดความระคายเคือง บุหรี่ ท่ีผลิตจากโรงงานจะ
ใช้สารเคมีปรุ งแต่งมากที่สุด นอกจากนี้ ยังมีสารเคมีที่ใช้ในการรักษาความชื้นของใบยาสูบ และสารป้ องกัน
เชื้อรา เพื่อให้เก็บบุหรี่ ได้นาน รวมทั้งสารเคมีที่ใช้ในการรักษาสภาพกระดาษที่ใช้มวนบุหรี่ อีกด้วย
2.2 ลักษณะบุหรี่

บุหรี่ มีลกษณะเป็ นทรงกระบอกม้วนห่อด้วยกระดาษ ขนาดปกติจะมีความยาวสั้นกว่า 120 มิลลิเมตร และ
          ั
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 มิลลิเมตร) มีใบยาสูบบดหรื อซอยบรรจุภายในห่อกระดาษ ปลายด้าน
หนึ่งเป็ นปลายเปิ ดสําหรับจุดไฟ และอีกด้านหนึ่งจะมีตวกรอง ไว้สาหรับใช้ปากสูดควัน คํานี้ปกติจะใช้
                                                    ั         ํ
หมายถึงเฉพาะที่บรรจุใบยาสูบภายใน แต่ในบางครั้งก็อาจใช้หมายถึงมวนกระดาษที่บรรจุสมุนไพรอื่น ๆ
เช่น กัญชา
บุหรี่ ต่างจาก ซิการ์ ตรงที่บุหรี่ น้ นมีขนาดเล็กว่า และใบยาสูบนั้นจะมีการบดหรื อซอย รวมทั้งกระดาษที่ห่อ
                                      ั
ซิการ์โดยปกติจะใช้ใบยาสูบทั้งใบ ซิการ์ชนิดที่มีขนาดเล็กพิเศษเท่าบุหรี่ เรี ยกว่าซิการ์ริลโล บุหรี่ เป็ นที่รู้จก
                                                                                                               ั
ในกลุ่มคนที่ใช้ภาษาอังกฤษตั้งแต่ก่อนสงครามแห่งครายเมีย เมื่อทหารแห่งจักรวรรดิองกฤษ เริ่ มเลียนแบบ
                                                                                       ั
การใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ห่อใบยาสูบ จากทหารตุรกีแห่งอาณาจักรออตโตมัน
4

2.3 สารเคมีในบุหรี่

        ไส้บุหรี่ น้ น ทําจากใบยาสูบตากแห้ง นําไปผ่านกระบวนการทางเคมี และมีการเพิ่มสารอื่น ๆ ควัน
                     ั
บุหรี่ ประกอบด้วยสารเคมีมากกว่า 4,000 ชนิด ซึ่งในจํานวนนั้นมีสารเคมีจานวนมากที่เป็ นสารพิษ สารที่
                                                                     ํ
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (en:mutagenic) และสารก่อมะเร็ ง (en:carcinogen) สารเคมีที่เป็ น
องค์ประกอบได้แก่
      อะซีโตน (Acetone)                               คาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon dioxide)
      อะลูมิเนียม (Aluminiam)                         คลอโรฟอร์ม (Chloroform)
      แอมโมเนีย (Ammonia)                             ทองแดง (Copper)
      สารหนู (Arsenic)                                ไซยาไนด์/ไฮโดรเจนไซยาไนด์ (Cyanide/Hydrogen cyanide)
      เบนซีน (Benzene)                                ดีดีที/ดีลดริ น (DDT/Dieldrin)
      บิวเทน (Butane)                                 เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethenol)
      แคดเมียม (Cadmium)                              ฟอร์มลดีไฮด์ (Formaldehyde)
                                                                ั
      คาเฟอีน (Caffeine)                              ตะกัว (Lead)
                                                             ่
      คาร์บอนมอนอกไซด์ (Carbon monoxide)


        3. กลยุทธ์ รับมือกับอาการอยากบุหรี่
ถ่วงเวลา (Delay)
เมื่ออยากสูบบุหรี่ อย่าเพิ่งเปิ ดซองบุหรี่ หรื อ จุดบุหรี่ เมื่อผ่านไป 5 นาทีผานไป ความอยากจะลดลง แล้ว
                                                                              ่
ความตั้งใจของคุณที่จะเลิกก็จะกลับมา
หายใจลึกๆ ช้าๆ (Deep breathe)
หายใจเข้าออกลึกๆ ช้าๆ 3 - 4 ครั้ง
ดื่มนํ้า (Drink water)
ค่อยๆจิบนํ้า และ อมไว้สกครู่ ให้รู้รสนํ้าแล้วจึงกลืนลงคอ
                            ั
เปลี่ยนอิริยาบถ (Do something else)
อย่าคิดเรื่ องการสูบบุหรี่ เปลี่ยนอิริยาบถไปทําอย่างอื่นเสีย เช่น ฟังเพลง ไปเดินเล่น หรื อ ไปหาเพื่อนฝูง
เพียงมวนเดียวก็ผลร้าย
ขอให้ใจแข็ง การกลับไปสูบบุหรี่ แม้เพียงมวนเดียวจะเป็ นผลทําให้กลับไปสูบใหม่ คุณต้องต่อสูกบความ   ้ ั
อยากให้ได้ การเลิกสูบบุหรี่ คือ การต่อสูกบความอยาก แม้กระทังบุหรี่ เพียงมวนเดียว และต่อสูกบจิตใจของ
                                            ้ ั                        ่                        ้ ั
คุณเอง
5

อดเป็ นวันๆไป
พยายามตั้งใจให้วนผ่านไปโดยไม่สูบบุหรี่ จําบุหรี่ มวนแรกของคุณได้ไหม? บางทีอาจจะทําให้คุณเวียนหัว
                       ั
ไม่สบาย ก็ได้ ทําดีต่อร่ างกายของคุณให้ปรับสภาพได้โดยไม่ตองมีนิโคติน
                                                                 ้
เครื่ องดื่มชา กาแฟ และเครื่ องดื่มประเภทโคล่า
เหล่านี้มคาเฟอีน แต่ไม่มีนิโคติน การที่ไม่มีนิโคตินทําให้ร่างกายดูดซึมคาเฟอีน เข้าไปมากกว่าธรรมดา ทํา
           ี
ให้กระวนกระวายและนอนไม่หลับ พยายามดื่มกาแฟให้นอยลง หรื อ ให้อ่อนลงหรื อดื่มเครื่ องดื่มคล้าย
                                                             ้
กาแฟ นํ้าเปล่า นํ้าผลไม้ หรื อไดเอ็ดโคล่าที่ไม่คาเฟอีน
เตือนสติตวเองั
เอาเหตุผลที่เลิกบุหรี่ ที่เคยจดไว้ออกมาดู และคิดถึงสิ่งที่อยากทําให้ฐานะผูไม่สูบบุหรี่
                                                                            ้
ปฏิเสธบุหรี่ จากผูอื่น
                     ้
อย่าเกรงใจเมื่อผูอื่นให้บุหรี่ คุณ คุณมีสิทธิปฏิเสธบุหรี่ โดยไม่ทาให้ใครเดือนร้อน
                   ้                                               ํ
เมื่อมือว่าง
พยายามใช้มือทําโน่นทํานี่อย่าปล่อยให้มือว่าง เอากุญแจมาขยํา หรื อนับลูกประคําก็ได้
การสูบบุหรี่ กบสิ่งเสพย์ติดอื่นๆ มีรายงานการวิจยแสดงให้เห็นว่า ผูที่เลิกสูบบุหรี่ จะไม่สามารถต้านทาน
                 ั                                 ั                  ้
ความอยากสูบบุหรี่ ได้เมื่อดื่มเหล้าเข้าไป เหล้าและสิ่งเสพย์ติดอื่นๆ จะทําให้คุณมีความอดทนต่อความอยาก
สูบบุหรี่ ได้นอยลง ดังนั้น ขอให้พยายามหลีกเลี่ยง เครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และสิ่งเสพย์ติดอื่นๆ สัก 2 - 3
               ้
สัปดาห์
พิษจากควันบุหรี่

        4. โทษของบุหรี่

4.1 พิษจากควันบุหรี่
บุหรี่ มีสารประกอบต่างๆ อยูประมาณ 4000 ชนิด มีสารก่อมะเร็ งไม่ต่ากว่า 42 ชนิด ซึ่งสารบางชนิดเป็ น
                                ่                                     ํ
อันตรายที่สาคัญ คือ
              ํ
1 . นิโคติน ( Nicotine ) เป็ นสารระเหยในควันบุหรี่ และเป็ นสารที่รุนแรงมากที่สุดอย่างหนึ่ง ละลายนํ้าได้ดี
ไม่มีสี ถ้าสูบบุหรี่ 1 มวน ร่ างกายจะได้รับนิโคตินในควันบุหรี่ 0.2 - 2 มิลลิกรัม หากมีอยูในร่ างกายถึง 70
                                                                                         ่
มิลลิกรัม จะทําให้ถึงแก่ความตายได้ มีผทดลองนํานิโคตินบริ สุทธิ์ เพียง 1 หยด ป้ ายลงบนผิวหนังกระต่าย มี
                                          ู้
ผลทําให้กระต่ายตัวนั้นช็อกอย่างรุ นแรงและถึงแก่ความตาย แม้จะไม่ได้เข้าสู่ภายในร่ างกายทางปากหรื อ
ทางลมหายใจ
     นิโคติน จะทําให้ไขมันในเส้นเลือดเพิ่มขึ้น เส้นเลือดหัวใจตีบและเกิดโรคหัวใจขาดเลือดหล่อเลี้ยง ทํา
ให้ความดันสูง หัวใจเต้นเร็ วทําลายเนื้อปอดและถุงลมปอดอีกด้วย
6

2 . ทาร์ ( Tar ) เป็ นคราบมันข้นเหนียว สีน้ าตาลแก่ เกิดจากการเผาไหม้ของกระดาษและใบยาสูบ จะทําลาย
                                            ํ
ถุงลมปอดทําให้เกิดโรคถุงลมโป่ งพอง หอบเหนื่อยง่าย ไอเรื้ อรัง และอาจทําให้เกิดโรคมะเร็ งบริ เวณเนื้อเยือ ่
ที่สมผัสกับสารนี้ ขณะสูบบุหรี่ ทาร์จะตกค้างอยูในปอด หลอดลมใหญ่ และหลอดลมเล็ก ประมาณร้อยละ
     ั                                           ่
90 จะขับออกมาพร้อมลมหายใจเพียงร้อยละ 10 เท่านั้น ดังนั้น ทาร์ จึงเป็ นตัวการทําให้เกิดโรคมะเร็ งปอด
ซึ่งเป็ นโรคที่ทรมานมากก่อนเสียชีวิต ในบุหรี่ 1 มวน มีทาร์ในปริ มาณต่างกันตั้งแต่ 2.0 มิลลิกรัม จนถึง 3.0
มิลลิกรัม แล้วแต่ชนิดของบุหรี่
3. คาร์บอนมอนอกไซด์ ทําให้เม็ดเลือดแดงไม่สามารถจับออกซิเจนได้เท่ากับเวลาปกติ เกิดการขาด
ออกซิเจนทําให้มึนงง ตัดสินใจช้า เหนื่อยง่ายซึ่งเป็ นสาเหตุสาคัญของโรคหัวใจ
                                                              ํ
4. ไฮโดรเจนไซยาไนด์ ก๊าซพิษ ทําลายเยือบุผวหลอดลมส่ วนต้น ทําให้ไอเรื้ อรัง มีเสมหะเป็ นประจํา
                                         ่ ิ
โดยเฉพาะตอน เช้า
5. ไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซพิษทําลายเยือบุหลอดลมส่วนปลาย และถุงลม ทําให้ผนังถุงลมบางโป่ งพอง
                                              ่
ถุงลมเล็กๆ หลายอันแตก รวมกันเป็ นถุงลมใหญ่ ทําให้เกิดโรคถุงลมโป่ งพอง
6. แอมโมเนีย มีฤทธิ์ระคายเคืองเนื้อเยือ ทําให้แสบตา แสบจมูก หลอดลมอักเสบ ไอมีเสมหะมาก
                                      ่
7. สารกัมมันตรังสี ควันบุหรี่ มีสารโพโลเนียม 210 ที่มีรังสีอลฟาอยู่ เป็ นสาเหตุของโรคมะเร็ งปอด
                                                            ั

4.2 โทษของการสู บบุหรี่
โทษของการสูบบุหรี่ มีดงนี้ ั
1. เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
2. ฟันเหลือง ตาแดง เล็บเขียว
3. มีกลิ่นตัวและกลิ่นปากรุ นแรง
4. เป็ นที่น่ารังเกียจของสังคม
5. เสียเงินจํานวนมากโดยใช่เหตุ
6. ส่งผลร้ายต่อคนรอบข้าง
7. เป็ นมะเร็ งช่องปาก รวมถึงฟันและลิ้น (ปากเน่าเละเฟะ)
8. เป็ นมะเร็ งหลอดลมและหลอดอาหาร
9. เป็ นมะเร็ งกล่องเสียง
10. เป็ นมะเร็ งปอด (มะเร็ ง ที่ทรมานมากที่สุด) มีโอกาสเป็ นโรคมากกว่าผูที่ไม่สูบถึง 20 เท่า
                                                                        ้
11. ถุงลมโป่ งพองจนไม่สามารถหดตัวกลับได้ มีผลทําให้หายใจติดขัด หอบ จนถึงตายได้
12. โรคกระเพาะอาหารเป็ นแผล
13. โรงตับแข็ง เช่นเดียวกับการดื่มสุรา
14. โรคปริ ทนต์ (ฟันเน่าเละ)
7

15. โรคโพรงกระดูกอักเสบ
16. โรคความดันโลหิตสูง
17. ประสาทในการรับรสแย่ลง
18. มีอาการไอเรื้ อรัง มีเสมหะมาก บางครั้งไอถี่มากจนไม่สามารถหลับนอนได้
        5. องค์กรร่ วมต้านบุหรี่

5.1 มูลนิธิรณรงค์ช่วยให้เลิกบุหรี่และสารเสพติด

             บุหรี่ เป็ นสาเหตุใหญ่อนดับสองของการตายที่เกิดขึ้นทัวโลกในขณะนี้ โดยคร่ าชีวิตผูคนไปเกือบ
                                      ั                          ่                               ้
ปี ละ 5 ล้านคน และหากแนวโน้มยังเป็ นเช่นในปัจจุบนแล้ว จํานวนนี้จะเพิ่มขึ้นอีกเป็ น 2 เท่า ภายในปี
                                                         ั
2020 โดยที่70% เป็ นผูเ้ สียชีวิตที่อยูในประเทศที่กาลังพัฒนา
                                                ่      ํ
             พิษที่อยูในควันบุหรี่ น้ น ประกอบไปด้วยส่วนประกอบทางเคมีมากกว่า 4,000 ชนิด ซึ่งมีอนตราย
                          ่             ั                                                          ั
อย่างยิง ซึ่งประกอบด้วยสารเคมีจานวนมาก ยกตัวอย่างเช่น นิโคติน, เบนซิน และเบนโซไพรี น ส่วนใน
        ่                                 ํ
ควันจะประกอบด้วย คาร์บอนมอนออกไซด์, แอมโมเนีย, ไดเมทธิล,ไนโตรซามีน, ฟอร์มลดีไฮด์,          ั
ไฮโดรเจนไซยาไนด์, และอะโครลีน ในทางการค้าอาจมีการเพิ่มคุณสมบัติที่ช่วยกระตุนให้เกิดความตื่นตัว
                                                                                         ้
และสารอีกประมาณ 30 กว่าชนิดที่เรารู้จก หรื อเป็ นคาร์ซิโนเจน ที่ตรวจพบว่า เป็ นสาเหตุของการเกิด
                                                  ั
มะเร็ ง
             ผลกระทบโดยตรงที่เกิดขึ้นนั้น ส่วนหนึ่งจะทําให้เกิดอาการระคายเคืองตา ปวดศีรษะ ไอ เป็ นแผล
ในลําคอ มึนศีรษะ และคลื่นไส้อาเจียน
             การสูบบุหรี่ ในช่วงระยะเวลาเพียงสั้นๆ จะมีผลต่อหัวใจของผูที่อยูขางเคียงบ้างพอประมาณ ต้อง
                                                                       ้ ่ ้
ใช้เวลาประมาณ 30 นาที จึงจะมีผลไปลดอัตราการไหลเวียนของโลหิตแดง รวมทั้งการสูบบุหรี่ เป็ น
เวลานาน จะมีผลเกี่ยวเนื่องทําให้อตราเสี่ยงต่อการเป็ นโรคหืดในผูสูบสูงขึ้น และในผูที่ไม่ได้สูบโดยตรง แต่
                                              ั                    ้                   ้
อยูในครอบครัวที่มีผสูบบุหรี่ ก็มีความเสียงต่อการเป็ นโรคหัวใจ และโรคมะเร็ งปอด
     ่                      ู้
             จากการตรวจสอบของ Government-appointed Scientific Committee on Tobacco and Health
(SCOTH) ได้ลงความเห็นว่า การได้รับควันบุหรี่ ของบุคคลข้างเคียง(ผูได้รับบุหรี่ มือสอง) เป็ นสาเหตุของ
                                                                     ้
โรคมะเร็ งในปอด โรค ischemic heart (หัวใจขาดเลือด) โรคระบบทางเดินหายใจ โรคไหลตาย และโรคหู
ชั้นกลาง ในผูใหญ่ที่ไม่ได้สูบบุหรี่ และโรคหืดในเด็ก
                ้
             อันตรายที่เกิดขึ้นดังกล่าว ทําให้ทวโลกได้ตระหนักว่ามีความจําเป็ นอย่างยิง ที่จะต้องรณรงค์ ให้
                                                    ั่                               ่
การเลิกสูบบุหรี่ สาฤทธิ์ผล และองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ออกมาแถลงการณ์ว่าถึงสนธิสญญาฉบับนี้
                        ํ                                                                      ั
อันมีชื่ออย่างเป็ นทางการว่า “อนุสญญาแม่บทว่าด้วยการควบคุมยาสูบ” (Framework Convention on
                                            ั
Tobacco Control) และมีสมาชิก WHO 192 ชาติ ให้การรับรองในการประชุมเมื่อปี 2003 ซึ่งจะสามารถช่วย
ผูคนได้นบล้านๆ
   ้       ั
8

            แม้จะดูเหมือนว่าประเทศไทยประสบความสําเร็ จค่อนข้างมาก ในการรณรงค์สร้างค่านิยมการไม่
สูบบุหรี่ ในสังคมไทย เช่นสิ่งที่เกิดขึ้นในองค์กรส่วนใหญ่ ที่เห็นด้วยกับการไม่สูบบุหรี่ อย่างกว้างขวาง หรื อ
กฎหมายต่างๆ ที่พยายามจะนํามาใช้ในการควบคุมการสูบบุหรี่ ดังเช่นล่าสุด กระทรวงสาธารณสุขได้ออก
ประกาศ ให้ผประกอบการต้องพิมพ์คาเตือนและรู ปภาพ ที่แสดงให้เห็นถึงผลกระทบ โทษภัย ของการสูบ
                ู้                      ํ
บุหรี่ เป็ นต้น
            แต่ว่า การรณรงค์ดงกล่าว หากมองที่เป้ าหมายที่แท้จริ งแล้ว ยังขาดความชัดเจนอยูค่อนข้างมาก
                              ั                                                               ่
เพราะงบประมาณส่วนใหญ่ที่นาไปใช้น้ น ใช้ไปในการแนะนําโทษภัย และป้ องกันเท่านั้น แต่ในความเป็ น
                                 ํ        ั
จริ งแล้ว เป้ าหมายที่ควรจะสําคัญที่สุดคือ การเลิกสูบบุหรี่ ให้ได้ผลอย่างแท้จริ ง ซึ่งต้องทําให้ผที่สูบบุหรี่ ได้
                                                                                                 ู้
เลิกบุหรี่ ให้ได้ และไม่คิดหันกลับไปสูบอีก รวมถึงกระบวนการเลิกนั้น จะต้องไม่มีผลกระทบต่อร่ างกายที่
จะตามมาในภายหลัง
            โครงการ “ปอดสะอาดปราศจากควันบุหรี่ ” เลิกได้อย่างถาวรภายใน 6 วัน ด้วยวิธีธรรมชาติบาบัด        ํ
โดยการขับล้างสารพิษ (Detox) ออกจากร่ างกาย จึงได้จดตั้งขึ้นตามความต้องการของ คุณ คสร เอี่ยมองอาจ
                                                        ั
ประธานมูลนิธิรณรงค์ช่วยให้เลิกบุหรี่ และสารเสพติด และผูใหญ่อีกหลายๆท่าน ที่ตองการให้ประเทศไทย
                                                              ้                         ้
ปลอดจากพิษภัยของบุหรี่ และสารเสพติด ตามแนวทางพระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว                  ่ ั

         6. ประวัติ google site

         ประวัติ google site

จุดเริ่ มต้นของเรื่ องนี้อยูที่ มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University) อีกหนึ่งสุดยอดแห่งมหาวิทยาลัย
                            ่
ด้านไอที (จริ งๆแล้ว Stanford ก็จดว่าเป็ นอันดับต้นๆของโลกในสาขาอื่นๆอีกมากมาย ด้วยเช่นกัน)
                                 ั
มหาวิทยาลัยแห่งนี้ นอกจากจะเป็ นต้นกําเนิดของสุดยอด 2 ไอเดียออนไลน์ระดับโลกอย่าง Yahoo! และ
Google แล้ว มหาวิทยาลัยแห่งนี้เป็ นต้นกําเนิดของคอมพิวเตอร์ที่เราใช้ๆกันอยูดวยซํ้าไป ที่น่ีเป็ นที่ท่ี
                                                                           ่ ้
คุณ John von Neuman (จอห์น วอน นูแมน) คิดและประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ที่มีสถาปัตยกรรมที่เหมือนกับที่
เราใช้อยูนี่แหล่ะ เป็ นคนแรกของโลก (แม้จะไม่ใช่คอมพิวเตอร์เครื่ องแรกของโลกก็ตาม – สับสมัยครับ –
         ่
คืออย่างนี้ ครับ คอมพิวเตอร์เครื่ องแรกของโลกชื่อว่า ENIAC ซึ่งเป็ นเครื่ องที่มีความซับซ้อนสูง ต่อมาคุณ
von Neuman ซึ่งก็ช่วยงานในการสร้างคอมพิวเตอร์ ENIAC อยูดวย แกเสนอว่า เราน่าจะแยกส่วนของ
                                                       ่ ้
คอมพิวเตอร์ออกเป็ น หน่วยประมวลผล หน่วยความจํา หน่วยรับเข้าและส่งข้อมูล ซึ่งเป็ นสถาปัตยกรรมที่
แตกต่างจากคอมพิวเตอร์เครื่ องแรก และเป็ นสถาปั ตยกรรมที่เรายังใช้มาอยูจนในปัจจุบน หลายสถาบันก็เลย
                                                                      ่         ั
ยกย่องให้ von Neuman เป็ นบิดาของคอมพิวเตอร์เลยทีเดียว) แหม! พูดถึงมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดซะยืด
9

ยาวเลย พักไว้แค่น้ ีก่อน เดี๋ยวหาใครที่กาลังเรี ยนแถวนั้นมาบรรยายสรรพคุณของ Stanford ต่อ ตอนนี้เข้า
                                        ํ
เรื่ องกูเกิ้ลดีกว่าครับ เดี๋ยวกระดาษจะหมดซะก่อน
  ิ
เรืิ ่ องก็เริ่ มตอนปิ ดเทอมภาคฤดูร้อนปี 1995 ที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้แหละครับ ตอนนั้น 1 ใน 2 ของผูก่อตั้ง
                                                                                                ้

กูเกิ้ล เป็ นแค่นกเรี ยนปริ ญญาเอก ที่กาลังจะขึ้นปี 2 ของภาควิชา วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer
                 ั                     ํ
Science) ธรรมดาๆ คนหนึ่ง ที่อาสาเข้ามาเป็ นนักศึกษาช่วยงาน Open House
โดยปกติทุกๆปี ในช่วงก่อนเปิ ดเทอมนี้ มหาวิทยาลัยต่างๆเค้าจะมีการเปิ ดบ้านต้อนรับผูมาเยือน เราเรี ยกว่า
                                                                                  ้
Open House (ที่เมืองไทยก็เห็นมีบางแล้วหลายมหาวิทยาลัย) คือว่าใครที่สนใจที่จะเรี ยนในมหาิิวิทยาลัย
                                ้
ไหน คณะไหน ก็จะไปงาน Open House ของที่นน ที่จะมีคนมาคอยพาทัวร์ และแนะนําสถานที่ แนะนํา
                                       ั่
คณะ แนะนํา Lab แนะนําครู อาจารย์ เป็ นปกติเหมือนทุกๆปี แต่ปีนี้เองพระเอกคนที่สองของเรา คือ
คุณ Larry Page ก็โผล่มาในงาน Open House ในปี นี้ หลังจากได้ดีกรี วิศวกรรมศาสตร์บณฑิต จาก
                                                                                ั
มหาวิทยาลัยมิชิแกน (Michigan University) มาหยกๆ

ทั้งสองเจอกันเพราะ Larry Page ไปอยูในกลุ่มทัวร์ ที่มี Sergey Brin เป็ นหัวหน้ากลุ่มทัวร์พอดี ดูท่าว่างานนี้
                                             ่
ไม่ใช่รักแรกพบครับ เพราะระหว่างทางที่เดินทัวร์มหาวิทยาลัย และเมือง San Francisco อยู่ ทั้งสองคนนี้ก็มี
เรื่ องให้ถกเถียงกันได้ตลอดเวลา โดยเฉพาะเรื่ องของการจัดผังเมืองของ San Francisco (??!!??)
Page เล่าให้ฟังว่าตอนนั้นเค้าจําได้ว่า Sergey Brin เป็ นคนที่มีความคิดที่ค่อนข้างจะติดยึด
เป็ นคนที่ไม่ค่อยโสภาที่น่าจะอยูใกล้เท่าไหร่ ถ้าคิดว่าตัวเองถูกละก็จะเถียงหัวชนฝา ซึ่งบังเอิญว่า ตัวเอง
                                      ่
(Page) ก็เป็ นคนแบบนั้น ส่วน Sergey ก็บอกว่าจริ งๆแล้ว Larry ก็ออกจะแปลกๆอยูเ่ หมือนกันแหละ เถียง
หัวชนฝา ไม่ค่อยยอมใคร
เอาเป็ นว่า ทั้งคู่ถกเถียงกันเรื่ องต่างๆทั้งวันที่เดินทัวร์ แม้จะไม่ลงรอยด้วยดี แต่ท้งคู่กจากันได้ดีก่อนจะแยก
                                                                                      ั ็ํ
จากกันในตอนเย็น (แหม! พล็อตยังกับหนังไทยเลยครับ พระเอกกับนางเอกเจอกันครั้งแรกจะต้องมีทะเลาะ
ตบตี ต่างคนต่างบอกว่าเกลียด แต่ในใจคิดถึงอยู)          ่
อีก 2-3 เดือนถัดมา มหาวิทยาลัยก็เปิ ดเทอมครับ Page ก็เข้ามารายงานตัว และเลือก Prof. Terry Winograd
ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการโต้ตอบระหว่างคอมพิวเตอร์และมนุษย์ เป็ นอาจารย์ที่ปรึ กษา และก็เริ่ มมองหาหัวข้อ
วิทยานิพนธ์
พ่อของ Larry Page (ขณะนั้ นเป็ นอาจารย์ดาน Computer Science อยูที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน) บอกว่า Thesis
                                                ้                         ่
ปริ ญญาเอก จะเป็ นเหมือนกรอบ ที่จะคอยกําหนดอนาคต ด้านวิชาการของเราไปทั้งชีวิต ก่อนจะตัดสินใจ
เลือกทําให้ไตร่ ตรองให้ดี ทําให้ Page ใช้เวลาอยูนานในการเลือกหัวข้อทําวิทยานิพนธ์ หลังจากลองนึกๆดู
                                                         ่
สิบกว่าเรื่ อง สุดท้ายก็มาลงที่เรื่ อง World Wide Web นี่เอง
10

และแล้วจุดเริ่ มต้นของไอเดียเล็กๆ ก็กลายเป็ นไอเดียที่เปลียนโลกอินเตอร์เน็ตทั้งใบ จุดกําเนิดของยักษ์ใหญ่
                                                             ่
ในวงการซอฟท์แวร์อีกตน ก็เริ่ มขึ้นที่นี่ …
Remark1 ชื่อ Surgey Brin อ่านออกเสียง ว่า เซอร์เก บริ น โดย Assoc. Prof. Stanislav Makanov (อาจารย์ชาว
รัสเซีย ประจําสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) Page เริ่ มหัวข้อวิจยเกี่ยวกับ ั
เว็บก็จริ ง แต่ไม่ได้เริ่ มมองหาวิธีที่จะค้นหาข้อมูลบนเว็บ แต่สิ่งที่เค้ามองเห็นกลับเป็ น มุมมองทางด้าน
คณิ ตศาสตร์ของเว็บไซท์มากกว่า คือ Page มองแบบนี้ครับ...ถ้าหากมองว่า 1 เซอร์ฟเวอร์ หรื อ 1 เว็บไซท์
เช่น วิชาการ.คอม หรื อ 1 คอมพิวเตอร์ เป็ นเพียง จุด (Node, Vertex) จุดหนึ่งบนกราฟ (Graph)
และ ลิ๊งค์ (link) เช่น www.ipst.ac.th ที่ วิชาการ.คอม เชื่อมต่อไปยังเว็บไซท์อื่นๆ เหมือนกับเป็ นทางเชื่อมต่อ
กัน หรื อ ขอบ(Edge) ระหว่างจุดเหล่านั้น หรื อ พูดง่ายๆว่า Page มองเห็น อินเตอร์เน็ตเป็ นกราฟ นันเอง  ่
(แฮ่ะๆ แบบนี้เรี ยกว่ามันอยูในสัญชาติญาณ มองอินเตอร์เน็ตเป็ นกราฟ ทําได้ไงเนี่ย) ซึ่งบ้านเรา นิสิต
                               ่
นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ด้านทางสายวิทย์ มักจะได้เรี ยนเรื่ อง กราฟ ประเภทนี้ในเรื่ อง ทฤษฏีกราฟ (Graph
Theory) แถวๆปี ต้นๆ (ซึ่งน้องๆตัวเล็กๆอาจสับสนนิดนึง เพราะกราฟที่คุนเคยอาจจะหมายถึง กราฟที่เป็ น
                                                                             ้
ตัวแทนของข้อมูล เช่น กราฟแท่ง กราฟเชิงเส้น ซะมากกว่า)
ถ้าไม่ใช่ในวิชาคณิ ตศาสตร์ ก็จะเป็ นวิชา Algorithm โดยเฉพาะพวกที่เรี ยน วิทยาการคอมพิวเตอร์ ก็น่าจะ
ผ่านหูผานตากันมาแล้วทุกคน (ถ้าไม่ใส่ไหคืนอาจารย์ไปหมดแล้วซะก่อน) (มีอาจารย์และนักคณิตศาสตร์
        ่
ในเมืองไทยหลายคน ที่เชี่ยวชาญเรื่ อง Graph Theory เช่น ดร.จริ ยา อุ่ยยะเสถียร ภาควิชาคณิ ตศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่จบปริ ญญาเอกเรื่ องนี้มาโดยเฉพาะ เดี๋ยวจะลองเกี้ยวมาช่วยเขียน เรื่ อง Graph
Theory อีกซักบทความ) แต่คราวนี้ลองใช้จินตนาการดูกนหน่อยนะครับ ว่าแน่นอนเว็บไซท์หนึ่งเว็บ ก็ลิงค์
                                                           ั
ไปยังหลายร้อย หลายพันเว็บ และมีเว็บไซท์หลายๆเว็บ ที่ลิงค์มายังเว็บไซท์หนึ่งๆ และปัจจุบนเรามีกนเป็ น
                                                                                                ั        ั
พันๆ ล้านเว็บ เพราะฉนั้น กราฟ ที่เราใช้แทน อินเตอร์เน็ต ก็จะเป็ นกราฟขนาดมหึมา และมีความซับซ้อน มี
เส้นโยงกันไปโยงกันมาอย่างยุงเหยิง ซึ่งตรงนี้แหละที่ Page มองแล้วเห็นว่ามันช่างน่าตื่นเต้น น่าสนใจ น่า
                                 ่
ติดตาม เสียเหลือเกิน Page เคยบอกว่า Internet คือ กราฟที่ใหญ่ที่สุดที่มนุษย์เคยสร้างขึ้น และมันก็ยงจะ   ั
เติบโต ใหญ่ข้ ึน ใหญ่ข้ ึน ทุกๆวัน ด้วยอัตราเร็ วในการเติบโตสูงมาก โอ! มันช่างเป็ นเรื่ องที่น่าสนใจทํา
วิทยานิพนธ์เหลือเกิน (ถ้าเป็ นคนสามัญชนคนไทยธรรมดา ก็อาจจะบอกว่า โอ! มันซับซ้อนเหลือเกิน ไม่มี
ทางทําได้หรอก ทําไปเดี๋ยวไม่จบ หนีดีกว่า) ซึ่ง Prof. Winograd อาจารย์ที่ปรึ กษาของเค้าก็เห็นด้วย และเห็น
ว่าน่าจะศึกษาเรื่ องของโครงสร้างของกราฟของเว็บ เป็ นการเริ่ มต้นวิทยานิพนธ์ Page ทําการศึกษาด้วย
ตัวเองอยูไม่นาน เค้าก็เจอปัญหาแรกเข้าให้
           ่

โอเคตรงนี้เราเข้าเรื่ อง graph theory กันนิดนึง (เอาเป็ นว่าผมพยายามวงเล็บภาษาอังกฤษของคําไทยไว้ดวย
                                                                                                 ้
ครับ จะได้ช่วยให้คนทีคุนเคยกับคําอังกฤษในวิชานี้แล้ว ได้เห็นภาพง่ายขึ้นนะ) คืออย่างนี้ ในกราฟปกติ
                       ้
ขอบของกราฟ (Edge) จะเป็ นตัวบ่งถึงความสัมพันธ์กนระหว่าง จุด (Vertex) ซึ่งโดยปกติแล้ว เราจะรู้และ
                                               ั
11

นับจํานวนได้ว่า จากจุดจุดหนึ่ง มีขอบ หรื อ เส้นลากไปยังจุดอื่นๆ อีกกี่จุด และมีกี่จุดที่ลากมาหาตัวเอง แต่
หน้าเว็บเพจกลับไม่เป็ นแบบนั้นซะทีเดียว เพราะ ที่หน้าเว็บเพจหนึ่งๆ (สมมติว่าเว็บ 1 หน้าเป็ น 1 จุดใน
กราฟ) เรารู้ครับว่า จากจุดที่เราอยูปัจจุบน มันลิงค์ไปยังหน้าไหนบ้าง คือ เรารู้ว่ามันมี จํานวนขอบที่วิ่ง
                                   ่     ั
ออกไป (Out Degree) จากตัวเองกี่ขอบกี่เส้น และไปที่ไหนบ้าง แต่ที่เราไม่รู้นี่คือว่า มีเว็บเพจใดบ้าง กี่หน้า
ที่ลิงค์มาหาหน้าที่เราสนใจ โอยสับสนใช่ม้ยครับ ผมยกตัวอย่างเปรี ยบเทียบแบบนี้กแล้วกัน ถ้าผมถามคุณ
                                        ั                                    ็
ว่าคุณรู้จกคนกี่คน คุณอาจจะต้องนังไล่นบนิ้วไปเรื่ อยๆ แต่คุณก็บอกได้ว่าคุณรู้จกใครบ้าง และคล้ายๆกัน
          ั                      ่ ั                                          ั
ผมถามว่า "คุณรู้ม้ยว่ามีใครในโลกนี้รู้จกคุณบ้าง?" (เปรี ยบกับ "รู้ม้ยว่ามีเว็บไหนลิงค์มาที่เราบ้าง") คําตอบ
                  ั                    ั                            ั
คือ ไม่รู้ จะไปรู้ได้ยงไงว่าใครรู้จกเราบ้างโอเค เริ่ มเห็นภาพนะครับ ลองนึกตามแบบนี้นะครับ ว่าหน้าเว็บที่
                      ั            ั
คุณอ่านอยูตอนนี้เนี่ย ลิงค์มาจากหน้าไหน URL อะไรบ้าง ถ้าคุณไม่กด Back มีขอมูลตรงไหนบอกมั้ยครับ?
          ่                                                              ้
หรื อแม้แต่คุณจะกด Back คุณก็รู้แค่ลิงค์เดียวที่ลิ๊งค์มาหาหน้านี้ แต่ที่จริ ง อาจจะมีหน้าเว็บอื่นๆอีกเป็ นร้อยๆ
ที่มีลิ๊งค์มาหาหน้านี้ ที่เราไม่รู้ คําถามคือ แล้วเราจะรู้ได้ยงไง?
                                                              ั
ซึ่งตรงนี้หล่ะยาก เพราะอินเตอร์เน็ตไม่ได้ให้ขอมูลนี้มา และตรงนี้เองที่ Page คิดว่า มันน่าจะดี ถ้าหากว่าเรา
                                             ้
รู้ (หรื ออย่างน้อย มีวิธีการที่จะทําให้รู้) ว่าใครลิงค์หาใครบ้าง หรื อ มีใครลิงค์มาหาหน้านี้บางกี่คน Page ก็
                                                                                              ้
เลยเลือกเอาปัญหานี้ มาทําเป็ นวิทยานิพนธ์ปริ ญญาเอก และตั้งชื่อเล่นโปรเจ็คของเค้าว่า "BackRub Project"
(โครงการ "ถูหลัง" - แหม! ผมแปลตรงตัวไปหน่อยหรื อเปล่าเนี่ย - สงสัยว่า Page คงอยากรู้ว่า ตอนที่อาบนํ้า
นี่ ใครถูหลังให้เค้าบ้าง -! ว่าไปโน่น)โอเค งั้นกลับมาที่คาถามเดิม ถ้าเราอยากจะรู้ว่ามีใครรู้จกเราบ้างกี่คน
                                                         ํ                                   ั
เราจะทําอย่างไร จริ งๆคําตอบนี้ง่ายมากครับ คุณก็ถามคนทุกๆคนทัวทั้งโลกนี้เลยซิครับว่าเค้ารู้จกใครบ้าง
                                                             ่                              ั
ด้วยวิธีน้ ี พอคุณถามครบทุกคนทั้งโลก คุณก็จะรูวาทั้งโลกนี้มีคนรู้จกคุณกี่คนใช่ป่าวครับ แหม! คิดได้ไง
                                              ้่                  ั
ง่ายจังคล้ายๆกัน เพื่อจะรู้ว่าใครลิงค์มาที่หน้าเว็บนี้บาง Page ก็เริ่ มจากการไล่ไปที่ละหน้าเว็บแล้วดูว่าหน้า
                                                       ้
นั้นลิงค์ไปที่ไหนบ้าง (เหมือนว่าหน้านั้นรู้จกใครบ้าง) แล้วเก็บลิงค์ท้งหมดในหน้านั้นมาเข้าคิวไว้ เพื่อจะได้
                                            ั                        ั
ไล่ถามไปเรื่ อยๆ (ตรงนี้แหล่ะครับที่เรี ยกว่า Crawler - หน้าถัดไปจะอธิบายอีกที) Page คิดว่าแหมไล่ไป
เรื่ อยๆแบบนี้ ซักอาทิตย์นึงก็เก็บเว็บหมดจากทัวโลกแล้ว บ้าน. ก็เป็ นจุดเริ่ มต้นของ Backrub โปรเจ็ค
                                              ่
นันเอง
  ่

จาก BackRub Project ที่ค่อยๆ เติบโตมา ด้วยนํ้ามือของนักศึกษา 2 คน ที่ใช้หองนอนที่หอพักนักศึกษา ทํา
                                                                         ้
เป็ น ห้อง Server และ ห้องเขียนโปรแกรม ได้กลายเป็ น Google Project โปรแกรม Search Engine ขนาดจิ๋ว
ที่ดูดทรัพยากร Network ของมหาวิทยาลัย สแตนฟอร์ด ที่ได้ชื่อว่า Network ที่เร็ วเป็ นอันดับต้นๆของโลก
ได้อย่างไร
12

Page เริ่ มที่จะคิดว่า เราจะทําไงถึงจะรู้ว่า ลิงค์ใดบ้างที่ลิงค์มายังเว็บหนึ่งๆ หลังจากที่ศกษาเกี่ยวกับเรื่ องนี้ได้
                                                                                           ึ
ไม่นาน(ไม่กี่เดือน) Page ก็พบว่า จริ งๆแล้ว เรื่ องของการลิงค์ไปลิงค์มาของเอกสารนี่ มีกนมานานแล้วใน
                                                                                             ั
วงการวิชาการ ก็คือเรื่ องของ ผลงานวิชาการ นันเอง คือโดยปกติแล้ว หากนักวิชาการท่านใด คิดทฤษฎีอะไร
                                                   ่
ออกมาได้ใหม่ๆ หรื อค้นพบอะไรใหม่ หรื อต้องการจะแก้ไขสิ่งที่มีอยูแล้ว ก็จะทําการตีพิมพ์ผลงานของ
                                                                           ่
ตนเองในวารสารวิชาการ (Journal) โดยจะต้องอ้างอิงถึงที่มาของความรู้ หรื อ ผลงานที่มีมาก่อนของคนอื่น
หรื อที่ใกล้เคียง ก็เพื่อให้องค์ความรู้ใหม่ที่ตีพิมพ์ มีรากฐานจากองค์ความรู้ ที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว (ตีพิมพ์
แล้ว) นันเอง ดังนั้น ผลงานวิชาการ ไหนที่ได้รับการอ้างถึง (Citation) บ่อยๆ จาก นักวิชาการคนอืนๆ แสดง
          ่                                                                                            ่
ว่า ผลงานวิชาการชิ้นนั้นได้รับการยอมรับอย่างจริ ง ในวงการวิชาการเรามีตวชี้วดกันเลยว่า ผลงานหนึ่งๆ มี
                                                                                 ั ั
การถูกอ้างถึงมากน้อยเพียงใด เราเรี ยกดัชนีตวนี้ว่า Citation index ซึ่งการอ้างอิงด้านวิชาการถือเป็ นเรื่ อง
                                                 ั
ใหญ่ ใหญ่ขนาดไหนครับ ก็ใหญ่พอที่จะมิวิชาที่ว่าด้วยเรื่ องนี้โดยเฉพาะเลย คือวิชา bibliometrics (ผมเองก็
ไม่เคยเรี ยนครับ แต่เข้าใจว่าน่าจะเป็ นทางกลุ่มนักศึกษา วารสาร หรื อ บรรณารักษ์ หรื อ สารสนเทศ - เดี๋ยว
จะค้นมาให้ว่าที่ไหนสอนบ้างในเมืองไทย)
13

                                              บทที่ 3

                                           การดาเนินการ


วัสดุอุปกรณ์

               1.   เครื่ องคอมพิวเตอร์ต่ออินเทอร์เน็ต
               2.   เว็บไซต์ Google site
วิธีการดาเนินงาน

    1. เลือกหัวข้อในการศึกษา
    2. วางแผน แบ่งหน้าที่ในแก่สมาชิกในกลุ่ม
    3. นําข้อมูลมาเรี ยบเรี ยง
    4. ส่งงาน

การดาเนินงาน

หัวข้อ                                            ระยะเวลา
เลือกหัวข้อในการศึกษา                             14 กันยายน – 15 กันยายน 2555
วางแผนในการทําโครงงาน                             18 กันยายน – 22 กันยายน 2555
แบ่งงานให้แก่สมาชิก                               22 กันยายน 2555
รวบรวมข้อมูล                                      15 พฤศจิกายน -20 กุมภาพันธ์ 2556
สร้างเว็บไซต์                                     9 มกราคม – 20 กุมภาพันธ์ 2556
ส่งงาน                                            21 กุมภาพันธ์ 2556
14

วิธีการทา google site

1. เลือกสร้างและตั้งชื่อ
15

2.เลือกหน้าเว็บใหม่ ตั้งชื่อหน้าที่ตองการ
                                    ้
16

3. ทําการเพิ่มข้อความหรื อแก้ไขข้อความ




   เว็บไซต์ที่จดทาขึน
               ั    ้

   https://sites.google.com/site/thoskhxngbuhri/
17

                                                 บทที่ 4

                                          ผลการดาเนินการ
จากการทําโครงงานคอมพิวเตอร์ ในเรื่ อง โทษของบุหรี่ ซึ่งมีผลการดําเนินงานโครงงาน ดังนี้

        ผูจดทําได้ ผูจดทําได้เริ่ มดําเนินงานตามขั้นตอนการดําเนินงานที่เสนอในบทที่ 3 จากนั้นได้นาเสนอ
          ้ั         ้ั                                                                         ํ
เผยแพร่ ผลงานผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ ทุกที่ทุกเวลา โดยได้นาเผยแพร่ ที่เว็บ
                                                                                 ํ
www. Sites.google.com และในการทํานี้ผจดทําก็ได้ได้มีผรู้ถึงโทษของบุหรี่ อาจมีการลดการสูบบุหรี่ ลง
                                     ู้ ั            ู้
มีผเู้ ข้าชมเว็บไซต์โทษของบุหรี่ ผานทางด้านอินเตอร์เน็ตมาก
                                  ่

ตัวอย่างหน้าเว็บไซต์ที่ได้จดทํา
                           ั
18

                                                 บทที่ 5

                                      สรุปผลและข้ อเสนอแนะ
สรุปผลการศึกษา

        ผูจดทําได้ ผูจดทําได้เริ่ มดําเนินงานตามขั้นตอนการดําเนินงานที่เสนอในบทที่ 3 จากนั้นได้นาเสนอ
          ้ั         ้ั                                                                         ํ
เผยแพร่ ผลงานผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ ทุกที่ทุกเวลาโดยได้นาเผยแพร่ ที่เว็บ
                                                                                ํ
www. Sites.google.com และได้ทาบรรลุจุดประสงค์ที่ได้ต้งไว้ ณ เบื้องต้นของโครงงาน ว สามารถจัดการ
                             ํ                       ั
และเชื่อมต่อกับเว็บไซต์อื่นๆ ได้เป็ นอย่างดีโดยทั้งครู ที่ปรึ กษา โดยแสดงความเห็นในเนื้อหาและรู ปแบบ
ของการนําเสนออย่างหลากหลาย ซึ่งทําให้เกิดการเรี ยนรู้และเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ในโลกออนไลน์อย่าง
หลากหลายและรวดเร็ ว

ปัญหาและอุปสรรค

    - ขาดความชํานาญในการทํา Google site

ข้ อเสนอแนะ

    - ขาดความชํานาญในการทํา Google site ศึกษาและถามผูรู้ในการทํา Google site
                                                     ้
19

                                            บรรณนุกรม


____โทษของบุหรี่ (ออนไลน์)

แหล่งที่มา http://www.dek-d.com/board/view.php?id=1205885 (วันที่คนหา 15 กุมภาพันธ์ 2556 )
                                                                  ้
____องค์กรที่รวมต่อต้านการสูบบุหรี่ (ออนไลน์)

แหล่งที่มา http://www.saf.or.th/tha/project.html (วันที่คนหา 15 กุมภาพันธ์ 2556)
                                                         ้

____ประวัติของ google sites (ออนไลน์)

https://sites.google.com/site/krunuttkks/prawati-khxng-google-site (วันที่คนหา 1 มีนาคม 2556)
                                                                           ้
20

                           ภาคผนวก
วิธีการทํา google site

1. เลือกสร้างและตั้งชื่อ
21



2.เลือกหน้าเว็บใหม่ ตั้งชื่อหน้าที่ตองการ
                                    ้
22



3. ทําการเพิ่มข้อความหรื อแก้ไขข้อความ
23

ผลงานด้านการทํา google site
24

                               ผูจดทํา
                                 ้ั



นาย ชนุตร์               เจียมจิระพร          เลขที่ 27




นาย ศรัณย์               ศิรินิคม เลขที่ 28




นาย จีรพัฒน์             กุลธนวิวฒน์
                                 ั            เลขที่ 33




นายพีรพล                 รัตนผล เลขที่ 35



        มัธยมศึกษาปี ที่ 5/3

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
พัน พัน
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
พัน พัน
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
krupornpana55
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
Guntima NaLove
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
kessara61977
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ดีโด้ ดีโด้
 

Mais procurados (20)

Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 

Semelhante a โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่

4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
Kruthai Kidsdee
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
Kruthai Kidsdee
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
Kruthai Kidsdee
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
Sambushi Kritsada
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
Kruthai Kidsdee
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
Sunrise Beach
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
Duonghthai Thaigun
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
Duonghthai Thaigun
 
โครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ วิจัยชุมชน รณรงค์ลดละเลิกบุหรี่และสร้างความปรองดองส...
โครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ วิจัยชุมชน รณรงค์ลดละเลิกบุหรี่และสร้างความปรองดองส...โครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ วิจัยชุมชน รณรงค์ลดละเลิกบุหรี่และสร้างความปรองดองส...
โครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ วิจัยชุมชน รณรงค์ลดละเลิกบุหรี่และสร้างความปรองดองส...
อบต. เหล่าโพนค้อ
 
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมันปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
krupornpana55
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10
Kruthai Kidsdee
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
Kruthai Kidsdee
 
A brief-guide-for-tobacco-control
A brief-guide-for-tobacco-controlA brief-guide-for-tobacco-control
A brief-guide-for-tobacco-control
Utai Sukviwatsirikul
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
Theyok Tanya
 
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
Padvee Academy
 

Semelhante a โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่ (20)

4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
แผน 10อย่าไปหาสารเสพติดม.5แอมพันธ์
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
 
โครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงานโครงร างโครงงาน
โครงร างโครงงาน
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
โครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ วิจัยชุมชน รณรงค์ลดละเลิกบุหรี่และสร้างความปรองดองส...
โครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ วิจัยชุมชน รณรงค์ลดละเลิกบุหรี่และสร้างความปรองดองส...โครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ วิจัยชุมชน รณรงค์ลดละเลิกบุหรี่และสร้างความปรองดองส...
โครงการจัดทำธรรมนูญสุขภาพ วิจัยชุมชน รณรงค์ลดละเลิกบุหรี่และสร้างความปรองดองส...
 
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมันปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
 
Social onet
Social onetSocial onet
Social onet
 
Social onet
Social onetSocial onet
Social onet
 
แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10แผนสุขศึกษาม 6 10
แผนสุขศึกษาม 6 10
 
2562 final-project -1-23-1
2562 final-project -1-23-12562 final-project -1-23-1
2562 final-project -1-23-1
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
 
A brief-guide-for-tobacco-control
A brief-guide-for-tobacco-controlA brief-guide-for-tobacco-control
A brief-guide-for-tobacco-control
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
 
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
ศิลปะการดำเนินชีวิต (Art of living) : การรู้จักตัวเอง ผ่านทฤษฎีพหุปัญญา (ช่วง...
 

Mais de พัน พัน

Mais de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่

  • 1. โครงงาน เว็บไซต์โทษของบุหรี่ ครู ที่ปรึ กษา นาย ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม สมาชิก นาย ชนุตร์ เจียมจิระพร นาย ศรัณย์ ศิรินิคม นาย จีรพัฒน์ กุลธนวิวฒน์ ั นายพีรพล รัตนผล ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี
  • 2. โครงงาน เว็บไซต์โทษของบุหรี่ ครู ที่ปรึ กษา นาย ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม สมาชิก นาย ชนุตร์ เจียมจิระพร นาย ศรัณย์ ศิรินิคม นาย จีรพัฒน์ กุลธนวิวฒน์ ั นายพีรพล รัตนผล ภาคเรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2555 โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี
  • 3. สารบัญ เรื่ อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข บทที่ 1 บทนา ที่มาละความสาคัญ 1 จุดประสงค์ 1 ผลที่ได้รับ 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2 ประวัติของบุหรี่ ประวัติความเป็ นมาของบุหรี่ 2 การสูบบุหรี่ ในประเทศไทย 2 ชนิดของยาสูบ 3 ลักษณะบุหรี่ 3 สารเคมีในบุหรี่ 4 กลยุทธ์รับมือกับอาการอยากบุหรี่ กลยุทธ์รับมือกับอาการอยากบุหรี่ 4 โทษของบุหรี่ พิษจากควันบุหรี่ 5 โทษของการสูบบุหรี่ 6 องค์กรร่ วมต้านบุหรี่ มูลนิธิรณรงค์ช่วยให้เลิกบุหรี่ และสารเสพติด 7 ประวัติ google site ประวัติ google site 8
  • 4. สารบัญ(ต่อ) บทที่ 3 การดาเนินการ วิธีการดาเนินงาน 13 การดาเนินงาน 13 วิธีการทา google site 14 เว็บไซต์ที่จดทาขึ้น ั 16 บทที่ 4 ผลการดาเนินการ สรุ ปผลการดาเนินงาน 17 บทที่ 5 สรุ ปการดาเนินการ อภิปรายผล การ ดาเนินงาน บทที่ 5 (ต่อ) สรุ ปผลการศึกษา 18 อภิปรายผล 18 ปัญหาและอุปสรรค 18 ข้อเสนอแนะ 18 บรรณนุกรรม 19 ภาคผนวก 20 ผูจดทา ้ั 24
  • 5. บทคัดย่อ โครงงานเรื่ อง เว็บไซต์โทษของบุหรี่ จัดทาโดยมีวตถุประสงค์ต่าง ๆ ดังนี้ เพื่อเผยแพร่ โทษและ ั ลักษณะของบุหรี่ เพื่อเป็ นการให้ความรู้ถึงโทษของการสูบบุหรี่ แก่บุคคลอื่น ๆ และเพื่อเผยโรคต่าง ๆ ของ การสูบบุหรี่ แก่บุคคลอื่น ๆ การดาเนินโครงงาน สามารถนาไปเผยแพร่ ได้จริ ง โดยใช้อินเตอร์เน็ตในการเผยแพร่ เพื่อประโยชน์ แก่บุคคลทัว ๆ ไปที่อยากทราบในเนื้อหาเพิ่มเติม ในบุคคลที่ไม่เคยรู้ ่
  • 6. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่ องเว็บไซต์โทษของบุหรี่ สาเร็ จลงได้ดวยความอนุเคราะห์จากบุคคลต่าง ๆ คณะผูจดทา ้ ้ั ขอกราบขอบคุณ ผูปกครองของคณะผูจดทาที่ได้ช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และยังช่วยเหลือในเรื่ องให้ ้ ้ั คาแนะนาในโครงงานเรื่ องนี้ ขอขอบพระคุณ ทุกท่านที่ได้ให้ความแนะนาโครงงานนี้ และช่วยเหลือในสิ่ง ต่าง ๆ คณะผูจดทา ้ั
  • 7. 1 บทที่ 1 บทนา ที่มาละความสาคัญ เนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบนมีจานวนผูติดบุหรี่ มาก ๆ ขึ้น และช่วงปัจจุบนมีการติดบุหรี่ มากจนถึง ั ํ ้ ั ช่วงเด็กที่กาลังศึกษาอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจนถึงผูสูงอายุ และในแต่ละปี มีผที่เสียชีวิตจากโรคต่าง ํ ่ ้ ู้ ๆ ที่ก่อจากบุหรี่ และมีความคาดว่าน่ามีความสูงขึ้น และความคาดว่าการติดบุหรี่ จะมากขึ้นไปเรื่ อย ๆ แล้ว กลุ่มของข้าพเจ้าจึงเล็งเห็นปัญหาทางสังคมเรื่ องนี้ และกลุ่มของข้าพเจ้าไปศึกษาการสร้างเว็บไซต์จาก โปรแกรมสร้างเว็บออนไลน์คือ Google site โดยที่ไม่ตองเสียค่าใช้จ่าย ้ จุดประสงค์ 1. เพื่อเผยแพร่ โทษและลักษณะของบุหรี่ 2. เพื่อเป็ นการให้ความรู้ถึงโทษของการสูบบุหรี่ แก่ บุคคลอื่น ๆ 3. เพื่อเผยโรคต่าง ๆ ของการสูบบุหรี่ แก่บุคคลอื่น ๆ ผลที่ได้ รับ 1. มีผเู้ ข้าชมเว็บไซต์โทษของบุหรี่ ผานทางด้านอินเตอร์เน็ต ่ 2. มีผที่รู้ถึงโทษของบุหรี่ ู้
  • 8. 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้ อง 1. ประวัตของบุหรี่ ิ 1.1 ประวัตความเป็ นมาของบุหรี่ ิ ชาวอินเดียนแดงซึ่งเป็ นชนพื้นเมืองในทวีปอเมริ กา ได้เริ่ มต้นใช้ยาสูบเป็ นพวกแรก โดยปลูกยาสูบเพื่อ ใช้เป็ นยาและนํามาสูบในพิธีกรรมต่างๆ ใน พ.ศ. ๒๐๓๕ เมื่อคริ สโตเฟอร์ เดินเรื อไปขึ้นฝั่งที่ซนซัลวาดอร์ ใน ั หมู่เกาะเวสต์อินดีส์น้ น ได้เห็นชาวพื้นเมืองนําเอาใบไม้ชนิดหนึ่งมามวนและจุดไฟตอนปลายแล้วดูดควัน ั ต่อมา พ.ศ. ๒๐๙๑ มีการปลูกยาสูบในบราซิลซึ่งเป็ นอาณานิคมของโปรตุเกสในทวีปอเมริ กาใต้ เพื่อเป็ นสินค้า ส่งออก เป็ นผลให้ยาสูบแพร่ หลายเข้าไปในประเทศโปรตุเกสและสเปนตามลําดับ ต่อมาใน พ.ศ. ๒๑๐๓ นายฌอง นิโกต์ (Jean Nicot) เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจําประเทศโปรตุเกส ได้ส่งเมล็ดยาสูบมายังราชสํานัก ฝรั่งเศส ชื่อของนายนิโกต์จึงเป็ นที่มาของชื่อสารนิโคติน (Nicotin) ที่รู้จกกันในปัจจุบน ใน พ.ศ. ๒๑๐๗ เซอร์ ั ั จอห์น ฮอคกินส์ (Sir John Hawkins) ได้นายาสูบเข้าไปในประเทศอังกฤษ และใน พ.ศ. ๒๑๕๕ นายจอห์น ํ รอลฟ์ (John Rolfe) ชาวอังกฤษ ประสบผลสําเร็ จในการปลูกยาสูบเชิงพาณิ ชย์ เป็ นครั้งแรก และ ๗ ปี ต่อมา ก็ ได้ส่งออกผลผลิตไปยังประเทศอาณานิคมเป็ นจํานวนมหาศาล อีก ๒๐๐ ปี ต่อมา การทําไร่ ยาสูบเชิงพาณิ ชย์จึง เกิดขึ้นอย่างแพร่ หลายทัวโลก ่ 1.2 การสู บบุหรี่ในประเทศไทย ในประเทศไทยมีการใช้ยาสูบตั้งแต่สมัยอยุธยาแล้ว โดยมีหลักฐานจากจดหมายเหตุของ เมอร์ซิเออร์ เดอลาลูแบร์ (Monsieur De La Loub•re) อัครราชทูตฝรั่งเศสที่เดินทางมาเมืองไทยสมัยสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช เมื่อ พ.ศ. ๒๒๓๐ ได้เขียนเล่าเรื่ องประเทศสยามว่า คนไทยชอบใช้ยาสูบอย่างฉุนทั้งผูชาย ้ และผูหญิง โดยได้ยาสูบมาจากเมืองมะนิลา ในหมู่เกาะฟิ ลิปปิ นส์ จากประเทศจีน และที่ปลูกในประเทศเอง ้ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิงหนาทราชดุรงค์ฤทธิ์ได้ทรง ่ ั ประดิษฐ์บุหรี่ กนป้ านขึ้น เพื่อสูบควันและอมยากับหมากพร้อมกัน ครั้นถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ ้ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว มีการผลิตบุหรี่ ข้ ึนโดยบริ ษทที่มีชาวอังกฤษ เป็ นเจ้าของได้เปิ ดดําเนินการเป็ นบริ ษท ่ ั ั ั แรกใน พ.ศ. ๒๔๖๐ การผลิตบุหรี่ ในระยะแรกจะมวนด้วยมือ ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยูหว มีการนําเครื่ องจักรเข้ามาจากประเทศเยอรมนี และทําการผลิตบุหรี่ ออกมาจําหน่ายหลายยีหอ ่ ั ่ ้
  • 9. 3 การสูบบุหรี่ จึงแพร่ หลายมากขึ้น จนกระทังใน พ.ศ. ๒๔๘๒ รัฐบาลได้จดตั้งโรงงานยาสูบขึ้น โดยซื้อ ่ ั กิจการมาจากห้างหุนส่วนบูรพายาสูบ จํากัด (สะพานเหลือง) ถนนพระราม ๔ กรุ งเทพฯ และดําเนินกิจการ ้ อุตสาหกรรมยาสูบภายใต้การควบคุมของกรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง หลังจากนั้น รัฐบาลได้ซ้ือ กิจการของบริ ษทกวางฮก บริ ษทฮอฟฟัน และบริ ษทบริ ติชอเมริ กนโทแบกโคเพิ่มขึ้น แล้วรวมกิจการ ั ั ั ั ทั้งหมดเข้าด้วยกัน และดําเนินการภายใต้ชื่อว่าโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง มาจนถึงปัจจุบน ั 2. บุหรี่ 2.1 ชนิดของยาสู บ ยาสูบที่ใช้กนอยูมีหลายรู ปแบบ ทั้งแบบสูด แบบดม แบบอมและเคี้ยว ั ่ - แบบสูด โดยกระทําให้เกิดการเผาไหม้ใบยาสูบซึ่งอยูในรู ปของบุหรี่ หรื อซิการ์ (cigar) ที่ใช้ใบยาสูบ ่ มวนผงใบยาสูบอยูภายใน หรื อไปป์ (pipe) ที่บรรจุใบยาไว้ในกล้องยาสูบ แล้วจุดไฟให้เกิดการเผาไหม้ แล้ว ่ ผูสูบสูดควันเข้าสู่ร่างกาย ้ - แบบดม โดยบดใบยาสูบให้ละเอียด แล้วผสมในรู ปของยานัตถุ์ - แบบอมและเคี้ยว โดยนําใบยาสูบแห้งมาหันเป็ นฝอย นํามาเคี้ยวแล้วอมอยูระหว่างริ มฝี ปากกับเหงือก ่ ่ บางครั้งเรี ยกว่า บุหรี่ ไร้ควัน ยาสูบส่วนใหญ่มีการใช้สารเคมีเพื่อปรุ งแต่งกลิ่นรส และเพื่อลดความระคายเคือง บุหรี่ ท่ีผลิตจากโรงงานจะ ใช้สารเคมีปรุ งแต่งมากที่สุด นอกจากนี้ ยังมีสารเคมีที่ใช้ในการรักษาความชื้นของใบยาสูบ และสารป้ องกัน เชื้อรา เพื่อให้เก็บบุหรี่ ได้นาน รวมทั้งสารเคมีที่ใช้ในการรักษาสภาพกระดาษที่ใช้มวนบุหรี่ อีกด้วย 2.2 ลักษณะบุหรี่ บุหรี่ มีลกษณะเป็ นทรงกระบอกม้วนห่อด้วยกระดาษ ขนาดปกติจะมีความยาวสั้นกว่า 120 มิลลิเมตร และ ั ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 10 มิลลิเมตร) มีใบยาสูบบดหรื อซอยบรรจุภายในห่อกระดาษ ปลายด้าน หนึ่งเป็ นปลายเปิ ดสําหรับจุดไฟ และอีกด้านหนึ่งจะมีตวกรอง ไว้สาหรับใช้ปากสูดควัน คํานี้ปกติจะใช้ ั ํ หมายถึงเฉพาะที่บรรจุใบยาสูบภายใน แต่ในบางครั้งก็อาจใช้หมายถึงมวนกระดาษที่บรรจุสมุนไพรอื่น ๆ เช่น กัญชา บุหรี่ ต่างจาก ซิการ์ ตรงที่บุหรี่ น้ นมีขนาดเล็กว่า และใบยาสูบนั้นจะมีการบดหรื อซอย รวมทั้งกระดาษที่ห่อ ั ซิการ์โดยปกติจะใช้ใบยาสูบทั้งใบ ซิการ์ชนิดที่มีขนาดเล็กพิเศษเท่าบุหรี่ เรี ยกว่าซิการ์ริลโล บุหรี่ เป็ นที่รู้จก ั ในกลุ่มคนที่ใช้ภาษาอังกฤษตั้งแต่ก่อนสงครามแห่งครายเมีย เมื่อทหารแห่งจักรวรรดิองกฤษ เริ่ มเลียนแบบ ั การใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ห่อใบยาสูบ จากทหารตุรกีแห่งอาณาจักรออตโตมัน
  • 10. 4 2.3 สารเคมีในบุหรี่ ไส้บุหรี่ น้ น ทําจากใบยาสูบตากแห้ง นําไปผ่านกระบวนการทางเคมี และมีการเพิ่มสารอื่น ๆ ควัน ั บุหรี่ ประกอบด้วยสารเคมีมากกว่า 4,000 ชนิด ซึ่งในจํานวนนั้นมีสารเคมีจานวนมากที่เป็ นสารพิษ สารที่ ํ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม (en:mutagenic) และสารก่อมะเร็ ง (en:carcinogen) สารเคมีที่เป็ น องค์ประกอบได้แก่  อะซีโตน (Acetone)  คาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon dioxide)  อะลูมิเนียม (Aluminiam)  คลอโรฟอร์ม (Chloroform)  แอมโมเนีย (Ammonia)  ทองแดง (Copper)  สารหนู (Arsenic)  ไซยาไนด์/ไฮโดรเจนไซยาไนด์ (Cyanide/Hydrogen cyanide)  เบนซีน (Benzene)  ดีดีที/ดีลดริ น (DDT/Dieldrin)  บิวเทน (Butane)  เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethenol)  แคดเมียม (Cadmium)  ฟอร์มลดีไฮด์ (Formaldehyde) ั  คาเฟอีน (Caffeine)  ตะกัว (Lead) ่  คาร์บอนมอนอกไซด์ (Carbon monoxide) 3. กลยุทธ์ รับมือกับอาการอยากบุหรี่ ถ่วงเวลา (Delay) เมื่ออยากสูบบุหรี่ อย่าเพิ่งเปิ ดซองบุหรี่ หรื อ จุดบุหรี่ เมื่อผ่านไป 5 นาทีผานไป ความอยากจะลดลง แล้ว ่ ความตั้งใจของคุณที่จะเลิกก็จะกลับมา หายใจลึกๆ ช้าๆ (Deep breathe) หายใจเข้าออกลึกๆ ช้าๆ 3 - 4 ครั้ง ดื่มนํ้า (Drink water) ค่อยๆจิบนํ้า และ อมไว้สกครู่ ให้รู้รสนํ้าแล้วจึงกลืนลงคอ ั เปลี่ยนอิริยาบถ (Do something else) อย่าคิดเรื่ องการสูบบุหรี่ เปลี่ยนอิริยาบถไปทําอย่างอื่นเสีย เช่น ฟังเพลง ไปเดินเล่น หรื อ ไปหาเพื่อนฝูง เพียงมวนเดียวก็ผลร้าย ขอให้ใจแข็ง การกลับไปสูบบุหรี่ แม้เพียงมวนเดียวจะเป็ นผลทําให้กลับไปสูบใหม่ คุณต้องต่อสูกบความ ้ ั อยากให้ได้ การเลิกสูบบุหรี่ คือ การต่อสูกบความอยาก แม้กระทังบุหรี่ เพียงมวนเดียว และต่อสูกบจิตใจของ ้ ั ่ ้ ั คุณเอง
  • 11. 5 อดเป็ นวันๆไป พยายามตั้งใจให้วนผ่านไปโดยไม่สูบบุหรี่ จําบุหรี่ มวนแรกของคุณได้ไหม? บางทีอาจจะทําให้คุณเวียนหัว ั ไม่สบาย ก็ได้ ทําดีต่อร่ างกายของคุณให้ปรับสภาพได้โดยไม่ตองมีนิโคติน ้ เครื่ องดื่มชา กาแฟ และเครื่ องดื่มประเภทโคล่า เหล่านี้มคาเฟอีน แต่ไม่มีนิโคติน การที่ไม่มีนิโคตินทําให้ร่างกายดูดซึมคาเฟอีน เข้าไปมากกว่าธรรมดา ทํา ี ให้กระวนกระวายและนอนไม่หลับ พยายามดื่มกาแฟให้นอยลง หรื อ ให้อ่อนลงหรื อดื่มเครื่ องดื่มคล้าย ้ กาแฟ นํ้าเปล่า นํ้าผลไม้ หรื อไดเอ็ดโคล่าที่ไม่คาเฟอีน เตือนสติตวเองั เอาเหตุผลที่เลิกบุหรี่ ที่เคยจดไว้ออกมาดู และคิดถึงสิ่งที่อยากทําให้ฐานะผูไม่สูบบุหรี่ ้ ปฏิเสธบุหรี่ จากผูอื่น ้ อย่าเกรงใจเมื่อผูอื่นให้บุหรี่ คุณ คุณมีสิทธิปฏิเสธบุหรี่ โดยไม่ทาให้ใครเดือนร้อน ้ ํ เมื่อมือว่าง พยายามใช้มือทําโน่นทํานี่อย่าปล่อยให้มือว่าง เอากุญแจมาขยํา หรื อนับลูกประคําก็ได้ การสูบบุหรี่ กบสิ่งเสพย์ติดอื่นๆ มีรายงานการวิจยแสดงให้เห็นว่า ผูที่เลิกสูบบุหรี่ จะไม่สามารถต้านทาน ั ั ้ ความอยากสูบบุหรี่ ได้เมื่อดื่มเหล้าเข้าไป เหล้าและสิ่งเสพย์ติดอื่นๆ จะทําให้คุณมีความอดทนต่อความอยาก สูบบุหรี่ ได้นอยลง ดังนั้น ขอให้พยายามหลีกเลี่ยง เครื่ องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และสิ่งเสพย์ติดอื่นๆ สัก 2 - 3 ้ สัปดาห์ พิษจากควันบุหรี่ 4. โทษของบุหรี่ 4.1 พิษจากควันบุหรี่ บุหรี่ มีสารประกอบต่างๆ อยูประมาณ 4000 ชนิด มีสารก่อมะเร็ งไม่ต่ากว่า 42 ชนิด ซึ่งสารบางชนิดเป็ น ่ ํ อันตรายที่สาคัญ คือ ํ 1 . นิโคติน ( Nicotine ) เป็ นสารระเหยในควันบุหรี่ และเป็ นสารที่รุนแรงมากที่สุดอย่างหนึ่ง ละลายนํ้าได้ดี ไม่มีสี ถ้าสูบบุหรี่ 1 มวน ร่ างกายจะได้รับนิโคตินในควันบุหรี่ 0.2 - 2 มิลลิกรัม หากมีอยูในร่ างกายถึง 70 ่ มิลลิกรัม จะทําให้ถึงแก่ความตายได้ มีผทดลองนํานิโคตินบริ สุทธิ์ เพียง 1 หยด ป้ ายลงบนผิวหนังกระต่าย มี ู้ ผลทําให้กระต่ายตัวนั้นช็อกอย่างรุ นแรงและถึงแก่ความตาย แม้จะไม่ได้เข้าสู่ภายในร่ างกายทางปากหรื อ ทางลมหายใจ นิโคติน จะทําให้ไขมันในเส้นเลือดเพิ่มขึ้น เส้นเลือดหัวใจตีบและเกิดโรคหัวใจขาดเลือดหล่อเลี้ยง ทํา ให้ความดันสูง หัวใจเต้นเร็ วทําลายเนื้อปอดและถุงลมปอดอีกด้วย
  • 12. 6 2 . ทาร์ ( Tar ) เป็ นคราบมันข้นเหนียว สีน้ าตาลแก่ เกิดจากการเผาไหม้ของกระดาษและใบยาสูบ จะทําลาย ํ ถุงลมปอดทําให้เกิดโรคถุงลมโป่ งพอง หอบเหนื่อยง่าย ไอเรื้ อรัง และอาจทําให้เกิดโรคมะเร็ งบริ เวณเนื้อเยือ ่ ที่สมผัสกับสารนี้ ขณะสูบบุหรี่ ทาร์จะตกค้างอยูในปอด หลอดลมใหญ่ และหลอดลมเล็ก ประมาณร้อยละ ั ่ 90 จะขับออกมาพร้อมลมหายใจเพียงร้อยละ 10 เท่านั้น ดังนั้น ทาร์ จึงเป็ นตัวการทําให้เกิดโรคมะเร็ งปอด ซึ่งเป็ นโรคที่ทรมานมากก่อนเสียชีวิต ในบุหรี่ 1 มวน มีทาร์ในปริ มาณต่างกันตั้งแต่ 2.0 มิลลิกรัม จนถึง 3.0 มิลลิกรัม แล้วแต่ชนิดของบุหรี่ 3. คาร์บอนมอนอกไซด์ ทําให้เม็ดเลือดแดงไม่สามารถจับออกซิเจนได้เท่ากับเวลาปกติ เกิดการขาด ออกซิเจนทําให้มึนงง ตัดสินใจช้า เหนื่อยง่ายซึ่งเป็ นสาเหตุสาคัญของโรคหัวใจ ํ 4. ไฮโดรเจนไซยาไนด์ ก๊าซพิษ ทําลายเยือบุผวหลอดลมส่ วนต้น ทําให้ไอเรื้ อรัง มีเสมหะเป็ นประจํา ่ ิ โดยเฉพาะตอน เช้า 5. ไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซพิษทําลายเยือบุหลอดลมส่วนปลาย และถุงลม ทําให้ผนังถุงลมบางโป่ งพอง ่ ถุงลมเล็กๆ หลายอันแตก รวมกันเป็ นถุงลมใหญ่ ทําให้เกิดโรคถุงลมโป่ งพอง 6. แอมโมเนีย มีฤทธิ์ระคายเคืองเนื้อเยือ ทําให้แสบตา แสบจมูก หลอดลมอักเสบ ไอมีเสมหะมาก ่ 7. สารกัมมันตรังสี ควันบุหรี่ มีสารโพโลเนียม 210 ที่มีรังสีอลฟาอยู่ เป็ นสาเหตุของโรคมะเร็ งปอด ั 4.2 โทษของการสู บบุหรี่ โทษของการสูบบุหรี่ มีดงนี้ ั 1. เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ 2. ฟันเหลือง ตาแดง เล็บเขียว 3. มีกลิ่นตัวและกลิ่นปากรุ นแรง 4. เป็ นที่น่ารังเกียจของสังคม 5. เสียเงินจํานวนมากโดยใช่เหตุ 6. ส่งผลร้ายต่อคนรอบข้าง 7. เป็ นมะเร็ งช่องปาก รวมถึงฟันและลิ้น (ปากเน่าเละเฟะ) 8. เป็ นมะเร็ งหลอดลมและหลอดอาหาร 9. เป็ นมะเร็ งกล่องเสียง 10. เป็ นมะเร็ งปอด (มะเร็ ง ที่ทรมานมากที่สุด) มีโอกาสเป็ นโรคมากกว่าผูที่ไม่สูบถึง 20 เท่า ้ 11. ถุงลมโป่ งพองจนไม่สามารถหดตัวกลับได้ มีผลทําให้หายใจติดขัด หอบ จนถึงตายได้ 12. โรคกระเพาะอาหารเป็ นแผล 13. โรงตับแข็ง เช่นเดียวกับการดื่มสุรา 14. โรคปริ ทนต์ (ฟันเน่าเละ)
  • 13. 7 15. โรคโพรงกระดูกอักเสบ 16. โรคความดันโลหิตสูง 17. ประสาทในการรับรสแย่ลง 18. มีอาการไอเรื้ อรัง มีเสมหะมาก บางครั้งไอถี่มากจนไม่สามารถหลับนอนได้ 5. องค์กรร่ วมต้านบุหรี่ 5.1 มูลนิธิรณรงค์ช่วยให้เลิกบุหรี่และสารเสพติด บุหรี่ เป็ นสาเหตุใหญ่อนดับสองของการตายที่เกิดขึ้นทัวโลกในขณะนี้ โดยคร่ าชีวิตผูคนไปเกือบ ั ่ ้ ปี ละ 5 ล้านคน และหากแนวโน้มยังเป็ นเช่นในปัจจุบนแล้ว จํานวนนี้จะเพิ่มขึ้นอีกเป็ น 2 เท่า ภายในปี ั 2020 โดยที่70% เป็ นผูเ้ สียชีวิตที่อยูในประเทศที่กาลังพัฒนา ่ ํ พิษที่อยูในควันบุหรี่ น้ น ประกอบไปด้วยส่วนประกอบทางเคมีมากกว่า 4,000 ชนิด ซึ่งมีอนตราย ่ ั ั อย่างยิง ซึ่งประกอบด้วยสารเคมีจานวนมาก ยกตัวอย่างเช่น นิโคติน, เบนซิน และเบนโซไพรี น ส่วนใน ่ ํ ควันจะประกอบด้วย คาร์บอนมอนออกไซด์, แอมโมเนีย, ไดเมทธิล,ไนโตรซามีน, ฟอร์มลดีไฮด์, ั ไฮโดรเจนไซยาไนด์, และอะโครลีน ในทางการค้าอาจมีการเพิ่มคุณสมบัติที่ช่วยกระตุนให้เกิดความตื่นตัว ้ และสารอีกประมาณ 30 กว่าชนิดที่เรารู้จก หรื อเป็ นคาร์ซิโนเจน ที่ตรวจพบว่า เป็ นสาเหตุของการเกิด ั มะเร็ ง ผลกระทบโดยตรงที่เกิดขึ้นนั้น ส่วนหนึ่งจะทําให้เกิดอาการระคายเคืองตา ปวดศีรษะ ไอ เป็ นแผล ในลําคอ มึนศีรษะ และคลื่นไส้อาเจียน การสูบบุหรี่ ในช่วงระยะเวลาเพียงสั้นๆ จะมีผลต่อหัวใจของผูที่อยูขางเคียงบ้างพอประมาณ ต้อง ้ ่ ้ ใช้เวลาประมาณ 30 นาที จึงจะมีผลไปลดอัตราการไหลเวียนของโลหิตแดง รวมทั้งการสูบบุหรี่ เป็ น เวลานาน จะมีผลเกี่ยวเนื่องทําให้อตราเสี่ยงต่อการเป็ นโรคหืดในผูสูบสูงขึ้น และในผูที่ไม่ได้สูบโดยตรง แต่ ั ้ ้ อยูในครอบครัวที่มีผสูบบุหรี่ ก็มีความเสียงต่อการเป็ นโรคหัวใจ และโรคมะเร็ งปอด ่ ู้ จากการตรวจสอบของ Government-appointed Scientific Committee on Tobacco and Health (SCOTH) ได้ลงความเห็นว่า การได้รับควันบุหรี่ ของบุคคลข้างเคียง(ผูได้รับบุหรี่ มือสอง) เป็ นสาเหตุของ ้ โรคมะเร็ งในปอด โรค ischemic heart (หัวใจขาดเลือด) โรคระบบทางเดินหายใจ โรคไหลตาย และโรคหู ชั้นกลาง ในผูใหญ่ที่ไม่ได้สูบบุหรี่ และโรคหืดในเด็ก ้ อันตรายที่เกิดขึ้นดังกล่าว ทําให้ทวโลกได้ตระหนักว่ามีความจําเป็ นอย่างยิง ที่จะต้องรณรงค์ ให้ ั่ ่ การเลิกสูบบุหรี่ สาฤทธิ์ผล และองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ออกมาแถลงการณ์ว่าถึงสนธิสญญาฉบับนี้ ํ ั อันมีชื่ออย่างเป็ นทางการว่า “อนุสญญาแม่บทว่าด้วยการควบคุมยาสูบ” (Framework Convention on ั Tobacco Control) และมีสมาชิก WHO 192 ชาติ ให้การรับรองในการประชุมเมื่อปี 2003 ซึ่งจะสามารถช่วย ผูคนได้นบล้านๆ ้ ั
  • 14. 8 แม้จะดูเหมือนว่าประเทศไทยประสบความสําเร็ จค่อนข้างมาก ในการรณรงค์สร้างค่านิยมการไม่ สูบบุหรี่ ในสังคมไทย เช่นสิ่งที่เกิดขึ้นในองค์กรส่วนใหญ่ ที่เห็นด้วยกับการไม่สูบบุหรี่ อย่างกว้างขวาง หรื อ กฎหมายต่างๆ ที่พยายามจะนํามาใช้ในการควบคุมการสูบบุหรี่ ดังเช่นล่าสุด กระทรวงสาธารณสุขได้ออก ประกาศ ให้ผประกอบการต้องพิมพ์คาเตือนและรู ปภาพ ที่แสดงให้เห็นถึงผลกระทบ โทษภัย ของการสูบ ู้ ํ บุหรี่ เป็ นต้น แต่ว่า การรณรงค์ดงกล่าว หากมองที่เป้ าหมายที่แท้จริ งแล้ว ยังขาดความชัดเจนอยูค่อนข้างมาก ั ่ เพราะงบประมาณส่วนใหญ่ที่นาไปใช้น้ น ใช้ไปในการแนะนําโทษภัย และป้ องกันเท่านั้น แต่ในความเป็ น ํ ั จริ งแล้ว เป้ าหมายที่ควรจะสําคัญที่สุดคือ การเลิกสูบบุหรี่ ให้ได้ผลอย่างแท้จริ ง ซึ่งต้องทําให้ผที่สูบบุหรี่ ได้ ู้ เลิกบุหรี่ ให้ได้ และไม่คิดหันกลับไปสูบอีก รวมถึงกระบวนการเลิกนั้น จะต้องไม่มีผลกระทบต่อร่ างกายที่ จะตามมาในภายหลัง โครงการ “ปอดสะอาดปราศจากควันบุหรี่ ” เลิกได้อย่างถาวรภายใน 6 วัน ด้วยวิธีธรรมชาติบาบัด ํ โดยการขับล้างสารพิษ (Detox) ออกจากร่ างกาย จึงได้จดตั้งขึ้นตามความต้องการของ คุณ คสร เอี่ยมองอาจ ั ประธานมูลนิธิรณรงค์ช่วยให้เลิกบุหรี่ และสารเสพติด และผูใหญ่อีกหลายๆท่าน ที่ตองการให้ประเทศไทย ้ ้ ปลอดจากพิษภัยของบุหรี่ และสารเสพติด ตามแนวทางพระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว ่ ั 6. ประวัติ google site ประวัติ google site จุดเริ่ มต้นของเรื่ องนี้อยูที่ มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด (Stanford University) อีกหนึ่งสุดยอดแห่งมหาวิทยาลัย ่ ด้านไอที (จริ งๆแล้ว Stanford ก็จดว่าเป็ นอันดับต้นๆของโลกในสาขาอื่นๆอีกมากมาย ด้วยเช่นกัน) ั มหาวิทยาลัยแห่งนี้ นอกจากจะเป็ นต้นกําเนิดของสุดยอด 2 ไอเดียออนไลน์ระดับโลกอย่าง Yahoo! และ Google แล้ว มหาวิทยาลัยแห่งนี้เป็ นต้นกําเนิดของคอมพิวเตอร์ที่เราใช้ๆกันอยูดวยซํ้าไป ที่น่ีเป็ นที่ท่ี ่ ้ คุณ John von Neuman (จอห์น วอน นูแมน) คิดและประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ที่มีสถาปัตยกรรมที่เหมือนกับที่ เราใช้อยูนี่แหล่ะ เป็ นคนแรกของโลก (แม้จะไม่ใช่คอมพิวเตอร์เครื่ องแรกของโลกก็ตาม – สับสมัยครับ – ่ คืออย่างนี้ ครับ คอมพิวเตอร์เครื่ องแรกของโลกชื่อว่า ENIAC ซึ่งเป็ นเครื่ องที่มีความซับซ้อนสูง ต่อมาคุณ von Neuman ซึ่งก็ช่วยงานในการสร้างคอมพิวเตอร์ ENIAC อยูดวย แกเสนอว่า เราน่าจะแยกส่วนของ ่ ้ คอมพิวเตอร์ออกเป็ น หน่วยประมวลผล หน่วยความจํา หน่วยรับเข้าและส่งข้อมูล ซึ่งเป็ นสถาปัตยกรรมที่ แตกต่างจากคอมพิวเตอร์เครื่ องแรก และเป็ นสถาปั ตยกรรมที่เรายังใช้มาอยูจนในปัจจุบน หลายสถาบันก็เลย ่ ั ยกย่องให้ von Neuman เป็ นบิดาของคอมพิวเตอร์เลยทีเดียว) แหม! พูดถึงมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดซะยืด
  • 15. 9 ยาวเลย พักไว้แค่น้ ีก่อน เดี๋ยวหาใครที่กาลังเรี ยนแถวนั้นมาบรรยายสรรพคุณของ Stanford ต่อ ตอนนี้เข้า ํ เรื่ องกูเกิ้ลดีกว่าครับ เดี๋ยวกระดาษจะหมดซะก่อน ิ เรืิ ่ องก็เริ่ มตอนปิ ดเทอมภาคฤดูร้อนปี 1995 ที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้แหละครับ ตอนนั้น 1 ใน 2 ของผูก่อตั้ง ้ กูเกิ้ล เป็ นแค่นกเรี ยนปริ ญญาเอก ที่กาลังจะขึ้นปี 2 ของภาควิชา วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computer ั ํ Science) ธรรมดาๆ คนหนึ่ง ที่อาสาเข้ามาเป็ นนักศึกษาช่วยงาน Open House โดยปกติทุกๆปี ในช่วงก่อนเปิ ดเทอมนี้ มหาวิทยาลัยต่างๆเค้าจะมีการเปิ ดบ้านต้อนรับผูมาเยือน เราเรี ยกว่า ้ Open House (ที่เมืองไทยก็เห็นมีบางแล้วหลายมหาวิทยาลัย) คือว่าใครที่สนใจที่จะเรี ยนในมหาิิวิทยาลัย ้ ไหน คณะไหน ก็จะไปงาน Open House ของที่นน ที่จะมีคนมาคอยพาทัวร์ และแนะนําสถานที่ แนะนํา ั่ คณะ แนะนํา Lab แนะนําครู อาจารย์ เป็ นปกติเหมือนทุกๆปี แต่ปีนี้เองพระเอกคนที่สองของเรา คือ คุณ Larry Page ก็โผล่มาในงาน Open House ในปี นี้ หลังจากได้ดีกรี วิศวกรรมศาสตร์บณฑิต จาก ั มหาวิทยาลัยมิชิแกน (Michigan University) มาหยกๆ ทั้งสองเจอกันเพราะ Larry Page ไปอยูในกลุ่มทัวร์ ที่มี Sergey Brin เป็ นหัวหน้ากลุ่มทัวร์พอดี ดูท่าว่างานนี้ ่ ไม่ใช่รักแรกพบครับ เพราะระหว่างทางที่เดินทัวร์มหาวิทยาลัย และเมือง San Francisco อยู่ ทั้งสองคนนี้ก็มี เรื่ องให้ถกเถียงกันได้ตลอดเวลา โดยเฉพาะเรื่ องของการจัดผังเมืองของ San Francisco (??!!??) Page เล่าให้ฟังว่าตอนนั้นเค้าจําได้ว่า Sergey Brin เป็ นคนที่มีความคิดที่ค่อนข้างจะติดยึด เป็ นคนที่ไม่ค่อยโสภาที่น่าจะอยูใกล้เท่าไหร่ ถ้าคิดว่าตัวเองถูกละก็จะเถียงหัวชนฝา ซึ่งบังเอิญว่า ตัวเอง ่ (Page) ก็เป็ นคนแบบนั้น ส่วน Sergey ก็บอกว่าจริ งๆแล้ว Larry ก็ออกจะแปลกๆอยูเ่ หมือนกันแหละ เถียง หัวชนฝา ไม่ค่อยยอมใคร เอาเป็ นว่า ทั้งคู่ถกเถียงกันเรื่ องต่างๆทั้งวันที่เดินทัวร์ แม้จะไม่ลงรอยด้วยดี แต่ท้งคู่กจากันได้ดีก่อนจะแยก ั ็ํ จากกันในตอนเย็น (แหม! พล็อตยังกับหนังไทยเลยครับ พระเอกกับนางเอกเจอกันครั้งแรกจะต้องมีทะเลาะ ตบตี ต่างคนต่างบอกว่าเกลียด แต่ในใจคิดถึงอยู) ่ อีก 2-3 เดือนถัดมา มหาวิทยาลัยก็เปิ ดเทอมครับ Page ก็เข้ามารายงานตัว และเลือก Prof. Terry Winograd ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการโต้ตอบระหว่างคอมพิวเตอร์และมนุษย์ เป็ นอาจารย์ที่ปรึ กษา และก็เริ่ มมองหาหัวข้อ วิทยานิพนธ์ พ่อของ Larry Page (ขณะนั้ นเป็ นอาจารย์ดาน Computer Science อยูที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน) บอกว่า Thesis ้ ่ ปริ ญญาเอก จะเป็ นเหมือนกรอบ ที่จะคอยกําหนดอนาคต ด้านวิชาการของเราไปทั้งชีวิต ก่อนจะตัดสินใจ เลือกทําให้ไตร่ ตรองให้ดี ทําให้ Page ใช้เวลาอยูนานในการเลือกหัวข้อทําวิทยานิพนธ์ หลังจากลองนึกๆดู ่ สิบกว่าเรื่ อง สุดท้ายก็มาลงที่เรื่ อง World Wide Web นี่เอง
  • 16. 10 และแล้วจุดเริ่ มต้นของไอเดียเล็กๆ ก็กลายเป็ นไอเดียที่เปลียนโลกอินเตอร์เน็ตทั้งใบ จุดกําเนิดของยักษ์ใหญ่ ่ ในวงการซอฟท์แวร์อีกตน ก็เริ่ มขึ้นที่นี่ … Remark1 ชื่อ Surgey Brin อ่านออกเสียง ว่า เซอร์เก บริ น โดย Assoc. Prof. Stanislav Makanov (อาจารย์ชาว รัสเซีย ประจําสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) Page เริ่ มหัวข้อวิจยเกี่ยวกับ ั เว็บก็จริ ง แต่ไม่ได้เริ่ มมองหาวิธีที่จะค้นหาข้อมูลบนเว็บ แต่สิ่งที่เค้ามองเห็นกลับเป็ น มุมมองทางด้าน คณิ ตศาสตร์ของเว็บไซท์มากกว่า คือ Page มองแบบนี้ครับ...ถ้าหากมองว่า 1 เซอร์ฟเวอร์ หรื อ 1 เว็บไซท์ เช่น วิชาการ.คอม หรื อ 1 คอมพิวเตอร์ เป็ นเพียง จุด (Node, Vertex) จุดหนึ่งบนกราฟ (Graph) และ ลิ๊งค์ (link) เช่น www.ipst.ac.th ที่ วิชาการ.คอม เชื่อมต่อไปยังเว็บไซท์อื่นๆ เหมือนกับเป็ นทางเชื่อมต่อ กัน หรื อ ขอบ(Edge) ระหว่างจุดเหล่านั้น หรื อ พูดง่ายๆว่า Page มองเห็น อินเตอร์เน็ตเป็ นกราฟ นันเอง ่ (แฮ่ะๆ แบบนี้เรี ยกว่ามันอยูในสัญชาติญาณ มองอินเตอร์เน็ตเป็ นกราฟ ทําได้ไงเนี่ย) ซึ่งบ้านเรา นิสิต ่ นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ด้านทางสายวิทย์ มักจะได้เรี ยนเรื่ อง กราฟ ประเภทนี้ในเรื่ อง ทฤษฏีกราฟ (Graph Theory) แถวๆปี ต้นๆ (ซึ่งน้องๆตัวเล็กๆอาจสับสนนิดนึง เพราะกราฟที่คุนเคยอาจจะหมายถึง กราฟที่เป็ น ้ ตัวแทนของข้อมูล เช่น กราฟแท่ง กราฟเชิงเส้น ซะมากกว่า) ถ้าไม่ใช่ในวิชาคณิ ตศาสตร์ ก็จะเป็ นวิชา Algorithm โดยเฉพาะพวกที่เรี ยน วิทยาการคอมพิวเตอร์ ก็น่าจะ ผ่านหูผานตากันมาแล้วทุกคน (ถ้าไม่ใส่ไหคืนอาจารย์ไปหมดแล้วซะก่อน) (มีอาจารย์และนักคณิตศาสตร์ ่ ในเมืองไทยหลายคน ที่เชี่ยวชาญเรื่ อง Graph Theory เช่น ดร.จริ ยา อุ่ยยะเสถียร ภาควิชาคณิ ตศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่จบปริ ญญาเอกเรื่ องนี้มาโดยเฉพาะ เดี๋ยวจะลองเกี้ยวมาช่วยเขียน เรื่ อง Graph Theory อีกซักบทความ) แต่คราวนี้ลองใช้จินตนาการดูกนหน่อยนะครับ ว่าแน่นอนเว็บไซท์หนึ่งเว็บ ก็ลิงค์ ั ไปยังหลายร้อย หลายพันเว็บ และมีเว็บไซท์หลายๆเว็บ ที่ลิงค์มายังเว็บไซท์หนึ่งๆ และปัจจุบนเรามีกนเป็ น ั ั พันๆ ล้านเว็บ เพราะฉนั้น กราฟ ที่เราใช้แทน อินเตอร์เน็ต ก็จะเป็ นกราฟขนาดมหึมา และมีความซับซ้อน มี เส้นโยงกันไปโยงกันมาอย่างยุงเหยิง ซึ่งตรงนี้แหละที่ Page มองแล้วเห็นว่ามันช่างน่าตื่นเต้น น่าสนใจ น่า ่ ติดตาม เสียเหลือเกิน Page เคยบอกว่า Internet คือ กราฟที่ใหญ่ที่สุดที่มนุษย์เคยสร้างขึ้น และมันก็ยงจะ ั เติบโต ใหญ่ข้ ึน ใหญ่ข้ ึน ทุกๆวัน ด้วยอัตราเร็ วในการเติบโตสูงมาก โอ! มันช่างเป็ นเรื่ องที่น่าสนใจทํา วิทยานิพนธ์เหลือเกิน (ถ้าเป็ นคนสามัญชนคนไทยธรรมดา ก็อาจจะบอกว่า โอ! มันซับซ้อนเหลือเกิน ไม่มี ทางทําได้หรอก ทําไปเดี๋ยวไม่จบ หนีดีกว่า) ซึ่ง Prof. Winograd อาจารย์ที่ปรึ กษาของเค้าก็เห็นด้วย และเห็น ว่าน่าจะศึกษาเรื่ องของโครงสร้างของกราฟของเว็บ เป็ นการเริ่ มต้นวิทยานิพนธ์ Page ทําการศึกษาด้วย ตัวเองอยูไม่นาน เค้าก็เจอปัญหาแรกเข้าให้ ่ โอเคตรงนี้เราเข้าเรื่ อง graph theory กันนิดนึง (เอาเป็ นว่าผมพยายามวงเล็บภาษาอังกฤษของคําไทยไว้ดวย ้ ครับ จะได้ช่วยให้คนทีคุนเคยกับคําอังกฤษในวิชานี้แล้ว ได้เห็นภาพง่ายขึ้นนะ) คืออย่างนี้ ในกราฟปกติ ้ ขอบของกราฟ (Edge) จะเป็ นตัวบ่งถึงความสัมพันธ์กนระหว่าง จุด (Vertex) ซึ่งโดยปกติแล้ว เราจะรู้และ ั
  • 17. 11 นับจํานวนได้ว่า จากจุดจุดหนึ่ง มีขอบ หรื อ เส้นลากไปยังจุดอื่นๆ อีกกี่จุด และมีกี่จุดที่ลากมาหาตัวเอง แต่ หน้าเว็บเพจกลับไม่เป็ นแบบนั้นซะทีเดียว เพราะ ที่หน้าเว็บเพจหนึ่งๆ (สมมติว่าเว็บ 1 หน้าเป็ น 1 จุดใน กราฟ) เรารู้ครับว่า จากจุดที่เราอยูปัจจุบน มันลิงค์ไปยังหน้าไหนบ้าง คือ เรารู้ว่ามันมี จํานวนขอบที่วิ่ง ่ ั ออกไป (Out Degree) จากตัวเองกี่ขอบกี่เส้น และไปที่ไหนบ้าง แต่ที่เราไม่รู้นี่คือว่า มีเว็บเพจใดบ้าง กี่หน้า ที่ลิงค์มาหาหน้าที่เราสนใจ โอยสับสนใช่ม้ยครับ ผมยกตัวอย่างเปรี ยบเทียบแบบนี้กแล้วกัน ถ้าผมถามคุณ ั ็ ว่าคุณรู้จกคนกี่คน คุณอาจจะต้องนังไล่นบนิ้วไปเรื่ อยๆ แต่คุณก็บอกได้ว่าคุณรู้จกใครบ้าง และคล้ายๆกัน ั ่ ั ั ผมถามว่า "คุณรู้ม้ยว่ามีใครในโลกนี้รู้จกคุณบ้าง?" (เปรี ยบกับ "รู้ม้ยว่ามีเว็บไหนลิงค์มาที่เราบ้าง") คําตอบ ั ั ั คือ ไม่รู้ จะไปรู้ได้ยงไงว่าใครรู้จกเราบ้างโอเค เริ่ มเห็นภาพนะครับ ลองนึกตามแบบนี้นะครับ ว่าหน้าเว็บที่ ั ั คุณอ่านอยูตอนนี้เนี่ย ลิงค์มาจากหน้าไหน URL อะไรบ้าง ถ้าคุณไม่กด Back มีขอมูลตรงไหนบอกมั้ยครับ? ่ ้ หรื อแม้แต่คุณจะกด Back คุณก็รู้แค่ลิงค์เดียวที่ลิ๊งค์มาหาหน้านี้ แต่ที่จริ ง อาจจะมีหน้าเว็บอื่นๆอีกเป็ นร้อยๆ ที่มีลิ๊งค์มาหาหน้านี้ ที่เราไม่รู้ คําถามคือ แล้วเราจะรู้ได้ยงไง? ั ซึ่งตรงนี้หล่ะยาก เพราะอินเตอร์เน็ตไม่ได้ให้ขอมูลนี้มา และตรงนี้เองที่ Page คิดว่า มันน่าจะดี ถ้าหากว่าเรา ้ รู้ (หรื ออย่างน้อย มีวิธีการที่จะทําให้รู้) ว่าใครลิงค์หาใครบ้าง หรื อ มีใครลิงค์มาหาหน้านี้บางกี่คน Page ก็ ้ เลยเลือกเอาปัญหานี้ มาทําเป็ นวิทยานิพนธ์ปริ ญญาเอก และตั้งชื่อเล่นโปรเจ็คของเค้าว่า "BackRub Project" (โครงการ "ถูหลัง" - แหม! ผมแปลตรงตัวไปหน่อยหรื อเปล่าเนี่ย - สงสัยว่า Page คงอยากรู้ว่า ตอนที่อาบนํ้า นี่ ใครถูหลังให้เค้าบ้าง -! ว่าไปโน่น)โอเค งั้นกลับมาที่คาถามเดิม ถ้าเราอยากจะรู้ว่ามีใครรู้จกเราบ้างกี่คน ํ ั เราจะทําอย่างไร จริ งๆคําตอบนี้ง่ายมากครับ คุณก็ถามคนทุกๆคนทัวทั้งโลกนี้เลยซิครับว่าเค้ารู้จกใครบ้าง ่ ั ด้วยวิธีน้ ี พอคุณถามครบทุกคนทั้งโลก คุณก็จะรูวาทั้งโลกนี้มีคนรู้จกคุณกี่คนใช่ป่าวครับ แหม! คิดได้ไง ้่ ั ง่ายจังคล้ายๆกัน เพื่อจะรู้ว่าใครลิงค์มาที่หน้าเว็บนี้บาง Page ก็เริ่ มจากการไล่ไปที่ละหน้าเว็บแล้วดูว่าหน้า ้ นั้นลิงค์ไปที่ไหนบ้าง (เหมือนว่าหน้านั้นรู้จกใครบ้าง) แล้วเก็บลิงค์ท้งหมดในหน้านั้นมาเข้าคิวไว้ เพื่อจะได้ ั ั ไล่ถามไปเรื่ อยๆ (ตรงนี้แหล่ะครับที่เรี ยกว่า Crawler - หน้าถัดไปจะอธิบายอีกที) Page คิดว่าแหมไล่ไป เรื่ อยๆแบบนี้ ซักอาทิตย์นึงก็เก็บเว็บหมดจากทัวโลกแล้ว บ้าน. ก็เป็ นจุดเริ่ มต้นของ Backrub โปรเจ็ค ่ นันเอง ่ จาก BackRub Project ที่ค่อยๆ เติบโตมา ด้วยนํ้ามือของนักศึกษา 2 คน ที่ใช้หองนอนที่หอพักนักศึกษา ทํา ้ เป็ น ห้อง Server และ ห้องเขียนโปรแกรม ได้กลายเป็ น Google Project โปรแกรม Search Engine ขนาดจิ๋ว ที่ดูดทรัพยากร Network ของมหาวิทยาลัย สแตนฟอร์ด ที่ได้ชื่อว่า Network ที่เร็ วเป็ นอันดับต้นๆของโลก ได้อย่างไร
  • 18. 12 Page เริ่ มที่จะคิดว่า เราจะทําไงถึงจะรู้ว่า ลิงค์ใดบ้างที่ลิงค์มายังเว็บหนึ่งๆ หลังจากที่ศกษาเกี่ยวกับเรื่ องนี้ได้ ึ ไม่นาน(ไม่กี่เดือน) Page ก็พบว่า จริ งๆแล้ว เรื่ องของการลิงค์ไปลิงค์มาของเอกสารนี่ มีกนมานานแล้วใน ั วงการวิชาการ ก็คือเรื่ องของ ผลงานวิชาการ นันเอง คือโดยปกติแล้ว หากนักวิชาการท่านใด คิดทฤษฎีอะไร ่ ออกมาได้ใหม่ๆ หรื อค้นพบอะไรใหม่ หรื อต้องการจะแก้ไขสิ่งที่มีอยูแล้ว ก็จะทําการตีพิมพ์ผลงานของ ่ ตนเองในวารสารวิชาการ (Journal) โดยจะต้องอ้างอิงถึงที่มาของความรู้ หรื อ ผลงานที่มีมาก่อนของคนอื่น หรื อที่ใกล้เคียง ก็เพื่อให้องค์ความรู้ใหม่ที่ตีพิมพ์ มีรากฐานจากองค์ความรู้ ที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว (ตีพิมพ์ แล้ว) นันเอง ดังนั้น ผลงานวิชาการ ไหนที่ได้รับการอ้างถึง (Citation) บ่อยๆ จาก นักวิชาการคนอืนๆ แสดง ่ ่ ว่า ผลงานวิชาการชิ้นนั้นได้รับการยอมรับอย่างจริ ง ในวงการวิชาการเรามีตวชี้วดกันเลยว่า ผลงานหนึ่งๆ มี ั ั การถูกอ้างถึงมากน้อยเพียงใด เราเรี ยกดัชนีตวนี้ว่า Citation index ซึ่งการอ้างอิงด้านวิชาการถือเป็ นเรื่ อง ั ใหญ่ ใหญ่ขนาดไหนครับ ก็ใหญ่พอที่จะมิวิชาที่ว่าด้วยเรื่ องนี้โดยเฉพาะเลย คือวิชา bibliometrics (ผมเองก็ ไม่เคยเรี ยนครับ แต่เข้าใจว่าน่าจะเป็ นทางกลุ่มนักศึกษา วารสาร หรื อ บรรณารักษ์ หรื อ สารสนเทศ - เดี๋ยว จะค้นมาให้ว่าที่ไหนสอนบ้างในเมืองไทย)
  • 19. 13 บทที่ 3 การดาเนินการ วัสดุอุปกรณ์ 1. เครื่ องคอมพิวเตอร์ต่ออินเทอร์เน็ต 2. เว็บไซต์ Google site วิธีการดาเนินงาน 1. เลือกหัวข้อในการศึกษา 2. วางแผน แบ่งหน้าที่ในแก่สมาชิกในกลุ่ม 3. นําข้อมูลมาเรี ยบเรี ยง 4. ส่งงาน การดาเนินงาน หัวข้อ ระยะเวลา เลือกหัวข้อในการศึกษา 14 กันยายน – 15 กันยายน 2555 วางแผนในการทําโครงงาน 18 กันยายน – 22 กันยายน 2555 แบ่งงานให้แก่สมาชิก 22 กันยายน 2555 รวบรวมข้อมูล 15 พฤศจิกายน -20 กุมภาพันธ์ 2556 สร้างเว็บไซต์ 9 มกราคม – 20 กุมภาพันธ์ 2556 ส่งงาน 21 กุมภาพันธ์ 2556
  • 20. 14 วิธีการทา google site 1. เลือกสร้างและตั้งชื่อ
  • 22. 16 3. ทําการเพิ่มข้อความหรื อแก้ไขข้อความ เว็บไซต์ที่จดทาขึน ั ้ https://sites.google.com/site/thoskhxngbuhri/
  • 23. 17 บทที่ 4 ผลการดาเนินการ จากการทําโครงงานคอมพิวเตอร์ ในเรื่ อง โทษของบุหรี่ ซึ่งมีผลการดําเนินงานโครงงาน ดังนี้ ผูจดทําได้ ผูจดทําได้เริ่ มดําเนินงานตามขั้นตอนการดําเนินงานที่เสนอในบทที่ 3 จากนั้นได้นาเสนอ ้ั ้ั ํ เผยแพร่ ผลงานผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ ทุกที่ทุกเวลา โดยได้นาเผยแพร่ ที่เว็บ ํ www. Sites.google.com และในการทํานี้ผจดทําก็ได้ได้มีผรู้ถึงโทษของบุหรี่ อาจมีการลดการสูบบุหรี่ ลง ู้ ั ู้ มีผเู้ ข้าชมเว็บไซต์โทษของบุหรี่ ผานทางด้านอินเตอร์เน็ตมาก ่ ตัวอย่างหน้าเว็บไซต์ที่ได้จดทํา ั
  • 24. 18 บทที่ 5 สรุปผลและข้ อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา ผูจดทําได้ ผูจดทําได้เริ่ มดําเนินงานตามขั้นตอนการดําเนินงานที่เสนอในบทที่ 3 จากนั้นได้นาเสนอ ้ั ้ั ํ เผยแพร่ ผลงานผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ ทุกที่ทุกเวลาโดยได้นาเผยแพร่ ที่เว็บ ํ www. Sites.google.com และได้ทาบรรลุจุดประสงค์ที่ได้ต้งไว้ ณ เบื้องต้นของโครงงาน ว สามารถจัดการ ํ ั และเชื่อมต่อกับเว็บไซต์อื่นๆ ได้เป็ นอย่างดีโดยทั้งครู ที่ปรึ กษา โดยแสดงความเห็นในเนื้อหาและรู ปแบบ ของการนําเสนออย่างหลากหลาย ซึ่งทําให้เกิดการเรี ยนรู้และเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ในโลกออนไลน์อย่าง หลากหลายและรวดเร็ ว ปัญหาและอุปสรรค - ขาดความชํานาญในการทํา Google site ข้ อเสนอแนะ - ขาดความชํานาญในการทํา Google site ศึกษาและถามผูรู้ในการทํา Google site ้
  • 25. 19 บรรณนุกรม ____โทษของบุหรี่ (ออนไลน์) แหล่งที่มา http://www.dek-d.com/board/view.php?id=1205885 (วันที่คนหา 15 กุมภาพันธ์ 2556 ) ้ ____องค์กรที่รวมต่อต้านการสูบบุหรี่ (ออนไลน์) แหล่งที่มา http://www.saf.or.th/tha/project.html (วันที่คนหา 15 กุมภาพันธ์ 2556) ้ ____ประวัติของ google sites (ออนไลน์) https://sites.google.com/site/krunuttkks/prawati-khxng-google-site (วันที่คนหา 1 มีนาคม 2556) ้
  • 26. 20 ภาคผนวก วิธีการทํา google site 1. เลือกสร้างและตั้งชื่อ
  • 30. 24 ผูจดทํา ้ั นาย ชนุตร์ เจียมจิระพร เลขที่ 27 นาย ศรัณย์ ศิรินิคม เลขที่ 28 นาย จีรพัฒน์ กุลธนวิวฒน์ ั เลขที่ 33 นายพีรพล รัตนผล เลขที่ 35 มัธยมศึกษาปี ที่ 5/3