SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 88
Baixar para ler offline
คอมพิวเตอร์ เบืองต้ น
                    ้
(Introduction to Computer)
เนื้อหา
•   ความสาคัญของคอมพิวเตอร์
•   ประวัติคอมพิวเตอร์
•   ยุคของคอมพิวเตอร์
•   ประเภทของคอมพิวเตอร์
•   องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ภาษาละติน Computare หมายถึง การนับ หรือ การคานวณ
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ แบบ
อัตโนมัติ ทาหน้ าทีเ่ หมือนสมองกล ใช้ สาหรับแก้ปัญหาต่ างๆ ทีง่ายและซับซ้ อน
                                                             ่
โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ "
     คอมพิวเตอร์ จึงเป็ นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ ทถูกสร้ างขึนเพือใช้ ทางานแทน
                                                    ี่         ้ ่
มนุษย์ ในด้ านการคิดคานวณและสามารถจาข้ อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้ เพือ      ่
การเรียกใช้ งานในครั้งต่ อไป นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับสั ญลักษณ์ได้ ด้วย
ความเร็วสู ง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ยงมีความสามารถ
                                                                  ั
ในด้ านต่ างๆ อีกมาก
การทางานของคอมพิวเตอร์



Input     Process     Output
คอมพิวเตอร์ สาคัญอย่ างไร ?
คุณสมบัตพนฐานของคอมพิวเตอร์
             ิ ื้
1.   ทางานด้ วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Machine)
2.   ทางานด้ วยความเร็วสู ง (Speed)
3.   ความถูกต้ องแม่ นยาเชื่ อถือได้ (Accuracy & Reliability)
4.   เก็บข้ อมูลได้ ในปริมาณมาก (Storage)
5.   การสื่ อสารเชื่ อมโยงข้ อมูล (Communication)
ประวัติคอมพิวเตอร์
                       ลูกคิด

         ลูกหิน


นิ้ว
ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์
        มนุษย์ พยายามสร้ างเครื่องมือเพือช่ วยการคานวณมาตั้งแต่ สมัยโบราณ
                                        ่
แล้ว จึงได้ พยายามพัฒนาเครื่องมือต่ าง ๆ ให้ สามารถใช้ งานได้ ง่ายเพิมขึน
                                                                     ่ ้
ตามลาดับ ในระยะ 5,000 ปี ทีผ่านมา มนุษย์ เริ่มรู้จักการใช้ นิวมือและนิวเท้ า
                             ่                               ้         ้
ของตน เพือช่ วยในการคานวณ และพัฒนาเป็ นอุปกรณ์ อน ๆ
            ่                                           ื่
          วิวฒนาการของคอมพิวเตอร์ เริ่มต้ นจากวิวฒนาการของการคานวณ
               ั                                    ั
อุปกรณ์ ทใช้ ในการคานวณ หรือเครื่องคานวณต่ าง ๆ เนื่องจากถือได้ ว่า
            ี่
คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่องคานวณรู ปแบบหนึ่งนั่นเอง โดยอาจจะเริ่มได้ จากการ
นับจานวนด้ วยก้อนหิน, เศษไม้ , กิงไม้ , การใช้ ถ่านขีดเป็ นสั ญลักษณ์ตามฝา
                                    ่
ผนัง ทั้งนีเ้ ครื่องคานวณทีนับเป็ นต้ นแบบของคอมพิวเตอร์ ทงานในปัจจุบัน
                           ่                                   ี่
ได้ แก่ ลูกคิด (Abacus) นั่นเอง
ลูกคิด (Abacus)
       ลูกคิด เป็ นเครื่องคานวณเครื่องแรก ทีมนุษย์ ได้ ประดิษฐ์ คิดค้ นขึนมา โดย
                                            ่                            ้
ชาวตะวันออก (ชาวจีน) เช่ นลักษณะลูกคิดของจีน ซึ่งมีตัวนับรางบน สองแถว
ขณะทีลูกคิดของญีปุ่นมีตัวนับรางบนเพียงแถวเดียว แม้ เป็ นอุปกรณ์ สมัยเก่ า
       ่             ่
แต่ กมีความสามารถในการคานวณเลขได้ ทุกระบบ
     ็




       ในปัจจุบันการคานวณบางอย่ าง ยังใช้ ลูกคิดอยู่ถง แม้ นจะมีคอมพิวเตอร์
                                                     ึ
เครื่องจักรคานวณ (Mechanical Calculator)
    ค.ศ. 1500 มีเครื่องคานวณ (Mechanical Calculator) ของ
ลีโอนาโด ดาวินซี่ (Leonardo da Vinci) ชาวอิตาลี ใช้ สาหรับการ
คานวณทางคณิตศาสตร์ พนฐาน  ื้
แท่ งเนเปี ยร์ (Napier's bones)
        แท่ งเนเปี ยร์ อุปกรณ์ คานวณทีช่วยคูณเลข คิดค้ นโดย จอห์ น เนเปี ยร์
                                      ่
(John Napier : 1550 - 1617) นักคณิตศาสตร์ ชาวสก๊อต มีลกษณะเป็ นแท่งไม้ ที่
                                                            ั
ตีเป็ นตารางและช่ องสามเหลียม มีเลขเขียนอยู่บนตารางเหล่ านี้ เมื่อต้ องการคูณ
                                ่
เลขจานวนใด ก็หยิบแท่ งทีใช้ ระบุเลขแต่ ละหลักมาเรียงกัน แล้ วจึงอ่ านตัวเลขบน
                             ่
แท่ งนั้น ตรงแถวทีตรงกับเลขตัวคูณ ก็จะได้ คาตอบทีต้องการ
                       ่                             ่
Napier’s Bones




                 สู ตรคูณ
ไม้ บรรทัดคานวณ (Slide Rule)
         วิลเลียม ออทเตรด (1574 - 1660) ได้ นาหลักการลอการิทมของเนเปี ยร์
               ่                                               ึ
มาพัฒนาเป็ น ไม้ บรรทัดคานวณ หรือสไลด์ รูล โดยการนาค่ าลอการิทม มา     ึ
เขียนเป็ นสเกลบนแท่ งไม้ สองอัน เมื่อนามาเลือนต่ อกัน ก็จะอ่ านค่ าเป็ นผลคูณ
                                             ่
หรือผลหารได้ โดยอาศัยการคาดคะเนผลลัพธ์
Slide Rule


เปลี่ยนหน่ วยได้
คานวณฟังก์ชนตรีโกณมิติได้
           ั
หาค่ายกกาลังและถอดราก (2 และ 3)
หาค่า Log
นาฬิ กาคานวณ (Calculating Clock)
       นาฬิ กาคานวณ เป็ นเครื่องคานวณทีรับอิทธิพลจากแท่งเนเปี ยร์ โดยใช้
                                        ่
ตัวเลขของแท่ งเนเปี ยร์ บรรจุบนทรงกระบอกหกชุ ด แล้ วใช้ ฟันเฟื องเป็ นตัวหมุน
ทดเวลาคูณเลข ประดิษฐ์ โดย วิลเฮล์ ม ชิ คการ์ ด (1592 - 1635) ซึ่งถือได้ ว่าเป็ น
ผู้ทประดิษฐ์ เครื่องกลไกสาหรับคานวณได้ เป็ นคนแรก
    ี่
เครื่องคานวณของปาสกาล
  (Pascal's Pascaline Calculator)
      เครื่องคานวณของปาสกาล ประดิษฐ์ ในปี 1642 โดย เบลส ปาส
กาล (Blaise Pascal :1623 - 1662) นักคณิตศาสตร์ ชาวฝรั่งเศษ โดย
เครื่องคานวณนีมลกษณะเป็ นกล่องสี่ เหลียม มีฟันเฟื องสาหรับตั้งและ
                 ้ ีั                    ่
หมุนตัวเลขอยู่ด้านบน ถือได้ ว่าเป็ น "เครื่องคานวณใช้ เฟื องเครื่อง
แรก"
Pascal’s Calculator
เครื่องคานวณของไลปนิซ (The Leibniz Wheel)
      กอดฟรีด ไลปนิซ (Gottfried Wilhelm Leibniz: 1646 - 1716)
นักคณิตศาสตร์ นักปรัชญา นักการฑูต ชาวเยอรมัน ทาการปรับปรุง
เครื่องคานวณของปาสกาลให้ สามารถคูณ และหารได้ ในปี 1673 โดย
การปรับฟันเฟื องให้ ดีขนกว่ าของปาสกาล ใช้ การบวกซ้า ๆ กันแทน
                       ึ้
การคูณเลข จึงทาให้ สามารถทาการคูณและหารได้ โดยตรง ซึ่งอาศัย
การหมุนวงล้อของเครื่องเอง ยังค้ นพบเลขฐานสอง (Binary Number)
คือ เลข 0 และเลข 1 ซึ่งเป็ นระบบเลขทีเ่ หมาะในการคานวณ
Leibnitz Wheel
Punched Card




    คล้ายข้อมูลทีถูกบันทึกใน DVD
                 ่
   หรือ ในทางกลคล้ายกับกล่องดนตรี
Difference Engine
Analytical Engine
เครื่ องประมวลผลทางสถิติ
เครื่ อง MARK 1
เครื่ อง ENIAC
เครื่ อง EDVAC
เครื่ อง UNIVAC
ยุคของคอมพิวเตอร์
1.   ยุคที่หนึ่ง (First Generation)
2.   ยุคที่สอง (Second Generation)
3.   ยุคที่สาม (Third Generation)
4.   ยุคที่สี่ (Fourth Generation)
Vacuum Tube
Transistor
Integrated Circuit : IC
Very Large Scale Integration
          : VLSI
ประเภทคอมพิวเตอร์
•   แบ่งตามลักษณะของการแสดงข้อมูล
•   แบ่งตามลักษณะการประมวลผลข้อมูล
•   แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน
•   แบ่งตามความจุของหน่วยความจาหลัก ราคาและ
    ความสามารถในการทางาน
แบ่งตามลักษณะของการแสดงข้อมูล

    1. Analog Computer
    2. Digital Computer
    3. Hybrid Computer
แบ่งตามลักษณะการประมวลผลข้อมูล

    1. Batch Processing
    2. Time Sharing
แบ่ งตามวัตถุประสงค์ ของการใช้ งาน
    1. เฉพาะกิจ
    2. เอนกประสงค์
แบ่งตามความจุของหน่วยความจาหลัก ราคา
     และความสามารถในการทางาน

       1.   Supercomputer
       2.   Mainframe
       3.   Minicomputer
       4.   Microcomputer
       5. Embedded computer
Supercomputer
The Cray-2; world's fastest
 computer 1985–1989.
Mainframecomputer
Minicomputer
Microcomputer
Embeded computer
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
2. ซอฟต์แวร์ (Software)
3. บุคลากร (People)
4. ข ้อมูลและสารสนเทศ
   (Data/Information)
5. กระบวนการทางาน (Procedure)
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
1. หน่วยรับข ้อมูล (Input Unit)
2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing
   Unit : CPU)
3. หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit)
4. หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit)
5. หน่วยเก็บข ้อมูลสารอง (Secondary Storage
   Unit)
ซอฟต์แวร์ (Software)

1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
บุคลากร (Peopleware)
•   Data Entry Operator
•   Computer Operator
•   Application Programmer
•   System Programmer
•   System Analyst
•   System Engineer
•   IT Manager (EDP Manager)
ข้อมูลและสารสนเทศ
       (Data/Information)


Data        Process    Information
ต ัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์




        ภาษา BASIC
Visual BASIC
PASCAL
C
HTML
JAVA
XML
เครื่ องผลต่างของแบบเบจ
      (Babbage's Difference Engine)
       ชารลส์ แบบเบจ (Charles Babbage: 1792 - 1871) นักวิทยาศาสตร์ ชาว
อังกฤษ ได้ ประดิษฐ์ เครื่องผลต่ าง (Difference Engine) ขึนมาในปี 1832 เป็ น
                                                         ้
เครื่องคานวณทีประกอบด้ วยฟันเฟื องจานวนมาก สามารถคานวณค่ าของตาราง
                ่
ได้ โดยอัตโนมัติ แล้วส่ งผลลัพธ์ ไปตอกลงบนแผ่นพิมพ์สาหรับนาไปพิมพ์ได้ ทน    ั
แบบเบจได้ พฒนาเครื่องผลต่ างอีกครั้งในปี 1852 โดยได้ รับเงินอุดหนุนจาก
             ั
รัฐสภาอังกฤษ แต่ กต้องยุติลงเมื่อผลการดาเนินการไม่ ได้ ดังทีหวังไว้
                    ็                                       ่
เครื่ องวิเคราะห์ของแบบเบจ
    (Babbage's Analytical Engine)
     หลังจากนั้นแบบเบจก็หันมาออกแบบเครื่องวิเคราะห์
(Babbage's Analytical Engine) โดยเครื่องนี้
ประกอบด้ วย "หน่ วยความจา" ซึ่งก็คือ ฟันเฟื องสาหรับ
นับ "หน่ วยคานวณ" ทีสามารถบวกลบคูณหารได้ "บัตร
                        ่
ปฏิบัติ" คล้ ายๆ บัตรเจาะรู ใช้ เป็ นตัวเลือกว่ าจะคานวณ
อะไร "บัตรตัวแปร" ใช้ เลือกว่ าจะใช้ ข้อมูลจาก
หน่ วยความจาใด และ "ส่ วนแสดงผล" ซึ่งก็คือ
"เครื่องพิมพ์ หรือเครื่องเจาะบัตร" แต่ บุคคลทีนาแนวคิด
                                                   ่
ของแบบเบจมาสร้ างเครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine)
ก็คอ ลูกชายของแบบเบจชื่ อ เฮนรี่ (Henry) ในปี 1910
   ื
อย่างไรก็ตามความคิดของแบบเบจ เกียวกับเครื่องผลต่ าง และเครื่อง
                                                   ่
วิเคราะห์ เป็ นประโยชน์ ต่อวงการคอมพิวเตอร์ ในยุคต่ อมามาก จึงได้ รับสมญาว่ า
"บิดาแห่ งคอมพิวเตอร์ " เนื่องจากประกอบด้ วยส่ วนสาคัญ 4 ส่ วน คือ
1. ส่ วนเก็บข้ อมูล เป็ นส่ วนทีใช้ ในการเก็บข้ อมูลนาเข้ าและผลลัพธ์ ทได้ จากการ
                                ่                                      ี่
คานวณ
2. ส่ วนประมวลผล เป็ นส่ วนทีใช้ ในการประมวลผลทางคณิตศาสตร์
                             ่
3. ส่ วนควบคุม เป็ นส่ วนทีใช้ ในการเคลือนย้ ายข้ อมูลระหว่ างส่ วนเก็บข้ อมูลและ
                           ่            ่
ส่ วนประมวลผล
4. ส่ วนรับข้ อมูลเข้ าและแสดงผลลัพธ์ เป็ นส่ วนทีใช้ รับข้ อมูลจากภายนอกเครื่อง
                                                  ่
เข้ าสู่ ส่วนเก็บข้ อมูล และแสดงผลลัพธ์ ทได้ จากการคานวณทาให้ เครื่องวิเคราะห์
                                         ่ี
นี้ มีลกษณะใกล้ เคียงกับส่ วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน
         ั
Mark I เครื่ องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ของไอบีเอ็ม
     ในปี 1943 บริษัทไอบีเอ็ม (IBM: International Business Machines Co.,)
โดยโธมัส เจ. วัตสั น (Thomas J. Watson) ได้ พฒนาเครื่องคานวณทีมี
                                                 ั                     ่
ความสามารถเทียบเท่ากับคอมพิวเตอร์ ซึ่งก็คือ เครื่องคิดเลขทีใช้ เครื่องกล
                                                               ่
ไฟฟาเป็ นตัวทางาน ประกอบด้ วยฟันเฟื องในการทางาน อันเป็ นการนาเอา
   ้
เทคโนโลยีเครื่องวิเคราะห์ แบบแบบเบจมาปรับปรุ งนั่นเอง เครื่องนียงไม่้ั
สามารถบันทึกคาสั่ งไว้ ในเครื่องได้ มีความสู ง 8 ฟุต ยาว 55 ฟุต ซึ่งก็คือ เครื่อง
Mark I หรือชื่อทางการว่า Automatic Sequence Controlled Calculator
ENIAC เครื่ องคอมพิวเตอร์เครื่ องแรกของโลก
  จอห์ น ดับลิว มอชลีย์ (John W. Mauchly) และ เจ
เพรสเพอร์ เอคเกิรต (J. Prespern Eckert) ได้ รับ
ทุนอุดหนุนจากกองทัพสหรัฐอเมริกา ในการสร้ าง
เครื่องคานวณ ENIAC เมื่อปี 1946 นับว่าเป็ น
"เครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องแรกของโลก
หรือคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกของโลก" ENIAC เป็ น
คาย่อของ Electronics Numerical Integrator and
Computer อาศัยหลอดสุ ญญากาศจานวน 18,000
หลอด มีนาหนัก 30 ตัน ใช้ เนือทีห้อง 15,000 ตาราง
          ้                 ้ ่
ฟุต เวลาทางานต้ องใช้ ไฟถึง 140 กิโลวัตต์ คานวณใน
ระบบเลขฐานสิ บ
EDVAC กับสถาปั ตยกรรมฟอนนอยมานน์
EDVAC หรือ Electronics Discrete Variable Automatic Computer นับเป็ น
เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องแรก ทีสามารถเก็บคาสั่ งเอาไว้ทางาน ในหน่ วยความจา
                                ่
พัฒนาโดย จอห์ น ฟอน นอยมานน์ (Dr. John Von Neumann) นักคณิตศาสตร์
ชาวฮังการี ร่ วมกับทีมมอชลีย์ และเอคเกิรต โดยฟอน นอยมานน์ แนวคิดที่
น่ าสนใจเกียวกับการทางานของคอมพิวเตอร์ จนได้ รับการขนานนามว่า
           ่
"สถาปัตยกรรมฟอนนอนมานน์ " ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. มีหน่ วยความจาสาหรับใช้ เก็บคาสั่ ง และข้ อมูลรวมกัน
2. การดาเนินการ กระทาโดยการอ่านคาสั่ งจากหน่ วยความจา มาแปลความหมาย
แล้วทาตามทีละคาสั่ ง
3. มีการแบ่ งส่ วนการทางาน ระหว่างหน่ วยประมวลผล หน่ วยความจา หน่ วย
ควบคุม และหน่ วยดาเนินการรับ และส่ งข้ อมูล
UNIVAC เครื่ องคอมพิวเตอร์สาหรับ
            ใช้ในงานธุรกิจเครื่ องแรกของโลก
     มอชลีย์ และเอคเกิรต ในนามบริษัทเรมิงตัน แรนด์ (Remington Rand) ได้
สร้ างเครื่องคอมพิวเตอร์ อกเครื่องหนึ่งในเวลาต่ อมา คือ UNIVAC (Universal
                          ี
Automatic Computer) เพือใช้ งานสามะโนประชากรของสหรัฐอเมริกา เป็ น
                            ่
เครื่องทีทางานในระบบเลขฐานสิ บเหมือนเดิม อย่างไรก็ตาม UNIVAC ก็ยงมี
         ่                                                            ั
ขนาดใหญ่มาก ยาว 14 ฟุต กว้ าง 7 ฟุตครึ่ง สู ง 9 ฟุต มีหลอดสุ ญญากาศ 5,000
หลอด แต่ มีความเร็วในการทางานสู ง สามารถเก็บตัวเลข หรือตัวอักษรไว้ ใน
หน่ วยความจาได้ ถึง 12,000 ตัว
โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก
      พ.ศ. 2385 สุภาพสตรี ชาวอังกฤษชื่อ Lady Augusta
Ada Byron ได้ทาการแปลเรื่ องราวเกี่ยวกับเครื่ อง
Analytical Engine และได้เขียนขั้นตอนของคาสังวิธีใช้
                                                ่
                              ุ่
เครื่ องนี้ให้ทาการคานวณที่ยงยากซับซ้อนไว้ในหนังสื อ
                                        ่
Taylor's Scientific Memories จึงนับได้วา ออกุสต้ า เป็ น
โปรแกรมเมอร์ คนแรกของโลก และยังค้นพบอีกว่าชุด
บัตรเจาะรู ที่บรรจุชุดคาสังไว้ สามารถนากลับมาทางานซ้ า
                            ่
ใหม่ได้ถาต้องการ นันคือหลักการทางานวนซ้ า หรื อที่
            ้          ่
เรี ยกว่า Loop เครื่ องมือคานวณที่ถูกพัฒนาขึ้นในศตวรรษ
ที่ 19 นั้น ทางานกับเลขฐานสิ บ (Decimal Number) แต่เมื่อ
เริ่ มต้นของศตวรรษที่ 20 ระบบคอมพิวเตอร์ได้ถูก
พัฒนาขึ้นเป็ นลาดับ จึงทาให้มีการเปลี่ยนแปลงมาใช้
เลขฐานสอง (Binary Number)กับระบบคอมพิวเตอร์
วิวฒนาการของเครื่ องคอมพิวเตอร์
             ั

• ยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer) พ.ศ. 2489-
  2501
• ยุคที่สอง (Second Generation Computer) พ.ศ.
  2502-2506
• ยุคที่สาม (Third Generation Computer) พ.ศ. 2507-
  2512
• ยุคที่สี่ (Fourth Generation Computer) พ.ศ. 2513-
  2532
• ยุคที่หา (Fifth Generation Computer) พ.ศ. 2533 จนถึง
           ้
  ปัจจุบนั
ลักษณะสาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ยคที่หนึ่ง
                                         ุ

ลักษณะเครื่อง        คอมพิวเตอร์ มขนาดใหญ่ ใช้ ไฟฟาแรงสู งจึงต้ อง
                                    ี              ้
                     ติดตั้งในห้ องปรับอากาศตลอดเวลา
วัสดุทใช้ สร้ าง
         ี่          ใช้ วงจรอิเล็คโทรนิคส์ และหลอดสู ญญากาศ
ความเร็วในการทางาน เป็ นวินาที
สื่ อข้ อมูล         บัตรเจาะ
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทใช้ ภาษาเครื่องจักร (Machine Language)
                 ี่
ตัวอย่ างเครื่อง     UNIVAC, IBM 650, IBM 701, NCR 102
ลักษณะสาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ยคที่สอง
                                  ุ

ลักษณะเครื่อง        มีขนาดเล็ก มีความร้ อนน้ อย และราคาถูกลง
วัสดุทใช้ สร้ าง
      ี่             ใช้ หลอดทรานซิสเตอร์ แทนหลอดสู ญญากาศ มี
                     วงแหวนแม่ เหล็กเป็ นหน่ วยวามจา
ความเร็วในการทางาน เป็ นมิลลิเซคคัน
                                  ่
สื่ อข้ อมูล         บัตรเจาะและเทปแม่ เหล็กเป็ นส่ วนใหญ่
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทใช้ ภาษาสั ญลักษณ์ (symbolic Language) และ
                 ี่
                     ภาษาฟอร์ แทรน (FORTRAN)
ตัวอย่ างเครื่อง     IBM 1620, IBM 1401, CDC 1604, Honeywell
                     200, NCR 315
ลักษณะสาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ยคที่สาม
                                  ุ

ลักษณะเครื่อง           เล็กลงกว่ าเดิม ความเร็วเพิมขึน ใช้ ความร้ อนน้ อย
                                                   ่ ้
วัสดุทใช้ สร้ าง
         ี่             ใช้ ไอซี (Integrated Circuit) ซึ่งสามารถทางาน
ได้ เท่ ากับทรานซิสเตอร์ หลายร้ อยตัว (จึงทาให้ ขนาดเล็ก)
ความเร็วในการทางาน เป็ นไมโครเซคคัน      ่
สื่ อข้ อมูล            บัตรเจาะ เทปแม่ เหล็ก จานแม่ เหล็ก
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทใช้ เริ่มมีภาษาโคบอลและภาษาพีแอลวัน (PL/1)
                     ี่
ภาษาโคบอลเป็ นภาษาทีแพร่ หลายมากในยุคนี้
                         ่
ตัวอย่ างเครื่อง        IBM 360, CDC 3300, NCR 395, UNIVAC 9400
ลักษณะสาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ยคที่สี่
                                   ุ
ลักษณะเครื่อง มีคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กหรือไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งไม่
                 จาเป็ นต้ องอยู่ในห้ องปรับอากาศ ทางานเร็วขึนและมี
                                                             ้
                 ประสิ ทธิภาพมากขึน   ้
วัสดุทใช้ สร้ าง ใช้ วงจรรวมขนาดใหญ่ ทเี่ รียกว่ า LSI (Large Scale
         ี่
                 Integrated)
ความเร็วในการทางาน เป็ นนาโนเซคคัน         ่
สื่ อข้ อมูล     เทปแม่ เหล็ก จานแม่ เหล็ก ส่ วนบัตรเจาะจะใช้ น้อยลง
ภาษาคอมพิวเตอร์ ทใช้ เริ่มมีภาษาใหม่ ๆ เช่ น ภาษาเบสิ ค ภาษาปาสคาล
                       ี่
                           และภาษาซีเกิดขึน  ้
ตัวอย่ างเครื่อง IBM 370, IBM 3033, UNIVAC 9700,CDC 7600,IBM
                 PC (XT และ AT)
ลักษณะสาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ยคที่หา
                                   ุ ้
•มีการใช้ คอมพิวเตอร์ เพือช่ วยในการจัดการ และสนับสนุนการตัดสิ นใจ
                         ่
ของผู้บริหารมากยิงขึน
                   ่ ้
•มีภาษาเชิงวัตถุ (Object-Oriented)
•ความเร็วในการทางาน            เป็ นพิคโคเซคคัน หนึ่งในล้านล้านวินาที
                                              ่
คอมพิวเตอร์ ที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบัน เรียกว่ า

   - ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer)
   - เครื่ องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้งานเกี่ยวกับตัวเลข
   - การคานวณในดิจิตอลคอมพิวเตอร์เป็ นระบบเลขฐานสอง
การคานวณภายในดิจิตอลคอมพิวเตอร์

จะเป็ นการประมวลผลด้วยระบบเลขฐานสองทั้งหมด ดังนั้น
เลขฐานสิ บและตัวอักษรที่เราใช้อยู่ จะถูกแปลงไปเป็ นระบบ
เลขฐานสองเพื่อการคานวณภายในคอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ก็
เป็ นเลขฐานสองซึ่งคอมพิวเตอร์จะแปลงเป็ นเลขฐานสิ บ
สั ญญาณไฟกับเลขฐานสอง (เลข 0 = ไม่ มีไฟ และเลข 1 = มีไฟ)


                                                
1.2 คุณสมบัตของคอมพิวเตอร์
            ิ
คอมพิวเตอร์ มีคุณสมบัตพนฐานที่สาคัญได้แก่
                         ิ ื้
- การทางานและผลลัพธ์มีความเชื่อถือได้(Reliability)
- มีความรวดเร็วในการประมวลผล(Speed)
- สามารถเก็บข้อมูลได้จานวนมาก(Storage Capacity)
- เพิ่มผลผลิต (Productivity)
- ช่วยสนับสนุนการตัดสิ นใจ(Decision Making)
- ช่วยลดต้นทุนในการทาธุรกิจอีกด้วย (Cost Reduction)
แสดงรหัส ASCII เลขฐานสอง 8 หลักทีใช้ แทนตัวอักษรและตัวเลข
                                 ่
ประเภทของเครื่ องคอมพิวเตอร์
ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
           ซู เปอร์ คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็ นคอมพิวเตอร์ ทมสมรรถนะในการทางานสู ง
                                                                      ี่ ี
กว่ า คอมพิวเตอร์ แบบอืน ดังนั้นจึงมีผ้เู รียกอีกชื่อหนึ่งว่ า คอมพิวเตอร์ สมรรถนะสู ง (High
                            ่
Performance Computer) สามารถคานวนเลขทีมจุดทศนิยม ด้ วยความเร็วสู งมาก ขนาด
                                                    ่ ี
หลายร้ อยล้ านจานวนต่ อวินาที งานทีให้ คอมพิวเตอร์ ประเภทนีทาแค่ 1 วินาที ถ้ าหากเอามาให้
                                        ่                          ้
คนอย่ างเราคิด อาจจะต้ องใช้ เวลานานกว่ าร้ อยปี เหมาะทีจะใช้ คอมพิวเตอร์ ประเภทนี้ เมือต้ อง
                                                              ่                           ่
มีการคานวนมากๆ อย่ างเช่ น งานวิเคราะห์ ภาพถ่ าย จากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา หรือดาวเทียม
สารวจทรัพยากร งานวิเคราะห์ พยากรณ์ อากาศ งานทาแบบจาลองโมเลกุล ของสารเคมี งาน
วิเคราะห์ โครงสร้ างอาคาร ทีซับซ้ อน คอมพิวเตอร์ ประเภทนี้ มีราคาค่ อนข้ างแพง ปัจจุบัน
                                 ่
ประเทศไทย มีเครื่องซู เปอร์ คอมพิวเตอร์ Cray YMP ใช้ ในงานวิจย อยู่ทห้องปฏิบัตการ
                                                                        ั    ี่        ิ
คอมพิวเตอร์ สมรรถภาพสู ง (HPCC) ศู นย์ เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์ แห่ งชาติ
ผู้ใช้ เป็ นนักวิจยด้ านวิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ ทวประเทศ บริษัทผู้ผลิตทีเ่ ด่ นๆ ได้ แก่
                    ั                                 ั่
บริษัทเครย์ รีเสิร์ซ, บริษัท เอ็นอีซี เป็ นต้ น
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
        คอมพิวเตอร์ ทมสมรรถนะสู งมาก แต่ ยงตากว่ าซู เปอร์ คอมพิวเตอร์ เหมาะกับการใช้ งาน
                     ี่ ี                   ั ่
ทั้งในด้ านวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ โดยเฉพาะงานทีเ่ กียวข้ องกับข้ อมูลจานวนมากๆ
                                                             ่
เช่ น งานธนาคาร ซึ่งต้ องตรวจสอบบัญชีลูกค้ าหลายคน งานของสานักงานทะเบียนราษฎร์ ที่
เก็บรายชื่อประชาชนประมาณ 60 ล้ านคน พร้ อมรายละเอียดต่ างๆ งานจัดการบันทึกการส่ งเงิน
ของผู้ประกับตนหลายล้ านคน ของสานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน คอมพิวเตอร์
เมนเฟรม ทีมชื่อเสียงมาก คือ เครื่องของบริษัท IBM
             ่ ี
มินิคอมพิวเตอร์ (Mini-Computer)
         เป็ นคอมพิวเตอร์ ทมสมรรถนะน้ อยกว่ าเครื่องเมนเฟรม คือทางานได้ ช้ากว่ า และ
                            ี่ ี
ควบคุมอุปกรณ์ รอบข้ างได้ น้อยกว่ า อย่ างไรก็ตามจุดเด่ นสาคัญ ของเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ก็
คือ ราคาย่ อมเยากว่ าเมนเฟรม การใช้ งานก็ไม่ ต้องใช้ บุคลากรมากนัก นอกจากนั้น ยังมีผ้ทรู้
                                                                                     ู ี่
วิธีใช้ มากกว่ าด้ วย เพราะเครื่องประเภทนี้ มีใช้ ตามสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาหลายแห่ ง
        มินิคอมพิวเตอร์ เหมาะกับงานหลากหลายประเภท คือใช้ ได้ ท้งในงานวิศวกรรม
                                                               ั
วิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม เครื่องทีมใช้ ตามหน่ วยงานราชการระดับกรมส่ วนใหญ่ มักจะเป็ น
                                 ่ ี
เครื่องประเภทนี้
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro-Computer)
        เครื่องประมวลผลข้ อมูลขนาดเล็ก มีส่วนของหน่ วยความจาและ
ความเร็วในการประมวลผลน้ อยทีสุด สามารถใช้ งานได้ ด้วยคนเดียว จึง
                                   ่
มักถูกเรียกว่ า คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC)
ราคาถูก ดังนั้นจึงเป็ นทีนิยมใช้ มาก ทั้งตามหน่ วยงานและบริษทห้ างร้ าน
                         ่                                  ั
ตลอดจนตามโรงเรียน สถานศึกษา และบ้ านเรือน บริษททีผลิต ั ่
ไมโครคอมพิวเตอร์ ออกจาหน่ ายจนประสบความสาเร็จเป็ นบริษทแรก    ั
คือ บริษทแอปเปิ ลคอมพิวเตอร์
         ั
Notebook/Laptop
     ความต้ องการใช้ งานคอมพิวเตอร์ ในทุก ๆ สถานทีน้ันทาให้ มการ
                                                  ่          ี
พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ทสามารถนาพกติดตัวไปด้ วย เรียกว่ า
                         ี่
Notebook หรือ Laptop ซึ่งมีประสิ ทธิภาพและการใช้ งานเทียบเท่ ากับ
ระดับพีซี
Handheld : Pocket PC / Palm
       คอมพิวเตอร์ ถูกพัฒนาให้ สามารถใช้ งานได้ สะดวกมากขึน โดยการออกแบบในมี
                                                             ้
รู ปแบบการใช้ งานอยู่เพียงบนฝ่ ามือเท่ านั้น มีนาหนักเบา และพกพาสะดวก
                                                ้
        ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ แบบแฮนด์ เฮลได้ รับการพัฒนาให้ มความสามารถมากขึน
                                                               ี             ้
เรื่อย ๆ โดยบางรุ่นใช้ กบโทรศัพท์ มอถือ
                        ั          ื
Tablet
   คอมพิวเตอร์ ทสามารถปอนข้ อมูลทางจอภาพได้ และสามารถใช้
                    ี่        ้
ซอฟต์ แวร์ ชนิดเดียวกันกับทีติดตั้งบนคอมพิวเตอร์ แบบพีซีได้
                            ่
Q&A

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
krupan
 
01 computer technology
01 computer technology01 computer technology
01 computer technology
teaw-sirinapa
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
Arnon2516
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
Tewit Chotchang
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
Wangwiset School
 
040103 Slide-01
040103 Slide-01040103 Slide-01
040103 Slide-01
Naret Su
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Junya Punngam
 

Mais procurados (17)

ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
01 computer technology
01 computer technology01 computer technology
01 computer technology
 
Ppp.
Ppp.Ppp.
Ppp.
 
Powerpoint หน่วยที่ 1
Powerpoint หน่วยที่ 1Powerpoint หน่วยที่ 1
Powerpoint หน่วยที่ 1
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
 
Computer Era
Computer EraComputer Era
Computer Era
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1
ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1
ประวัติของคอมพิวเตอร์ 1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 
040103 Slide-01
040103 Slide-01040103 Slide-01
040103 Slide-01
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 

Destaque

Mcdem dac 2012_phidgets_dead_calories_press_2
Mcdem dac 2012_phidgets_dead_calories_press_2Mcdem dac 2012_phidgets_dead_calories_press_2
Mcdem dac 2012_phidgets_dead_calories_press_2
TheMediaDome La Salle-URL
 
Present Social Media Project2
Present Social Media Project2Present Social Media Project2
Present Social Media Project2
tongkas
 
ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์
ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์ ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์
ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์
Beerza Kub
 
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้นบทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Pises Tantimala
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
okbeer
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
okbeer
 
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 1
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 1คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 1
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 1
Chaiyaporn Puttachot
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
Krusine soyo
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
onthicha1993
 

Destaque (20)

Ii day 8-npc presentation
Ii day 8-npc presentationIi day 8-npc presentation
Ii day 8-npc presentation
 
Mcdem dac 2012_phidgets_dead_calories_press_2
Mcdem dac 2012_phidgets_dead_calories_press_2Mcdem dac 2012_phidgets_dead_calories_press_2
Mcdem dac 2012_phidgets_dead_calories_press_2
 
Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552
 
Course syllabus AD.308
Course syllabus AD.308 Course syllabus AD.308
Course syllabus AD.308
 
Present Social Media Project2
Present Social Media Project2Present Social Media Project2
Present Social Media Project2
 
ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์
ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์ ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์
ความหมาย ประวัติ ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Introduction to computer
Introduction to computerIntroduction to computer
Introduction to computer
 
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้นบทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
carta recomendacion apart
carta recomendacion apartcarta recomendacion apart
carta recomendacion apart
 
AAT
AATAAT
AAT
 
การอ่านคำภาษาอังกฤษ
การอ่านคำภาษาอังกฤษการอ่านคำภาษาอังกฤษ
การอ่านคำภาษาอังกฤษ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
Ntics
NticsNtics
Ntics
 
Presentation_NEW.PPTX
Presentation_NEW.PPTXPresentation_NEW.PPTX
Presentation_NEW.PPTX
 
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 1
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 1คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 1
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 1
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 ระบบปฏิบัติการ.Ppt  ระบบปฏิบัติการ.Ppt
ระบบปฏิบัติการ.Ppt
 

Semelhante a รู้จักวิวัฒนาการคอม

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Junya Punngam
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
krupan
 
เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1
Jansri Pinkam
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
paween
 
กำเนิดคอมพิวเตอร์
กำเนิดคอมพิวเตอร์กำเนิดคอมพิวเตอร์
กำเนิดคอมพิวเตอร์
rogozo123
 

Semelhante a รู้จักวิวัฒนาการคอม (19)

บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นบทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
2 evaluation
2 evaluation2 evaluation
2 evaluation
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1เสนอผลงานหน่วยที่ 1
เสนอผลงานหน่วยที่ 1
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
ความเป็นมาของคอมพิมเตอร์
ความเป็นมาของคอมพิมเตอร์ความเป็นมาของคอมพิมเตอร์
ความเป็นมาของคอมพิมเตอร์
 
ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์ประวัติคอมพิวเตอร์
ประวัติคอมพิวเตอร์
 
กำเนิดคอมพิวเตอร์
กำเนิดคอมพิวเตอร์กำเนิดคอมพิวเตอร์
กำเนิดคอมพิวเตอร์
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
บทที่1คอมพิวเตอร์
บทที่1คอมพิวเตอร์บทที่1คอมพิวเตอร์
บทที่1คอมพิวเตอร์
 

Mais de พัน พัน

Mais de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

รู้จักวิวัฒนาการคอม

  • 2. เนื้อหา • ความสาคัญของคอมพิวเตอร์ • ประวัติคอมพิวเตอร์ • ยุคของคอมพิวเตอร์ • ประเภทของคอมพิวเตอร์ • องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
  • 3. ภาษาละติน Computare หมายถึง การนับ หรือ การคานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์ แบบ อัตโนมัติ ทาหน้ าทีเ่ หมือนสมองกล ใช้ สาหรับแก้ปัญหาต่ างๆ ทีง่ายและซับซ้ อน ่ โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ " คอมพิวเตอร์ จึงเป็ นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ ทถูกสร้ างขึนเพือใช้ ทางานแทน ี่ ้ ่ มนุษย์ ในด้ านการคิดคานวณและสามารถจาข้ อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้ เพือ ่ การเรียกใช้ งานในครั้งต่ อไป นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับสั ญลักษณ์ได้ ด้วย ความเร็วสู ง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ยงมีความสามารถ ั ในด้ านต่ างๆ อีกมาก
  • 6. คุณสมบัตพนฐานของคอมพิวเตอร์ ิ ื้ 1. ทางานด้ วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Machine) 2. ทางานด้ วยความเร็วสู ง (Speed) 3. ความถูกต้ องแม่ นยาเชื่ อถือได้ (Accuracy & Reliability) 4. เก็บข้ อมูลได้ ในปริมาณมาก (Storage) 5. การสื่ อสารเชื่ อมโยงข้ อมูล (Communication)
  • 7. ประวัติคอมพิวเตอร์ ลูกคิด ลูกหิน นิ้ว
  • 8. ประวัติความเป็ นมาของคอมพิวเตอร์ มนุษย์ พยายามสร้ างเครื่องมือเพือช่ วยการคานวณมาตั้งแต่ สมัยโบราณ ่ แล้ว จึงได้ พยายามพัฒนาเครื่องมือต่ าง ๆ ให้ สามารถใช้ งานได้ ง่ายเพิมขึน ่ ้ ตามลาดับ ในระยะ 5,000 ปี ทีผ่านมา มนุษย์ เริ่มรู้จักการใช้ นิวมือและนิวเท้ า ่ ้ ้ ของตน เพือช่ วยในการคานวณ และพัฒนาเป็ นอุปกรณ์ อน ๆ ่ ื่ วิวฒนาการของคอมพิวเตอร์ เริ่มต้ นจากวิวฒนาการของการคานวณ ั ั อุปกรณ์ ทใช้ ในการคานวณ หรือเครื่องคานวณต่ าง ๆ เนื่องจากถือได้ ว่า ี่ คอมพิวเตอร์ เป็ นเครื่องคานวณรู ปแบบหนึ่งนั่นเอง โดยอาจจะเริ่มได้ จากการ นับจานวนด้ วยก้อนหิน, เศษไม้ , กิงไม้ , การใช้ ถ่านขีดเป็ นสั ญลักษณ์ตามฝา ่ ผนัง ทั้งนีเ้ ครื่องคานวณทีนับเป็ นต้ นแบบของคอมพิวเตอร์ ทงานในปัจจุบัน ่ ี่ ได้ แก่ ลูกคิด (Abacus) นั่นเอง
  • 9. ลูกคิด (Abacus) ลูกคิด เป็ นเครื่องคานวณเครื่องแรก ทีมนุษย์ ได้ ประดิษฐ์ คิดค้ นขึนมา โดย ่ ้ ชาวตะวันออก (ชาวจีน) เช่ นลักษณะลูกคิดของจีน ซึ่งมีตัวนับรางบน สองแถว ขณะทีลูกคิดของญีปุ่นมีตัวนับรางบนเพียงแถวเดียว แม้ เป็ นอุปกรณ์ สมัยเก่ า ่ ่ แต่ กมีความสามารถในการคานวณเลขได้ ทุกระบบ ็ ในปัจจุบันการคานวณบางอย่ าง ยังใช้ ลูกคิดอยู่ถง แม้ นจะมีคอมพิวเตอร์ ึ
  • 10. เครื่องจักรคานวณ (Mechanical Calculator) ค.ศ. 1500 มีเครื่องคานวณ (Mechanical Calculator) ของ ลีโอนาโด ดาวินซี่ (Leonardo da Vinci) ชาวอิตาลี ใช้ สาหรับการ คานวณทางคณิตศาสตร์ พนฐาน ื้
  • 11. แท่ งเนเปี ยร์ (Napier's bones) แท่ งเนเปี ยร์ อุปกรณ์ คานวณทีช่วยคูณเลข คิดค้ นโดย จอห์ น เนเปี ยร์ ่ (John Napier : 1550 - 1617) นักคณิตศาสตร์ ชาวสก๊อต มีลกษณะเป็ นแท่งไม้ ที่ ั ตีเป็ นตารางและช่ องสามเหลียม มีเลขเขียนอยู่บนตารางเหล่ านี้ เมื่อต้ องการคูณ ่ เลขจานวนใด ก็หยิบแท่ งทีใช้ ระบุเลขแต่ ละหลักมาเรียงกัน แล้ วจึงอ่ านตัวเลขบน ่ แท่ งนั้น ตรงแถวทีตรงกับเลขตัวคูณ ก็จะได้ คาตอบทีต้องการ ่ ่
  • 12. Napier’s Bones สู ตรคูณ
  • 13. ไม้ บรรทัดคานวณ (Slide Rule) วิลเลียม ออทเตรด (1574 - 1660) ได้ นาหลักการลอการิทมของเนเปี ยร์ ่ ึ มาพัฒนาเป็ น ไม้ บรรทัดคานวณ หรือสไลด์ รูล โดยการนาค่ าลอการิทม มา ึ เขียนเป็ นสเกลบนแท่ งไม้ สองอัน เมื่อนามาเลือนต่ อกัน ก็จะอ่ านค่ าเป็ นผลคูณ ่ หรือผลหารได้ โดยอาศัยการคาดคะเนผลลัพธ์
  • 14. Slide Rule เปลี่ยนหน่ วยได้ คานวณฟังก์ชนตรีโกณมิติได้ ั หาค่ายกกาลังและถอดราก (2 และ 3) หาค่า Log
  • 15. นาฬิ กาคานวณ (Calculating Clock) นาฬิ กาคานวณ เป็ นเครื่องคานวณทีรับอิทธิพลจากแท่งเนเปี ยร์ โดยใช้ ่ ตัวเลขของแท่ งเนเปี ยร์ บรรจุบนทรงกระบอกหกชุ ด แล้ วใช้ ฟันเฟื องเป็ นตัวหมุน ทดเวลาคูณเลข ประดิษฐ์ โดย วิลเฮล์ ม ชิ คการ์ ด (1592 - 1635) ซึ่งถือได้ ว่าเป็ น ผู้ทประดิษฐ์ เครื่องกลไกสาหรับคานวณได้ เป็ นคนแรก ี่
  • 16. เครื่องคานวณของปาสกาล (Pascal's Pascaline Calculator) เครื่องคานวณของปาสกาล ประดิษฐ์ ในปี 1642 โดย เบลส ปาส กาล (Blaise Pascal :1623 - 1662) นักคณิตศาสตร์ ชาวฝรั่งเศษ โดย เครื่องคานวณนีมลกษณะเป็ นกล่องสี่ เหลียม มีฟันเฟื องสาหรับตั้งและ ้ ีั ่ หมุนตัวเลขอยู่ด้านบน ถือได้ ว่าเป็ น "เครื่องคานวณใช้ เฟื องเครื่อง แรก"
  • 18. เครื่องคานวณของไลปนิซ (The Leibniz Wheel) กอดฟรีด ไลปนิซ (Gottfried Wilhelm Leibniz: 1646 - 1716) นักคณิตศาสตร์ นักปรัชญา นักการฑูต ชาวเยอรมัน ทาการปรับปรุง เครื่องคานวณของปาสกาลให้ สามารถคูณ และหารได้ ในปี 1673 โดย การปรับฟันเฟื องให้ ดีขนกว่ าของปาสกาล ใช้ การบวกซ้า ๆ กันแทน ึ้ การคูณเลข จึงทาให้ สามารถทาการคูณและหารได้ โดยตรง ซึ่งอาศัย การหมุนวงล้อของเครื่องเอง ยังค้ นพบเลขฐานสอง (Binary Number) คือ เลข 0 และเลข 1 ซึ่งเป็ นระบบเลขทีเ่ หมาะในการคานวณ
  • 20. Punched Card คล้ายข้อมูลทีถูกบันทึกใน DVD ่ หรือ ในทางกลคล้ายกับกล่องดนตรี
  • 28. ยุคของคอมพิวเตอร์ 1. ยุคที่หนึ่ง (First Generation) 2. ยุคที่สอง (Second Generation) 3. ยุคที่สาม (Third Generation) 4. ยุคที่สี่ (Fourth Generation)
  • 32. Very Large Scale Integration : VLSI
  • 33. ประเภทคอมพิวเตอร์ • แบ่งตามลักษณะของการแสดงข้อมูล • แบ่งตามลักษณะการประมวลผลข้อมูล • แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน • แบ่งตามความจุของหน่วยความจาหลัก ราคาและ ความสามารถในการทางาน
  • 34. แบ่งตามลักษณะของการแสดงข้อมูล 1. Analog Computer 2. Digital Computer 3. Hybrid Computer
  • 36. แบ่ งตามวัตถุประสงค์ ของการใช้ งาน 1. เฉพาะกิจ 2. เอนกประสงค์
  • 37. แบ่งตามความจุของหน่วยความจาหลัก ราคา และความสามารถในการทางาน 1. Supercomputer 2. Mainframe 3. Minicomputer 4. Microcomputer 5. Embedded computer
  • 39. The Cray-2; world's fastest computer 1985–1989.
  • 44. องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 2. ซอฟต์แวร์ (Software) 3. บุคลากร (People) 4. ข ้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information) 5. กระบวนการทางาน (Procedure)
  • 45. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 1. หน่วยรับข ้อมูล (Input Unit) 2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) 3. หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit) 4. หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit) 5. หน่วยเก็บข ้อมูลสารอง (Secondary Storage Unit)
  • 46. ซอฟต์แวร์ (Software) 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
  • 47. บุคลากร (Peopleware) • Data Entry Operator • Computer Operator • Application Programmer • System Programmer • System Analyst • System Engineer • IT Manager (EDP Manager)
  • 48. ข้อมูลและสารสนเทศ (Data/Information) Data Process Information
  • 52. C
  • 53. HTML
  • 54. JAVA
  • 55. XML
  • 56. เครื่ องผลต่างของแบบเบจ (Babbage's Difference Engine) ชารลส์ แบบเบจ (Charles Babbage: 1792 - 1871) นักวิทยาศาสตร์ ชาว อังกฤษ ได้ ประดิษฐ์ เครื่องผลต่ าง (Difference Engine) ขึนมาในปี 1832 เป็ น ้ เครื่องคานวณทีประกอบด้ วยฟันเฟื องจานวนมาก สามารถคานวณค่ าของตาราง ่ ได้ โดยอัตโนมัติ แล้วส่ งผลลัพธ์ ไปตอกลงบนแผ่นพิมพ์สาหรับนาไปพิมพ์ได้ ทน ั แบบเบจได้ พฒนาเครื่องผลต่ างอีกครั้งในปี 1852 โดยได้ รับเงินอุดหนุนจาก ั รัฐสภาอังกฤษ แต่ กต้องยุติลงเมื่อผลการดาเนินการไม่ ได้ ดังทีหวังไว้ ็ ่
  • 57. เครื่ องวิเคราะห์ของแบบเบจ (Babbage's Analytical Engine) หลังจากนั้นแบบเบจก็หันมาออกแบบเครื่องวิเคราะห์ (Babbage's Analytical Engine) โดยเครื่องนี้ ประกอบด้ วย "หน่ วยความจา" ซึ่งก็คือ ฟันเฟื องสาหรับ นับ "หน่ วยคานวณ" ทีสามารถบวกลบคูณหารได้ "บัตร ่ ปฏิบัติ" คล้ ายๆ บัตรเจาะรู ใช้ เป็ นตัวเลือกว่ าจะคานวณ อะไร "บัตรตัวแปร" ใช้ เลือกว่ าจะใช้ ข้อมูลจาก หน่ วยความจาใด และ "ส่ วนแสดงผล" ซึ่งก็คือ "เครื่องพิมพ์ หรือเครื่องเจาะบัตร" แต่ บุคคลทีนาแนวคิด ่ ของแบบเบจมาสร้ างเครื่องวิเคราะห์ (Analytical Engine) ก็คอ ลูกชายของแบบเบจชื่ อ เฮนรี่ (Henry) ในปี 1910 ื
  • 58. อย่างไรก็ตามความคิดของแบบเบจ เกียวกับเครื่องผลต่ าง และเครื่อง ่ วิเคราะห์ เป็ นประโยชน์ ต่อวงการคอมพิวเตอร์ ในยุคต่ อมามาก จึงได้ รับสมญาว่ า "บิดาแห่ งคอมพิวเตอร์ " เนื่องจากประกอบด้ วยส่ วนสาคัญ 4 ส่ วน คือ 1. ส่ วนเก็บข้ อมูล เป็ นส่ วนทีใช้ ในการเก็บข้ อมูลนาเข้ าและผลลัพธ์ ทได้ จากการ ่ ี่ คานวณ 2. ส่ วนประมวลผล เป็ นส่ วนทีใช้ ในการประมวลผลทางคณิตศาสตร์ ่ 3. ส่ วนควบคุม เป็ นส่ วนทีใช้ ในการเคลือนย้ ายข้ อมูลระหว่ างส่ วนเก็บข้ อมูลและ ่ ่ ส่ วนประมวลผล 4. ส่ วนรับข้ อมูลเข้ าและแสดงผลลัพธ์ เป็ นส่ วนทีใช้ รับข้ อมูลจากภายนอกเครื่อง ่ เข้ าสู่ ส่วนเก็บข้ อมูล และแสดงผลลัพธ์ ทได้ จากการคานวณทาให้ เครื่องวิเคราะห์ ่ี นี้ มีลกษณะใกล้ เคียงกับส่ วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน ั
  • 59. Mark I เครื่ องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ของไอบีเอ็ม ในปี 1943 บริษัทไอบีเอ็ม (IBM: International Business Machines Co.,) โดยโธมัส เจ. วัตสั น (Thomas J. Watson) ได้ พฒนาเครื่องคานวณทีมี ั ่ ความสามารถเทียบเท่ากับคอมพิวเตอร์ ซึ่งก็คือ เครื่องคิดเลขทีใช้ เครื่องกล ่ ไฟฟาเป็ นตัวทางาน ประกอบด้ วยฟันเฟื องในการทางาน อันเป็ นการนาเอา ้ เทคโนโลยีเครื่องวิเคราะห์ แบบแบบเบจมาปรับปรุ งนั่นเอง เครื่องนียงไม่้ั สามารถบันทึกคาสั่ งไว้ ในเครื่องได้ มีความสู ง 8 ฟุต ยาว 55 ฟุต ซึ่งก็คือ เครื่อง Mark I หรือชื่อทางการว่า Automatic Sequence Controlled Calculator
  • 60. ENIAC เครื่ องคอมพิวเตอร์เครื่ องแรกของโลก จอห์ น ดับลิว มอชลีย์ (John W. Mauchly) และ เจ เพรสเพอร์ เอคเกิรต (J. Prespern Eckert) ได้ รับ ทุนอุดหนุนจากกองทัพสหรัฐอเมริกา ในการสร้ าง เครื่องคานวณ ENIAC เมื่อปี 1946 นับว่าเป็ น "เครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องแรกของโลก หรือคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกของโลก" ENIAC เป็ น คาย่อของ Electronics Numerical Integrator and Computer อาศัยหลอดสุ ญญากาศจานวน 18,000 หลอด มีนาหนัก 30 ตัน ใช้ เนือทีห้อง 15,000 ตาราง ้ ้ ่ ฟุต เวลาทางานต้ องใช้ ไฟถึง 140 กิโลวัตต์ คานวณใน ระบบเลขฐานสิ บ
  • 61. EDVAC กับสถาปั ตยกรรมฟอนนอยมานน์ EDVAC หรือ Electronics Discrete Variable Automatic Computer นับเป็ น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องแรก ทีสามารถเก็บคาสั่ งเอาไว้ทางาน ในหน่ วยความจา ่ พัฒนาโดย จอห์ น ฟอน นอยมานน์ (Dr. John Von Neumann) นักคณิตศาสตร์ ชาวฮังการี ร่ วมกับทีมมอชลีย์ และเอคเกิรต โดยฟอน นอยมานน์ แนวคิดที่ น่ าสนใจเกียวกับการทางานของคอมพิวเตอร์ จนได้ รับการขนานนามว่า ่ "สถาปัตยกรรมฟอนนอนมานน์ " ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. มีหน่ วยความจาสาหรับใช้ เก็บคาสั่ ง และข้ อมูลรวมกัน 2. การดาเนินการ กระทาโดยการอ่านคาสั่ งจากหน่ วยความจา มาแปลความหมาย แล้วทาตามทีละคาสั่ ง 3. มีการแบ่ งส่ วนการทางาน ระหว่างหน่ วยประมวลผล หน่ วยความจา หน่ วย ควบคุม และหน่ วยดาเนินการรับ และส่ งข้ อมูล
  • 62. UNIVAC เครื่ องคอมพิวเตอร์สาหรับ ใช้ในงานธุรกิจเครื่ องแรกของโลก มอชลีย์ และเอคเกิรต ในนามบริษัทเรมิงตัน แรนด์ (Remington Rand) ได้ สร้ างเครื่องคอมพิวเตอร์ อกเครื่องหนึ่งในเวลาต่ อมา คือ UNIVAC (Universal ี Automatic Computer) เพือใช้ งานสามะโนประชากรของสหรัฐอเมริกา เป็ น ่ เครื่องทีทางานในระบบเลขฐานสิ บเหมือนเดิม อย่างไรก็ตาม UNIVAC ก็ยงมี ่ ั ขนาดใหญ่มาก ยาว 14 ฟุต กว้ าง 7 ฟุตครึ่ง สู ง 9 ฟุต มีหลอดสุ ญญากาศ 5,000 หลอด แต่ มีความเร็วในการทางานสู ง สามารถเก็บตัวเลข หรือตัวอักษรไว้ ใน หน่ วยความจาได้ ถึง 12,000 ตัว
  • 63. โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก พ.ศ. 2385 สุภาพสตรี ชาวอังกฤษชื่อ Lady Augusta Ada Byron ได้ทาการแปลเรื่ องราวเกี่ยวกับเครื่ อง Analytical Engine และได้เขียนขั้นตอนของคาสังวิธีใช้ ่ ุ่ เครื่ องนี้ให้ทาการคานวณที่ยงยากซับซ้อนไว้ในหนังสื อ ่ Taylor's Scientific Memories จึงนับได้วา ออกุสต้ า เป็ น โปรแกรมเมอร์ คนแรกของโลก และยังค้นพบอีกว่าชุด บัตรเจาะรู ที่บรรจุชุดคาสังไว้ สามารถนากลับมาทางานซ้ า ่ ใหม่ได้ถาต้องการ นันคือหลักการทางานวนซ้ า หรื อที่ ้ ่ เรี ยกว่า Loop เครื่ องมือคานวณที่ถูกพัฒนาขึ้นในศตวรรษ ที่ 19 นั้น ทางานกับเลขฐานสิ บ (Decimal Number) แต่เมื่อ เริ่ มต้นของศตวรรษที่ 20 ระบบคอมพิวเตอร์ได้ถูก พัฒนาขึ้นเป็ นลาดับ จึงทาให้มีการเปลี่ยนแปลงมาใช้ เลขฐานสอง (Binary Number)กับระบบคอมพิวเตอร์
  • 64. วิวฒนาการของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ั • ยุคที่หนึ่ง (First Generation Computer) พ.ศ. 2489- 2501 • ยุคที่สอง (Second Generation Computer) พ.ศ. 2502-2506 • ยุคที่สาม (Third Generation Computer) พ.ศ. 2507- 2512 • ยุคที่สี่ (Fourth Generation Computer) พ.ศ. 2513- 2532 • ยุคที่หา (Fifth Generation Computer) พ.ศ. 2533 จนถึง ้ ปัจจุบนั
  • 65. ลักษณะสาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ยคที่หนึ่ง ุ ลักษณะเครื่อง คอมพิวเตอร์ มขนาดใหญ่ ใช้ ไฟฟาแรงสู งจึงต้ อง ี ้ ติดตั้งในห้ องปรับอากาศตลอดเวลา วัสดุทใช้ สร้ าง ี่ ใช้ วงจรอิเล็คโทรนิคส์ และหลอดสู ญญากาศ ความเร็วในการทางาน เป็ นวินาที สื่ อข้ อมูล บัตรเจาะ ภาษาคอมพิวเตอร์ ทใช้ ภาษาเครื่องจักร (Machine Language) ี่ ตัวอย่ างเครื่อง UNIVAC, IBM 650, IBM 701, NCR 102
  • 66.
  • 67. ลักษณะสาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ยคที่สอง ุ ลักษณะเครื่อง มีขนาดเล็ก มีความร้ อนน้ อย และราคาถูกลง วัสดุทใช้ สร้ าง ี่ ใช้ หลอดทรานซิสเตอร์ แทนหลอดสู ญญากาศ มี วงแหวนแม่ เหล็กเป็ นหน่ วยวามจา ความเร็วในการทางาน เป็ นมิลลิเซคคัน ่ สื่ อข้ อมูล บัตรเจาะและเทปแม่ เหล็กเป็ นส่ วนใหญ่ ภาษาคอมพิวเตอร์ ทใช้ ภาษาสั ญลักษณ์ (symbolic Language) และ ี่ ภาษาฟอร์ แทรน (FORTRAN) ตัวอย่ างเครื่อง IBM 1620, IBM 1401, CDC 1604, Honeywell 200, NCR 315
  • 68.
  • 69. ลักษณะสาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ยคที่สาม ุ ลักษณะเครื่อง เล็กลงกว่ าเดิม ความเร็วเพิมขึน ใช้ ความร้ อนน้ อย ่ ้ วัสดุทใช้ สร้ าง ี่ ใช้ ไอซี (Integrated Circuit) ซึ่งสามารถทางาน ได้ เท่ ากับทรานซิสเตอร์ หลายร้ อยตัว (จึงทาให้ ขนาดเล็ก) ความเร็วในการทางาน เป็ นไมโครเซคคัน ่ สื่ อข้ อมูล บัตรเจาะ เทปแม่ เหล็ก จานแม่ เหล็ก ภาษาคอมพิวเตอร์ ทใช้ เริ่มมีภาษาโคบอลและภาษาพีแอลวัน (PL/1) ี่ ภาษาโคบอลเป็ นภาษาทีแพร่ หลายมากในยุคนี้ ่ ตัวอย่ างเครื่อง IBM 360, CDC 3300, NCR 395, UNIVAC 9400
  • 70.
  • 71. ลักษณะสาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ยคที่สี่ ุ ลักษณะเครื่อง มีคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กหรือไมโครคอมพิวเตอร์ ซึ่งไม่ จาเป็ นต้ องอยู่ในห้ องปรับอากาศ ทางานเร็วขึนและมี ้ ประสิ ทธิภาพมากขึน ้ วัสดุทใช้ สร้ าง ใช้ วงจรรวมขนาดใหญ่ ทเี่ รียกว่ า LSI (Large Scale ี่ Integrated) ความเร็วในการทางาน เป็ นนาโนเซคคัน ่ สื่ อข้ อมูล เทปแม่ เหล็ก จานแม่ เหล็ก ส่ วนบัตรเจาะจะใช้ น้อยลง ภาษาคอมพิวเตอร์ ทใช้ เริ่มมีภาษาใหม่ ๆ เช่ น ภาษาเบสิ ค ภาษาปาสคาล ี่ และภาษาซีเกิดขึน ้ ตัวอย่ างเครื่อง IBM 370, IBM 3033, UNIVAC 9700,CDC 7600,IBM PC (XT และ AT)
  • 72.
  • 73. ลักษณะสาคัญของเครื่ องคอมพิวเตอร์ยคที่หา ุ ้ •มีการใช้ คอมพิวเตอร์ เพือช่ วยในการจัดการ และสนับสนุนการตัดสิ นใจ ่ ของผู้บริหารมากยิงขึน ่ ้ •มีภาษาเชิงวัตถุ (Object-Oriented) •ความเร็วในการทางาน เป็ นพิคโคเซคคัน หนึ่งในล้านล้านวินาที ่
  • 74. คอมพิวเตอร์ ที่พบเห็นทั่วไปในปัจจุบัน เรียกว่ า - ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer) - เครื่ องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้งานเกี่ยวกับตัวเลข - การคานวณในดิจิตอลคอมพิวเตอร์เป็ นระบบเลขฐานสอง
  • 75. การคานวณภายในดิจิตอลคอมพิวเตอร์ จะเป็ นการประมวลผลด้วยระบบเลขฐานสองทั้งหมด ดังนั้น เลขฐานสิ บและตัวอักษรที่เราใช้อยู่ จะถูกแปลงไปเป็ นระบบ เลขฐานสองเพื่อการคานวณภายในคอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ก็ เป็ นเลขฐานสองซึ่งคอมพิวเตอร์จะแปลงเป็ นเลขฐานสิ บ
  • 76. สั ญญาณไฟกับเลขฐานสอง (เลข 0 = ไม่ มีไฟ และเลข 1 = มีไฟ)    
  • 77. 1.2 คุณสมบัตของคอมพิวเตอร์ ิ คอมพิวเตอร์ มีคุณสมบัตพนฐานที่สาคัญได้แก่ ิ ื้ - การทางานและผลลัพธ์มีความเชื่อถือได้(Reliability) - มีความรวดเร็วในการประมวลผล(Speed) - สามารถเก็บข้อมูลได้จานวนมาก(Storage Capacity) - เพิ่มผลผลิต (Productivity) - ช่วยสนับสนุนการตัดสิ นใจ(Decision Making) - ช่วยลดต้นทุนในการทาธุรกิจอีกด้วย (Cost Reduction)
  • 78. แสดงรหัส ASCII เลขฐานสอง 8 หลักทีใช้ แทนตัวอักษรและตัวเลข ่
  • 80. ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ซู เปอร์ คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็ นคอมพิวเตอร์ ทมสมรรถนะในการทางานสู ง ี่ ี กว่ า คอมพิวเตอร์ แบบอืน ดังนั้นจึงมีผ้เู รียกอีกชื่อหนึ่งว่ า คอมพิวเตอร์ สมรรถนะสู ง (High ่ Performance Computer) สามารถคานวนเลขทีมจุดทศนิยม ด้ วยความเร็วสู งมาก ขนาด ่ ี หลายร้ อยล้ านจานวนต่ อวินาที งานทีให้ คอมพิวเตอร์ ประเภทนีทาแค่ 1 วินาที ถ้ าหากเอามาให้ ่ ้ คนอย่ างเราคิด อาจจะต้ องใช้ เวลานานกว่ าร้ อยปี เหมาะทีจะใช้ คอมพิวเตอร์ ประเภทนี้ เมือต้ อง ่ ่ มีการคานวนมากๆ อย่ างเช่ น งานวิเคราะห์ ภาพถ่ าย จากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา หรือดาวเทียม สารวจทรัพยากร งานวิเคราะห์ พยากรณ์ อากาศ งานทาแบบจาลองโมเลกุล ของสารเคมี งาน วิเคราะห์ โครงสร้ างอาคาร ทีซับซ้ อน คอมพิวเตอร์ ประเภทนี้ มีราคาค่ อนข้ างแพง ปัจจุบัน ่ ประเทศไทย มีเครื่องซู เปอร์ คอมพิวเตอร์ Cray YMP ใช้ ในงานวิจย อยู่ทห้องปฏิบัตการ ั ี่ ิ คอมพิวเตอร์ สมรรถภาพสู ง (HPCC) ศู นย์ เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์ แห่ งชาติ ผู้ใช้ เป็ นนักวิจยด้ านวิศวกรรม และวิทยาศาสตร์ ทวประเทศ บริษัทผู้ผลิตทีเ่ ด่ นๆ ได้ แก่ ั ั่ บริษัทเครย์ รีเสิร์ซ, บริษัท เอ็นอีซี เป็ นต้ น
  • 81.
  • 82. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) คอมพิวเตอร์ ทมสมรรถนะสู งมาก แต่ ยงตากว่ าซู เปอร์ คอมพิวเตอร์ เหมาะกับการใช้ งาน ี่ ี ั ่ ทั้งในด้ านวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ โดยเฉพาะงานทีเ่ กียวข้ องกับข้ อมูลจานวนมากๆ ่ เช่ น งานธนาคาร ซึ่งต้ องตรวจสอบบัญชีลูกค้ าหลายคน งานของสานักงานทะเบียนราษฎร์ ที่ เก็บรายชื่อประชาชนประมาณ 60 ล้ านคน พร้ อมรายละเอียดต่ างๆ งานจัดการบันทึกการส่ งเงิน ของผู้ประกับตนหลายล้ านคน ของสานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน คอมพิวเตอร์ เมนเฟรม ทีมชื่อเสียงมาก คือ เครื่องของบริษัท IBM ่ ี
  • 83. มินิคอมพิวเตอร์ (Mini-Computer) เป็ นคอมพิวเตอร์ ทมสมรรถนะน้ อยกว่ าเครื่องเมนเฟรม คือทางานได้ ช้ากว่ า และ ี่ ี ควบคุมอุปกรณ์ รอบข้ างได้ น้อยกว่ า อย่ างไรก็ตามจุดเด่ นสาคัญ ของเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ก็ คือ ราคาย่ อมเยากว่ าเมนเฟรม การใช้ งานก็ไม่ ต้องใช้ บุคลากรมากนัก นอกจากนั้น ยังมีผ้ทรู้ ู ี่ วิธีใช้ มากกว่ าด้ วย เพราะเครื่องประเภทนี้ มีใช้ ตามสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาหลายแห่ ง มินิคอมพิวเตอร์ เหมาะกับงานหลากหลายประเภท คือใช้ ได้ ท้งในงานวิศวกรรม ั วิทยาศาสตร์ อุตสาหกรรม เครื่องทีมใช้ ตามหน่ วยงานราชการระดับกรมส่ วนใหญ่ มักจะเป็ น ่ ี เครื่องประเภทนี้
  • 84. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro-Computer) เครื่องประมวลผลข้ อมูลขนาดเล็ก มีส่วนของหน่ วยความจาและ ความเร็วในการประมวลผลน้ อยทีสุด สามารถใช้ งานได้ ด้วยคนเดียว จึง ่ มักถูกเรียกว่ า คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC) ราคาถูก ดังนั้นจึงเป็ นทีนิยมใช้ มาก ทั้งตามหน่ วยงานและบริษทห้ างร้ าน ่ ั ตลอดจนตามโรงเรียน สถานศึกษา และบ้ านเรือน บริษททีผลิต ั ่ ไมโครคอมพิวเตอร์ ออกจาหน่ ายจนประสบความสาเร็จเป็ นบริษทแรก ั คือ บริษทแอปเปิ ลคอมพิวเตอร์ ั
  • 85. Notebook/Laptop ความต้ องการใช้ งานคอมพิวเตอร์ ในทุก ๆ สถานทีน้ันทาให้ มการ ่ ี พัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ทสามารถนาพกติดตัวไปด้ วย เรียกว่ า ี่ Notebook หรือ Laptop ซึ่งมีประสิ ทธิภาพและการใช้ งานเทียบเท่ ากับ ระดับพีซี
  • 86. Handheld : Pocket PC / Palm คอมพิวเตอร์ ถูกพัฒนาให้ สามารถใช้ งานได้ สะดวกมากขึน โดยการออกแบบในมี ้ รู ปแบบการใช้ งานอยู่เพียงบนฝ่ ามือเท่ านั้น มีนาหนักเบา และพกพาสะดวก ้ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ แบบแฮนด์ เฮลได้ รับการพัฒนาให้ มความสามารถมากขึน ี ้ เรื่อย ๆ โดยบางรุ่นใช้ กบโทรศัพท์ มอถือ ั ื
  • 87. Tablet คอมพิวเตอร์ ทสามารถปอนข้ อมูลทางจอภาพได้ และสามารถใช้ ี่ ้ ซอฟต์ แวร์ ชนิดเดียวกันกับทีติดตั้งบนคอมพิวเตอร์ แบบพีซีได้ ่
  • 88. Q&A