SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 26
Baixar para ler offline
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โดย
นายรัชชานนท์ สุดยอด เลขที่ 8 ม.5/3
นายวรวุฒิ แก้วสะอาด
นายธีรพล กุลวุฒิ
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โดย
นายรัชชานนท์ สุดยอด เลขที่ 8 ม.5/3
นายวรวุฒิ แก้วสะอาด
นายธีรพล กุลวุฒิ
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8
ครูที่ปรึกษา
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน
ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ผู้จัดทาโครงงาน 1.นายรัชชานนท์ สุดยอด
2.นายวรวุฒิ แก้วสะอาด
3.นายธีรพล กุลวุฒิ
ปีการศึกษา 2558
บทคัดย่อ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ จัดทา
ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้เป็นอาชีพในชีวิตประจาวัน เช่น สถาปนิก การประยุกต์ใช้
โปรแกรมครั้งนี้ใช้โปรแกรมในการดาเนินการคือ โปรแกรม Sketup ในการออกแบบ
ผลการจัดทาโครงงาน พบว่า การประยุกต์ใช้โปรแกรมในเรื่อง การออกแบบอาคาร
บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ ได้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบด้วยโปรแกรม3มิติด้วยการ
นาเสนอ ให้ได้รับความสนใจ
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความกรุณาของคณะผู้บริหารและคณะอาจารย์หมวด
คอมพิวเตอร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ซึ่งได้ให้คาปรึกษา ข้อชี้แนะ และความช่วยเหลือ
จนกระทั่งโครงงานสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะผู้จัดทาขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ ที่นี้
ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ที่ปรึกษา ที่ให้ความกรุณาในการแก้ไข ข้อบกพร่องต่างๆ ของ
โครงงาน และให้ความรู้ ให้คาแนะนาทั้งให้กาลังใจ
ท้ายสุดนี้คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงงานนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาและเป็นที่
น่าสนใจสาหรับผู้ที่สนใจต่อๆไป
คณะผู้จัดทา
นายรัชชานนท์ สุดยอด ม.5/3
นายวรวุฒิ แก้วสะอาด ม.5/3
นายธีรพล กุลวุฒิ ม.5/3
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ........................................................................................................... ข
กิตติกรรมประกาศ............................................................................................ ค
สารบัญ............................................................................................................. ง
สารบัญภาพ...................................................................................................... จ
สารบัญตาราง................................................................................................... ฉ
บทที่ 1
1.บทนา
ที่มาที่มาและความสาคัญของโครงงาน............................................ 1
วัตถุประสงค์์................................................................................ 1
ขอบเขตของโครงงาน........................................................................... 1
แผนการดาเนินงาน....................................................................... 2
วิธีการดาเนินงาน.......................................................................... 2
ผลที่คาดว่าจะได้รับ.............................................................................. 3
2.เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 รู้จักกับ Google Sketup 8............................................................... 4
2.2 เทคโนโลยีกับการออกแบบ........................................................... 5
3.อุปกรณ์และวิธีดาเนินงาน
3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ................................................................... 12
3.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล................................................................ 12
3.3 อุปกรณ์ที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน................................................ 12
4.ผลการดาเนินงาน.......................................................................................... 13
5. สรุปผลการดาเนินงาน / ข้อเสนอแนะ
5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน......................................................... 14
5.2 สรุปผลการดาเนินงาน..................................................................... 14
5.3 ข้อเสนอแนะ.................................................................................... 14
บรรณานุกรม.................................................................................................... 15
ภาคผนวก......................................................................................................... 16
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
ตารางที่ 1 แผนการดาเนินงานโครงงาน 2
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
ภาพที่ 1 ตัวอย่างผลงาน 13
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันมีโปรแกรมการออกแบบสิ่งของหรืออะไรต่างๆมากมาย หนึ่งในนั้นคือ
โปรแกรม Google Sketup ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ใช้ออกแบบได้หลายอย่าง อาธิ สิ่งของเครื่องใช้ เช่น เก้าอี้ โต๊ะ
คมไฟ เป็นต้น และออกแบบอาคารบ้านเรือนได้ซึ่งตอบโจทย์ความต้องการในการออกแบบที่อยู่อาศัยได้
อย่างดี
Google SketchUp เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างแบบจาลอง 3D (Three - Dimensional) ที่มี
ความง่ายต่อการใช้งาน และเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง โดยส่วนใหญ่จะถูกนามาใช้ในงานออกแบบเชิง
สถาปัตยกรรม งานออกแบบภายในและภายนอก การออกแบบกลไกลการทางานของเครื่องจักร เฟอร์นิเจอร์
ภูมิประเทศ ผลิตภัณฑ์ รวมไปถึงงานออกแบบฉาก อาคาร และสิ่งก่อสร้างในเกม หรือจะเป็นกมรจัดฉากทา
Story Boards ในงานภาพยนตร์หรือละครโทรทัศน์ก็สามารถทาได้
Google SketchUp เป็นโปรแกรมที่มีความสามารถสูง แต่กลับมีความต้องการของระบบต่า
แต่อย่างไรก็ตาม ในการทางานกับโมเดลที่มีความซับซ้อนมากๆ เครื่องคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมีความเร็ว
พอสมควร เพื่อให้การแสดงผลและการทางานเป็นไปอย่างลื่นไหล โดยทาง Google ได้กาหนดความ
ต้องการพื้นฐานของระบบ
เพื่อเป็นการประยุกต์ใช้โปรแกรมอย่างมีประโยชน์และสามารถนาไปใช้เป็นงานในการ
สร้างอาชีพได้โดยมีการสอนโปรแกรมSketupขึ้นพื้นฐานเพื่อให้ผู้ทาได้นาไปประยุกต์ได้
วัตถุประสงค์
เพื่อนาไปประยุกต์ใช้เป็นอาชีพในชีวิตประจาวัน
ขอบเขตของโครงงาน
สาธิตการใช้โปรแกรมSketupโดยการให้ผู้เรียน ทาตามผู้สอน โดยการทาชิ้นงานเบื้อง
ต้นแบบง่ายๆ เช่น การทาโต๊ะ การทาโคมไฟ แล้วเริ่มไปที่งานใหญ่ๆเช่น เริ่มทาอาคาร เริ่มทาบ้าน เป็นต้น
แผนการดาเนินงาน
ตารางที่ 1 แผนการดาเนินงานโครงงาน
ขั้นตอนการดาเนินงาน
ระยะเวลาการดาเนินงาน
กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
1. คิดเลือกหัวข้อโครงงาน
เพื่อนาเสนออาจารย์ที่
ปรึกษา
2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวม
ข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับ
โครงงานในการออกแบบ
3. ศึกษาโปรแกรม Sketup
4. จัดทาโครงร่างโครงงาน
เสนออาจารย์ที่ปรึกษา
5.ออกแบบภาพอาคาร บ้าน
เรือน เป็นภาพตัวอย่าง
6.ทาเอกสารสรุปรายงาน
โครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้สนใจมีความเข้าใจและให้ความสาคัญเกี่ยวกับงานออกแบบ
2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสร้างผลงานการออกแบบ
3. ได้นาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีคุณค่าและเกิดประโยชน์
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ในการประยุกต์ใช้โปรแกรมออกแบบอาคาร บ้าน เรือน
ด้วยโปรแกรม 3 มิติ คณะผู้จัดทาได้ศึกษาข้อมูล เอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
2.1 รู้จักกับ Google Sketup 8
2.2 เทคโนโลยีกับการออกแบบ
2.1 รู้จักกับ Google Sketup 8
วันนี้เราจะมาทาความรู้จักกับโปรแกรม Goole Sketchup กัน เชื่อว่าสาหรับวิศวกร
สถาปนิกหรือคนที่ทางานเกี่ยวกับงานกราฟฟิค น่าจะเคยใช้งานหรือเคยเห็น เคยได้ยินชื่อโปรแกรมนี้ผ่านหู
ผ่านตามาบ้าง สาหรับโปรแกรม Google Sketchup 8 นี้จะมีอยู่ 2 เวอร์ชั่นคือ Google Sketchup 8 และ
Google SketchupPro 8
ข้อแตกต่างของ 2 เวอร์ชั่นนี้คือ Google Sketchup 8 จะเป็นฟรีแวร์ และ Google
SketchupPro 8 จะเป็นแชร์แวร์โดยใน Google SketchupPro 8 จะมีฟังก์ชั่นเพิ่มเติมสาหรับใช้งานมากขึ้น(มี
อะไรบ้าง ไว้ว่ากันตอนท้ายครับ) โปรแกรม Google Sketchup 8 เป็นโปรแกรมสาหรับออกแบบชิ้นงาน 3
มิติ สามารถสร้างชิ้นงานรูปทรงเรขาคณิตต่างๆได้ง่าย โดยส่วนใหญ่จะเห็นเป็นรูปบ้านหรืออาคารเป็นส่วน
ใหญ่ แต่ก็สามารถใช้ในการปั้นรูปทรงที่มีความซับซ้อนมากๆ เช่น รูปสัตว์ต้นไม้ยานพาหนะ หรือ
เครื่องกลต่างๆ(เพียงแต่อาจจะใช้ยากกว่า 3Ds Max บ้างเรียกว่าเก่งคนละแบบละกันครับ)
โปรแกรม Google Sketchup 8 ใช้ยากไหม? ถ้าผู้เริ่มใช้งานเคยใช้โปรแกรมเขียนแบบมา
ก่อน คงไม่ยากสาหรับการฝึกหัดใช้งาน Google Sketchup 8 (แรกๆอาจจะงงกับมุมมองอยู่บ้าง) แต่ถ้าไม่เคย
ใช้งานมาเลยคงต้องความพยายามมากขึ้นอีกนิดนึงครับ ในส่วนนี้โปรแกรม Google Sketchup มีคาสั่ง
Components สาหรับค้นหาชิ้นงานที่เคยมีคนเขียนไว้ก่อนและได้แชร์เอาไว้เพื่อให้ผู้ใช้งานอื่นๆนามาใช้งาน
ต่อได้เลย ซึ่งผู้ใช้ทุกคนสามารถนาชิ้นงานของตนที่สร้างจากโปรแกรมมาแชร์เพื่อใช้งานร่วมกันได้ ข้อดีอีก
อย่างของโปรแกรม Google Sketchup 8 คือใช้ทรัพยากรของระบบไม่มากนัก
ลักษณะการทางานโดยรวมของโปรแกรม จะเป็นการสร้างรูปทรงจาก 2 มิติเป็น 3 มิติทีละ
ชิ้น สามารถกาหนดลักษณะของพื้นผิววัสดุ จัดตาแหน่งของวัตถุ กาหนดลักษณะทิศทางของแสงหรือสีของ
ท้องฟ้าได้นอกจากนี้โปรแกรม Google Sketchup 8 ยังสามารถทางานร่วมกับโปรแกรม 3 มิติอื่นๆ เช่น
3dsMax หรือ AutoCad ได้และไฟล์ติดตั้งของโปรแกรมมีขนาดเล็กและใช้ทรัพยากรไม่มากนัก สามารถ
ดาวน์โหลดโปรแกรมได้ที่ http://sketchup.google.com/ หากต้องการจัดลักษณะของพื้นผิวหรือแสง เงา ให้
สมจริงยิ่งขึ้นสามารถเพิ่ม Plug in สาหรับ Google Sketchup เช่น V-ray หรือ Podium (แต่เป็นแชร์แวร์นะ
ครับ)
สาหรับโปรแกรม Google SketchupPro 8 จะมีการเพิ่มเติมคาสั่งสาหรับจัดการชิ้นงาน 3 มิติ , การทางาน
ร่วมกับ Google Map และ Google Earth สาหรับสร้างแผนที่ทางภูมิศาสตร์หรือนาอาคารที่ออกแบบไปวาง
บน Google Earth , การแปลงไฟล์ไปเป็นรูปแบบ .dwg หรือ .dwf , การคานวณปริมาณของชิ้นงาน หรือ
สร้าง Layout แสดงมุมมองต่างๆของชิ้นงานได้นอกจากนี้ยังมีรายละเอียดปลีกย่อยอยู่ค่อนข้างมาก อาทิเช่น
ฟังก์ชั่น Outer Shell , Scene Thumbnails , Precise Move in LayOut หรือ Match Photo เป็นต้น
Google SketchUp เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างแบบจาลอง 3D (Three-Dimensional) ที่มีความง่ายต่อการใช้
งาน และเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง โดยส่วนใหญ่จะถูกนามาใช้ในงานออกแบบเชิงสถาปัตยกรรม งาน
ออกแบบภายในและภายนอก การออกแบบกลไกการทางานของเครื่องจักร เฟอร์นิเจอร์ ภูมิประเทศ
ผลิตภัณฑ์ รวมไปถึงงานออกแบบฉาก อาคาร และสิ่งก่อสร้างในเกม หรือจะเป็นการจัดฉากทา Story
Boards ในงานภาพยนต์หรือละครโทรทัศน์ก็สามารถทาได้
2.2 เทคโนโลยีกับการออกแบบ
ความหมายของเทคโนโลยี (Technology)
ในชีวิตประจาวัน เราต้องใช้ สิ่งของเครื่องใช้เพื่อแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของเราอยู่ทุกวัน เช่น ใช้
นาฬิกาปลุกเพื่อให้เราตื่น อานน้าแปรงฟันด้วยอุปกรณ์สาหรับอาบน้า รับประทานอาหารท่่ี่ใส่ในจานหรือ
ชาม เดินทางมาโรงเรียนด้วยรถยนต์หรือรถจักรยาน เขียนหนังสือด้วยดินสอหรือปากกา สืบค้นข้อมูลด้วย
คอมพิวเตอร์ เมื่อกลับถึงบ้าน ก็นอนหลับพักผ่อนดวยเครื่องนอน เช่น หมอน ที่นอน ฯลฯ
จากกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจาวัน จะพบว่าเราต้องอาศัยสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการต่างๆมากมายเข้ามา
ช่วยในการแก้ปัญหาของเรา เพื่อให้การทางานสะดวก รวดเร็วและสบายขึ้น ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1. วิธีการปลูกพืชแบบขั้นบันได เป็นวิธีการที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาการพังทลายของหน้าดินและ
การเก็บกักน้าในพื้นที่การเกษตรที่มีความลาดชัน
2. วิธีการปลูกพืชกางมุ้ง จุดประสงค์ก็เพื่อแก้ปัญหาการระบาดของศัตรูพืช ซึ่งทาให้มนุษย์ต้องใช้สารเคมีฉีด
ป้ องกันและกาจัด ซึ่งจะส่งผลต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค
3. คอมพิวเตอร์ มนุษย์ประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ขึ้นมา ก็เพราะงานบางอย่างต้องใช้การคานวณอย่างรวดเร็ว
แม่นยา และพลาดไม่ได้ซึ่งถ้าจะใช้สมองของมนุษย์ก็คงจะไม่สามารถทางานได้อย่างรวดเร็วและจานวน
มากเหมือนคอมพิวเตอร์
จากตัวอย่างเทคโนโลยีทั้ง 3 เรื่องจะเห็นว่า เทคโนโลยีต่างๆจะเกิดขึ้นมาได้ก็เพราะ มีปัญหาที่มนุษย์เห็นว่า
ทาให้ตนเองเกิดความไม่สะดวก สบาย หรือมีบางสิ่งบางอย่างที่มนุษย์ต้องการใช้งาน ซึ่งมนุษย์ก็จะใช้
ความรู้ ทักษะและทรัพยากรต่างๆ นามาสร้างสิ่่งของหรือวิธีการเพื่อแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการ
ของตนเอง
ดังนั้นเทคโนโลยี หมายถึง สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยในการทางานหรือแก้ปัญหาต่างๆ
เช่น อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุต่างๆ หรือกระบวนการต่างๆ เช่น กระบวนการเทคโนโลยี เป็น
ต้น
ระดับของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์มาเป็นเวลานาน เพราะมนุษย์ใช้เทคโนโลยีในการ
แก้ปัญหาพื้นฐานในการดารงชีพ เช่น การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์การสร้างบ้านเรือนที่อยู่อาศัย การคิด
ประดิษฐ์เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม การผลิตและใช้ยารักษาโรค การคมนาคมขนส่ง การค้าขาย การศึกษา การ
ป้ องกันประเทศ ในระยะแรก เทคโนโลยีที่นามาใช้เป็นเทคโนโลยีพื้นฐานที่เรียกกันว่า “เทคโนโลยีชาวบ้าน
หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น แต่เนื่องจากอัตราการเพ่ิมขึ้นของประชากรและข้อจากัดด้านทรัพยากรธรรมชาติที่มี
จานวนลดลง จึงมีการพัฒนาเทคโนโลยีให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อให้สามารถผลิตปัจจัยพื้นฐานในการ
ดารงชีวิตได้เพียงพอกับความต้องการของประชาชนภายใต้เงื่อนไขของการอนุรักษ์ คือ การใช้ทรัพยากรให้
น้อยที่สุดแต่เกิดประโยชน์ต่อคนส่วนใหญ่มากที่สุด
ลักษณะของเทคโนโลยี
เทคโนโลยีที่สร้างขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการของมนุษย์มี 2 ลักษณะ คือ
1. เทคโนโลยีที่มีลักษณะเป็นสิ่งของ เครื่องใช้ ซึ่งมนุษย์ใช้ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์สร้างขึ้นมาเพื่อ
แก้ปัญหาต่างๆของมนุษย์เทคโนโลยีประเภทนี้จะพบเห็นได้อยู่ทั่วไป เช่น คอมพิวเตอร์ ดาวเทียม โทรทัศน์
2. เทคโนโลยีที่มีลักษณะเป็นวิธีการ เทคโนโลยีประเภทนี้เกิดจากการที่มนุษย์ได้พยายามหาวิธีการใดวิธีการ
หนึ่งมาใช้แก้ปัญหาจนประสบความสาเร็จ สามารถแก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้เช่น
เมื่อมีปัญหาฝนแล้ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯก็ทรงคิดค้นวิธีการทาฝนเทียมเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว
หรืออีกหนึ่งตัวอย่างที่เห็นอยู่ในขณะนี้ก็คือ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ก็จัดเป็นเทคโนโลยีประเภท
วิธีการได้เช่นเดียวกัน เนื่องจากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และ
ปฏิบัติตนในทางที่ ควรจะเป็นโดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้
ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และ
วิกฤต เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้ง
ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมความรู้และเทคโนโลยี
การจัดแบ่งระดับของเทคโนโลยีตามความรู้ที่ใช้ในการแก้ปัญหา แบ่งออกได้ 3 ระดับ คือ
1. เทคโนโลยีระดับพื้นบ้านหรือพื้นฐาน (Basic Technology)
เทคโนโลยีระดับพื้นบ้านหรือพื้นฐาน (Basic Technology) เป็นเทคโนโลยีในยุคแรกๆ ส่วนใหญ่เป็น
เทคโนโลยีเพื่อการยังชีพ โดยเฉพาะเทคโนโลยีที่ใช้ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรมพื้นบ้าน เช่น คันไถ
คราด มีด พร้า จอบ เสียม อวน แห เบ็ด เรือพาย หม้อ ไห โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น รวมถึงการคิด
หาวิธีการถนอมอาหารและแปรรูปอาหารเพื่อเก็บไว้บริโภคได้เป็นเวลานาน เช่น การตากแห้ง การทาเค็ม
การหมัก การดอง ฯลฯ ตลอดจนการคิดค้นสูตรยาสมุนไพรต่างๆ เทคโนโลยีพื้นบ้านจึงจัดเป็นภูมิปัญญา
ท้องถิ่นที่เป็นต้นแบบของเทคโนโลยีสมัยใหม่ เทคโนโลยีพื้นบ้านส่วนมากไม่ต้องใช้ความรู้หรือ
ประสบการณ์เฉพาะด้าน ส่วนใหญ่เกิดจากการสังเกต จดจาและฝึกหัดจนเกิดประสบการณ์ตรง
2. เทคโนโลยีระดับกลาง (Intermediate Technology)
เทคโนโลยีระดับกลาง เป็นเทคโนโลยีที่ต้องใช้ความรู้ประสบการณ์ในการแก้ปัญหามากขึ้น มีการใช้
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ีมีกลไกซับซ้อนมากขึ้น เช่น การใช้เครื่องจักรทางานแทนคน การใช้เครื่องทุ่นแรงใน
การทางาน การใช้อุปกรณ์สิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ เช่น เครื่องพ่นยาอัตโนมัติ รถแทรกเตอร์ รถตัดหญ้า
นอกจากนี้ ผู้ปฏิบ้ติงานก็จะต้องมีความรู้ มีทักษะและประสบการณ์มากขึ้น
3. เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology)
เทคโนโลยีระดับสูง เป็นเทคโนโลยีที่ต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์ขั้นสูง มีการใช้ระบบฐานข้อมูล
และการติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต ตลอดจนมีการศึกษาวิจัยและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เทคโนโลยี
ระดับนี้ เช่น อุปกรณ์การแพทย์ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการวินิจฉัยโรค อุปกรณ์และวิธีการในการตัดแต่ง
พันธุกรรมพืช ระบบโทรคมนาคมและสื่อสาร ระบบอินเทอร์เน็ต ฯลฯ
การออกแบบ
ความหมายของการออกแบบ
ความหมายของการออกแบบ การออกแบบ คืออะไร ซึ่งความหมายของคาว่า “ออกแบบ” นั้นถูกให้คานิยาม
หรือคาจากัดความ ไว้หลายรูปแบบมากมาย ตามความเข้าใจ การตีความหมาย และการสื่อสารออกมาด้วย
ตัวอักษรของแต่ละคน ตัวอย่างความหมายของการออกแบบ เช่น
– การออกแบบ หมายถึง การรู้จักวางแผนจัดตั้งขั้นตอน และรู้จักเลือกใช้วัสดุวิธีการเพื่อทาตามที่ต้องการนั้น
โดยให้สอดคล้องกับลักษณะรูปแบบ และคุณสมบัติของวัสดุแต่ละชนิด ตามความคิดสร้างสรรค์ และการ
สร้างสรรค์สิ่งใหม่ขึ้นมา เช่น การจะทาโต๊ะขึ้นมาซักหนึ่งตัว เราจะต้องวางแผนไว้เป็นขั้นตอน โดยต้อง
เริ่มต้นจากการเลือกวัสดุที่จะใช้ในการทาโต๊ะนั้น ว่าจะใช้วัสดุอะไรที่เหมาะสม ในการยึดต่อระหว่างจุด
ต่างๆนั้นควรใช้ กาว ตะปู สกรู หรือใช้ข้อต่อแบบใด รู้ถึงวัตถุประสงค์ของการนาไปใช้งาน ความแข็งแรง
และการรองรับน้าหนักของโต๊ะสามารถรองรับได้มากน้อยเพียงใด สีสันควรใช้สีอะไรจึงจะสวยงาม เป็นต้น
– การออกแบบ หมายถึง การปรับปรุงแบบ ผลงานหรือสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่แล้วให้เหมาะสม และดูมีความแปลก
ใหม่ขึ้น เช่น โต๊ะที่เราทาขึ้นมาใช้ เมื่อใช้ไปนานๆก็เกิดความเบื่อหน่ายในรูปทรง หรือสี เราก็จัดการ
ปรับปรุงให้เป็น รูปแบบใหม่ให้สวยกว่าเดิม ทั้งความเหมาะสม ความสะดวกสบายในการใช้งานยังคง
เหมือนเดิม หรือดีกว่าเดิม เป็นต้น
– การออกแบบ หมายถึง การรวบรวมหรือการจัดองค์ประกอบทั้งที่เป็น 2 มิติ และ 3 มิติ เข้าด้วยกันอย่างมี
หลักเกณฑ์ การนาองค์ประกอบของการออกแบบมาจัดรวมกันนั้น ผู้ออกแบบจะต้องคานึงถึงประโยชน์ใน
การใช้สอยและความสวยงาม อันเป็นคุณลักษณะสาคัญของการออกแบบ เป็นศิลปะของมนุษย์เนื่องจากเป็น
การสร้างค่านิยมทางความงาม และสนองคุณประโยชน์ทางกายภาพให้แก่มนุษย์ด้วย
– การออกแบบ หมายถึง กระบวนการที่สนองความต้องการในสิ่งใหม่ๆของมนุษย์ซึ่งส่วนใหญ่เพื่อการ
ดารงชีวิตให้อยู่รอด และสร้างความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น
การออกแบบ ( Design ) คือศาสตร์แห่งความคิด และต้องใช้ศิลป์ ร่วมด้วย เป็นการสร้างสรรค์ และการแก้ไข
ปัญหาที่มีอยู่ เพื่อสนองต่อจุดมุ่งหมาย และนากลับมาใช้งานได้อย่างน่าพอใจ ความน่าพอใจนั้น แบ่ง
ออกเป็น 3 ข้อหลักๆ ได้ดังนี้
1. ความสวยงาม เป็นสิ่งแรกที่เราได้สัมผัสก่อน คนเราแต่ละคนต่างมีความรับรู้เรื่อง ความสวยงาม กับความ
พอใจ ในทั้ง 2 เรื่องนี้ไม่เท่ากัน จึงเป็นสิ่งที่ถกเถียงกันอย่างมาก และไม่มีเกณฑ์ ในการตัดสินใดๆ เป็นตัวที่
กาหนดอย่างชัดเจน ดังนั้นงานที่เราได้มีการจัดองค์ประกอบที่เหมาะสมนั้น ก็จะมองว่าสวยงามได้
เหมือนกัน
2. มีประโยชน์ใช้สอยที่ดี เป็นเรื่องที่สาคัญมากในงานออกแบบทุกประเภท เช่นถ้าเป็นการออกแบบสิ่งของ
เช่น เก้าอี้,โซฟา นั้นจะต้องออกแบบมาให้นั่งสบาย ไม่ปวดเมื่อย ถ้าเป็นงานกราฟฟิค เช่น งานสื่อสิ่งพิมพ์
นั้น ตัวหนังสือจะต้องอ่านง่าย เข้าใจง่าย ถึงจะได้ชื่อว่า เป็นงานออกแบบที่มีประโยชน์ใช้สอยที่ดีได้
3. มีแนวความคิดในการออกแบบที่ดี เป็นหนทางความคิด ที่ทาให้งานออกแบบสามารถตอบสนอง ต่อ
ความรู้สึกพอใจ ชื่นชม มีคุณค่า บางคนอาจให้ความสาคัญมากหรือน้อย หรืออาจไม่ให้ความสาคัญเลยก็ได้
ดังนั้นบางครั้งในการออกแบบ โดยใช้แนวความคิดที่ดี อาจจะทาให้ผลงาน หรือสิ่งที่ออกแบบมีคุณค่ามาก
ขึ้นก็ได้
ดังนั้นนักออกแบบ ( Designer ) คือ ผู้ที่พยายามค้นหา และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ หาวิธีแก้ไข หรือหาคาตอบ
ใหม่ๆสาหรับปัญหาต่างๆ
หน้าที่และประโยชน์ของการออกแบบด้วยเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบมีหน้าที่สาคัญ 2 ประการ ประการแรกคือ อานวยความสะดวกในการเขียน
แบบ (drafting) ของชิ้นงาน ที่ต้องการบนจอภาพ การใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ จะตัดความยุ่งยากใน
การเขียนแบบบนกระดาษด้วยมือ ซึ่งเป็นงานที่ละเอียด ต้องการความสามารถสูง และกินเวลานานออกไป
ทั้งนี้คอมพิวเตอร์สามารถแสดงภาพบนจอจากข้อมูลที่ผู้ออกแบบป้ อนให้เป็นภาพ ทั้งในระบบ 2 มิติ และ 3
มิติได้ตามต้องการ ภาพในระบบ 2 มิติ หรือ 3 มิตินี้ เกิดขึ้นจากการมองชิ้นงานจากทิศทางที่แตกต่างกัน
คอมพิวเตอร์สามารถออกแบบได้ทุกชนิด ตั้งแต่แบบอาคาร แบบบ้านที่อยู่อาศัยขนาดสะพาน รถยนต์
เครื่องบิน วงจรไฟฟ้า ของเล่น ตลอดจนแบบโฆษณาต่างๆ แบบเหล่านี้จะเก็บอยู่ในหน่วยความจาของ
คอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้ใช้สามารถเรียกแบบที่เก็บไว้นี้ ออกมาแสดงบนจอภาพได้ทันทีที่ต้องการ และอาจ
พิจารณาปรับปรุงแก้ไขใหม่ หรืออาจสั่งให้นาแบบไปเขียนบนกระดาษด้วยเครื่องเขียน (plotter) แบบ
อัตโนมัติก็ได้
หน้าที่สาคัญประการที่ 2 ของคอมพิวเตอร์ในงานออกแบบได้แก่ การจาลอง (simulation) สภาพการทางาน
จริงของชิ้นงาน ที่ได้ออกแบบไว้ในสภาวะต่างๆ เพื่อศึกษารายละเอียดของชิ้นงาน และวิเคราะห์หา
ประสิทธิภาพ และคุณภาพของชิ้นงานนั้น โดยที่ผู้ออกแบบไม่จาเป็นต้องสร้างชิ้นงานต้นแบบ (prototype)
ขึ้นมาทดลองจริงๆ นอกจากนั้นคอมพิวเตอร์ยังช่วยประหยัดเวลา ในการคานวณค่าต่างๆ ที่ต้องการได้ด้วย
ตัวอย่างเช่น ในงานออกแบบอาคาร หรือสะพาน เราต้องใช้คอมพิวเตอร์วิเคราะห์หาแรงกระทาตามจุดต่างๆ
บนโครงสร้างของอาคาร หรือสะพาน เมื่อต้องรับน้าหนักขนาดต่างๆ กัน ในการออกแบบรถยนต์ เราต้องใช้
คอมพิวเตอร์จาลองสภาพการวิ่งของรถยนต์ที่ความเร็วต่างๆ บนพื้นถนนหลายชนิด เพื่อดูลักษณะการปะทะ
ลมของตัวถัง และแรงกระทาต่อแกนล้อรถยนต์ ในการออกแบบเครื่องบิน เราต้องใช้คอมพิวเตอร์วิเคราะห์
หาลักษณะของการพยุงตัวของปีกเครื่องบินในมุมต่างๆ ในการออกแบบเครื่องขยายเสียง เราต้องใช้
คอมพิวเตอร์วิเคราะห์หาอัตราขยายสัญญาณ และความเพี้ยนของวงจรขยายเสียงและอื่นๆ อีกมาก ในงาน
ต่างๆ เหล่านี้ คอมพิวเตอร์สามารถช่วยผู้ออกแบบได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้อง
ประโยชน์ของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบสรุปได้เป็น 4 ประการสาคัญดังนี้
1. เพิ่มประสิทธิภาพในการออกแบบ
ในการเขียนแบบ คอมพิวเตอร์สามารถช่วยผู้ใช้วาดรูปต่างๆ บนจอภาพได้อย่างรวดเร็ว และง่ายดาย ผู้ใช้ที่
ไม่มีฝีมือในด้านการเขียนแบบก็สามารถวาดแบบที่ต้องการได้อย่างถูกต้อง และได้มาตรฐาน โดยอาศัย
คอมพิวเตอร์ช่วย โดยผู้ใช้เพียงแต่บอกลักษณะรูปร่างของชิ้นงานให้อยู่ในรูปของข้อมูลต่างๆ ให้กับ
คอมพิวเตอร์ ก็จะได้ภาพชิ้นงานนั้น ปรากฏบนจอภาพของคอมพิวเตอร์ได้ตัวอย่างเช่น ในการเขียนแบบ
อาคาร ผู้ใช้อาจจะบอกคอมพิวเตอร์ว่า อาคารนั้นมีฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาด 100,000 ตารางเมตร มีความสูง
๓๐ เมตร มีเสาและคานรับน้าหนักอยู่ที่ใด และมีขนาดเท่าใด รวมทั้งข้อมูลอื่นๆ ที่ผู้ใช้ต้องการ จากนั้น
คอมพิวเตอร์ก็จะสามารถวาดแบบโครงสร้างของตัวอาคาร บนจอภาพให้ ซึ่งอาจจะเป็นภาพในลักษณะ 2
มิติ หรือ 3 มิติก็ได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการและความสามารถ ของระบบคอมพิวเตอร์
2. เพิ่มคุณภาพของงานออกแบบ
การที่คอมพิวเตอร์สามารถรับภาวะทางด้านการคานวณตัวเลขต่างๆ การแสดงผล และการเขียนแบบไปจาก
ผู้ออกแบบได้ ทาให้ผู้ออกแบบสามารถใช้สมองและความสามารถของตนเองทางาน ในส่วนที่สาคัญอื่นๆ
เช่น ความปลอดภัย ความสวยงาม ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมให้ได้ดียิ่งขึ้น ในที่นี้เราต้องทาความเข้าใจ
เสียก่อนว่า คอมพิวเตอร์ออกแบบ หรือตัดสินใจ เลือกแบบด้วยตัวมันเองไม่ได้ถ้าเราต้องการสะพานยาว 5๐
เมตร ที่สามารถรับน้าหนักได้2๐ ตัน เราจะหวังนาข้อมูลนี้ ไปป้ อนให้คอมพิวเตอร์ แล้วให้มันออกแบบ
สะพานให้เราเสร็จอย่างอัตโนมัติเลยนั้นไม่ได้สิ่งที่คอมพิวเตอร์ทาได้คือ คานวณว่า ถ้าโครงสร้างสะพานมี
รูปร่างอย่างนี้ มีฐานรองรับน้าหนักรูปร่างขนาดนี้ ทาจากวัสดุประเภทนี้ มีความยาว และความกว้างอย่างนี้
และข้อกาหนดอื่นๆ ที่เราต้องป้ อนเข้าไปแล้ว สะพานนั้นจะสามารถรับน้าหนักสูงสุดได้เท่าไร ทนความ
สั่นสะเทือนได้เท่าใด และมีแรงกดตามจุดต่างๆ เท่าใด จะเห็นได้ว่า มนุษย์ยังต้องเป็นผู้กาหนดตัดสินใจ
เลือกแบบ และเปลี่ยนแปลงแก้ไขแบบ ให้กับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จึงเป็นเพียงเครื่องมือช่วยในการ
ออกแบบให้กับมนุษย์เท่านั้น แต่ถ้ามีคอมพิวเตอร์ช่วย ผู้ออกแบบจะสามารถทดสอบแนวความคิด หรือ
หลักการใหม่ๆ ในการออกแบบได้ง่าย หรือจะศึกษาผลของการเปลี่ยนค่าตัวแปร ของการออกแบบ ที่มีต่อ
คุณภาพของงานออกแบบนั้น ได้ง่าย และสะดวกยิ่งขึ้น การปรับปรุงแก้ไขงานออกแบบที่ได้ทาไปแล้ว ก็ทา
ได้อย่างรวดเร็ว ถ้ามีคอมพิวเตอร์ช่วย ตัวอย่างเช่น การนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการออกแบบเครื่องบิน
โดยสาร ในปัจจุบันนั้น คอมพิวเตอร์จะวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ ปีก และส่วนอื่นๆ ทาให้
ผู้ออกแบบสามารถออกแบบเครื่องบินโดยสาร ที่มีสมรรถนะสูงขึ้น แต่ใช้น้ามันเชื้อเพลิงน้อยลง
ขณะเดียวกัน เราสามารถสั่งให้คอมพิวเตอร์วิเคราะห์ลักษณะการทรงตัว ของเครื่องบิน ในกรณีเครื่องยนต์
เครื่องหนึ่งเกิดขัดข้องไม่ทางานได้ด้วย ทาให้เราสามารถออกแบบเครื่องบินที่มีความปลอดภัยสูง หรือ
ออกแบบระบบเตือนภัยที่เหมาะสมได้ด้วย จากตัวอย่างข้างต้นนี้ จะเห็นว่า การใช้คอมพิวเตอร์ช่วย จะทาให้
ผู้ออกแบบ สามารถออกแบบงานที่มีคุณภาพดีภายในเวลาที่กาหนดไว้ได้
3. ลดต้นทุนการออกแบบและการผลิต
การออกแบบโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยเป็นการออกแบบที่ไม่สิ้นเปลืองทั้งวัสด ุุ และเวลา เพราะคอมพิวเตอร์
สามารถจาลองการทางาน หรือวิเคราะห์งานออกแบบให้ได้โดยผู้ออกแบบไม่ต้องสร้างชิ้นงานต้นแบบ
ขึ้นมาทดสอบจริงๆ ในกรณีที่งานออกแบบมีคุณภาพไม่ตรงกับความประสงค์ของผู้ใช้ ผู้ออกแบบจะทราบ
ผลได้จากการวิเคราะห์ด้วยคอมพิวเตอร์ และสามารถตัดงานออกแบบชิ้นนั้นทิ้งไป โดยไม่ต้องนาไปสร้าง
ให้สิ้นเปลืองเปล่าๆ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยกลั่นกรองงานออกแบบได้เช่นนี้ นับได้ว่า เป็นประโยชน์ และ
คุ้มค่าต่อการผลิตอย่างยิ่ง เพราะสามารถลดต้นทุนในการผลิตได้ทางหนึ่ง งานออกแบบที่ผ่านขั้นตอนนี้ไป
แล้ว มักจะเป็นงานที่มีคุณภาพดี และสามารถนาไปสร้างหรือผลิตในขั้นต่อไปได้
บทที่ 3
อุปกรณ์และวิธีดาเนินการ
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การประยุกต์ใช้ Google Sketup คณะผู้จัดทาโครงงานมีวิธี
ดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้
3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ
1. คิดเลือกหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานในการออกแบบ
3. ศึกษาโปรแกรม Sketup
4. จัดทาโครงร่างโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
5.ออกแบบภาพอาคาร บ้าน เรือน เป็นภาพตัวอย่าง
6.ทาเอกสารสรุปรายงานโครงงาน
3.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ศึกษา เรื่อง สัดส่วนของอาคารบ้านเรือน
2. ศึกษา เรื่อง การใช้โปรแกรม Google Sketup 8
3. ศึกษา เรื่อง การทางานของตัวโปรแกรมต่างๆ ได้แก่ Google Sketup 8
3.3 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน
1. เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2. ซอฟต์แวร์
-Google Sketup 8
บทที่ 4
ผลการดาเนินการ
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์สื่อเพื่อการศึกษา ออกแบบอาคารบ้านเรือน หรือที่
อยู่อาศัย มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบ หรืออาชีพสถาปนิก ซึ่งมีผลการดาเนินงาน
โครงงาน ดังนี้
4.1 ผลการพัฒนาโครงงาน
การพัฒนาโครงงานสร้างเว็บไซต์ ASEAN WORLD เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคมที่
ประเทศไทยจะก้าวสู่ใน พ.ศ. 2558 นี้ คณะผู้จัดทาได้ดาเนินตามขั้นตอนการดาเนินงานที่ไดวางแผนไว้และ
ได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานผ่านทางเครือข่ายระบบอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลาและทุกสถานที่
เป็นแหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์และรวดเร็วในการรับข้อมูล
4.2 ตัวอย่างผลงาน
ภาพที่ 1 ตัวอย่างผลงาน
บทที่ 5
สรุปผลการดาเนินงาน
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์การออกแบบ อาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม3มิติ สามารถ
สรุปผลการดาเนินงานโครงงานและข้อเสนอแนะ ดังนี้
5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน
5.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.เพื่อนาไปประยุกต์ใช้เป็นอาชีพในชีวิตประจาวัน
5.1.2 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน
1. เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2. ซอฟต์แวร์
-Google Sketup
5.2 สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน
การดาเนินโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้คือ สอนให้ผู้เรียนได้รู้เกี่ยวกับการ
ออกแบบสิ่งๆต่างๆเช่น อาคาร บ้าน เรือน เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบหรืออาชีพสถาปนิก ทาให้ผู้
ที่สนใจสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วได้รับความรู้ ความเข้าใจ เล็งเห็นความสาคัญของเทคโนโลยีกับการ
ออกแบบ จึงเป็นเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ และเป็นการนาเทคโนโลยีและซอฟต์แวร์มาพัฒนาประยุกต์ใช้ได้
อย่างมีคุณค่าและเกิดประโยชน์
5.3 ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีการจัดทาเนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายครบเนื้อหาในมุมลึกกว่านี้
2. ควรมีการจัดทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
บรรณานุกรม
ประโยชน์และความสาคัญของ เทคโนโลยีกับการออกแบบ สืบค้นวันที่ 17 กันยายน 2558
https://occupationandtechnologym3.wordpress.com/1-1-
%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0
%B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A/
รู้จักกับโปรแกรมGoogle Sketup 8 สืบค้นวันที่ 17 กันยายน 2558
https://occupationandtechnologym3.wordpress.com/1-2-
%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E
0%B8%B1%E0%B8%9A-google-sketchup-8/
โปรแกรม Sketup เบื้องต้น สืบค้นวันที่ 10 กันยายน 2558
https://occupationandtechnologym3.wordpress.com/1-4-
%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%
E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0
%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1-google-sketchup/
ภาคผนวก
ประวัติผู้จัดทาโครงงาน
นายรัชชานนท์ สุดยอด เกิด วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2542 อายุ 16 ปี
ปัจจุบันศึกษาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี
นครินทร์ กาญจนบุรี
นายวรวุฒิ แก้วสะอาด เกิด วันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2541 อายุ 17 ปี
ปัจจุบันศึกษาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี
นครินทร์ กาญจนบุรี
นายธีรพล กุลวุฒิ เกิด วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 อายุ 17 ปี ปัจจุบัน
ศึกษาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
กาญจนบุรี
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง  การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง  การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )พัน พัน
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานZnackiie Rn
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 

Mais procurados (20)

ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง  การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง  การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การใช้โปรแกรม สเก็ตอัพ 2014 (sketchup 2014 )
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 

Destaque

โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22tangmottmm
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานพัฒนาเครื่องมือโครงงานพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานพัฒนาเครื่องมือpim12582
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5suparada
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดูโครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดูPanuwat Poowichai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Haritchanun Teja
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีmcf_cnx1
 
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Taweep Saechin
 
โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8Teraphat Aroonpairoj
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจ
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจ
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจManow Butnow
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมScott Tape
 
โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.
โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.
โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.patinyasrisaad
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Fon Edu Com-sci
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีปรียา พรมเสน
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมNumpuengz' Piacker
 
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพหนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพSKETCHUP HOME
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpPiyaboon Nilkaew
 

Destaque (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานพัฒนาเครื่องมือโครงงานพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดูโครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
โครงงานคอมพืวเตอร์ อยากรู้ก็ส่องดู
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
1.2 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8โครงงาน GoogleSketchup8
โครงงาน GoogleSketchup8
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจ
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจ
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจ
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.
โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.
โครงงานการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง โปรแกรม Flip Album 6.0 pro.
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพหนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 

Semelhante a โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ

ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทPermtrakul Khammoon
 
คู่มือการใช้งานระบบแสดงแบบจำลองสิ่งปลูกสร้าง 3 มิติ ภายในโรงเรียนอำนาจเจริญ ผ...
คู่มือการใช้งานระบบแสดงแบบจำลองสิ่งปลูกสร้าง 3 มิติ ภายในโรงเรียนอำนาจเจริญ ผ...คู่มือการใช้งานระบบแสดงแบบจำลองสิ่งปลูกสร้าง 3 มิติ ภายในโรงเรียนอำนาจเจริญ ผ...
คู่มือการใช้งานระบบแสดงแบบจำลองสิ่งปลูกสร้าง 3 มิติ ภายในโรงเรียนอำนาจเจริญ ผ...Itimping O'mega
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sornnarin Wuthifuey
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
3บทนำ หน้า ก_ฉ
3บทนำ หน้า ก_ฉ3บทนำ หน้า ก_ฉ
3บทนำ หน้า ก_ฉdechathon
 

Semelhante a โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ (20)

Sketchup1
Sketchup1Sketchup1
Sketchup1
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
 
Presentation 3
Presentation 3Presentation 3
Presentation 3
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 
3
33
3
 
Unit3 8
Unit3 8Unit3 8
Unit3 8
 
คู่มือการใช้งานระบบแสดงแบบจำลองสิ่งปลูกสร้าง 3 มิติ ภายในโรงเรียนอำนาจเจริญ ผ...
คู่มือการใช้งานระบบแสดงแบบจำลองสิ่งปลูกสร้าง 3 มิติ ภายในโรงเรียนอำนาจเจริญ ผ...คู่มือการใช้งานระบบแสดงแบบจำลองสิ่งปลูกสร้าง 3 มิติ ภายในโรงเรียนอำนาจเจริญ ผ...
คู่มือการใช้งานระบบแสดงแบบจำลองสิ่งปลูกสร้าง 3 มิติ ภายในโรงเรียนอำนาจเจริญ ผ...
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
งานที่5
งานที่5งานที่5
งานที่5
 
ปก
ปกปก
ปก
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน2,3,4
ใบงาน2,3,4ใบงาน2,3,4
ใบงาน2,3,4
 
ปก
ปกปก
ปก
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
08
0808
08
 
Poject com
Poject comPoject com
Poject com
 
3บทนำ หน้า ก_ฉ
3บทนำ หน้า ก_ฉ3บทนำ หน้า ก_ฉ
3บทนำ หน้า ก_ฉ
 
K8
K8K8
K8
 

Mais de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

Mais de พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ โดย นายรัชชานนท์ สุดยอด เลขที่ 8 ม.5/3 นายวรวุฒิ แก้วสะอาด นายธีรพล กุลวุฒิ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
  • 2. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ โดย นายรัชชานนท์ สุดยอด เลขที่ 8 ม.5/3 นายวรวุฒิ แก้วสะอาด นายธีรพล กุลวุฒิ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 ครูที่ปรึกษา ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
  • 3. เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน ผู้จัดทาโครงงาน 1.นายรัชชานนท์ สุดยอด 2.นายวรวุฒิ แก้วสะอาด 3.นายธีรพล กุลวุฒิ ปีการศึกษา 2558 บทคัดย่อ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ จัดทา ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้เป็นอาชีพในชีวิตประจาวัน เช่น สถาปนิก การประยุกต์ใช้ โปรแกรมครั้งนี้ใช้โปรแกรมในการดาเนินการคือ โปรแกรม Sketup ในการออกแบบ ผลการจัดทาโครงงาน พบว่า การประยุกต์ใช้โปรแกรมในเรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ ได้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบด้วยโปรแกรม3มิติด้วยการ นาเสนอ ให้ได้รับความสนใจ
  • 4. กิตติกรรมประกาศ โครงงานฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความกรุณาของคณะผู้บริหารและคณะอาจารย์หมวด คอมพิวเตอร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ซึ่งได้ให้คาปรึกษา ข้อชี้แนะ และความช่วยเหลือ จนกระทั่งโครงงานสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะผู้จัดทาขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ ที่นี้ ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ที่ปรึกษา ที่ให้ความกรุณาในการแก้ไข ข้อบกพร่องต่างๆ ของ โครงงาน และให้ความรู้ ให้คาแนะนาทั้งให้กาลังใจ ท้ายสุดนี้คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงงานนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาและเป็นที่ น่าสนใจสาหรับผู้ที่สนใจต่อๆไป คณะผู้จัดทา นายรัชชานนท์ สุดยอด ม.5/3 นายวรวุฒิ แก้วสะอาด ม.5/3 นายธีรพล กุลวุฒิ ม.5/3
  • 5. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ........................................................................................................... ข กิตติกรรมประกาศ............................................................................................ ค สารบัญ............................................................................................................. ง สารบัญภาพ...................................................................................................... จ สารบัญตาราง................................................................................................... ฉ บทที่ 1 1.บทนา ที่มาที่มาและความสาคัญของโครงงาน............................................ 1 วัตถุประสงค์์................................................................................ 1 ขอบเขตของโครงงาน........................................................................... 1 แผนการดาเนินงาน....................................................................... 2 วิธีการดาเนินงาน.......................................................................... 2 ผลที่คาดว่าจะได้รับ.............................................................................. 3 2.เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 รู้จักกับ Google Sketup 8............................................................... 4 2.2 เทคโนโลยีกับการออกแบบ........................................................... 5 3.อุปกรณ์และวิธีดาเนินงาน 3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ................................................................... 12
  • 6. 3.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล................................................................ 12 3.3 อุปกรณ์ที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน................................................ 12 4.ผลการดาเนินงาน.......................................................................................... 13 5. สรุปผลการดาเนินงาน / ข้อเสนอแนะ 5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน......................................................... 14 5.2 สรุปผลการดาเนินงาน..................................................................... 14 5.3 ข้อเสนอแนะ.................................................................................... 14 บรรณานุกรม.................................................................................................... 15 ภาคผนวก......................................................................................................... 16
  • 7. สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า ตารางที่ 1 แผนการดาเนินงานโครงงาน 2
  • 9. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันมีโปรแกรมการออกแบบสิ่งของหรืออะไรต่างๆมากมาย หนึ่งในนั้นคือ โปรแกรม Google Sketup ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ใช้ออกแบบได้หลายอย่าง อาธิ สิ่งของเครื่องใช้ เช่น เก้าอี้ โต๊ะ คมไฟ เป็นต้น และออกแบบอาคารบ้านเรือนได้ซึ่งตอบโจทย์ความต้องการในการออกแบบที่อยู่อาศัยได้ อย่างดี Google SketchUp เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างแบบจาลอง 3D (Three - Dimensional) ที่มี ความง่ายต่อการใช้งาน และเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง โดยส่วนใหญ่จะถูกนามาใช้ในงานออกแบบเชิง สถาปัตยกรรม งานออกแบบภายในและภายนอก การออกแบบกลไกลการทางานของเครื่องจักร เฟอร์นิเจอร์ ภูมิประเทศ ผลิตภัณฑ์ รวมไปถึงงานออกแบบฉาก อาคาร และสิ่งก่อสร้างในเกม หรือจะเป็นกมรจัดฉากทา Story Boards ในงานภาพยนตร์หรือละครโทรทัศน์ก็สามารถทาได้ Google SketchUp เป็นโปรแกรมที่มีความสามารถสูง แต่กลับมีความต้องการของระบบต่า แต่อย่างไรก็ตาม ในการทางานกับโมเดลที่มีความซับซ้อนมากๆ เครื่องคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมีความเร็ว พอสมควร เพื่อให้การแสดงผลและการทางานเป็นไปอย่างลื่นไหล โดยทาง Google ได้กาหนดความ ต้องการพื้นฐานของระบบ เพื่อเป็นการประยุกต์ใช้โปรแกรมอย่างมีประโยชน์และสามารถนาไปใช้เป็นงานในการ สร้างอาชีพได้โดยมีการสอนโปรแกรมSketupขึ้นพื้นฐานเพื่อให้ผู้ทาได้นาไปประยุกต์ได้ วัตถุประสงค์ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้เป็นอาชีพในชีวิตประจาวัน ขอบเขตของโครงงาน สาธิตการใช้โปรแกรมSketupโดยการให้ผู้เรียน ทาตามผู้สอน โดยการทาชิ้นงานเบื้อง ต้นแบบง่ายๆ เช่น การทาโต๊ะ การทาโคมไฟ แล้วเริ่มไปที่งานใหญ่ๆเช่น เริ่มทาอาคาร เริ่มทาบ้าน เป็นต้น
  • 10. แผนการดาเนินงาน ตารางที่ 1 แผนการดาเนินงานโครงงาน ขั้นตอนการดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงาน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1. คิดเลือกหัวข้อโครงงาน เพื่อนาเสนออาจารย์ที่ ปรึกษา 2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวม ข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับ โครงงานในการออกแบบ 3. ศึกษาโปรแกรม Sketup 4. จัดทาโครงร่างโครงงาน เสนออาจารย์ที่ปรึกษา 5.ออกแบบภาพอาคาร บ้าน เรือน เป็นภาพตัวอย่าง 6.ทาเอกสารสรุปรายงาน โครงงาน
  • 12. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ในการประยุกต์ใช้โปรแกรมออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ คณะผู้จัดทาได้ศึกษาข้อมูล เอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 2.1 รู้จักกับ Google Sketup 8 2.2 เทคโนโลยีกับการออกแบบ 2.1 รู้จักกับ Google Sketup 8 วันนี้เราจะมาทาความรู้จักกับโปรแกรม Goole Sketchup กัน เชื่อว่าสาหรับวิศวกร สถาปนิกหรือคนที่ทางานเกี่ยวกับงานกราฟฟิค น่าจะเคยใช้งานหรือเคยเห็น เคยได้ยินชื่อโปรแกรมนี้ผ่านหู ผ่านตามาบ้าง สาหรับโปรแกรม Google Sketchup 8 นี้จะมีอยู่ 2 เวอร์ชั่นคือ Google Sketchup 8 และ Google SketchupPro 8 ข้อแตกต่างของ 2 เวอร์ชั่นนี้คือ Google Sketchup 8 จะเป็นฟรีแวร์ และ Google SketchupPro 8 จะเป็นแชร์แวร์โดยใน Google SketchupPro 8 จะมีฟังก์ชั่นเพิ่มเติมสาหรับใช้งานมากขึ้น(มี อะไรบ้าง ไว้ว่ากันตอนท้ายครับ) โปรแกรม Google Sketchup 8 เป็นโปรแกรมสาหรับออกแบบชิ้นงาน 3 มิติ สามารถสร้างชิ้นงานรูปทรงเรขาคณิตต่างๆได้ง่าย โดยส่วนใหญ่จะเห็นเป็นรูปบ้านหรืออาคารเป็นส่วน ใหญ่ แต่ก็สามารถใช้ในการปั้นรูปทรงที่มีความซับซ้อนมากๆ เช่น รูปสัตว์ต้นไม้ยานพาหนะ หรือ เครื่องกลต่างๆ(เพียงแต่อาจจะใช้ยากกว่า 3Ds Max บ้างเรียกว่าเก่งคนละแบบละกันครับ) โปรแกรม Google Sketchup 8 ใช้ยากไหม? ถ้าผู้เริ่มใช้งานเคยใช้โปรแกรมเขียนแบบมา ก่อน คงไม่ยากสาหรับการฝึกหัดใช้งาน Google Sketchup 8 (แรกๆอาจจะงงกับมุมมองอยู่บ้าง) แต่ถ้าไม่เคย ใช้งานมาเลยคงต้องความพยายามมากขึ้นอีกนิดนึงครับ ในส่วนนี้โปรแกรม Google Sketchup มีคาสั่ง Components สาหรับค้นหาชิ้นงานที่เคยมีคนเขียนไว้ก่อนและได้แชร์เอาไว้เพื่อให้ผู้ใช้งานอื่นๆนามาใช้งาน
  • 13. ต่อได้เลย ซึ่งผู้ใช้ทุกคนสามารถนาชิ้นงานของตนที่สร้างจากโปรแกรมมาแชร์เพื่อใช้งานร่วมกันได้ ข้อดีอีก อย่างของโปรแกรม Google Sketchup 8 คือใช้ทรัพยากรของระบบไม่มากนัก ลักษณะการทางานโดยรวมของโปรแกรม จะเป็นการสร้างรูปทรงจาก 2 มิติเป็น 3 มิติทีละ ชิ้น สามารถกาหนดลักษณะของพื้นผิววัสดุ จัดตาแหน่งของวัตถุ กาหนดลักษณะทิศทางของแสงหรือสีของ ท้องฟ้าได้นอกจากนี้โปรแกรม Google Sketchup 8 ยังสามารถทางานร่วมกับโปรแกรม 3 มิติอื่นๆ เช่น 3dsMax หรือ AutoCad ได้และไฟล์ติดตั้งของโปรแกรมมีขนาดเล็กและใช้ทรัพยากรไม่มากนัก สามารถ ดาวน์โหลดโปรแกรมได้ที่ http://sketchup.google.com/ หากต้องการจัดลักษณะของพื้นผิวหรือแสง เงา ให้ สมจริงยิ่งขึ้นสามารถเพิ่ม Plug in สาหรับ Google Sketchup เช่น V-ray หรือ Podium (แต่เป็นแชร์แวร์นะ ครับ) สาหรับโปรแกรม Google SketchupPro 8 จะมีการเพิ่มเติมคาสั่งสาหรับจัดการชิ้นงาน 3 มิติ , การทางาน ร่วมกับ Google Map และ Google Earth สาหรับสร้างแผนที่ทางภูมิศาสตร์หรือนาอาคารที่ออกแบบไปวาง บน Google Earth , การแปลงไฟล์ไปเป็นรูปแบบ .dwg หรือ .dwf , การคานวณปริมาณของชิ้นงาน หรือ สร้าง Layout แสดงมุมมองต่างๆของชิ้นงานได้นอกจากนี้ยังมีรายละเอียดปลีกย่อยอยู่ค่อนข้างมาก อาทิเช่น ฟังก์ชั่น Outer Shell , Scene Thumbnails , Precise Move in LayOut หรือ Match Photo เป็นต้น Google SketchUp เป็นโปรแกรมสาหรับสร้างแบบจาลอง 3D (Three-Dimensional) ที่มีความง่ายต่อการใช้ งาน และเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวาง โดยส่วนใหญ่จะถูกนามาใช้ในงานออกแบบเชิงสถาปัตยกรรม งาน ออกแบบภายในและภายนอก การออกแบบกลไกการทางานของเครื่องจักร เฟอร์นิเจอร์ ภูมิประเทศ ผลิตภัณฑ์ รวมไปถึงงานออกแบบฉาก อาคาร และสิ่งก่อสร้างในเกม หรือจะเป็นการจัดฉากทา Story Boards ในงานภาพยนต์หรือละครโทรทัศน์ก็สามารถทาได้ 2.2 เทคโนโลยีกับการออกแบบ ความหมายของเทคโนโลยี (Technology) ในชีวิตประจาวัน เราต้องใช้ สิ่งของเครื่องใช้เพื่อแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของเราอยู่ทุกวัน เช่น ใช้ นาฬิกาปลุกเพื่อให้เราตื่น อานน้าแปรงฟันด้วยอุปกรณ์สาหรับอาบน้า รับประทานอาหารท่่ี่ใส่ในจานหรือ ชาม เดินทางมาโรงเรียนด้วยรถยนต์หรือรถจักรยาน เขียนหนังสือด้วยดินสอหรือปากกา สืบค้นข้อมูลด้วย คอมพิวเตอร์ เมื่อกลับถึงบ้าน ก็นอนหลับพักผ่อนดวยเครื่องนอน เช่น หมอน ที่นอน ฯลฯ จากกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจาวัน จะพบว่าเราต้องอาศัยสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการต่างๆมากมายเข้ามา ช่วยในการแก้ปัญหาของเรา เพื่อให้การทางานสะดวก รวดเร็วและสบายขึ้น ดังตัวอย่างต่อไปนี้
  • 14. 1. วิธีการปลูกพืชแบบขั้นบันได เป็นวิธีการที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาการพังทลายของหน้าดินและ การเก็บกักน้าในพื้นที่การเกษตรที่มีความลาดชัน 2. วิธีการปลูกพืชกางมุ้ง จุดประสงค์ก็เพื่อแก้ปัญหาการระบาดของศัตรูพืช ซึ่งทาให้มนุษย์ต้องใช้สารเคมีฉีด ป้ องกันและกาจัด ซึ่งจะส่งผลต่อความปลอดภัยของผู้บริโภค 3. คอมพิวเตอร์ มนุษย์ประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ขึ้นมา ก็เพราะงานบางอย่างต้องใช้การคานวณอย่างรวดเร็ว แม่นยา และพลาดไม่ได้ซึ่งถ้าจะใช้สมองของมนุษย์ก็คงจะไม่สามารถทางานได้อย่างรวดเร็วและจานวน มากเหมือนคอมพิวเตอร์ จากตัวอย่างเทคโนโลยีทั้ง 3 เรื่องจะเห็นว่า เทคโนโลยีต่างๆจะเกิดขึ้นมาได้ก็เพราะ มีปัญหาที่มนุษย์เห็นว่า ทาให้ตนเองเกิดความไม่สะดวก สบาย หรือมีบางสิ่งบางอย่างที่มนุษย์ต้องการใช้งาน ซึ่งมนุษย์ก็จะใช้ ความรู้ ทักษะและทรัพยากรต่างๆ นามาสร้างสิ่่งของหรือวิธีการเพื่อแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการ ของตนเอง ดังนั้นเทคโนโลยี หมายถึง สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยในการทางานหรือแก้ปัญหาต่างๆ เช่น อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร วัสดุต่างๆ หรือกระบวนการต่างๆ เช่น กระบวนการเทคโนโลยี เป็น ต้น ระดับของเทคโนโลยี เทคโนโลยี มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของมนุษย์มาเป็นเวลานาน เพราะมนุษย์ใช้เทคโนโลยีในการ แก้ปัญหาพื้นฐานในการดารงชีพ เช่น การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์การสร้างบ้านเรือนที่อยู่อาศัย การคิด ประดิษฐ์เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม การผลิตและใช้ยารักษาโรค การคมนาคมขนส่ง การค้าขาย การศึกษา การ ป้ องกันประเทศ ในระยะแรก เทคโนโลยีที่นามาใช้เป็นเทคโนโลยีพื้นฐานที่เรียกกันว่า “เทคโนโลยีชาวบ้าน หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น แต่เนื่องจากอัตราการเพ่ิมขึ้นของประชากรและข้อจากัดด้านทรัพยากรธรรมชาติที่มี จานวนลดลง จึงมีการพัฒนาเทคโนโลยีให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อให้สามารถผลิตปัจจัยพื้นฐานในการ ดารงชีวิตได้เพียงพอกับความต้องการของประชาชนภายใต้เงื่อนไขของการอนุรักษ์ คือ การใช้ทรัพยากรให้ น้อยที่สุดแต่เกิดประโยชน์ต่อคนส่วนใหญ่มากที่สุด ลักษณะของเทคโนโลยี เทคโนโลยีที่สร้างขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการของมนุษย์มี 2 ลักษณะ คือ
  • 15. 1. เทคโนโลยีที่มีลักษณะเป็นสิ่งของ เครื่องใช้ ซึ่งมนุษย์ใช้ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์สร้างขึ้นมาเพื่อ แก้ปัญหาต่างๆของมนุษย์เทคโนโลยีประเภทนี้จะพบเห็นได้อยู่ทั่วไป เช่น คอมพิวเตอร์ ดาวเทียม โทรทัศน์ 2. เทคโนโลยีที่มีลักษณะเป็นวิธีการ เทคโนโลยีประเภทนี้เกิดจากการที่มนุษย์ได้พยายามหาวิธีการใดวิธีการ หนึ่งมาใช้แก้ปัญหาจนประสบความสาเร็จ สามารถแก้ปัญหาและตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้เช่น เมื่อมีปัญหาฝนแล้ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯก็ทรงคิดค้นวิธีการทาฝนเทียมเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว หรืออีกหนึ่งตัวอย่างที่เห็นอยู่ในขณะนี้ก็คือ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ก็จัดเป็นเทคโนโลยีประเภท วิธีการได้เช่นเดียวกัน เนื่องจากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และ ปฏิบัติตนในทางที่ ควรจะเป็นโดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และ วิกฤต เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้ง ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมความรู้และเทคโนโลยี การจัดแบ่งระดับของเทคโนโลยีตามความรู้ที่ใช้ในการแก้ปัญหา แบ่งออกได้ 3 ระดับ คือ 1. เทคโนโลยีระดับพื้นบ้านหรือพื้นฐาน (Basic Technology) เทคโนโลยีระดับพื้นบ้านหรือพื้นฐาน (Basic Technology) เป็นเทคโนโลยีในยุคแรกๆ ส่วนใหญ่เป็น เทคโนโลยีเพื่อการยังชีพ โดยเฉพาะเทคโนโลยีที่ใช้ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรมพื้นบ้าน เช่น คันไถ คราด มีด พร้า จอบ เสียม อวน แห เบ็ด เรือพาย หม้อ ไห โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น รวมถึงการคิด หาวิธีการถนอมอาหารและแปรรูปอาหารเพื่อเก็บไว้บริโภคได้เป็นเวลานาน เช่น การตากแห้ง การทาเค็ม การหมัก การดอง ฯลฯ ตลอดจนการคิดค้นสูตรยาสมุนไพรต่างๆ เทคโนโลยีพื้นบ้านจึงจัดเป็นภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่เป็นต้นแบบของเทคโนโลยีสมัยใหม่ เทคโนโลยีพื้นบ้านส่วนมากไม่ต้องใช้ความรู้หรือ ประสบการณ์เฉพาะด้าน ส่วนใหญ่เกิดจากการสังเกต จดจาและฝึกหัดจนเกิดประสบการณ์ตรง 2. เทคโนโลยีระดับกลาง (Intermediate Technology) เทคโนโลยีระดับกลาง เป็นเทคโนโลยีที่ต้องใช้ความรู้ประสบการณ์ในการแก้ปัญหามากขึ้น มีการใช้ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ีมีกลไกซับซ้อนมากขึ้น เช่น การใช้เครื่องจักรทางานแทนคน การใช้เครื่องทุ่นแรงใน การทางาน การใช้อุปกรณ์สิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ เช่น เครื่องพ่นยาอัตโนมัติ รถแทรกเตอร์ รถตัดหญ้า นอกจากนี้ ผู้ปฏิบ้ติงานก็จะต้องมีความรู้ มีทักษะและประสบการณ์มากขึ้น 3. เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology) เทคโนโลยีระดับสูง เป็นเทคโนโลยีที่ต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์ขั้นสูง มีการใช้ระบบฐานข้อมูล และการติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต ตลอดจนมีการศึกษาวิจัยและการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เทคโนโลยี
  • 16. ระดับนี้ เช่น อุปกรณ์การแพทย์ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการวินิจฉัยโรค อุปกรณ์และวิธีการในการตัดแต่ง พันธุกรรมพืช ระบบโทรคมนาคมและสื่อสาร ระบบอินเทอร์เน็ต ฯลฯ การออกแบบ ความหมายของการออกแบบ ความหมายของการออกแบบ การออกแบบ คืออะไร ซึ่งความหมายของคาว่า “ออกแบบ” นั้นถูกให้คานิยาม หรือคาจากัดความ ไว้หลายรูปแบบมากมาย ตามความเข้าใจ การตีความหมาย และการสื่อสารออกมาด้วย ตัวอักษรของแต่ละคน ตัวอย่างความหมายของการออกแบบ เช่น – การออกแบบ หมายถึง การรู้จักวางแผนจัดตั้งขั้นตอน และรู้จักเลือกใช้วัสดุวิธีการเพื่อทาตามที่ต้องการนั้น โดยให้สอดคล้องกับลักษณะรูปแบบ และคุณสมบัติของวัสดุแต่ละชนิด ตามความคิดสร้างสรรค์ และการ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ขึ้นมา เช่น การจะทาโต๊ะขึ้นมาซักหนึ่งตัว เราจะต้องวางแผนไว้เป็นขั้นตอน โดยต้อง เริ่มต้นจากการเลือกวัสดุที่จะใช้ในการทาโต๊ะนั้น ว่าจะใช้วัสดุอะไรที่เหมาะสม ในการยึดต่อระหว่างจุด ต่างๆนั้นควรใช้ กาว ตะปู สกรู หรือใช้ข้อต่อแบบใด รู้ถึงวัตถุประสงค์ของการนาไปใช้งาน ความแข็งแรง และการรองรับน้าหนักของโต๊ะสามารถรองรับได้มากน้อยเพียงใด สีสันควรใช้สีอะไรจึงจะสวยงาม เป็นต้น – การออกแบบ หมายถึง การปรับปรุงแบบ ผลงานหรือสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่แล้วให้เหมาะสม และดูมีความแปลก ใหม่ขึ้น เช่น โต๊ะที่เราทาขึ้นมาใช้ เมื่อใช้ไปนานๆก็เกิดความเบื่อหน่ายในรูปทรง หรือสี เราก็จัดการ ปรับปรุงให้เป็น รูปแบบใหม่ให้สวยกว่าเดิม ทั้งความเหมาะสม ความสะดวกสบายในการใช้งานยังคง เหมือนเดิม หรือดีกว่าเดิม เป็นต้น – การออกแบบ หมายถึง การรวบรวมหรือการจัดองค์ประกอบทั้งที่เป็น 2 มิติ และ 3 มิติ เข้าด้วยกันอย่างมี หลักเกณฑ์ การนาองค์ประกอบของการออกแบบมาจัดรวมกันนั้น ผู้ออกแบบจะต้องคานึงถึงประโยชน์ใน การใช้สอยและความสวยงาม อันเป็นคุณลักษณะสาคัญของการออกแบบ เป็นศิลปะของมนุษย์เนื่องจากเป็น การสร้างค่านิยมทางความงาม และสนองคุณประโยชน์ทางกายภาพให้แก่มนุษย์ด้วย – การออกแบบ หมายถึง กระบวนการที่สนองความต้องการในสิ่งใหม่ๆของมนุษย์ซึ่งส่วนใหญ่เพื่อการ ดารงชีวิตให้อยู่รอด และสร้างความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น การออกแบบ ( Design ) คือศาสตร์แห่งความคิด และต้องใช้ศิลป์ ร่วมด้วย เป็นการสร้างสรรค์ และการแก้ไข ปัญหาที่มีอยู่ เพื่อสนองต่อจุดมุ่งหมาย และนากลับมาใช้งานได้อย่างน่าพอใจ ความน่าพอใจนั้น แบ่ง ออกเป็น 3 ข้อหลักๆ ได้ดังนี้
  • 17. 1. ความสวยงาม เป็นสิ่งแรกที่เราได้สัมผัสก่อน คนเราแต่ละคนต่างมีความรับรู้เรื่อง ความสวยงาม กับความ พอใจ ในทั้ง 2 เรื่องนี้ไม่เท่ากัน จึงเป็นสิ่งที่ถกเถียงกันอย่างมาก และไม่มีเกณฑ์ ในการตัดสินใดๆ เป็นตัวที่ กาหนดอย่างชัดเจน ดังนั้นงานที่เราได้มีการจัดองค์ประกอบที่เหมาะสมนั้น ก็จะมองว่าสวยงามได้ เหมือนกัน 2. มีประโยชน์ใช้สอยที่ดี เป็นเรื่องที่สาคัญมากในงานออกแบบทุกประเภท เช่นถ้าเป็นการออกแบบสิ่งของ เช่น เก้าอี้,โซฟา นั้นจะต้องออกแบบมาให้นั่งสบาย ไม่ปวดเมื่อย ถ้าเป็นงานกราฟฟิค เช่น งานสื่อสิ่งพิมพ์ นั้น ตัวหนังสือจะต้องอ่านง่าย เข้าใจง่าย ถึงจะได้ชื่อว่า เป็นงานออกแบบที่มีประโยชน์ใช้สอยที่ดีได้ 3. มีแนวความคิดในการออกแบบที่ดี เป็นหนทางความคิด ที่ทาให้งานออกแบบสามารถตอบสนอง ต่อ ความรู้สึกพอใจ ชื่นชม มีคุณค่า บางคนอาจให้ความสาคัญมากหรือน้อย หรืออาจไม่ให้ความสาคัญเลยก็ได้ ดังนั้นบางครั้งในการออกแบบ โดยใช้แนวความคิดที่ดี อาจจะทาให้ผลงาน หรือสิ่งที่ออกแบบมีคุณค่ามาก ขึ้นก็ได้ ดังนั้นนักออกแบบ ( Designer ) คือ ผู้ที่พยายามค้นหา และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ หาวิธีแก้ไข หรือหาคาตอบ ใหม่ๆสาหรับปัญหาต่างๆ หน้าที่และประโยชน์ของการออกแบบด้วยเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบมีหน้าที่สาคัญ 2 ประการ ประการแรกคือ อานวยความสะดวกในการเขียน แบบ (drafting) ของชิ้นงาน ที่ต้องการบนจอภาพ การใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ จะตัดความยุ่งยากใน การเขียนแบบบนกระดาษด้วยมือ ซึ่งเป็นงานที่ละเอียด ต้องการความสามารถสูง และกินเวลานานออกไป ทั้งนี้คอมพิวเตอร์สามารถแสดงภาพบนจอจากข้อมูลที่ผู้ออกแบบป้ อนให้เป็นภาพ ทั้งในระบบ 2 มิติ และ 3 มิติได้ตามต้องการ ภาพในระบบ 2 มิติ หรือ 3 มิตินี้ เกิดขึ้นจากการมองชิ้นงานจากทิศทางที่แตกต่างกัน คอมพิวเตอร์สามารถออกแบบได้ทุกชนิด ตั้งแต่แบบอาคาร แบบบ้านที่อยู่อาศัยขนาดสะพาน รถยนต์ เครื่องบิน วงจรไฟฟ้า ของเล่น ตลอดจนแบบโฆษณาต่างๆ แบบเหล่านี้จะเก็บอยู่ในหน่วยความจาของ คอมพิวเตอร์ ซึ่งผู้ใช้สามารถเรียกแบบที่เก็บไว้นี้ ออกมาแสดงบนจอภาพได้ทันทีที่ต้องการ และอาจ พิจารณาปรับปรุงแก้ไขใหม่ หรืออาจสั่งให้นาแบบไปเขียนบนกระดาษด้วยเครื่องเขียน (plotter) แบบ อัตโนมัติก็ได้ หน้าที่สาคัญประการที่ 2 ของคอมพิวเตอร์ในงานออกแบบได้แก่ การจาลอง (simulation) สภาพการทางาน จริงของชิ้นงาน ที่ได้ออกแบบไว้ในสภาวะต่างๆ เพื่อศึกษารายละเอียดของชิ้นงาน และวิเคราะห์หา
  • 18. ประสิทธิภาพ และคุณภาพของชิ้นงานนั้น โดยที่ผู้ออกแบบไม่จาเป็นต้องสร้างชิ้นงานต้นแบบ (prototype) ขึ้นมาทดลองจริงๆ นอกจากนั้นคอมพิวเตอร์ยังช่วยประหยัดเวลา ในการคานวณค่าต่างๆ ที่ต้องการได้ด้วย ตัวอย่างเช่น ในงานออกแบบอาคาร หรือสะพาน เราต้องใช้คอมพิวเตอร์วิเคราะห์หาแรงกระทาตามจุดต่างๆ บนโครงสร้างของอาคาร หรือสะพาน เมื่อต้องรับน้าหนักขนาดต่างๆ กัน ในการออกแบบรถยนต์ เราต้องใช้ คอมพิวเตอร์จาลองสภาพการวิ่งของรถยนต์ที่ความเร็วต่างๆ บนพื้นถนนหลายชนิด เพื่อดูลักษณะการปะทะ ลมของตัวถัง และแรงกระทาต่อแกนล้อรถยนต์ ในการออกแบบเครื่องบิน เราต้องใช้คอมพิวเตอร์วิเคราะห์ หาลักษณะของการพยุงตัวของปีกเครื่องบินในมุมต่างๆ ในการออกแบบเครื่องขยายเสียง เราต้องใช้ คอมพิวเตอร์วิเคราะห์หาอัตราขยายสัญญาณ และความเพี้ยนของวงจรขยายเสียงและอื่นๆ อีกมาก ในงาน ต่างๆ เหล่านี้ คอมพิวเตอร์สามารถช่วยผู้ออกแบบได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้อง ประโยชน์ของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบสรุปได้เป็น 4 ประการสาคัญดังนี้ 1. เพิ่มประสิทธิภาพในการออกแบบ ในการเขียนแบบ คอมพิวเตอร์สามารถช่วยผู้ใช้วาดรูปต่างๆ บนจอภาพได้อย่างรวดเร็ว และง่ายดาย ผู้ใช้ที่ ไม่มีฝีมือในด้านการเขียนแบบก็สามารถวาดแบบที่ต้องการได้อย่างถูกต้อง และได้มาตรฐาน โดยอาศัย คอมพิวเตอร์ช่วย โดยผู้ใช้เพียงแต่บอกลักษณะรูปร่างของชิ้นงานให้อยู่ในรูปของข้อมูลต่างๆ ให้กับ คอมพิวเตอร์ ก็จะได้ภาพชิ้นงานนั้น ปรากฏบนจอภาพของคอมพิวเตอร์ได้ตัวอย่างเช่น ในการเขียนแบบ อาคาร ผู้ใช้อาจจะบอกคอมพิวเตอร์ว่า อาคารนั้นมีฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาด 100,000 ตารางเมตร มีความสูง ๓๐ เมตร มีเสาและคานรับน้าหนักอยู่ที่ใด และมีขนาดเท่าใด รวมทั้งข้อมูลอื่นๆ ที่ผู้ใช้ต้องการ จากนั้น คอมพิวเตอร์ก็จะสามารถวาดแบบโครงสร้างของตัวอาคาร บนจอภาพให้ ซึ่งอาจจะเป็นภาพในลักษณะ 2 มิติ หรือ 3 มิติก็ได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการและความสามารถ ของระบบคอมพิวเตอร์ 2. เพิ่มคุณภาพของงานออกแบบ การที่คอมพิวเตอร์สามารถรับภาวะทางด้านการคานวณตัวเลขต่างๆ การแสดงผล และการเขียนแบบไปจาก ผู้ออกแบบได้ ทาให้ผู้ออกแบบสามารถใช้สมองและความสามารถของตนเองทางาน ในส่วนที่สาคัญอื่นๆ เช่น ความปลอดภัย ความสวยงาม ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมให้ได้ดียิ่งขึ้น ในที่นี้เราต้องทาความเข้าใจ เสียก่อนว่า คอมพิวเตอร์ออกแบบ หรือตัดสินใจ เลือกแบบด้วยตัวมันเองไม่ได้ถ้าเราต้องการสะพานยาว 5๐ เมตร ที่สามารถรับน้าหนักได้2๐ ตัน เราจะหวังนาข้อมูลนี้ ไปป้ อนให้คอมพิวเตอร์ แล้วให้มันออกแบบ สะพานให้เราเสร็จอย่างอัตโนมัติเลยนั้นไม่ได้สิ่งที่คอมพิวเตอร์ทาได้คือ คานวณว่า ถ้าโครงสร้างสะพานมี รูปร่างอย่างนี้ มีฐานรองรับน้าหนักรูปร่างขนาดนี้ ทาจากวัสดุประเภทนี้ มีความยาว และความกว้างอย่างนี้ และข้อกาหนดอื่นๆ ที่เราต้องป้ อนเข้าไปแล้ว สะพานนั้นจะสามารถรับน้าหนักสูงสุดได้เท่าไร ทนความ สั่นสะเทือนได้เท่าใด และมีแรงกดตามจุดต่างๆ เท่าใด จะเห็นได้ว่า มนุษย์ยังต้องเป็นผู้กาหนดตัดสินใจ
  • 19. เลือกแบบ และเปลี่ยนแปลงแก้ไขแบบ ให้กับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จึงเป็นเพียงเครื่องมือช่วยในการ ออกแบบให้กับมนุษย์เท่านั้น แต่ถ้ามีคอมพิวเตอร์ช่วย ผู้ออกแบบจะสามารถทดสอบแนวความคิด หรือ หลักการใหม่ๆ ในการออกแบบได้ง่าย หรือจะศึกษาผลของการเปลี่ยนค่าตัวแปร ของการออกแบบ ที่มีต่อ คุณภาพของงานออกแบบนั้น ได้ง่าย และสะดวกยิ่งขึ้น การปรับปรุงแก้ไขงานออกแบบที่ได้ทาไปแล้ว ก็ทา ได้อย่างรวดเร็ว ถ้ามีคอมพิวเตอร์ช่วย ตัวอย่างเช่น การนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการออกแบบเครื่องบิน โดยสาร ในปัจจุบันนั้น คอมพิวเตอร์จะวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ ปีก และส่วนอื่นๆ ทาให้ ผู้ออกแบบสามารถออกแบบเครื่องบินโดยสาร ที่มีสมรรถนะสูงขึ้น แต่ใช้น้ามันเชื้อเพลิงน้อยลง ขณะเดียวกัน เราสามารถสั่งให้คอมพิวเตอร์วิเคราะห์ลักษณะการทรงตัว ของเครื่องบิน ในกรณีเครื่องยนต์ เครื่องหนึ่งเกิดขัดข้องไม่ทางานได้ด้วย ทาให้เราสามารถออกแบบเครื่องบินที่มีความปลอดภัยสูง หรือ ออกแบบระบบเตือนภัยที่เหมาะสมได้ด้วย จากตัวอย่างข้างต้นนี้ จะเห็นว่า การใช้คอมพิวเตอร์ช่วย จะทาให้ ผู้ออกแบบ สามารถออกแบบงานที่มีคุณภาพดีภายในเวลาที่กาหนดไว้ได้ 3. ลดต้นทุนการออกแบบและการผลิต การออกแบบโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยเป็นการออกแบบที่ไม่สิ้นเปลืองทั้งวัสด ุุ และเวลา เพราะคอมพิวเตอร์ สามารถจาลองการทางาน หรือวิเคราะห์งานออกแบบให้ได้โดยผู้ออกแบบไม่ต้องสร้างชิ้นงานต้นแบบ ขึ้นมาทดสอบจริงๆ ในกรณีที่งานออกแบบมีคุณภาพไม่ตรงกับความประสงค์ของผู้ใช้ ผู้ออกแบบจะทราบ ผลได้จากการวิเคราะห์ด้วยคอมพิวเตอร์ และสามารถตัดงานออกแบบชิ้นนั้นทิ้งไป โดยไม่ต้องนาไปสร้าง ให้สิ้นเปลืองเปล่าๆ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยกลั่นกรองงานออกแบบได้เช่นนี้ นับได้ว่า เป็นประโยชน์ และ คุ้มค่าต่อการผลิตอย่างยิ่ง เพราะสามารถลดต้นทุนในการผลิตได้ทางหนึ่ง งานออกแบบที่ผ่านขั้นตอนนี้ไป แล้ว มักจะเป็นงานที่มีคุณภาพดี และสามารถนาไปสร้างหรือผลิตในขั้นต่อไปได้
  • 20. บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีดาเนินการ การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การประยุกต์ใช้ Google Sketup คณะผู้จัดทาโครงงานมีวิธี ดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 3.1 ขั้นตอนการดาเนินการ 1. คิดเลือกหัวข้อโครงงานเพื่อนาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 2. ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับโครงงานในการออกแบบ 3. ศึกษาโปรแกรม Sketup 4. จัดทาโครงร่างโครงงานเสนออาจารย์ที่ปรึกษา 5.ออกแบบภาพอาคาร บ้าน เรือน เป็นภาพตัวอย่าง 6.ทาเอกสารสรุปรายงานโครงงาน 3.2 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ศึกษา เรื่อง สัดส่วนของอาคารบ้านเรือน 2. ศึกษา เรื่อง การใช้โปรแกรม Google Sketup 8 3. ศึกษา เรื่อง การทางานของตัวโปรแกรมต่างๆ ได้แก่ Google Sketup 8 3.3 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน 1. เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. ซอฟต์แวร์ -Google Sketup 8
  • 21. บทที่ 4 ผลการดาเนินการ การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์สื่อเพื่อการศึกษา ออกแบบอาคารบ้านเรือน หรือที่ อยู่อาศัย มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบ หรืออาชีพสถาปนิก ซึ่งมีผลการดาเนินงาน โครงงาน ดังนี้ 4.1 ผลการพัฒนาโครงงาน การพัฒนาโครงงานสร้างเว็บไซต์ ASEAN WORLD เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับประชาคมที่ ประเทศไทยจะก้าวสู่ใน พ.ศ. 2558 นี้ คณะผู้จัดทาได้ดาเนินตามขั้นตอนการดาเนินงานที่ไดวางแผนไว้และ ได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานผ่านทางเครือข่ายระบบอินเทอร์เน็ต ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ เป็นแหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์และรวดเร็วในการรับข้อมูล 4.2 ตัวอย่างผลงาน ภาพที่ 1 ตัวอย่างผลงาน
  • 22. บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์การออกแบบ อาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม3มิติ สามารถ สรุปผลการดาเนินงานโครงงานและข้อเสนอแนะ ดังนี้ 5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน 5.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1.เพื่อนาไปประยุกต์ใช้เป็นอาชีพในชีวิตประจาวัน 5.1.2 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน 1. เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2. ซอฟต์แวร์ -Google Sketup 5.2 สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน การดาเนินโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้คือ สอนให้ผู้เรียนได้รู้เกี่ยวกับการ ออกแบบสิ่งๆต่างๆเช่น อาคาร บ้าน เรือน เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบหรืออาชีพสถาปนิก ทาให้ผู้ ที่สนใจสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วได้รับความรู้ ความเข้าใจ เล็งเห็นความสาคัญของเทคโนโลยีกับการ ออกแบบ จึงเป็นเว็บไซต์ที่มีประโยชน์ และเป็นการนาเทคโนโลยีและซอฟต์แวร์มาพัฒนาประยุกต์ใช้ได้ อย่างมีคุณค่าและเกิดประโยชน์ 5.3 ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการจัดทาเนื้อหาของโครงงานให้หลากหลายครบเนื้อหาในมุมลึกกว่านี้ 2. ควรมีการจัดทาแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
  • 23. บรรณานุกรม ประโยชน์และความสาคัญของ เทคโนโลยีกับการออกแบบ สืบค้นวันที่ 17 กันยายน 2558 https://occupationandtechnologym3.wordpress.com/1-1- %E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0 %B8%A2%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A/ รู้จักกับโปรแกรมGoogle Sketup 8 สืบค้นวันที่ 17 กันยายน 2558 https://occupationandtechnologym3.wordpress.com/1-2- %E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E 0%B8%B1%E0%B8%9A-google-sketchup-8/ โปรแกรม Sketup เบื้องต้น สืบค้นวันที่ 10 กันยายน 2558 https://occupationandtechnologym3.wordpress.com/1-4- %E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0% E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%82%E0 %B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1-google-sketchup/
  • 25. ประวัติผู้จัดทาโครงงาน นายรัชชานนท์ สุดยอด เกิด วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2542 อายุ 16 ปี ปัจจุบันศึกษาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นครินทร์ กาญจนบุรี นายวรวุฒิ แก้วสะอาด เกิด วันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2541 อายุ 17 ปี ปัจจุบันศึกษาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นครินทร์ กาญจนบุรี นายธีรพล กุลวุฒิ เกิด วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 อายุ 17 ปี ปัจจุบัน ศึกษาอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี