SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 46
เราสามารถเรียนรู้วัฒนธรรมอื่น ๆ ได้หรือไม่
หากปราศจากการพูดคุย สื่อสารกับเจ้าของวัฒนธรรมนั้น?
วัฒนธรรม ระบบปริชาญ ภาษา สัญญะ
“You cannot understand one's
culture without accessing its
language directly. ”
Language is culture
and
culture is language.
Alfred L. Krober
Culture started when speech was
available, and from that beginning, the
enrichment of either one led the other
to develop further.
วิเคราะห์บริบทสังคม วัฒนธรรมแต่เก่าก่อน ผ่านละครย้อนยุค
มาลัยสามชาย
บริบททางสังคมและบริบททางวัฒนธรรมไทยที่เกี่ยวข้องกับครอบครัว
กัญชลาภรณ์ ผิวจันทร์ 2012
ประเภทของครอบครัว
ครอบครัวเดี่ยว
ครอบครัวขยาย
ครอบครัวหลายภรรยาหลายสามี
บทบาทของภรรยา
การเลี้ยงดูบุตร
• การเลี้ยงดูแบบ อัตตาธิปไตย
• การเลี้ยงดูแบบการใช้อานาจอย่างมีเหตุผล
• การเลี้ยงดูแบบปล่อยตามใจ
การใช้ภาษาไทยในปริบทวัฒนธรรม
ปริบท หรือ บริบท
ปริ บริ = รอบๆ
บท = คา ข้อความ
ปริบท แปลว่า ข้อความแวดล้อม
บริบททางวัฒนธรรม
บริบทที่มีความครอบคลุมถึงเรื่องศาสนาและระบบการ
ประพฤติปฏิบัติต่อกันของคนในสังคม ความเชื่อและ
ศิลปวัฒนธรรม ภาษาและวรรณกรรณ
Cultural context looks at the society the characters live in
and at how their culture can affect their behaviour and their
opportunities.
บริบททางสังคม
Social context.
the social setting and the status of both
the speaker and the person who's
addressed.
บริบททางภาษา
In communication and composition, context refers to
the words and sentences that surround any part of
a discourse and that help to determine its meaning.
Adjective: contextual.
linguistic context.
ค่านิยม
“มาตรฐานทางวัฒนธรรมที่ได้รับการยอมรับ ใน
จุดมุ่งหมายทางด้านเจตคติ ความปรารถนาและ
ความต้องการของจริยธรรม สุนทรียภาพและ
ปรัชญา”
Dictionary of Social Science
“สิ่งที่กลุ่มสังคมหนึ่ง ๆ เห็นว่า เป็นสิ่งที่มี
ค่า ควรแก่การประทา น่ากระทา น่ายก
ย่อง หรือเห็นว่าถูกต้อง”
ไพฑูรย์ เครือแก้ว
“สิ่งที่คนสนใจ สิ่งที่คนปรารถนาจะได้เป็น หรือกลับกลายมาเป็นสิ่ง
ที่คนถือว่าเป็นสิ่งบังคับต้องทา ต้องปฏิบัติ เป็นสิ่งที่คนยกย่อง บูชา
ค่านิยมจึงเป็นวิถีของการจัดรูปแบบความประพฤติที่บุคคลจะ
ยึดถือเป็นแบบฉบับสาหรับปฏิบัติตนในสังคม”
สุนทรี โคมิน และสนิท สมัครการ (2522)
ความเชื่ออย่างหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะถาวร เชื่อว่าวิถีปฏิบัติยางอย่าง
หรือเป้าหมายของชีวิตบางอย่างนั้น เป็นสิ่งที่ตัวเองหรือสังคมเห็น
ดีเห็นชอบ และสมควรที่จะยึดปฏิบัติ
ค่านิยมหมายถึง ?
การยอมรับนับถือ และพร้อมที่จะปฏิบัติตามคุณค่าที่คน หรือกลุ่มคน
ที่มีอยู่ต่อสิ่งต่างๆ หรืออาจจะเป็นวัตถุ ความคิด หรืออุดมคติ รวมทั้ง
การกระทาในด้านเศรษฐฏิจ สังคม จริยธรรม และสุนทรียภาพ ทั้งนี้
โดยได้ทาการประเมินจากทัศนะต่างๆ โดยถี่ถ้วน รอบคอบแล้ว
ค่านิยมวิถีปฏิบัติของคนไทยที่สาคัญ
1. การบังคับตนเอง เข้มงวดกับตนเอง และมีความอดทนต่อทุกอย่าง
2. การเป็นตัวของตัวเอง เชื่อมั่นในตนเองและพึ่งพาตนเอง
3. การปรับตัวเข้ากับชีวิต อะลุ้มอล่วย ผ่อนหนัก ผ่อนเบา มีไหวพริบพร้อมที่จะปรับตัวตามกาลเทศะและโอกาส
4. มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา
5. ซื่อสัตย์ จริงใจ
6. เป็นระเบียบ
7. มีน้าใจ เห็นใจผู้อื่น
8. ยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น
9. ให้อภัย ไม่จองเวร
10.รักษาน้าใจผู้อื่น
11.ฯ
ภาษาและวัฒนธรรม
การเปลี่ยน แปร
การแปรของภาษาตามชนชั้นทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงของภาษาตามบริบททางสังคม
ปัจจัยทางสังคมที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ ภาษามีดังนี้
1. ผู้ใช้ภาษา แม้คนในสังคมจะใช้ภาษาเดียวกัน แต่ผู้ใช้ภาษาแต่ละ
บุคคลนั้นอาจมีการใช้ภาษา แตกต่างกันไปตามปัจจัยของตัวผู้พูดเอง
เช่น ถิ่นที่อยู่อาศัย เพศ อายุชนชั้นทางสังคม การศึกษา ชาติพันธุ์ความ
ใกล้ชิดของชุมชน ทัศนคติต่อภาษา ภูมิหลัง ประสบการณ์เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงของภาษาตามชนชั้นทางสังคม คือ คนในสังคมที่
อยู่ในชนชั้นที่ ต่างกันจะมีค่านิยม วิถีชีวิต และภาพลักษณ์ที่
แตกต่างกัน ทั้งนี้การแบ่งชั้นทางสังคมอาจขึ้นอยู่กับ ฐานะทาง
เศรษฐกิจ ฐานันดร ชื่อเสียงของวงศ์ตระกูล อาชีพ เป็นต้น
“ ผู้พูดที่มีชนชั้นทาง สังคมที่แตกต่างกันจะใช้ภาษาที่
ต่างกัน เช่น การออกเสียง ร พบว่า ผู้พูดที่อยู่ในชั้นสังคมต่า
มีแนวโน้ม ที่จะออกเสียง ร เป็น ล มากกว่าผู้พูดที่อยู่ในชน
ชั้นสังคมที่สูงกว่า ”
(Chuensuvimol 1993 อ้างถึงใน ประคอง นิมมานเหมินท์และคณะ 2552 : 10)
คนไทยยิ่งมีการศึกษาต่า ยิ่งมีแนวโน้มที่จะออกเสียงควบกล้า ร ล ว ไม่ชัดเจน
- คนไทยยังมีทัศนคติ ในเชิงลบต่อภาษาถิ่น จะไม่ใช้คาหรือเสียงภาษาถิ่น แต่
จะพยายามใช้คาหรือเสียงภาษาไทยมาตรฐาน แทน เช่น
คนเชียงใหม่ที่มีทัศนคติทางลบต่อภาษาถิ่นมีแนวโน้มที่จะใช้คาว่า
• “โลงบาน” (มาจาก “โรงพยาบาล”) แทนคาว่า “โฮงยา”
- การออกเสียงคล้ายสาเนียงภาษาต่างประเทศจะทาให้ตนดูมีการศึกษาและมี
ชนชั้นที่สูงกว่าคนที่ ออกเสียงภาษาไทยอย่างชัดเจน จึงนิยมออกเสียง
ภาษาไทยให้คล้ายการออกเสียงภาษาอังกฤษ เช่น การออกเสียง [-l] ท้ายคา
เป็นต้น
ฉัน -- > ชั้น
• ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ
• ต้องคิดคาใหม่ ๆ เพื่อใช้เรียกแทนสิ่งนั้น ๆ
• แกงได (รอยกากบาทหรือการขีดเขียนซึ่งคนไม่รู้หนังสือ
เขียนไว้เป็นสาคัญ)
• อายวน (ปิดบัง)
• อาแดง (คานาหน้าชื่อหญิงสามัญ)
น้า
3. การเปลี่ยนแปลงของภาษาตามอิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
ชนชาติไทยถือเป็นชนชาติที่มีการติดต่อและรับเอาวัฒนธรรมของ
ชนชาติอื่นมาตั้งแต่ในอดีต
ชาติตะวันตก-- >การติดต่อค้าขาย
ประเทศอังกฤษ
•นักเรียนมีความสนใจในเรื่องการผสมเทียมวัว
• การใช้ประโยคกรรม เช่น เขาถูกเสนอเป็นผู้แทนของกลุ่ม
การใช้สานวนแบบภาษาอังกฤษ เช่น เขาพบตัวเองว่าเดินอยู่ท่ามกลางสวนดอกไม้นานาพันธุ์
4. การเปลี่ยนแปลงของภาษาจากการเลียนแบบในสังคม ในสังคมหนึ่งมักแบ่งคนออกเป็นกลุ่ม
ต่าง ๆ ตามฐานะ วัย อาชีพ การศึกษา เป็นต้น ซึ่งคน หนึ่งคนสามารถเป็นสมาชิกของกลุ่มได้
มากกว่า 1 กลุ่ม และเมื่อมนุษย์ได้มีกลุ่มสังคมของตนแล้ว ก็ มักจะสร้างความเป็นพวกพ้องขึ้น
ในกลุ่มของตน โดยสิ่งหนึ่งที่สามารถแสดงถึงความเป็นพวกพ้อง เดียวกันได้นั่นคือการมีภาษา
เดียวกันใช้มนุษย์จึงสร้างภาษาประจากลุ่มของตนเอง เช่น ในวงการ กฎหมายก็มีภาษาของตน
เช่น
ผู้เยาว์ หมายถึงบุคคลผู้ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ผู้ไร้ความสามารถ หมายถึง บุคคลใด ๆ ซึ่งไร้ความสามารถตามกฎ หมายหรือ
ความสามารถถูกจากัดโดย บทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ว่า
ด้วยความสามารถ
โมฆียะ หมายถึงที่อาจเป็นโมฆะได้เมื่อมีการบอกกล่าว หรือมีผลสมบูรณ์เมื่อมี
การให้สัตยาบัน (พจนานุกรมศัพท์ กฎหมายไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2544)
ภาษาวงการธุรกิจ
ธุรกิจแฟรนไชส์ หมายถึงการให้สิทธิทางการค้า มีการจัดการ ระหว่างผู้ให้สิทธิ์
และผู้รับสิทธิ์เช่น ผู้ให้ สิทธิ์อาจให้คาแนะนาด้านวัสดุ เทคนิค การบริหาร
การตลาด ฯลฯ
เทคโอเวอร์ หมายถึงการเข้าควบคุมบริษัทในรูปแบบการ ซื้อกรรมสิทธิ์ (ประคอง
นิมมานเหมินท์และคณะ 2552 : 94)
“การแก้ไขเกินเหตุ”
“เดิน กลางร่มไปกัน”  “เดินกางร่มไปกัน
เหตุที่เพื่อนคนหนึ่งในกลุ่มออกเสียง “กาง” เป็น “กลาง” เนื่องจากต้องการให้
ภาษาที่ใช้เป็น ภาษาของผู้มีการศึกษาในสังคม จึงระมัดระวังมากจนเกินไป ทา
ให้เกิดการแก้ไขเกินเหตุซึ่งส่งผลให้ การสื่อสารผิดพลาดเพราะสื่อความหมาย
ผิดนั่นเอง
5. การเปลี่ยนแปลงภาษาจากภาษาต้องห้าม
ภาษาต้องห้าม (Arlotto 1972 : 20 อ้างถึงใน ธัญญรัตน์ ปาณะกุล 2535 : 360 - 361) หมายถึง คา
เฉพาะเจาะจงชุมชน ผู้ใช้ภาษาหลีกเลี่ยงที่จะเอ่ยถึงด้วยเหตุผลทางสังคมหลายประการ การหลีกเลี่ยงใช้คานั้น ๆ
ก่อให้เกิดผลอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้
คือ คาต้องห้ามนั้นหรือคาที่มีเสียง พ้องกับคาต้องห้ามนั้นจะสูญหายไปจากภาษานั้น หรือไม่ก็จะถูกเปลี่ยนเสียงให้
ผิดเพี้ยนไปจากเดิม
เหตุผลเชิงสังคมที่คนเราหลีกเลี่ยงการใช้คาบางคาอาจเป็นเหตุผลที่เกี่ยวข้องกับศาสนา การถือโชค ลาง ความ
เคารพนับถือโดยส่วนตัวที่มีต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือทัศนคติของสังคมที่มีต่ออวัยวะใน ร่างกายและการทางาน
ของอวัยวะนั้น ๆ
คาในตระกูลภาษาอินโด – ยูโรเปียน ที่หายไป
เนื่องจากเป็นคาต้องห้าม
• เช่น คาว่า bear ซึ่งมีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน
ไป ดังนี้
ตัวอย่าง
ห้ามพูดด้วยกลัวว่าจะไปทาให้สัตว์ดุร้ายชนิดนี้ไม่พอใจ หรืออาจเกรงว่าหมีจะได้ยิน
คนเรียกชื่อมันทาให้มันรู้ตัวว่ากาลังถูกล่า
Tha464 5

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Tha464 5

ความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมMai New
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านTeacher Sophonnawit
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาEkarach Inthajan
 
แนวทางการศึกษาคติชนวิทยา
แนวทางการศึกษาคติชนวิทยาแนวทางการศึกษาคติชนวิทยา
แนวทางการศึกษาคติชนวิทยาSimilun_maya
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 
การพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างการพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างnattaya
 
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมเล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมหรร 'ษๅ
 
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของไทย
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของไทยความหลากหลายทางวัฒนธรรมของไทย
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของไทยfadiljijai
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาPonpirun Homsuwan
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610CUPress
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 

Semelhante a Tha464 5 (20)

ความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคมความหลากหลายในสังคม
ความหลากหลายในสังคม
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
11
1111
11
 
11
1111
11
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ปฐมวัย
ปฐมวัยปฐมวัย
ปฐมวัย
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนา
 
แนวทางการศึกษาคติชนวิทยา
แนวทางการศึกษาคติชนวิทยาแนวทางการศึกษาคติชนวิทยา
แนวทางการศึกษาคติชนวิทยา
 
ภาษาเพื่อการสื่อสารG4
ภาษาเพื่อการสื่อสารG4ภาษาเพื่อการสื่อสารG4
ภาษาเพื่อการสื่อสารG4
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
การพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างการพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้าง
 
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมเล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
 
Week 3 of TTFL
Week 3 of TTFLWeek 3 of TTFL
Week 3 of TTFL
 
1
11
1
 
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของไทย
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของไทยความหลากหลายทางวัฒนธรรมของไทย
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
Tha203 2
Tha203 2Tha203 2
Tha203 2
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 

Mais de SasiwimolKongsuwan (8)

Tha464 6
Tha464 6Tha464 6
Tha464 6
 
Tha203 6
Tha203 6Tha203 6
Tha203 6
 
Tha203 5
Tha203 5Tha203 5
Tha203 5
 
Tha464 3
Tha464 3Tha464 3
Tha464 3
 
Tha203 3
Tha203 3Tha203 3
Tha203 3
 
Tha464 2.1
Tha464 2.1Tha464 2.1
Tha464 2.1
 
Tha464 1
Tha464 1Tha464 1
Tha464 1
 
Tha203 1
Tha203 1Tha203 1
Tha203 1
 

Tha464 5