SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 61
Baixar para ler offline
By Punyapon Tepprasit
CEO & Senior Consultant
For MBAKKU
9, 11 August 2013
My Profile
 ปุญญภณ เทพประสิทธิ์ (CIPS, London, UK)
 CEO & Senior Consultant
 บริษัท เอ็มวีพี คอนซัลท์แทนท์
 Tel: 089-060-0990, Email:
punyapon.tep@hotmail.com
 www.mvpconsultant.com
 Punyaponmvp.blogspot.com
 กำลังศึกษำ DBA in Strategic Management
 MBA in Logistics & Supply Chain, GPA3.94
 BBA in InternationalBusiness (Class 2nd
Honors), GPA 3.47
Measurement Scale
 Nominal Scale (นามบัญญัติ)
 เชิงกลุ่ม จัดอันดับไม่ได้ เช่น เพศ สถานภาพ ฯลฯ
 Ordinal Scale (เรียงอันดับ)
 เชิงกลุ่ม จัดอันดับได้ เช่น อายุ (ช่วง) ระดับการศึกษา รายได้ (ช่วง) Rating Scale ฯลฯ
 Interval Scale (อันตรภาคชั้น)
 เชิงปริมาณ ศูนย์ไม่แท้ เช่น คะแนนสอบ ค่าเฉลี่ย (Mean) ฯลฯ
 Ratio Scale (อัตราส่วน)
 เชิงปริมาณ ศูนย์แท้ เช่น รายได้ (แบบเว้นว่างให้เติม) ฯลฯ
Statistics Program
STATA
EVIEW
SPSS
Statistics for Research
Descriptive Statistics
ใช้บรรยายข้อมูล และวัดระดับข้อมูลที่ได้รวบรวม
มา
Inferential Statistics
ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน
Set up the Variables view
 Click---- แถวนอนที่ 1 ของแถวตั้ง Name
 Click---- แถวนอนที่ 1 ของแถวตั้ง Values
 (1) ใส่หมำยเลขคำตอบที่เป็นตัวแทนของคำตอบในข้อนั้นในช่อง Value
 (2)ใส่ชื่อตัวแปรในช่อง Label
 (3) Click---- add
 ทำตำมขั้นตอน (1) – (3) จนครบทุกคำตอบในข้อนั้นแล้วจึง Click--- OK
 Click----Measure และใส่แบบกำรวัดข้อมูล
Try out or Pilot test
เป็นกระบวนกำรในกำรพัฒนำเครื่องมือที่เรียกว่ำ
“Reliability Analysis”
ใช้ข้อมูลจำกกลุ่มประชำกรที่ใกล้เคียงกลุ่มตัวอย่ำง 30
ข้อมูลหรือตัวอย่ำง
ดำเนินกำรเพื่อวิเครำะห์ค่ำ Cronbach’s Alpha
Try out or Pilot test
Click----Analyze----Scale----Reliability Analysis
เลือกตัวแปรที่อยู่ใน Factor เดียวกันจำกกรอบซ้ำยไปใส่
กรอบขวำ
Click---- Statistics
ทำเครื่องหมำย Pที่ Item, Scale, Scale if item deleted
Descriptive Statistics
สำหรับข้อคำถำม Check list ที่ต้องกำรอธิบำยข้อมูลแบบแจก
แจงควำมถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage)
ตัวแปร ประเด็นคำตอบ
เพศ ( ) ชำย ( ) หญิง
อำยุ ( ) ต่ำกว่ำ 25 ปี ( ) 25 - 35 ปี
( ) 36 - 45 ปี ( )46 - 60 ปี
( ) มำกกว่ำ 60 ปี
Frequency and Percentage
Click---- Analyze
Click---- Descriptive Statistics
Click----Frequency
เลือกตัวแปรที่ต้องกำรบรรยำยควำมถี่และร้อยละจำก
กรอบซ้ำยมือไปที่กรอบขวำมือแล้วกด OK
Descriptive Statistics
เพศ จำนวน สัดส่วน
ชำย 163 40.8
หญิง 237 58.2
Descriptive Statistics
สำหรับข้อคำถำม Rating Scale ที่ต้องกำรอธิบำยข้อมูลแบบกำร
วัดระดับค่ำเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน (SD.)
ตัวแปร: ด้ำนที่ตั้งและสิ่งแวดล้อม ประเด็นคำตอบ
ตั้งอยู่ใกล้ที่ทำงำน ( ) มำกที่สุด ( ) มำก ( ) ปำนกลำง
( ) น้อย ( ) น้อยที่สุด
ตั้งอยู่ในย่ำนธุรกิจ มีกำรคมนำคมสะดวก
มีบรรยำกำศร่มรื่น
Frequency and Percentage
Click---- Analyze
Click---- Descriptive Statistics
Click----Descriptive
เลือกตัวแปรที่ต้องกำรบรรยำยค่ำเฉลี่ยและร้อยละจำก
กรอบซ้ำยมือไปที่กรอบขวำมือแล้วกด OK
Inferential Statistics
 ใช้เพื่อกำรทดสอบสมมติฐำน
 ส่วนใหญ่กำรตั้งสมมติฐำน จะมีกำรตั้งในลักษณะดังต่อไปนี้
 ปัจจัยด้านส่วนบุคคลที่แตกต่างมี…………. แตกต่างกัน
 ปัจจัยหรือตัวแปร…(ตัวแปรอิสระ)…. มีความสัมพันธ์กับ …..(ตัวแปรตาม)……
 ปัจจัยหรือตัวแปร (ตัวแปรอิสระ)…. มีอิทธิพลต่อ….. (ตัวแปรตาม)
Independent sample
t-test Analysis
เปรียบเทียบควำมแตกต่ำงของตัวแปรตำมจำแนกตำมตัวแปร
อิสระ
ตัวแปรอิสระต้องมี 2 กลุ่ม และตัวแปรตำมเป็นข้อมูลเชิงปริมำณ
ตัวอย่ำงเช่น
 เพศที่แตกต่างกัน มีปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่แตกต่างกัน
Independent sample
t-test Analysis
 Click----Analyze----Compare Mean----Independent sample t-test
 เลือกตัวแปรอิสระใส่ช่อง Grouping Variable----Click----Define Groups
 Groups 1 ใส่ค่ำ Value ของตัวแปรที่ 1, Groups 2 ใส่ค่ำ Value ของตัว
แปรที่ 2
 เลือกตัวแปรตำมใส่ช่อง Test Variable
 Click----OK
Independent sample
t-test Analysis
 พิจำรณำค่ำ sig. ในช่อง Levene (พิจำรณำควำมแปรปรวน)
 ถ้ำ Sig. > 0.05 (ควำมแปรปรวนเท่ำกัน) ให้พิจำรณำค่ำแถวบน
 ถ้ำ Sig. < 0.05 (ควำมแปรปรวนแตกต่ำงกัน) ให้พิจำรณำค่ำแถวล่ำง
 พิจำรณำค่ำ Sig. ของ t เพื่อปฏิเสธ หรือยอมรับสมมติฐำน
 H0: เพศที่แตกต่างกัน มีปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่ไม่แตกต่างกัน
 H1: เพศที่แตกต่างกัน มีปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่แตกต่างกัน
 ถ้า Sig > 0.05 ยอมรับ H0
 ถ้า Sig < 0.05 ปฏิเสธ H0
One Way ANOVA (F-test)
 เปรียบเทียบควำมแตกต่ำงของตัวแปรตำมจำแนกตำมตัวแปรอิสระ
 ตัวแปรอิสระต้องมีมำกกว่ำ 2 กลุ่ม และตัวแปรตำมเป็นข้อมูลเชิงปริมำณ
 ตัวอย่ำงเช่น
 ระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่แตกต่างกัน
One Way ANOVA (F-test)
 Click----Analyze----Compare Mean----One Way ANOVA
 เลือกตัวแปรอิสระใส่ช่อง Factor เลือกตัวแปรตำมใส่ช่อง Dependent
List
 Click----Post Hoc เลือก LSD เพื่อจะให้มีกำรเปรียบเทียบควำมแตกต่ำง
รำยคู่
 Click----Continuous
 Click----OK
One Way ANOVA (F-test)
 พิจำรณำค่ำ Sig. ของ F เพื่อปฏิเสธ หรือยอมรับสมมติฐำน
 H0: ระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดด้านลักษณะ
ห้องเช่าที่ไม่แตกต่างกัน
 H1: ระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดด้านลักษณะ
ห้องเช่าที่ไม่แตกต่างกัน
 ถ้า Sig > 0.05 ยอมรับ H0
 ถ้า Sig < 0.05 ปฏิเสธ H0
One Way ANOVA (F-test)
พิจำรณำควำมแตกต่ำงรำยคู่โดยกำรพิจำรณำตำรำง LSD
ดูสัญลักษณ์ * ตรงช่อง Mean Difference (I-J)
ถ้าเป็นค่าบวก แสดงว่า I > J
ถ้าเป็นค่าลบ แสดงว่า I < J
Chi-Square (Crosstabs)
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตำม
1. Nominal Scale
2. Nominal Scale
3. Ordinal Scale
4. Ordinal Scale
5. Nominal Scale
1. Nominal Scale
2. Ordinal Scale
3. Ordinal Scale
4. Nominal Scale
5. Interval or Ratio
Scale
Chi-Square (Crosstabs)
 กำรตั้งสมมติฐำน Chi-Square ตำมหลักทฤษฎี
 H0 : ตัวแปรทั้งสองตัวมีควำมเป็นอิสระต่อกัน
 H1 : ตัวแปรทั้งสองตัวไม่เป็นอิสระต่อกัน
 ควำมหมำยของกำรตั้งสมมติฐำนดังกล่ำวทำให้สำมำรถใช้เพื่อกำรหำ
ควำมสัมพันธ์หรือควำมแตกต่ำงก็ได้
 ดังนั้นเพื่อให้เกิดกำรแปลผลข้อมูลที่เข้ำใจง่ำยให้ตั้งเป็นควำมสัมพันธ์
หรือแตกต่ำงให้ชัดเจน ไม่ต้องยึดตามหลักการ
Chi-Square (Crosstabs)
 หำควำมสัมพันธ์หรือควำมแตกต่ำงของตัวแปรอิสระและตัวแปรตำมที่มี
ข้อมูลเป็นเชิงกลุ่ม
 Click----Analyze----Descriptive Statistics----Crosstabs
 เลือกตัวแปรอิสระใส่ช่อง Row และเลือกตัวแปรตำมใส่ช่อง Column
 Click----Statistics----ทำเครื่องหมำย P ที่ช่อง Chi Square
 Click----Continue----OK
Chi-Square (Crosstabs)
 พิจำรณำค่ำในแถว Pearson Cho-Square ซึ่งแสดงควำมสัมพันธ์ที่จะอยู่
ในรูปใดก็ได้
 ถ้า Sig > 0.05 ยอมรับ H0
 ถ้า Sig < 0.05 ปฏิเสธ H0
 Likeilihood and Linear ไม่ต้องพิจารณา
Pearson Correlation
 หำควำมสัมพันธ์ของข้อมูลตัวแปรอิสระและตัวแปรตำมมีลักษณะข้อมูล
แบบเชิงปริมำณ เช่น ค่ำเฉลี่ย หรือตัวเลขจริง
 Click----Analyze----Correlate----Bivariate
 ทำเครื่องหมำย P ที่ช่อง Pearson
 เลือกตัวแปรที่จะหำควำมสัมพันธ์ไปไว้ในช่อง Variables ในที่นี้เลือกตัว
แปร a และ j
Pearson Correlation
 กำรพิจำรณำค่ำ Sig.
 ถ้า Sig > 0.05 ยอมรับ H0
 ถ้า Sig < 0.05 ปฏิเสธ H0
 กำรพิจำรณำค่ำ Pearson คือ ค่ำควำมสัมพันธ์
 ติดลบ แสดงว่ำ มีควำมสัมพันธ์ในทิศทำงตรงกันข้ำม
 บวก แสดงว่ำมีควำมสัมพันธ์ในทิศทำงเดียวกัน
Simple Regression
หำอิทธิพลของตัวแปรอิสระ 1 ตัวที่มีต่อตัวแปรตำม 1 ตัวและ
ข้อมูลตัวแปรทั้งสองจะต้องเป็นเชิงปริมำณ เช่น ค่ำเฉลี่ย ตัวเลข
จริง
Click----Analyze----Regression----Liner
เลือกตัวแปรอิสระใส่ช่อง Independent และตัวแปรตำมใส่ช่อง
Dependent
Method เลือก Entry
Simple Regression
 พิจำรณำแปลผลค่ำ ดังนี้
 R หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์ เท่ำกับ 0.220
 R Square หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์กำรตัดสินใจร้อยละ 4.8 หมำยถึง กำรรับรู้ใน
ลักษณะห้องเช่ำสำมำรถอธิบำยถึงกำรเปลี่ยนแปลงของชื่อเสียงและควำม
น่ำเชื่อถือของอพำร์ทเม้นท์ได้ร้อยละ 4.8
 Adjusted R Square หมำยถึง ลักษณะห้องเช่ำสำมำรถอธิบำยกำรเปลี่ยนแปลง
ของตัวแปรตำมชื่อเสียงและควำมน่ำเชื่อถือของอพำร์ทเม้นท์ได้ร้อยละ 4.6
Simple Regression
พิจำรณำแปลผลค่ำ ดังนี้
 B หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์ของกำรถดถอยของสมกำร จะได้เท่ำกับ
 ชื่อเสียงและควำมน่ำเชื่อถือ = 3.451 + 0.107 ลักษณะห้องเช่ำ
 Y = 3.451 + 0.107(X1)
 Beta หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์ของกำรถดถอยมำตรฐำน
 ลักษะณะห้องเช่ำ = 0.107 หรือ Z = 0.107
 กำรพิจำรณำค่ำ Sig.
 ถ้า Sig > 0.05 ยอมรับ H0
 ถ้า Sig < 0.05 ปฏิเสธ H0
Multiple Regression
หำอิทธิพลของตัวแปรอิสระมำกกว่ำ 1 ตัวที่มีต่อตัวแปรตำม 1
ตัวและข้อมูลตัวแปรทั้งสองจะต้องเป็นเชิงปริมำณ เช่น ค่ำเฉลี่ย
ตัวเลขจริง
Click----Analyze----Regression----Liner
เลือกตัวแปรอิสระให้ครบทุกตัวใน Factor ใส่ช่อง Independent
และตัวแปรตำมใส่ช่อง Dependent
Method เลือก Entry
Multiple Regression
 พิจำรณำแปลผลค่ำ ดังนี้
 R หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์ เท่ำกับ 0.287
 R Square หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์กำรตัดสินใจร้อยละ 4.8 หมำยถึง ลักษณะ
ห้องเช่ำ รำคำ ทำเลที่ตั้งและสภำพแวดล้อม กำรส่งเสริมกำรตลำด สำมำรถ
อธิบำยถึงกำรเปลี่ยนแปลงของของชื่อเสียงและควำมน่ำเชื่อถือของอพำร์ท
เม้นท์ได้ร้อยละ 8.2
 Adjusted R Square ลักษณะห้องเช่ำ รำคำ ทำเลที่ตั้งและสภำพแวดล้อม กำร
ส่งเสริมกำรตลำด สำมำรถอธิบำยกำรเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตำมชื่อเสียงและ
ควำมน่ำเชื่อถือของอพำร์ทเม้นท์ได้ร้อยละ 7.3
Multiple Regression
พิจำรณำแปลผลค่ำ ดังนี้
 B หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์ของกำรถดถอยของสมกำร จะได้เท่ำกับ
 ชื่อเสียงและควำมน่ำเชื่อถือ = 3.681 + 0.226 ลักษณะห้องเช่ำ + (-119) ทำเลที่ตั้งและสภำพแวดล้อม
 Y = 3.681 + 0.226 (X1) + (-0.119) (X3)
 Beta หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์ของกำรถดถอยมำตรฐำน
 Z = 0.226 (X1) + (-0.119) (X3)
 กำรพิจำรณำค่ำ Sig.
 ถ้า Sig > 0.05 ยอมรับ H0
 ถ้า Sig < 0.05 ปฏิเสธ H0
Statistics for research by spss program

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Statistics for research by spss program

งานนำเสนอ1
 งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ing Gnii
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณtanongsak
 
นิพจน์
นิพจน์นิพจน์
นิพจน์korn27122540
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)Sani Satjachaliao
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssprapapan20
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...ชวนพบ เอี่ยวสานุรักษ์
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
3.ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ
3.ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ3.ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ
3.ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการmansuang1978
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัยNitinop Tongwassanasong
 

Semelhante a Statistics for research by spss program (14)

Spss jan2010
Spss jan2010Spss jan2010
Spss jan2010
 
งานนำเสนอ1
 งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
นิพจน์
นิพจน์นิพจน์
นิพจน์
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
เอกสารบรรยาย เรื่อง แนวทางการใช้สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษาและการใช้คอมพิวเ...
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถาม
 
3.ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ
3.ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ3.ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ
3.ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
 
javabasic
javabasicjavabasic
javabasic
 

Mais de Punyapon Tepprasit

Food supply chain and Transportation
Food supply chain and TransportationFood supply chain and Transportation
Food supply chain and TransportationPunyapon Tepprasit
 
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...The influence of relationship quality between logistics service provider and ...
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...Punyapon Tepprasit
 
Strategic Human Resource Management
Strategic Human Resource Management Strategic Human Resource Management
Strategic Human Resource Management Punyapon Tepprasit
 
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...Punyapon Tepprasit
 
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยPunyapon Tepprasit
 
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทย
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทยปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทย
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทยPunyapon Tepprasit
 
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...Punyapon Tepprasit
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร Punyapon Tepprasit
 
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนPunyapon Tepprasit
 

Mais de Punyapon Tepprasit (10)

Food supply chain and Transportation
Food supply chain and TransportationFood supply chain and Transportation
Food supply chain and Transportation
 
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...The influence of relationship quality between logistics service provider and ...
The influence of relationship quality between logistics service provider and ...
 
Strategic Human Resource Management
Strategic Human Resource Management Strategic Human Resource Management
Strategic Human Resource Management
 
Mgt 4203 1 sep2013
Mgt 4203 1 sep2013Mgt 4203 1 sep2013
Mgt 4203 1 sep2013
 
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการเข้าสู่ตลาดป...
 
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
 
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทย
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทยปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทย
ปัญหาในการจัดการองค์ความรู้ในธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ที่ 3 ของประเทศไทย
 
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
ผลกระทบของความตกลงการค้าเสรีไทย – ออสเตรเลียต่อการดำเนินกลยุทธ์การตลาด กรณีศึ...
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
 
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
ประสิทธิผลของการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
 

Statistics for research by spss program

  • 1. By Punyapon Tepprasit CEO & Senior Consultant For MBAKKU 9, 11 August 2013
  • 2. My Profile  ปุญญภณ เทพประสิทธิ์ (CIPS, London, UK)  CEO & Senior Consultant  บริษัท เอ็มวีพี คอนซัลท์แทนท์  Tel: 089-060-0990, Email: punyapon.tep@hotmail.com  www.mvpconsultant.com  Punyaponmvp.blogspot.com  กำลังศึกษำ DBA in Strategic Management  MBA in Logistics & Supply Chain, GPA3.94  BBA in InternationalBusiness (Class 2nd Honors), GPA 3.47
  • 3. Measurement Scale  Nominal Scale (นามบัญญัติ)  เชิงกลุ่ม จัดอันดับไม่ได้ เช่น เพศ สถานภาพ ฯลฯ  Ordinal Scale (เรียงอันดับ)  เชิงกลุ่ม จัดอันดับได้ เช่น อายุ (ช่วง) ระดับการศึกษา รายได้ (ช่วง) Rating Scale ฯลฯ  Interval Scale (อันตรภาคชั้น)  เชิงปริมาณ ศูนย์ไม่แท้ เช่น คะแนนสอบ ค่าเฉลี่ย (Mean) ฯลฯ  Ratio Scale (อัตราส่วน)  เชิงปริมาณ ศูนย์แท้ เช่น รายได้ (แบบเว้นว่างให้เติม) ฯลฯ
  • 5. Statistics for Research Descriptive Statistics ใช้บรรยายข้อมูล และวัดระดับข้อมูลที่ได้รวบรวม มา Inferential Statistics ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน
  • 6. Set up the Variables view  Click---- แถวนอนที่ 1 ของแถวตั้ง Name  Click---- แถวนอนที่ 1 ของแถวตั้ง Values  (1) ใส่หมำยเลขคำตอบที่เป็นตัวแทนของคำตอบในข้อนั้นในช่อง Value  (2)ใส่ชื่อตัวแปรในช่อง Label  (3) Click---- add  ทำตำมขั้นตอน (1) – (3) จนครบทุกคำตอบในข้อนั้นแล้วจึง Click--- OK  Click----Measure และใส่แบบกำรวัดข้อมูล
  • 7.
  • 8.
  • 9. Try out or Pilot test เป็นกระบวนกำรในกำรพัฒนำเครื่องมือที่เรียกว่ำ “Reliability Analysis” ใช้ข้อมูลจำกกลุ่มประชำกรที่ใกล้เคียงกลุ่มตัวอย่ำง 30 ข้อมูลหรือตัวอย่ำง ดำเนินกำรเพื่อวิเครำะห์ค่ำ Cronbach’s Alpha
  • 10. Try out or Pilot test Click----Analyze----Scale----Reliability Analysis เลือกตัวแปรที่อยู่ใน Factor เดียวกันจำกกรอบซ้ำยไปใส่ กรอบขวำ Click---- Statistics ทำเครื่องหมำย Pที่ Item, Scale, Scale if item deleted
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14. Descriptive Statistics สำหรับข้อคำถำม Check list ที่ต้องกำรอธิบำยข้อมูลแบบแจก แจงควำมถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage) ตัวแปร ประเด็นคำตอบ เพศ ( ) ชำย ( ) หญิง อำยุ ( ) ต่ำกว่ำ 25 ปี ( ) 25 - 35 ปี ( ) 36 - 45 ปี ( )46 - 60 ปี ( ) มำกกว่ำ 60 ปี
  • 15. Frequency and Percentage Click---- Analyze Click---- Descriptive Statistics Click----Frequency เลือกตัวแปรที่ต้องกำรบรรยำยควำมถี่และร้อยละจำก กรอบซ้ำยมือไปที่กรอบขวำมือแล้วกด OK
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19. Descriptive Statistics เพศ จำนวน สัดส่วน ชำย 163 40.8 หญิง 237 58.2
  • 20. Descriptive Statistics สำหรับข้อคำถำม Rating Scale ที่ต้องกำรอธิบำยข้อมูลแบบกำร วัดระดับค่ำเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน (SD.) ตัวแปร: ด้ำนที่ตั้งและสิ่งแวดล้อม ประเด็นคำตอบ ตั้งอยู่ใกล้ที่ทำงำน ( ) มำกที่สุด ( ) มำก ( ) ปำนกลำง ( ) น้อย ( ) น้อยที่สุด ตั้งอยู่ในย่ำนธุรกิจ มีกำรคมนำคมสะดวก มีบรรยำกำศร่มรื่น
  • 21. Frequency and Percentage Click---- Analyze Click---- Descriptive Statistics Click----Descriptive เลือกตัวแปรที่ต้องกำรบรรยำยค่ำเฉลี่ยและร้อยละจำก กรอบซ้ำยมือไปที่กรอบขวำมือแล้วกด OK
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25. Inferential Statistics  ใช้เพื่อกำรทดสอบสมมติฐำน  ส่วนใหญ่กำรตั้งสมมติฐำน จะมีกำรตั้งในลักษณะดังต่อไปนี้  ปัจจัยด้านส่วนบุคคลที่แตกต่างมี…………. แตกต่างกัน  ปัจจัยหรือตัวแปร…(ตัวแปรอิสระ)…. มีความสัมพันธ์กับ …..(ตัวแปรตาม)……  ปัจจัยหรือตัวแปร (ตัวแปรอิสระ)…. มีอิทธิพลต่อ….. (ตัวแปรตาม)
  • 26. Independent sample t-test Analysis เปรียบเทียบควำมแตกต่ำงของตัวแปรตำมจำแนกตำมตัวแปร อิสระ ตัวแปรอิสระต้องมี 2 กลุ่ม และตัวแปรตำมเป็นข้อมูลเชิงปริมำณ ตัวอย่ำงเช่น  เพศที่แตกต่างกัน มีปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่แตกต่างกัน
  • 27. Independent sample t-test Analysis  Click----Analyze----Compare Mean----Independent sample t-test  เลือกตัวแปรอิสระใส่ช่อง Grouping Variable----Click----Define Groups  Groups 1 ใส่ค่ำ Value ของตัวแปรที่ 1, Groups 2 ใส่ค่ำ Value ของตัว แปรที่ 2  เลือกตัวแปรตำมใส่ช่อง Test Variable  Click----OK
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31. Independent sample t-test Analysis  พิจำรณำค่ำ sig. ในช่อง Levene (พิจำรณำควำมแปรปรวน)  ถ้ำ Sig. > 0.05 (ควำมแปรปรวนเท่ำกัน) ให้พิจำรณำค่ำแถวบน  ถ้ำ Sig. < 0.05 (ควำมแปรปรวนแตกต่ำงกัน) ให้พิจำรณำค่ำแถวล่ำง  พิจำรณำค่ำ Sig. ของ t เพื่อปฏิเสธ หรือยอมรับสมมติฐำน  H0: เพศที่แตกต่างกัน มีปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่ไม่แตกต่างกัน  H1: เพศที่แตกต่างกัน มีปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่แตกต่างกัน  ถ้า Sig > 0.05 ยอมรับ H0  ถ้า Sig < 0.05 ปฏิเสธ H0
  • 32. One Way ANOVA (F-test)  เปรียบเทียบควำมแตกต่ำงของตัวแปรตำมจำแนกตำมตัวแปรอิสระ  ตัวแปรอิสระต้องมีมำกกว่ำ 2 กลุ่ม และตัวแปรตำมเป็นข้อมูลเชิงปริมำณ  ตัวอย่ำงเช่น  ระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่แตกต่างกัน
  • 33. One Way ANOVA (F-test)  Click----Analyze----Compare Mean----One Way ANOVA  เลือกตัวแปรอิสระใส่ช่อง Factor เลือกตัวแปรตำมใส่ช่อง Dependent List  Click----Post Hoc เลือก LSD เพื่อจะให้มีกำรเปรียบเทียบควำมแตกต่ำง รำยคู่  Click----Continuous  Click----OK
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37. One Way ANOVA (F-test)  พิจำรณำค่ำ Sig. ของ F เพื่อปฏิเสธ หรือยอมรับสมมติฐำน  H0: ระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดด้านลักษณะ ห้องเช่าที่ไม่แตกต่างกัน  H1: ระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดด้านลักษณะ ห้องเช่าที่ไม่แตกต่างกัน  ถ้า Sig > 0.05 ยอมรับ H0  ถ้า Sig < 0.05 ปฏิเสธ H0
  • 38. One Way ANOVA (F-test) พิจำรณำควำมแตกต่ำงรำยคู่โดยกำรพิจำรณำตำรำง LSD ดูสัญลักษณ์ * ตรงช่อง Mean Difference (I-J) ถ้าเป็นค่าบวก แสดงว่า I > J ถ้าเป็นค่าลบ แสดงว่า I < J
  • 39. Chi-Square (Crosstabs) ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตำม 1. Nominal Scale 2. Nominal Scale 3. Ordinal Scale 4. Ordinal Scale 5. Nominal Scale 1. Nominal Scale 2. Ordinal Scale 3. Ordinal Scale 4. Nominal Scale 5. Interval or Ratio Scale
  • 40. Chi-Square (Crosstabs)  กำรตั้งสมมติฐำน Chi-Square ตำมหลักทฤษฎี  H0 : ตัวแปรทั้งสองตัวมีควำมเป็นอิสระต่อกัน  H1 : ตัวแปรทั้งสองตัวไม่เป็นอิสระต่อกัน  ควำมหมำยของกำรตั้งสมมติฐำนดังกล่ำวทำให้สำมำรถใช้เพื่อกำรหำ ควำมสัมพันธ์หรือควำมแตกต่ำงก็ได้  ดังนั้นเพื่อให้เกิดกำรแปลผลข้อมูลที่เข้ำใจง่ำยให้ตั้งเป็นควำมสัมพันธ์ หรือแตกต่ำงให้ชัดเจน ไม่ต้องยึดตามหลักการ
  • 41. Chi-Square (Crosstabs)  หำควำมสัมพันธ์หรือควำมแตกต่ำงของตัวแปรอิสระและตัวแปรตำมที่มี ข้อมูลเป็นเชิงกลุ่ม  Click----Analyze----Descriptive Statistics----Crosstabs  เลือกตัวแปรอิสระใส่ช่อง Row และเลือกตัวแปรตำมใส่ช่อง Column  Click----Statistics----ทำเครื่องหมำย P ที่ช่อง Chi Square  Click----Continue----OK
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45. Chi-Square (Crosstabs)  พิจำรณำค่ำในแถว Pearson Cho-Square ซึ่งแสดงควำมสัมพันธ์ที่จะอยู่ ในรูปใดก็ได้  ถ้า Sig > 0.05 ยอมรับ H0  ถ้า Sig < 0.05 ปฏิเสธ H0  Likeilihood and Linear ไม่ต้องพิจารณา
  • 46. Pearson Correlation  หำควำมสัมพันธ์ของข้อมูลตัวแปรอิสระและตัวแปรตำมมีลักษณะข้อมูล แบบเชิงปริมำณ เช่น ค่ำเฉลี่ย หรือตัวเลขจริง  Click----Analyze----Correlate----Bivariate  ทำเครื่องหมำย P ที่ช่อง Pearson  เลือกตัวแปรที่จะหำควำมสัมพันธ์ไปไว้ในช่อง Variables ในที่นี้เลือกตัว แปร a และ j
  • 47.
  • 48.
  • 49.
  • 50. Pearson Correlation  กำรพิจำรณำค่ำ Sig.  ถ้า Sig > 0.05 ยอมรับ H0  ถ้า Sig < 0.05 ปฏิเสธ H0  กำรพิจำรณำค่ำ Pearson คือ ค่ำควำมสัมพันธ์  ติดลบ แสดงว่ำ มีควำมสัมพันธ์ในทิศทำงตรงกันข้ำม  บวก แสดงว่ำมีควำมสัมพันธ์ในทิศทำงเดียวกัน
  • 51. Simple Regression หำอิทธิพลของตัวแปรอิสระ 1 ตัวที่มีต่อตัวแปรตำม 1 ตัวและ ข้อมูลตัวแปรทั้งสองจะต้องเป็นเชิงปริมำณ เช่น ค่ำเฉลี่ย ตัวเลข จริง Click----Analyze----Regression----Liner เลือกตัวแปรอิสระใส่ช่อง Independent และตัวแปรตำมใส่ช่อง Dependent Method เลือก Entry
  • 52.
  • 53.
  • 54.
  • 55. Simple Regression  พิจำรณำแปลผลค่ำ ดังนี้  R หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์ เท่ำกับ 0.220  R Square หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์กำรตัดสินใจร้อยละ 4.8 หมำยถึง กำรรับรู้ใน ลักษณะห้องเช่ำสำมำรถอธิบำยถึงกำรเปลี่ยนแปลงของชื่อเสียงและควำม น่ำเชื่อถือของอพำร์ทเม้นท์ได้ร้อยละ 4.8  Adjusted R Square หมำยถึง ลักษณะห้องเช่ำสำมำรถอธิบำยกำรเปลี่ยนแปลง ของตัวแปรตำมชื่อเสียงและควำมน่ำเชื่อถือของอพำร์ทเม้นท์ได้ร้อยละ 4.6
  • 56. Simple Regression พิจำรณำแปลผลค่ำ ดังนี้  B หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์ของกำรถดถอยของสมกำร จะได้เท่ำกับ  ชื่อเสียงและควำมน่ำเชื่อถือ = 3.451 + 0.107 ลักษณะห้องเช่ำ  Y = 3.451 + 0.107(X1)  Beta หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์ของกำรถดถอยมำตรฐำน  ลักษะณะห้องเช่ำ = 0.107 หรือ Z = 0.107  กำรพิจำรณำค่ำ Sig.  ถ้า Sig > 0.05 ยอมรับ H0  ถ้า Sig < 0.05 ปฏิเสธ H0
  • 57. Multiple Regression หำอิทธิพลของตัวแปรอิสระมำกกว่ำ 1 ตัวที่มีต่อตัวแปรตำม 1 ตัวและข้อมูลตัวแปรทั้งสองจะต้องเป็นเชิงปริมำณ เช่น ค่ำเฉลี่ย ตัวเลขจริง Click----Analyze----Regression----Liner เลือกตัวแปรอิสระให้ครบทุกตัวใน Factor ใส่ช่อง Independent และตัวแปรตำมใส่ช่อง Dependent Method เลือก Entry
  • 58.
  • 59. Multiple Regression  พิจำรณำแปลผลค่ำ ดังนี้  R หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์ เท่ำกับ 0.287  R Square หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์กำรตัดสินใจร้อยละ 4.8 หมำยถึง ลักษณะ ห้องเช่ำ รำคำ ทำเลที่ตั้งและสภำพแวดล้อม กำรส่งเสริมกำรตลำด สำมำรถ อธิบำยถึงกำรเปลี่ยนแปลงของของชื่อเสียงและควำมน่ำเชื่อถือของอพำร์ท เม้นท์ได้ร้อยละ 8.2  Adjusted R Square ลักษณะห้องเช่ำ รำคำ ทำเลที่ตั้งและสภำพแวดล้อม กำร ส่งเสริมกำรตลำด สำมำรถอธิบำยกำรเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตำมชื่อเสียงและ ควำมน่ำเชื่อถือของอพำร์ทเม้นท์ได้ร้อยละ 7.3
  • 60. Multiple Regression พิจำรณำแปลผลค่ำ ดังนี้  B หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์ของกำรถดถอยของสมกำร จะได้เท่ำกับ  ชื่อเสียงและควำมน่ำเชื่อถือ = 3.681 + 0.226 ลักษณะห้องเช่ำ + (-119) ทำเลที่ตั้งและสภำพแวดล้อม  Y = 3.681 + 0.226 (X1) + (-0.119) (X3)  Beta หมำยถึง ค่ำสัมประสิทธิ์ของกำรถดถอยมำตรฐำน  Z = 0.226 (X1) + (-0.119) (X3)  กำรพิจำรณำค่ำ Sig.  ถ้า Sig > 0.05 ยอมรับ H0  ถ้า Sig < 0.05 ปฏิเสธ H0