SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 34
Baixar para ler offline
1 
วิเคราะห์รูปแบบ เทคนิคการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ 
1. การจัดการเรียนรู้แบบนิรนัย(Deductive Method) 
1. ความหมาย 
การจัดการเรียนรู้แบบนิรนัย(Deductive Method)หมายถึงกระบวนการที่ผู้สอนจัดการ เรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับกฎ ทฤษฎี หลักเกณฑ์ ข้อเท็จจริงหรือข้อสรุปตามวัตถุประสงค์ ในบทเรียน จากนั้นจึงให้ตัวอย่างหลายๆตัวอย่าง หรืออาจให้ผู้เรียนฝึกการนา ทฤษฎี หลักการ หลักเกณฑ์ กฎหรือข้อสรุปไปใช้ในสถานการณ์ที่หลากหลาย หรืออาจเป็นหลัก ลักษณะให้ผู้เรียนหาหลักฐานเหตุผลมาพิสูจน์ยืนยันทฤษฎี กฎหรือข้อสรุปเหล่านั้น การจัดการ เรียนรู้แบบนี้จะช่วยให้ผู้เรียนเป็นคนมีเหตุผล ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ และมีความเข้าใจใน กฎเกณฑ์ ทฤษฎี ข้อสรุปเหล่านั้นอย่างลึกซึ้ง การสอนแบบนี้อาจกล่าวได้ว่า เป็นการสอนจากทฤษฎี หรือกฎไปสูตัวอย่างที่เป็นรายละเอียด 
2.ขั้นตอนการสอน 
การสอนแบบนิรนัยมีขั้นตอนสาคัญดังต่อไปนี้ 
1.) ขั้นกาหนดขอบเขตของปัญหา เป็นการนาเข้าสูบทเรียนโดยการเสนอปัญหาหรือระบุสิ่งที่ 
จะสอนในแง่ของปัญหา เพื่อยั่วยุให้ผู้เรียนเกิดความสนใจที่จะหาคาตอบ ปัญหาที่จะนาเสนอควรจะ เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ของชีวิตและเหมาะสมกับวุฒิภาวะของผู้เรียน 
2.) ขั้นแสดงและอธิบายทฤษฎี หลักการ เป็นการนาเอาทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุปที่ ต้องการสอนมาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ทฤษฎี หลักการนั้น 
3.) ขั้นใช้ทฤษฎี หลักการ เป็นขั้นที่ผู้เรียนจะเลือกทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุป ที่ได้จาก การเรียนรู้มาใช้ในการแก้ปัญหาที่กาหนดไว้ได้ 
4.) ขั้นตรวจสอบและสรุป เป็นขั้นที่ผู้เรียนจะตรวจสอบและสรุปทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุป หรือนิยามที่ใช้ว่าถูกต้อง สมเหตุสมผลหรือไม่ โดยอาจปรึกษาผู้สอน หรือค้นคว้าจากตารา ต่างๆ หรือจากการทดลอง ข้อสรุปที่ได้พิสูจน์หรือตรวจสอบว่าเป็นจริง จึงจะเป็นความรู้ที่ถูกต้อง 
5.) ขั้นฝึกปฏิบัติ เมื่อผู้เรียนเกิดความเข้าใจในทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุป พอสมควร แล้ว ผู้สอนเสนอสถานการณ์ใหม่ให้ผู้เรียนฝึกนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใหม่ๆที่ หลากหลาย 
3. ประโยชน์ 
1.)เป็นวิธีการที่ช่วยในการถ่ายทอดเนื้อหาสาระได้ง่าย รวดเร็วและไม่ยุ่งยาก 
2.)ใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้ไม่มากนัก 
3.)ฝึกให้ผู้เรียนรู้ได้นาเอาทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุปหรือนิยามไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ๆ 
4.) ใช้ได้ผลดีในการจัดการเรียนรู้วิชาศิลปศึกษาและคณิตศาสตร์ 
5.) ฝึกให้ผู้เรียนมีเหตุผล ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ โดยไม่มีการพิสูจน์ให้เห็นจริง
2 
2. การจัดการเรียนรู้แบบใช้คาถาม(Questioning Method) 
1.ความหมาย 
การจัดการเรียนรู้แบบใช้คาถาม(Questioning Method)เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่ง พัฒนากระบวนการทางความคิดของผู้เรียนโดยผู้สอนจะปฺอนคาถามในลักษณะต่าง ๆ ที่เป็นคาถามที่ ดี สามารถพัฒนาความคิดผู้เรียนถามเพื่อให้ผู้เรียนใช้ความคิดเชิงเหตุผล วิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ หรือการประเมินค่าเพื่อจะตอบคาถามเหล่านั้น 
2. ขั้นตอนการสอน 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้คาถามมีขั้นตอนสาคัญ ดังต่อไปนี้ 1.)ขั้นวางแผนการใช้คาถาม ผู้สอนควรจะมีการวางแผนไว้ล่วงหน้าว่าจะใช้คาถามเพื่อ วัตถุประสงค์ใดรูปแบบหรือประการใดที่จะสอดคล้องกับเนื้อหาสาระและวัตถุประสงค์ ของบทเรียน 
2.)ขั้นเตรียมคาถาม ผู้สอนควรจะเตรียมคาถามที่จะใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการ สร้างคาถามอย่างมีหลักเกณฑ์ 
3.)ขั้นการใช้คาถาม ผู้สอนสามารถจะใช้คาถามในทุกขั้นตอนของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และ อาจจะสร้างคาถามใหม่ที่นอกเหนือจากคาถามที่เตรียมไว้ก็ได้ทั้งนี้ต้องเหมาะสม กับเนื้อหาสาระและ สถานการณ์นั้น ๆ 4.) ขั้นสรุปและประเมินผล 
- การสรุปบทเรียนผู้สอนอาจจะใช้คาถามเพื่อการสรุปบทเรียนก็ได้ 
- การประเมินผล ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันประเมินผลการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการ ประเมินผลตามสภาพจริง 
3. ประโยชน์ 
1.) ผู้เรียนกับผู้สอนสื่อความหมายกันได้ดี 
2.) ช่วยให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
3.) สร้างแรงจูงใจและกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน 
4.) ช่วยเน้นและทบทวนประเด็นสาคัญของสาระการเรียนรู้ที่เรียน 
5.) ช่วยในการประเมินผลการเรียนการสอน ให้เข้าใจความสนใจที่แท้จริงของผู้เรียน และ วินิจฉัยจุดแข็งจุดอ่อน 
ของผู้เรียนได้ 
6.) ช่วยสร้างลักษณะนิสัยการชอบคิดให้กับผู้เรียน ตลอดจนนิสัยใฝูรู้ใฝูเรียนตลอดชีวิต
3 
3. รูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ตามแนวคิดของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 
ใจความสาคัญของแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) มีดังนี้ 
1) ความรู้ คือ การสร้างโครงสร้างทางปัญญาที่สามารถคลี่คลาย สถานการณ์ที่เป็นปัญหาได้ 2) นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยวิธีที่ต่าง ๆ กันโดยอาศัยประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ ความ สนใจและแรงจูงใจ 
ภายในตนเองเป็นจุดเริ่มต้น 
3) ครูมีหน้าที่จัดการให้นักเรียนได้ปรับขยายโครงสร้างทางปัญญา 
สมมติฐาน ต่อไปนี้ 3.1) สถานการที่เป็นปัญหาก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา 3.2) ความขัดแย้งทางปัญญาเป็นแรงจูงใจทาให้เราสามารถแก้ไข้ปัญหาได้ 
การสอนคณิตศาสตร์ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ดังนี้ 
ขั้นตอนที่ 1 สร้างความขัดแย้งทางปัญญา 
1) ครูเสนอปัญหา A ให้นักเรียนคิดแก้ปัญหาเป็นรายบุคคล โดยที่ปัญหา A เป็นปัญหาที่มี ความยากในระดับที่นักเรียนต้องปรับโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิม หรือต้องสร้างโครงสร้างทาง ปัญญาขึ้นใหม่ จึงจะสามารถแก้ปัญหาได้ 
2) จัดนักเรียนเข้ากลุ่มย่อย กลุ่มละ 4 – 6 คน นักเรียนแต่ละคนเสนอคาตอบและวิธีหา คาตอบของปัญหา A ต่อกลุ่มของตน 
ขั้นตอนที่ 2 ดาเนินกิจกรรมไตร่ตรอง 
1) นักเรียนในกลุ่มย่อยตรวจสอบคาตอบและวิธีหาคาตอบของสมาชิกในกลุ่มตามเกณฑ์การ ตรวจสอบความเชื่อที่เสนอโดย โคโนลต์ ซึ่งได้แก่ ความสอดคล้องของความเชื่อ 
1.1) ระหว่างบุคคล 
1.2) ระหว่างสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกัน และ 1.3) ระหว่างความเชื่อกับการสังเกตในเชิงประจักษ์ โดยดาเนินการดังนี้ 
2) สุ่มตัวแทนกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่ม มาเสนอวิธีหาคาตอบของปัญหา A ต่อกลุ่มใหญ่ กลุ่ม อื่นๆ เสนอตัวอย่างค้าน หรือเหตุผลมาค้านวิธีหาคาตอบที่ยังค้านได้ ถ้าไม่มีนักเรียนกลุ่มใด สามารถเสนอตัวอย่างค้านหรือเหตุผลมาค้านวิธีหาคาตอบที่ยังค้านได้ ครูจึงเป็นผู้เสนอเอง วิธีที่ถูก ค้านจะตกไป ส่วนวิธีที่ไม่ถูกค้านจะเป็นที่ยอมรับของกลุ่มใหญ่ว่าสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการหา คาตอบของปัญหาใด ๆ ที่อยู่ในกรอบของโครงสร้างความสัมพันธ์เดียวกันนั้นได้ ตลอดช่วงเวลาที่ยัง ไม่มีผู้ใดสามารถหาหลักฐานมาค้านได้ ซึ่งอาจมีมากกว่า 1 วิธี 
3) ครูเสนอวิธีหาคาตอบของปัญหา A ที่ครูเตรียมไว้ต่อกลุ่มใหญ่ เมื่อพบว่าไม่มีกลุ่มใดเสนอ ในแบบที่ตรงกับวิธีที่ครูเตรียมไว้ ถ้ามี ครูก็ไม่ต้องเสนอ 
4) นักเรียนแต่ละคนสร้างปัญหา C ซึ่งมีโครงสร้างความสัมพันธ์เหมือนกับปัญหา A ตาม กฎการสร้างการอุปมาอุปไมยของเจนท์เนอร์ดังกล่าวแล้วในข้อ (2) เลือกวิธีหาคาตอบจากวิธีซึ่งเป็นที่ ยอมรับของกลุ่มใหญ่ มาหาคาตอบของปัญหา C
4 
5) นักเรียนแต่ละคนเขียนโจทย์ของปัญหา C ที่ตนสร้างขึ้นลงในแผ่นกระดาษพร้อมชื่อผู้สร้าง ปัญหา ส่งครู ครูนาแผ่นโจทย์ปัญหาของนักเรียนมาคละกันแล้วแจกให้นักเรียนทั้งห้องคน ละ 1 แผ่น 
6) นักเรียนทุกคนหาคาตอบของปัญหาที่โจทย์ได้รับ ด้วยวิธีการหาคาตอบที่เลือกมาจากวิธีที่ เป็นที่ยอมรับของกลุ่มใหญ่แล้ว แล้วตรวจสอบคาตอบกับเจ้าของปัญหา ถ้าคาตอบขัดแย้งกัน ผู้ แก้ปัญหาและเจ้าของปัญหาจะต้องช่วยกันค้นหาจุดที่เป็นต้นเหตุแห่งความขัดแย้ง และช่วยกันขจัดความ ขัดแย้ง 
ขั้นตอนที่ 3 สรุปผลการสร้างโครงสร้างใหม่ทางปัญญา ครูและนักเรียนช่วยกันสรุป กระบวนการคิดคานวณ หรือกระบวนการแก้โจทย์ปัญหาที่ นักเรียนได้ช่วยกันสร้างขึ้นจากกิจกรรมในขั้นตอนที่ 2 ให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปไว้
5 
4. วิธีสอนแบบสาธิต 
เป็นวิธีสอนที่ครูแสดงให้นักเรียนดูและให้ความรู้แก่นักเรียนโดยใช้สื่อการเรียนรู้ที่เป็นรูปธรรม และผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรง การสอนแบบสาธิตแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ได้แก่ ผู้สอนเป็นผู้ สาธิต ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสาธิต ผู้เรียนสาธิตเป็นกลุ่ม ผู้เรียนสาธิตเป็นรายบุคคล วิทยากร เป็นผู้สาธิต และการสาธิตแบบเงียบโดยให้นักเรียนสังเกตเอง 
ขั้นตอนของการสอนแบบสาธิต 
1.ขั้นเตรียมการสอน 
1.1 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้โดยวิธีการสาธิต 
1.2 ศึกษาเนื้อหาสาระให้ชัดเจน และจัดลาดับให้เหมาะสม 
1.3 เตรียมกิจกรรมให้ผู้เรียนปฏิบัติ 
1.4 เตรียมสื่อ อุปกรณ์ เอกสารให้เพียงพอกับผู้เรียน 
1.5 กาหนดเวลาการสาธิตให้พอเหมาะ 
1.6 กาหนดวิธีการประเมินผล 
1.7 เตรียมสภาพห้องเรียน 
1.8 ทดลองสาธิตก่อนสอนจริงในห้องเรียน 
2.ขั้นสาธิต 
2.1 แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระที่จะเรียนรู้ 
2.2 บอกให้นักเรียนรู้บทบาทของตนเอง ได้แก่ การทดลองปฏิบัติ การจดบันทึก การสรุป 
2.3 แนะนาสื่อการเรียนรู้ 
2.4 ดาเนินการสาธิต 
3.ขั้นสรุป 
3.1 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปผลที่เกิดจากการสาธิต 3.2 บันทึกขั้นตอนการสาธิตพร้อมทั้งผลที่เกิดขึ้น 
4.ขั้นวัดและประเมินผล 
4.1 ผู้เรียนทดลองสาธิตให้ผู้อื่นดูพร้อมทั้งบอกผลและข้อคิดที่ได้ 
4.2 ให้เขียนรายงาน ตอบคาถามจากแบบฝึกหัด และแสดงความคิดเห็น 
ข้อดีของการสอนแบบสาธิต 
1. นักเรียนได้ประสบการณ์ตรง 
2. สร้างความสนใจ และความกระตือรือร้น 
3. ฝึกการสังเกต การสรุปผล การบันทึก และการจัดขั้นตอน 
ข้อจากัดของการสอนแบบสาธิต 
1. การสาธิตบางครั้งไม่สามารถใช้กับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ 
2. ผู้สอนต้องแนะนาขั้นตอน อุปกรณ์ ที่ใช้ในการสาธิตอย่างชัดเจน 
3. ผู้สอนต้องทดลองการสาธิตก่อนสอนให้แม่นยาเพื่อลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น
6 
5. การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Method) 
ความหมาย เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนค้นหาคาตอบ หรือความรู้ด้วยตนเองโดยผู้สอนจะเป็น ผู้สร้างสถานการณ์ในลักษณะที่ผู้เรียนจะเผชิญกับปัญหาเป็นวิธีจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการ เหมาะ สาหรับวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์แต่ก็สามารถใช้กับวิธีอื่น ๆ ได้ ในการแก้ปัญหานั้นผู้เรียน จะต้องนาข้อมูลทาการวิเคราะห์สังเคราะห์และสรุปเพื่อให้ได้ข้อค้นพบใหม่หรือเกิดความคิดรวบยอดใน เรื่องนั้น ขั้นตอนการสอน 1.ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 1.1ผู้สอนกระตุ้นและเร้าความสนใจของผู้เรียนให้สนใจที่จะศึกษาบทเรียน 2.ขั้นเรียนรู้ประกอบด้วย 2.1ผู้สอนใช้วิธีจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยในตอนแรกเพื่อให้ผู้เรียนค้นพบข้อสรุป 2.2 ผู้สอนใช้วิธีตัดการเรียนรู้ แบบนิรนัย เพื่อให้ผู้เรียนนาข้อสรุปที่ได้ในข้อ 2 ไปใช้เพื่อ เรียนรู้หรือค้นพบข้อสรุปใหม่ในตอนที่สองโดยอาศัยเทคนิคการซักถามโต้ตอบหรืออภิปรายเพื่อเป็น แนวทางในการค้นพบ 2.3ผู้เรียนสรุปข้อค้นพบหรือความคิดรวบยอดใหม่ 3ขั้นนาไปใช้ 3.1 ผู้สอนให้ผู้เรียนนาเสนอแนวทางการนาข้อค้นพบที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาอาจใช้วิธีการ ให้ทาแบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อประเมินผลว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จริงหรือไม่ เปฺาหมาย 1.เพื่อช่วยให้ผู้เรียนคิดอย่างมีเหตุผล 2.เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง 3.เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความมั่นใจ 4.เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทางด้านความคิด 5.เพื่อช่วยปลูกฝังนิสัยรักการอ่านค้นคว้าเพื่อหาคาตอบด้วยตนเอง 6.เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียน 7.เพื่อช่วยให้ผู้เรียนรู้วิธีสร้างความรู้ด้วยตนเอง เช่น การหาข้อมูลการวิเคราะห์และสรุปข้อความรู้ 
ข้อดี 1. ด้านผู้เรียนช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การค้นหาคาตอบ หรือความรู้ด้วยตัวเองและได้พัฒนาความคิด ของตนเอง 2.ด้านผู้สอนสามารถประเมินได้ว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ (เข้าใจ)หรือไม่ 
ข้อเสีย 1. ด้านผู้เรียน เหมาะสาหรับผู้เรียนที่ฉลาดมีความเชื่อมั่นในตนเองและมีแรงจูงใจสูง 2.ด้านผู้สอนหรือผู้นาเสนอจะต้องมีวิธีการการจัดการเรียนรู้ไว้หลากหลายวิธี
7 
6. วิธีสอนโดยการใช้สื่อ(Media) 
วิธีสอนโดยการใช้สื่อ คือ กระบวนการที่ผู้สอนได้ใช้วัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์ รวมทั้ง วิธีการต่างๆ เป็นตัวกลางในการสื่อความหมายใดๆ เพื่อถ่ายทอดความรู้ไปสู่ผู้เรียนตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ กาหนดไว้ เนื่องจากเนื้อหาสาระในวิชาคณิตศาสตร์ส่วนมากล้วนเป็นนามธรรม ยากต่อการเข้าใจ จึง จาเป็นต้องใช้สื่อมาช่วยให้เกิดความเป็นรูปธรรมมากขึ้น เช่น มีการใช้แบบจาลองรูปเรขาคณิต ใช้ สิ่งของมาอธิบายในเรื่อง การบวก ลบ คูณ หาร เป็นต้น 
วัตถุประสงค์ของวิธีสอนโดยการใช้สื่อ 
เป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้ ด้วยการทาสิ่งที่ ซับซ้อนหรือเป็นนามธรรมเข้าใจยาก ให้เป็นรูปธรรมที่เห็นภาพชัดเจนและเข้าใจง่าย ช่วยทาให้ผู้เรียน เกิดความสนใจและสามารถเรียนรู้ได้ในปริมาณที่มากขึ้น 
ขั้นตอนการสอนโดยการใช้สื่อ 
การใช้สื่อการสอนนั้นอาจจะใช้เฉพาะขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งของการสอน หรือจะใช้ในทุกขั้นตอนก็ ได้ ดังนี้ 
1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 
- เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในเนื้อที่กาลังจะเรียน 
- สื่อที่ใช้ในขั้นนี้ควรเป็นสื่อแสดงเนื้อหากว้างๆ หรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนในครั้งก่อน เพื่อบอกให้ ผู้เรียนทราบว่าในวันนี้จะเรียนเรื่องไร 
-ควรเป็นสื่อที่ง่ายต่อการนาเสนอในระยะเวลาอันสั้น เช่น ภาพ บัตรคา บัตรปัญญา เป็น ต้น 
2. ขั้นดาเนินการสอน 
- เป็นขั้นที่จะให้ความรู้เนื้อหาอย่างละเอียด เพื่อสนองวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ 
- ต้องเลือกสื่อให้ตรงกับเนื้อหาและวิธีการสอน หรืออาจจะใช้สื่อประสมก็ได้ 
- ต้องมีการจัดลาดับขั้นตอนการใช้สื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียน 
- การใช้สื่อในขั้นนี้จะต้องให้ผู้เรียนได้รับความรู้นั้นอย่างละเอียดถูกต้องแล้วชัดเจนเช่น แผนภูมิ ภาพยนตร์ สไลด์ แผ่นโปร่งใส่ วีดิทัศน์ ชุดการเรียน เป็นต้น 
3. ขั้นฝึกปฏิบัติ 
- เป็นขั้นที่จะเพิ่มพูนประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน เพื่อให้ได้ทดลองนาความรู้ด้านทฤษฎี หรือ หลักการที่เรียน มาแล้วไปใช้แก้ปัญหาในขั้นฝึกหัดโดยลงมือปฏิบัติเอง 
- ควรเป็นสื่อที่เป็นประเด็นปัญหาให้ผู้เรียนได้ขบคิด โดยผู้เรียนเป็นผู้ใช้สื่อเองให้มาก ที่สุด เช่น สมุด 
แบบฝึกหัด ภาพ บัตรปัญหา แถบบันทึกเสียง ชุดการเรียนรายบุคคล ชุดฝึก ชุด ทดลอง เป็นต้น 
4. ขั้นสรุปบทเรียน
8 
-เป็นขั้นที่จะย้าเนื้อหา บทเรียนให้ผู้เรียนมีความเข้าใจที่ถูกต้องและตรงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ด้วย 
-สื่อที่ใช้สรุปจึงควรครอบคลุมเนื้อหาที่สาคัญทั้งหมดโดยย่อและใช้เวลาน้อย เช่น แผนภูมิ แผ่น โปร่งใส เป็นต้น
9 
ข้อดีของการใช้สื่อ 
1) ช่วยให้คุณภาพการเรียนรู้ดีขึ้น ผู้เรียนสามารถจาได้มากและนานขึ้น 
2) ช่วยให้ผู้เรียนรู้ในปริมาณมากขึ้นในเวลาที่กาหนดไว้ 
3) ช่วยให้ผู้เรียนมีความสนใจและมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ 
ข้อเสียของการใช้สื่อ 
1) ในการใช้สื่อบางชนิด ต้องเสียค่าใช้จ่ายการซื้อเครื่อง และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เช่น โปร เจ็กเตอร์ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น 
2) สื่อบางชนิด เหมาะสาหรับการศึกษาเป็นกลุ่มย่อย เช่น สื่อวัสดุ 3 มิติ วัสดุกราฟิก เป็นต้น 
3) ในการใช้สื่อแต่ละชนิด ผู้ใช้จะต้องมีความรู้ความชานาญในการใช้สื่อนั้นๆ อย่างแท้จริง มิฉะนั้นจะทาให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจผิดในเนื้อหาสาระที่เรียนได้
10 
7. รูปแบบการเรียนรู้โมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : โมเดลซิปปา (Cippa Model) หรือ รูปแบบการประสานห้าแนวคิด พบว่าแนวคิดจานวนหนึ่งสามารถใช้ได้ผลดีตลอดมา จึงได้นาแนวคิด เหล่านั้นมาประสานกันเกิดเป็นแบบแผนขึ้น แนวคิดดังกล่าวได้แก่ แนวคิดการสร้างความรู้ แนวคิด กระบวนการกลุ่มและการเรียนรู้แบบร่วมมือ แนวคิดเกี่ยวกับความพร้อมในการเรียนรู้ แนวคิดเกี่ยวกับ กระบวนการเรียนรู้และแนวคิดเกี่ยวกับการถ่ายโอนความรู้ เมื่อนาแนวคิดดังกล่าวมาจัดการเรียนการ สอนพบว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนได้ครบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญาและ สังคม 
เปฺาหมาย :โดยหลักการของโมเดลซิปปา ได้ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ในตัว หลักการ 
คือ การช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนมีบทบาทและมีส่วนร่วมใน กระบวนการเรียนรู้ให้มากที่สุด มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและได้เรียนรู้จากกันและกัน มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ ความคิดเห็นและประสบการณ์ ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ ร่วมกับการผลิตผลงาน ซึ่งมีความคิดสร้างสรรค์ที่หลากหลายและสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ให้นักเรียนเป็น ผู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองตามแนวคิด Constructivism. 
ความหมายของ CIPPA 
C มาจากคาว่า Construct หมายถึง การสร้างความรู้ตามแนวคิด ของ Constructiviism. กล่าวคือ เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วย ตนเอง ทาความเข้าใจ เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมายแก่ตนเอง และค้นพบความรู้ด้วยตนเอง เป็น กิจกรรมที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางสติปัญญา 
I มาจากคาว่า Interaction หมายถึง การช่วยให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีจะต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล และ แหล่งความรู้ที่หลากหลาย ได้รู้จักกันและกัน ได้แลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ ความคิดประสบการณ์ แก่กัน และกันให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนทางสังคม 
P มาจากคาว่า Physical Participation หมายถึง การช่วยให้ ผู้เรียนมีบทบาท มีส่วนร่วมทางด้านร่างกาย ให้ผู้เรียนมีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกาย โดยการทา กิจกรรมในลักษณะต่างๆ ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางด้านร่างกาย 
P มาจากคาว่า Process Learning หมายถึง การเรียนรู้ กระบวนการ ต่างๆ ของกิจกรรมการเรียนรู้ที่ดี ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการ ต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต 
A มาจากคาว่า Application หมายถึง การนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ ซึ่ง จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์จากการเรียน เป็นการช่วยผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในลักษณะใดลักษณะ หนึ่งในสังคม และชีวิตประจาวัน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เพิ่มเติมขึ้นเรื่อยๆจากแนวคิดในการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า หลักของโมเดลซิป ปา (CIPPA MODEL) ซึ่งได้รูปแบบการเรียนการสอนซึ่งสามารถประยุกต์ใช้จัดกิจกรรมการเรียน การสอน 
มีขั้นตอนสาคัญดังนี้
11 
1.ขั้นทบทวนความรู้เดิม ขั้นนี้เป็นการดึงความรู้ของผู้เรียนในเรื่องที่เรียนเพื่อช่วยให้ผู้เรียนมี ความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิมของตน 
2. ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่ ขั้นนี้เป็นการแสวงหาข้อมูล ความรู้ใหม่ที่ผู้เรียนยังไม่มีจาก แหล่งข้อมูลหรือแหล่งความรู้ต่างๆ ซึ่งครูอาจเตรียมมาให้ผู้เรียนหรือให้คาแนะนาเกี่ยวกับแหล่งข้อมูล ต่างๆเพื่อให้ผู้เรียนไปแสวงหาก็ได้
12 
3. ขั้นการศึกษาทาความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม ขั้นนี้ เป็นขั้นที่ผู้เรียนเผชิญปัญหา และทาความเข้าใจกับข้อมูล ผู้เรียนจะต้องสร้างความหมายของ ข้อมูล ประสบการณ์ใหม่ๆ โดยใช้กระบวนการต่างๆ ด้วยตนเอง เช่นใช้กระบวนการคิด และ กระบวนการกลุ่มในการอภิปรายและสรุปผลความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้น ซึ่งอาจจาเป็นต้องอาศัยการ เชื่อมโยงความรู้เดิม มีการตรวจสอบความเข้าใจต่อตนเองหรือกลุ่ม โดยครูใช้สื่อและย้ามโนมติในการ เรียนรู้ 
4. ขั้นการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม ขั้นนี้เป็นขั้นที่ผู้เรียนอาศัยกลุ่มเป็น เครื่องมือ ในการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของตนเอง รวมทั้งขยายความรู้ความเข้าใจของตนให้ กว้างขึ้น ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนได้แบ่งปันความรู้ความเข้าใจของตนเองแก่ผู้อื่นและได้รับประโยชน์จาก ความรู้ ความเข้าใจของผู้อื่นไปพร้อมๆกัน 
5. ขั้นการสรุปและจัดระเบียบความรู้ ขั้นนี้เป็นขั้นของการสรุปความรู้ที่ได้รับทั้งหมด ทั้งความรู้ เดิมและความรู้ใหม่ และจัดสิ่งที่เรียนรู้ให้เป็นระบบระเบียบ เพื่อช่วยให้จดจาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย 
6. ขั้นการแสดงผลงาน ขั้นนี้เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสได้แสดงผลงานการสร้างความรู้ ของตนเองให้ผู้อื่นรับรู้ เป็นการช่วยให้ผู้เรียนตอกย้า หรือตรวจสอบ เพื่อช่วยให้จดจาสิ่งที่เรียนรู้ได้ ง่าย 
7. ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้ ขั้นนี้เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการนาความรู้ ความเข้าใจ ของตนเองไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆที่หลากหลายเพื่อเพิ่มความชานาญ ความเข้าใจ ความสามารถใน การแก้ปัญหาและความจาในเรื่องนั้น การวิพากษ์ วิจารณ์รูปแบบการเรียนรู้โมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) น่าจะเหมาะสมที่สุดเพราะ ในรูปแบบนี้จะเน้นตัวนักเรียนเป็นสิ่งสาคัญและ อาจารย์มีการสอน แบบเอาความรู้เดิมมาทบทวน แล้วค่อยสอนความรู้ใหม่ให้แก่นักเรียนแล้วอธิบายถึงความหมายหรือให้ นักเรียนคิดและหาความหมายของเรื่องนั้นๆ แล้วสรุปออกมาเป็นความเข้าใจของเราเอง ดังนั้นแล้วได้ เอาความรู้เก่ากับความรู้ใหม่มาใช้รวมกันให้เกิดประโยชน์ มากขึ้นและให้เกิดความเข้าใจให้มากยิ่งขึ้น ดังนั้นจึงคิดว่ารูปแบบของรูปแบบการเรียนรู้โมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) เหมาะสมในการนา รูปแบบนี้มาให้กับคณิตศาสตร์
13 
8. วิธีสอนโดยใช้การนิรนัย (Deduction) 
“เป็นการสอนจากหลักการไปสู่ตัวอย่างย่อยๆ ผู้เรียนมีโอกาสได้ฝึกฝนการนาหลักการไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่” 
ความหมาย 
วิธีการสอนโดยใช้การนิรนัย คือกระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม วัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยการช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎี หลักการ กฎ หรือ ข้อสรุปในเรื่องที่เรียน แล้วจึงให้ตัวอย่างหลาย ๆ ตัวอย่างเกี่ยวกับการใช้ทฤษฎี/ หลักการ / กฎ หรือข้อสรุปนั้น หรืออาจให้ผู้เรียนฝึกนาทฤษฎี/ หลักการ/ กฎ หรือข้อสรุปนั้นไปในสถานการณ์ใหม่ ๆ ที่หลากหลาย เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในทฤษฎี/ หลักการ/ กฎ หรือข้อสรุปนั้น ๆ อย่าง ลึกซึ้งขึ้น หรือกล่าวสั้น ๆ ได้ว่าเป็นการสอนจากหลักการไปสู่ตัวอย่างย่อย ๆ 
เปฺาหมาย 
วิธีการสอนโดยใช้การนิรนัยเป็นวิธีการที่มุ่งช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้หลักการและสามารถนา หลักการดังกล่าวไปใช้ได้ 
1.ขั้นตอนสาคัญ (ที่ขาดไม่ได้) ของการสอน 
1.1 ผู้สอนถ่ายทอดความรู้ / ทฤษฎี / หลักการ / กฎ / ข้อสรุปที่ต้องการให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้ ด้วยวิธีการต่าง ๆ ตามความเหมาะสม 
1.2 ผู้สอนให้ตัวอย่างสถานการณ์ใหม่ที่หลากหลายที่สามารถนาความรู้ที่ได้เรียนมาไปใช้ 
1.3 ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัตินาความรู้ ความเข้าใจที่เกิดขึ้นไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ 
1.4 ผู้สอนให้ผู้เรียนวิเคราะห์และอภิปรายการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น 
1.5 ผู้สอนวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน 
2.ข้อดีและข้อจากัด 
ข้อดี 
1) เป็นวิธีสอนที่ช่วยถ่ายทอดเนื้อหาสาระได้อย่างรวดเร็วและไม่ยุ่งยาก 
2) เป็นวิธีสอนที่ผู้เรียนมีโอกาสได้ฝึกฝนการนาทฤษฎี / หลักการไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ ๆ 
3) เป็นวิธีสอนที่เอื้ออานวยให้ผู้เรียนที่มีความสามารถหรือเรียนรู้ได้เร็วสามารถพัฒนาโดยไม่ต้อง รอผู้เรียนที่ช้ากว่า 
ข้อจากัด 
1) เป็นวิธีสอนที่ผู้สอนจาเป็นต้องเตรียมตัวอย่าง / สถานการณ์ / ปัญหาที่หลากหลายมาให้ ผู้เรียนได้ฝึกทา 
2) เป็นวิธีสอนที่ขึ้นกับความเข้าใจและความสามารถของผู้สอนในการนาเสนอทฤษฎี หลักการ 
3) เป็นวิธีสอนที่ผู้เรียนที่เรียนรู้ได้ช้า อาจจะตามไม่ทันเพื่อน และเกิดปัญหาในการเรียนรู้
14 
ขั้นที่ 1 ขั้นสาธิตทักษะหรือการกระทา ขั้นนี้เป็นขั้นที่ให้ผู้เรียนได้เห็นทักษะหรือการ กระทาที่ต้องการให้ผู้เรียนทาได้ในภาพรวม โดยสาธิตให้ผู้เรียนดูทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบ ทักษะ หรือ การกระทาที่สาธิตให้ผู้เรียนดูนั้น จะต้องเป็นการกระทาในลักษณะที่เป็นธรรมชาติ ไม่ช้าหรือเร็วเกิน ปกติ ก่อนการสาธิต ครูควรให้คาแนะนาแก่ผู้เรียนในการสังเกต ควรชี้แนะจุดสาคัญที่ควรให้ความสนใจ เป็นพิเศษในการสังเกต 
วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 
รูปแบบนี้มุ่งช่วยพัฒนาความสามารถด้านทักษะปฏิบัติของผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทักษะที่ประกอบด้วยทักษะย่อยจานวนมาก 
กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ 
ขั้นที่ 1 ขั้นสาธิตทักษะหรือการกระทา ขั้นนี้เป็นขั้นที่ให้ผู้เรียนได้เห็นทักษะหรือการ กระทาที่ต้องการให้ผู้เรียนทาได้ในภาพรวม โดยสาธิตให้ผู้เรียนดูทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบ ทักษะ หรือ การกระทาที่สาธิตให้ผู้เรียนดูนั้น จะต้องเป็นการกระทาในลักษณะที่เป็นธรรมชาติ ไม่ช้าหรือเร็วเกิน ปกติ ก่อนการสาธิต ครูควรให้คาแนะนาแก่ผู้เรียนในการสังเกต ควรชี้แนะจุดสาคัญที่ควรให้ความสนใจ เป็นพิเศษในการสังเกต 
ขั้นที่ 2 ขั้นสาธิตและให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย เมื่อ ผู้เรียนได้เห็นภาพรวมของการ กระทาหรือทักษะทั้งหมดแล้ว ผู้สอนควรแตกทักษะทั้งหมดให้เป็นทักษะย่อย ๆ หรือแบ่งสิ่งที่กระทา ออกเป็นส่วนย่อย ๆ และสาธิตส่วนย่อยแต่ละส่วนให้ผู้เรียนสังเกตและทาตามไปทีละส่วนอย่างช้า ๆ 
ขั้นที่ 3 ขั้นให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย ผู้ เรียนลงมือปฏิบัติทักษะย่อยโดยไม่มีการ สาธิตหรือมีแบบอย่างให้ดู หากติดขัดจุดใด ผู้สอนควรให้คาชี้แนะ และช่วยแก้ไขจนกระทั่งผู้เรียนทาได้ เมื่อได้แล้วผู้สอนจึงเริ่มสาธิตทักษะย่อยส่วนต่อไป และให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อยนั้นจนทาได้ ทาเช่นนี้ เรื่อยไปจนกระทั่งครบทุกส่วน 
ขั้นที่ 4 ขั้นให้เทคนิควิธีการ เมื่อ ผู้เรียนปฏิบัติได้แล้ว ผู้สอนอาจแนะนาเทคนิค วิธีการที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถทางานนั้นได้ดีขึ้น เช่น ทาได้ประณีตสวยงามขึ้น ทาได้รวดเร็วขึ้น ทา ได้ง่ายขึ้น หรือสิ้นเปลืองน้อยลง เป็นต้น 
9. รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ 
( Davies’ Instructional Model for Psychomotor Domain ) 
ทฤษฎี/หลักการ/แนวคิดของรูปแบบ 
เดวีส์ (Davies, 1971: 50-56) ได้นาเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติไว้ ว่า ทักษะส่วนใหญ่จะประกอบไปด้วยทักษะย่อย ๆ จานวนมาก การฝึกให้ผู้เรียนสามารถทาทักษะย่อย ๆ เหล่านั้นได้ก่อนแล้วค่อยเชื่อมโยงต่อกันเป็นทักษะใหญ่ จะช่วยให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จได้ดีและเร็วขึ้น 
วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 
รูปแบบนี้มุ่งช่วยพัฒนาความสามารถด้านทักษะปฏิบัติของผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทักษะที่ประกอบด้วยทักษะย่อยจานวนมาก 
กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ
15 
ขั้นที่ 5 ขั้น ให้ผู้เรียนเชื่อมโยงทักษะย่อย ๆ เป็นทักษะที่สมบูรณ์ เมื่อผู้เรียน สามารถปฏิบัติแต่ละส่วนได้แล้ว จึงให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย ๆ ต่อเนื่องกันตั้งแต่ต้นจนจบ และฝึก ปฏิบัติหลาย ๆ ครั้ง จนกระทั่งสามารถปฏิบัติทักษะที่สมบูรณ์ได้อย่างชานาญ
16 
ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนตามรูปแบบ 
ผู้เรียนจะสามารถปฏิบัติทักษะได้เป็นอย่างดี มีประสิทธิภาพวิพากษ์วิจารณ์ 
รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ดังกล่าวเป็น รูปแบบการฝึกฝนที่เน้นทักษะ พิสัย คือเน้น กระบวนการปฎิบัติโดยส่วนใหญ่ ซึ่งเหมาะสมที่จะนาไปปรับใช้หรือประยุกต์ใช้ในการ เรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เพราะ การเรียนคณิตศาสตร์ ที่ดีและได้ผล ควรฝึก ปฎิบัติบ่อยๆ เช่น ฝึกทาโจทย์ทางคณิตศาสตร์บ่อยๆ ท่องสูตรต่างๆ เป็นต้น แต่ทั้งนี้หาก ผู้สอนหรือผู้ที่สนใจจะนารูปแบบดังกล่าวไปปรับใช้ควรมีเทคนิคการสอนพอควร และหากให้มีการฝึกฝน ควรมีการทดสอบเพื่อวัดผลและประเมินว่าผู้เรียนมีความเข้าใจในเนื้อหามากน้อยเพียงใด รวมถึงจะ เป็นแนวทางในการประเมินการสอนของผู้สอนอีกด้วย 
10. วิธีสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) 
เป็นวิธีสอนที่ผู้สอนให้ความรู้ตามเนื้อหาสาระด้วยการเล่าอธิบายแสดงสาธิตโดยที่ผู้เรียนเป็น ผู้ฟังเพียงอย่างเดียวอาจเปิดโอกาสให้ซักถามปัญหาได้บ้างในตอนท้ายของการบรรยาย 
ความมุ่งหมายของวิธีสอนแบบบรรยาย 
1. เป็นการสอนที่เน้นเนื้อหาสาระที่นาเสนอโดยครูผู้สอนผู้บรรยายจะเสนอปัญหาวิธีการ 
ต่างๆในการแก้ปัญหาและสรุปด้วยว่าวิธีการใดเป็นวิธีการแก้ปัญหาที่ดีที่สุดตามหลักการ 
2. เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้หลายๆแนวคิดก่อนที่จะสรุปเป็นข้อคิดหรือทางเลือกที่เหมาะสม 
ข้อดีของวิธีสอนแบบบรรยาย 
1. ดาเนินการสอนได้รวดเร็ว 
2. ง่ายต่อการสอนเพราะไม่ต้องเตรียมสื่อการสอนเพียงแต่ครูเตรียมเนื้อหาสาระที่จะสอนล่วงหน้าก็ เพียงพอ 
3. สามารถใช้สอนได้ในเวลาอันจากัดส่งเสริมทักษะในการย่อและเขียนสรุป 
ข้อสังเกตของวิธีสอนแบบบรรยาย 
1. หากผู้เรียนมีความตั้งใจฟังการบรรยายจะช่วยเสริมทักษะในการสรุปความ 
2. ผู้สอนต้องรู้จักการสร้างบรรยากาศด้วยวาทศิลป์เพื่อมิให้ผู้ฟังสูญเสียความสนใจ 
3. สาระที่ได้จากการบรรยายมิได้เกิดจากการเรียนรู้ที่เกิดกับผู้เรียนโดยตรงแต่เป็นสาระความรู้ที่ได้จาก การบอกเล่าจากครูผู้สอน 
4. ความรู้ที่ได้รับจากการฟังเพียงอย่างเดียวอาจลืมง่ายเป็นความทรงจาที่ไม่ถาวร
17 
11. การจัดการเรียนการสอนแบบ TGT (Teams – Games - Tournaments) 
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือตามรูปแบบ TGT เป็นการเรียนแบบร่วมมือกันแข่งขันทา กิจกรรม โดยมีขั้นตอนการจัดกิจกรรมดังนี้ ขั้นที่ 1ครูทบทวนบทเรียนที่เรียนมาแล้วครั้งก่อน ด้วยการซักถามและอธิบาย ตอบข้อสงสัยของ นักเรียน ขั้นที่ 2 จัดกลุ่มแบบคละกัน (Home Team) กลุ่ม 3-4 คน ขั้นที่ 3 แต่ละทีมศึกษาหัวข้อที่เรียนในวันนี้จากแบบฝึก (Worksheet And Answer Sheet) นัก เรียนแต่ละคนทาหน้าที่และปฏิบัติตามกติกาของCooperative Learning เช่น เป็นผู้จดบันทึก ผู้ คานวณ ผู้สนับสนุน เมื่อสมาชิกทุกคนเข้าใจและสามารถทาแบบฝึกหัดได้ถูกต้องทุกข้อ ทีมจะเริ่มทาการ แข่งขันตอบปัญหา ขั้นที่ 4 การแข่งขันตอบปัญหา (Academic Games Tournament) 4.1ครูทาหน้าที่เป็นผู้จัดการห้องเรียน โดยแบ่งตามความสามารถของนักเรียน เช่น โต๊ะที่ 1 เป็นโต๊ะแข่งขันสาหรับนักเรียนที่มีความสามารถเก่งมาก โต๊ะที่ 2 และ 3 เป็นโต๊ะแข่งขันสาหรับนักเรียนที่มีความสามารถปานกลาง โต๊ะที่ 4 เป็นโต๊ะที่แข่งขันสาหรับนักเรียนที่มีความสามารถอ่อน 4.2 ครูแจกซองคาถามจานวน 10 คาถามให้ทุกโต๊ะ (เป็นคาถามเหมือนกัน) 4.3 นักเรียนเปลี่ยนกันหยิบซองคาถามทีละ 1 ซอง (1 คาถาม) แล้ววางลงกลางโต๊ะ 4.4 นักเรียน 3 คนที่เหลือคานวณหาคาตอบ จากคาถามที่ อ่าน 4.3 เขียนคาตอบลงในกระดาษคาตอบที่แต่ละคนมีอยู่ 4.5 นักเรียนคนที่ทาหน้าที่อ่านคาถามจะเป็นคนให้คะแนน โดยมีกติกาการให้คะแนน ดังนี้ 4.5.1 ผู้ตอบถูกเป็นคนแรก จะได้ 2 คะแนน 4.5.2 ผู้ตอบถูกคนต่อไป จะได้คนละ 1 คะแนน 4.5.3 ถ้าตอบผิด ให้ 0 คะแนน 4.6 ทาขั้นตอนที่ 4.3 - 4.5 โดยผลัดกันอ่านคาถามจนกว่าคาถามจะหมด 4.7 นักเรียนทุกคนรวมคะแนนของตัวเอง โดยที่ทุกคนควรได้ตอบคาถามจานวนเท่าๆ กัน จัดลาดับของคะแนนที่ได้ ซึ่งกาหนดโบนัสของแต่ละโต๊ะดังนี้ 
โบนัส ผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดที่ 1ประจาโต๊ะแต่ละโต๊ะ จะได้โบนัส 10 แต้ม ผู้ที่ได้คะแนนรองที่ 2 ประจาโต๊ะแต่ละโต๊ะ จะได้โบนัส 8 แต้ม ผู้ที่ได้คะแนนรองที่ 3 ประจาโต๊ะแต่ละโต๊ะ จะได้โบนัส 6 แต้ม ผู้ที่ได้คะแนนน้อยที่สุด ประจาโต๊ะแต่ละโต๊ะ จะได้โบนัส 4 แต้ม ขั้นที่ 5นักเรียนกลับมากลุ่มเดิม (Home Team) รวมแต้มโบนัสของทุกคน ทีมใดที่มีแต้มโบนัสสูงสุด จะให้รางวัลหรือติดประกาศไว้ในมุมข่าวของห้อง
18 
12. เทคนิค TGT (Team - Games – Tournament) 
เทคนิคการจัดกิจกรรม TGT เป็นเทคนิครูปแบบหนึ่งในการสอนแบบร่วมมือและมีลักษณะของ กิจกรรมคล้ายกันกับ STAD แต่เพิ่มเกมและการแข่งขันเข้ามาด้วย เหมาะสาหรับการจัดการเรียนการ สอนในจุดประสงค์ที่มีคาตอบถูกต้องเพียงคาตอบเดียว 
องค์ประกอบ 4 ประการ ของ TGT 1. การสอน เป็นการนาเสนอความคิดรวบยอดใหม่หรือบทเรียนใหม่ อาจเป็นการสอนตรงหรือจัดใน รูปแบบของการอภิปราย หรือกลุ่มศึกษา 2. การจัดทีม เป็นขั้นตอนการจัดกลุ่ม หรือจัดทีมของนักเรียน โดยจัดให้คละกันทั้งเพศ และ ความสามารถและทีมจะต้องช่วยกันและกัน ในการเตรียมความพร้อมและความเข้มแข็งให้สมาชิกทุกคน 3. การแข่งขัน การแข่งขันมักจัดในช่วงท้ายสัปดาห์หรือท้ายบทเรียน ซึ่งจะใช้คาถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่ เรียนมาในข้อ 1 และผ่านการเตรียมความพร้อมของทีมมาแล้วการจัดโต๊ะแข่งขันจะมีหลายโต๊ะ แต่ละโต๊ะ จะมีตัวแทนของกลุ่ม/ทีม แต่ละทีมมาร่วมแข่งขัน ทุกโต๊ะการแข่งขันควรเริ่มดาเนินการเพื่อนาไปเทียบหา ค่าคะแนนโบนัส 4. การยอมรับความสาเร็จของทีม ให้นาคะแนนโบนัสของแต่ละคนในทีมมารวมกันเป็นคะแนนของทีม และหาค่าเฉลี่ยทีมที่มีค่าสูงสุด จะได้รับการยอมรับให้เป็นทีมชนะเลิศ โดยอาจเรียกชื่อทีมที่ได้ชนะเลิศ กับ รองลงมา โดยใช้ชื่อเก๋ ๆ ก็ได้ หรืออาจให้นักเรียนตั้งชื่อเอง และควรประกาศผลการแข่งขันในที่ สาธารณะด้วย 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูสอนความคิดรวบยอดใหม่ หรือบทเรียนใหม่ โดยอาจใช้ใบความรู้ให้นักเรียนได้ศึกษา หรือใช้ กิจกรรมการศึกษาหาความรู้รูปแบบอื่นตามที่ครูเห็นว่าเหมาะสม 2. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4 – 5 คน เพื่อปฏิบัติตามใบงาน 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมความพร้อมให้กับสมาชิกในกลุ่มทุกคน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจใน บทเรียนและพร้อมที่จะเข้าสู่สนามแข่งขัน 4. แต่ละกลุ่มประเมินความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาของสมาชิกในกลุ่ม โดยอาจตั้งคาถามขึ้นมาเองและให้ สมาชิกกลุ่มทดลองตอบคาถาม 5. สมาชิกกลุ่มช่วยกันอธิบายเพิ่มเติมในจุดที่บางคนยังไม่เข้าใจ 6. ครูจัดให้มีการแข่งขัน โดยใช้คาถามตามเนื้อหาในบทเรียน 7. จัดการแข่งขันเป็นโต๊ะ โดยแต่ละโต๊ะจะมีตัวแทนของทีมต่าง ๆ ร่วมแข่งขัน อาจให้แต่ละทีมส่งชื่อผู้ แข่งขันแต่ละโต๊ะมาก่อนและเป็นความลับ 8. ทุกโต๊ะแข่งขันจะเริ่มดาเนินการแข่งขันพร้อมๆกันโดยกาหนดเวลาให้ 9. เมื่อการแข่งขันจบลง ให้แต่ละโต๊ะจัดลาดับผลการแข่งขัน และให้หาค่าคะแนนโบนัส 10. ผู้เข้าร่วมแข่งขันกลับไปเข้ากลุ่มเดิมของตนพร้อมด้วยนาคะแนนโบนัสไปด้วย 11. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาคะแนนโบนัสของแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนของทีม หาค่าเฉลี่ย ที่ที่ได้ ค่าเฉลี่ย (อาจใช้คะแนนโบนัสรวมกันก็ได้) สูงสุด จะได้รับการยอมรับเป็นทีมชนะเลิศและรองลงไป 12. ให้ตั้งชื่อทีมชนะเลิศ และรองลงมา 13. ครูประกาศผลการแข่งขันในที่สาธารณะ เช่น ปิดประกาศที่บอร์ด ลงข่าวหนังสือพิมพ์หรือประกาศ หน้าเสาธง
19 
13. วิธีสอนแบบแฮร์บาร์ต (Herbart Method) 
1. ความหมาย แฮร์บาร์ต เป็นชาวเยอรมันได้คิดแนว การสอนแบบนี้ขึ้นเขามีความคิดว่า การที่นักเรียนจะเรียน อะไรนั้นจะต้องเกิดขึ้น เพราะความสนใจเป็นเบื้องแรกการสอนควรเร้าให้นักเรียนสนใจก่อนอื่น เมื่อ นักเรียนเกิดความสนใจและมีความตั้งใจจะเรียนแล้วจึงเริ่มดาเนินการสอน เพื่อให้เรียนรู้ต่อไป 
2. ขั้นตอนการสอน 2.1 ขั้นเตรียม ขั้นนี้มีความมุ่งหมายที่จะเร้าให้นักเรียนเห็นความจาเป็นและเกิดความสนใจต่อ ผู้เรียนกระหายที่จะเรียนรู้ในสิ่งที่ครูสอน ด้วยวิธีเร้าความสนใจรื้อฟื้นความรู้เก่าให้ต่อกับความรู้ใหม่ 2.2 ขั้นสอน ขั้นนี้เป็นขั้นดาเนินการสอน เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้ในเรื่องต่างๆ ของบทเรียน ครูจะถ่ายทอดความรู้ต่างๆ ให้นักเรียน 2.3 ขั้นสัมพันธ์หรือขันทบทวนและเปรียบเทียบ เป็นขั้นที่สื่อต่อจากขั้นสอนเมื่อครูสอนจบบทเรียน แล้วก็ทบทวนความรู้ที่นักเรียน เรียนไปแล้วและนาความรู้ใหม่ไปเกี่ยวกับความรู้เก่าครูจะต้องวิเคราะห์ ข้อความต่างๆที่สอนไปแล้วว่ามีความแตกต่างและคล้ายคลึงกับบทเรียนเก่าอย่างไร 2.4 ขั้นตั้งกฎหรือขั้นสรุป มีความมุ่งหมายให้นักเรียนเข้าใจบทเรียนกว้างขึ้นครูและนักเรียนจะ รวบรวมและย่อความรู้ต่างๆ จากขึ้นก่อนๆ แล้วสรุปความรู้เอาไว้ตอนหนึ่งเรื่องหนึ่งให้เป็นระเบียบและ จดบันทึกเอาไว้ 2.5 ขั้นใช้ ขั้นนี้เน้นให้นักเรียนนาเอาความรู้ความเข้าใจที่ได้เรียนมาแล้วไปใช้ในสิ่งอื่นได้ 
3. ข้อดีของวิธีสอนแฮร์บาร์ต 1.นักเรียนได้เรียนรู้จากความสนใจ 2.การเรียนรู้ดาเนินไปจากง่ายไปหายากตามลาดับ 3.การสร้างกฏเกณฑ์หรือข้อสรุปกระทาโดยนักเรียนและครู 
4. ข้อสังเกตของวิธีสอนแบบแฮร์บาร์ต 1.ในขั้นของการสัมพันธ์หรือทบทวนและเปรียบเทียบ ครูต้องให้โอกาสนักเรียนในการวิเคราะห์ เปรียบเทียบความแตกต่างและคล้ายคลึงกันระหว่างความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ด้วยตนเองมิใช่เกิดจาก การแนะนาของครู 2. ครูควรเน้นย้าให้นักเรียนจดบันทึกความรู้ตามลาดับขั้นตอนจากง่ายไปหายาก
20 
14. วิธีสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง (Self Study Method) 
ความหมาย 
วิธีสอบแบบศึกษาด้วยตนเองเป็นวิธีสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองที่ นอกเหนือจากในหนังสือเรียน 
เปฺาหมาย 
เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยได้รับคาแนะนาของครู เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาส แก้ปัญหาด้วยการแสดงความคิดเห็นในกลุ่ม และหาข้อสรุป 
ขั้นตอนของวิธีสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง 
1. จัดนักเรียนเป็นกลุ่มเล็กๆ หรืออาจเป็นผู้เรียนคนเดียวศึกษาค้นคว้าตามลาพังโดยมีหัวข้อให้ไป ค้นคว้า 
2. ครูกระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นและให้คาแนะนาให้มีการร่วมมือกันในการวางแผนที่จะศึกษา ค้นคว้าในเรื่องต่างๆ 
3.คอยดูแลและให้ความช่วยเหลือในการศึกษาจัดหาและเสนอแนะแหล่งความรู้ได้แก่วัสดุหนังสือและสิ่งพิมพ์ อื่นๆ 
4.นักเรียนเขียนรายงานผลการวินิจฉัยปัญหา 
ข้อดี 
1.ช่วยพัฒนาสติปัญญา ส่งเสริมนิสัยในการวิเคราะห์ข้อมูลและการตัดสินใจ การเลือกวิธีแก้ปัญหา 
2.ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักที่จะควบคุมการทางานของตนเองได้ 
3.สร้างนิสัยรักการศึกษาค้นคว้า และความรับผิดชอบตนเอง 
ข้อเสีย 
วิธีนี้อาจจะไม่ได้ผล ถ้าผู้เรียนขาดความรับผิดชอบและไม่ตั้งใจจริง 
วิพากษ์วิจารณ์ รูปแบบการสอนนี้มีความเหมาะสมกับวิชาคณิตศาสตร์อยู่มากเพราะบ้างครั้งการที่ได้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วนตนเองจะทาให้ผู้เรียนมีทักษะในการแก้ปัญหาต่างๆได้ง่ายขึ้น แต่การสอน แบบนี้ทดสอบได้ยากและเห็นผลช้า
21 
15. รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการสืบสอบและแสวงหาความรู้เป็นกลุ่ม 
(Group Investigation Instructional Model) 
ทฤษฎี/หลักการ/แนวคิดของรูปแบบ 
จอยส์ และ วีล (Yoyce& Weil, 1996: 80-88) เป็นผู้พัฒนารูปแบบนี้จากแนวคิดหลัก ของเธเลน (Thelen) 2 แนวคิด คือแนวคิดเกี่ยวกับการสืบเสาะแสวงหาความรู้(inquiry) และแนวคิด เกี่ยวกับความรู้ (knowledge) เธเลนได้อธิบายว่า สิ่งสาคัญที่สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึก หรือความต้องการที่จะสืบค้นหรือเสาะแสวงหาความรู้ก็คือตัวปัญหา แต่ปัญหานั้นจะต้องมีลักษณะที่มี ความหมายต่อผู้เรียนและท้าทายเพียงพอที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะแสวงหาคาตอบ นอกจากนั้นปัญหาที่ชวนให้เกิดความงุนงงสงสัย หรือก่อให้เกิดความขัดแย้งทางความคิด จะยิ่งทาให้ ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะเสาะแสวงหาความรู้หรือคาตอบมากยิ่งขึ้น เนื่องจากมนุษย์อาศัยอยู่ใน สังคม ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในสังคม เพื่อสนองความต้องการของตนทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคม ความขัดแย้งทางความคิดที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลหรือในกลุ่ม จึง เป็นสิ่งที่บุคคลต้องพยายามหาหนทางขจัดแก้ไขหรือจัดการทาความกระจ่างให้เป็นที่พอใจหรือยอมรับ ทั้งของตนเองและผู้เกี่ยวข้อง ส่วนในเรื่อง “ความรู้” นั้น เธเลนมีความเห็นว่า ความรู้เป็นเปฺาหมาย ของกระบวนการสืบสอบทั้งหลาย ความรู้เป็นสิ่งที่ได้จากการนาประสบการณ์หรือความรู้เดิมมาใช้ใน ประสบการณ์ใหม่ ดังนั้น ความรู้จึงเป็นสิ่งที่ค้นพบผ่านกระบวนการสืบสอบโดยอาศัยความรู้และ ประสบการณ์ 
วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 
รูปแบบนี้มุ่งพัฒนาทักษะในการสืบสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ความเข้าใจ โดยอาศัยกลุ่มซึ่งเป็น เครื่องมือทางสังคมช่วยกระตุ้นความสนใจหรือความอยากรู้และช่วยดาเนินงานการแสวงหาความรู้ หรือคาตอบที่ต้องการ 
กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ 
ขั้นที่ 1 ให้ผู้เรียนเผชิญปัญหาหรือสถานการณ์ที่ชวนให้งุนงงสงสัย 
ปัญหาหรือสถานการณ์ที่ใช้ในการกระตุ้นความสนใจและความต้องการในการสืบสอบและ แสวงหาความรู้ต่อไปนั้น ควรเป็นปัญหาหรือสถานการณ์ที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความ สนใจของผู้เรียน และจะต้องมีลักษณะที่ชวนให้งุนงงสงสัย เพื่อท้าทายความคิดและความใฝูรู้ของผู้เรียน 
ขั้นที่ 2 ให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาหรือสถานการณ์นั้น 
ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง และพยายามกระตุ้นให้เกิดความ ขัดแย้งหรือความแตกต่างทางความคิดขึ้น เพื่อท้าทายให้ผู้เรียนพยายามหาทางเสาะแสวงหาข้อมูลหรือ วิธีการพิสูจน์ทดสอบความคิดของตน เมื่อมีความแตกต่างทางความคิดเกิดขึ้น ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนที่มี ความคิดเห็นเดียวกันรวมกลุ่มกัน หรืออาจรวมกลุ่มโดยให้แต่ละกลุ่มมีสมาชิกที่มีความคิดเห็นแตกต่าง กันก็ได้ 
ขั้นที่ 3 ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนในการแสวงหาความรู้ 
เมื่อกลุ่มมีความคิดเห็นแตกต่างกันแล้ว สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนว่า จะแสวงหาข้อมูล อะไร กลุ่มจะพิสูจน์อะไร จะตั้งสมมติฐานอะไร กลุ่มจาเป็นต้องมีข้อมูลอะไร และจะไปแสวงหาที่ไหนหรือ
22 
จะได้ข้อมูลนั้นมาได้อย่างไร จะต้องใช้เครื่องมืออะไรบ้าง เมื่อได้ข้อมูลมาแล้ว จะวิเคราะห์อย่างไร และจะ สรุปผลอย่างไร ใครจะช่วยทา
23 
อะไร จะใช้เวลาเท่าใด ขั้นนี้เป็นขั้นที่ผู้เรียนจะได้ฝึกทักษะการสืบสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการกลุ่ม ผู้สอนทาหน้าที่อานวยความสะดวกในการทางานให้แก่ผู้เรียน รวมทั้งให้ คาแนะนาเกี่ยวกับการวางแผน แหล่งความรู้ และการทางานร่วมกัน 
ขั้นที่ 4 ให้ผู้เรียนดาเนินการแสวงหาความรู้ 
ผู้เรียนดาเนินการเสาะแสวงหาความรู้ตามแผนงานที่ได้กาหนดไว้ ผู้สอนช่วยอานวยความ สะดวก ให้คาแนะนาและติดตามการทางานของผู้เรียน 
ขั้นที่ 5 ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลข้อมูล นาเสนอและอภิปรายผล 
เมื่อกลุ่มรวบรวมข้อมูลได้มาแล้ว กลุ่มทาการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล ต่อจากนั้นจึงให้แต่ ละกลุ่มนาเสนอผล อภิปรายผลร่วมกันทั้งชั้น และประเมินผลทั้งทางด้านผลงานและกระบวนการเรียนรู้ ที่ได้รับ 
ขั้นที่ 6 ให้ผู้เรียนกาหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการสืบเสาะหาคาตอบต่อไป 
การสืบสอบและเสาะแสวงหาความรู้ของกลุ่มตามขั้นตอนข้างต้นช่วยให้กลุ่มได้รับความรู้ ความเข้าใจ และคาตอบในเรื่องที่ศึกษา และอาจพบประเด็นที่เป็นปัญหาชวนให้งุนงงสงสัยหรืออยากรู้ ต่อไป ผู้เรียนสามารถเริ่มต้นวงจรการเรียนรู้ใหม่ ตั้งแต่ขั้นที่ 1 เป็นต้นไป การเรียนการสอนตาม รูปแบบนี้ จึงอาจมีต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ ตามความสนใจของผู้เรียน 
ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนตามรูปแบบ 
ผู้เรียนจะสามารถสืบสอบและเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เกิดความใฝูรู้และมีความมั่นใจใน ตนเองเพิ่มขึ้น และได้พัฒนาทักษะการสืบสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการทางาน กลุ่ม 
ข้อดี 
1.เป็นวิธีการเรียนรู้ที่มีความหมายสาหรับผู้เรียน เพราะผู้เรียนเป็นผู้ศึกษาค้นคว้าหาแนวทางและเรียนรู้ ด้วยตนเอง 
2.ผู้เรียนได้ฝึกการใช้ทักษะและกระบวนการต่างๆ ในการเรียนรู้ 
- ทักษะทางปัญญา ผู้เรียนได้ใช้ความคิดและสติปัญญาในการหาข้อมูลแสดงเหตุผลอย่างอิสระ 
- ทักษะทางสังคม ทาให้ผู้เรียนเกิดความเชื่อมั่น กล้าคิดกล้าแสดงออก หรือรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น 
- ทักษะทางการปฏิบัติ เป็นการปลูกฝังให้ผู้เรียนเป็นคนละเอียดถี่ถ้วน มีความรอบคอบ รู้จักการ สังเกต ไม่เชื่ออะไรง่ายๆโดยไม่ได้ตรวจสอบก่อ 
ข้อเสีย 
1.เป็นวิธีการเรียนการสอนที่ใช้เวลามากพอสมควร 
2.ผู้สอนจะต้องคอยดูแล ช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด การเรียนรู้จึงจะได้ผลดี 
3.ผู้เรียนจะต้องมีความกระตือรือร้นในการเรียน
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์KruGift Girlz
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6Khunnawang Khunnawang
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
ปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม
ปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลมปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม
ปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลมNat Basri
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนพิทักษ์ ทวี
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 

Mais procurados (20)

ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
การหาค่ากลางทั้ง3แบบ
การหาค่ากลางทั้ง3แบบการหาค่ากลางทั้ง3แบบ
การหาค่ากลางทั้ง3แบบ
 
การสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัยการสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัย
 
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
ค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐานค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐาน
 
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
การลบแบบมีการยืม 3 หลัก สำหรับ ป.1
 
ปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม
ปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลมปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม
ปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2โจทย์ปัญหาระคนป.2
โจทย์ปัญหาระคนป.2
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 

Destaque

ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์K.s. Mam
 
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59Jirathorn Buenglee
 
แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)Jirathorn Buenglee
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์Jirathorn Buenglee
 
รวมกิจกรรมสำรวจตรวจค้น
รวมกิจกรรมสำรวจตรวจค้น รวมกิจกรรมสำรวจตรวจค้น
รวมกิจกรรมสำรวจตรวจค้น Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวกิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆJintana Kujapan
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 

Destaque (10)

ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
 
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
 
แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)แผน 1 นวัตกรรม (1)
แผน 1 นวัตกรรม (1)
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
 
รวมกิจกรรมสำรวจตรวจค้น
รวมกิจกรรมสำรวจตรวจค้น รวมกิจกรรมสำรวจตรวจค้น
รวมกิจกรรมสำรวจตรวจค้น
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
 
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวกิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กิจกรรมสำรวจตรวจค้นเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

Semelhante a วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)

รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีเทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีMuhamadkamae Masae
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมpimporn454
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดSudaratJanthathep
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยFuangFah Tingmaha-in
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 

Semelhante a วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1) (20)

รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีเทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 

Mais de Jirathorn Buenglee

โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาJirathorn Buenglee
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59Jirathorn Buenglee
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นJirathorn Buenglee
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นJirathorn Buenglee
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559Jirathorn Buenglee
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559Jirathorn Buenglee
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...Jirathorn Buenglee
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)Jirathorn Buenglee
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
ชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5Jirathorn Buenglee
 

Mais de Jirathorn Buenglee (20)

โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกา
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้น
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
 
Teacher For Thailand
Teacher For ThailandTeacher For Thailand
Teacher For Thailand
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
 
ชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรม
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
 
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
คู่มือการใช้นวัตกกรม แผน5
 

วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)

  • 1. 1 วิเคราะห์รูปแบบ เทคนิคการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ 1. การจัดการเรียนรู้แบบนิรนัย(Deductive Method) 1. ความหมาย การจัดการเรียนรู้แบบนิรนัย(Deductive Method)หมายถึงกระบวนการที่ผู้สอนจัดการ เรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับกฎ ทฤษฎี หลักเกณฑ์ ข้อเท็จจริงหรือข้อสรุปตามวัตถุประสงค์ ในบทเรียน จากนั้นจึงให้ตัวอย่างหลายๆตัวอย่าง หรืออาจให้ผู้เรียนฝึกการนา ทฤษฎี หลักการ หลักเกณฑ์ กฎหรือข้อสรุปไปใช้ในสถานการณ์ที่หลากหลาย หรืออาจเป็นหลัก ลักษณะให้ผู้เรียนหาหลักฐานเหตุผลมาพิสูจน์ยืนยันทฤษฎี กฎหรือข้อสรุปเหล่านั้น การจัดการ เรียนรู้แบบนี้จะช่วยให้ผู้เรียนเป็นคนมีเหตุผล ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ และมีความเข้าใจใน กฎเกณฑ์ ทฤษฎี ข้อสรุปเหล่านั้นอย่างลึกซึ้ง การสอนแบบนี้อาจกล่าวได้ว่า เป็นการสอนจากทฤษฎี หรือกฎไปสูตัวอย่างที่เป็นรายละเอียด 2.ขั้นตอนการสอน การสอนแบบนิรนัยมีขั้นตอนสาคัญดังต่อไปนี้ 1.) ขั้นกาหนดขอบเขตของปัญหา เป็นการนาเข้าสูบทเรียนโดยการเสนอปัญหาหรือระบุสิ่งที่ จะสอนในแง่ของปัญหา เพื่อยั่วยุให้ผู้เรียนเกิดความสนใจที่จะหาคาตอบ ปัญหาที่จะนาเสนอควรจะ เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ของชีวิตและเหมาะสมกับวุฒิภาวะของผู้เรียน 2.) ขั้นแสดงและอธิบายทฤษฎี หลักการ เป็นการนาเอาทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุปที่ ต้องการสอนมาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ทฤษฎี หลักการนั้น 3.) ขั้นใช้ทฤษฎี หลักการ เป็นขั้นที่ผู้เรียนจะเลือกทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุป ที่ได้จาก การเรียนรู้มาใช้ในการแก้ปัญหาที่กาหนดไว้ได้ 4.) ขั้นตรวจสอบและสรุป เป็นขั้นที่ผู้เรียนจะตรวจสอบและสรุปทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุป หรือนิยามที่ใช้ว่าถูกต้อง สมเหตุสมผลหรือไม่ โดยอาจปรึกษาผู้สอน หรือค้นคว้าจากตารา ต่างๆ หรือจากการทดลอง ข้อสรุปที่ได้พิสูจน์หรือตรวจสอบว่าเป็นจริง จึงจะเป็นความรู้ที่ถูกต้อง 5.) ขั้นฝึกปฏิบัติ เมื่อผู้เรียนเกิดความเข้าใจในทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุป พอสมควร แล้ว ผู้สอนเสนอสถานการณ์ใหม่ให้ผู้เรียนฝึกนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใหม่ๆที่ หลากหลาย 3. ประโยชน์ 1.)เป็นวิธีการที่ช่วยในการถ่ายทอดเนื้อหาสาระได้ง่าย รวดเร็วและไม่ยุ่งยาก 2.)ใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้ไม่มากนัก 3.)ฝึกให้ผู้เรียนรู้ได้นาเอาทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุปหรือนิยามไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ๆ 4.) ใช้ได้ผลดีในการจัดการเรียนรู้วิชาศิลปศึกษาและคณิตศาสตร์ 5.) ฝึกให้ผู้เรียนมีเหตุผล ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ โดยไม่มีการพิสูจน์ให้เห็นจริง
  • 2. 2 2. การจัดการเรียนรู้แบบใช้คาถาม(Questioning Method) 1.ความหมาย การจัดการเรียนรู้แบบใช้คาถาม(Questioning Method)เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่ง พัฒนากระบวนการทางความคิดของผู้เรียนโดยผู้สอนจะปฺอนคาถามในลักษณะต่าง ๆ ที่เป็นคาถามที่ ดี สามารถพัฒนาความคิดผู้เรียนถามเพื่อให้ผู้เรียนใช้ความคิดเชิงเหตุผล วิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ หรือการประเมินค่าเพื่อจะตอบคาถามเหล่านั้น 2. ขั้นตอนการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้คาถามมีขั้นตอนสาคัญ ดังต่อไปนี้ 1.)ขั้นวางแผนการใช้คาถาม ผู้สอนควรจะมีการวางแผนไว้ล่วงหน้าว่าจะใช้คาถามเพื่อ วัตถุประสงค์ใดรูปแบบหรือประการใดที่จะสอดคล้องกับเนื้อหาสาระและวัตถุประสงค์ ของบทเรียน 2.)ขั้นเตรียมคาถาม ผู้สอนควรจะเตรียมคาถามที่จะใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการ สร้างคาถามอย่างมีหลักเกณฑ์ 3.)ขั้นการใช้คาถาม ผู้สอนสามารถจะใช้คาถามในทุกขั้นตอนของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และ อาจจะสร้างคาถามใหม่ที่นอกเหนือจากคาถามที่เตรียมไว้ก็ได้ทั้งนี้ต้องเหมาะสม กับเนื้อหาสาระและ สถานการณ์นั้น ๆ 4.) ขั้นสรุปและประเมินผล - การสรุปบทเรียนผู้สอนอาจจะใช้คาถามเพื่อการสรุปบทเรียนก็ได้ - การประเมินผล ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันประเมินผลการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการ ประเมินผลตามสภาพจริง 3. ประโยชน์ 1.) ผู้เรียนกับผู้สอนสื่อความหมายกันได้ดี 2.) ช่วยให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.) สร้างแรงจูงใจและกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน 4.) ช่วยเน้นและทบทวนประเด็นสาคัญของสาระการเรียนรู้ที่เรียน 5.) ช่วยในการประเมินผลการเรียนการสอน ให้เข้าใจความสนใจที่แท้จริงของผู้เรียน และ วินิจฉัยจุดแข็งจุดอ่อน ของผู้เรียนได้ 6.) ช่วยสร้างลักษณะนิสัยการชอบคิดให้กับผู้เรียน ตลอดจนนิสัยใฝูรู้ใฝูเรียนตลอดชีวิต
  • 3. 3 3. รูปแบบการสอนคณิตศาสตร์ตามแนวคิดของทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ใจความสาคัญของแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) มีดังนี้ 1) ความรู้ คือ การสร้างโครงสร้างทางปัญญาที่สามารถคลี่คลาย สถานการณ์ที่เป็นปัญหาได้ 2) นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยวิธีที่ต่าง ๆ กันโดยอาศัยประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ ความ สนใจและแรงจูงใจ ภายในตนเองเป็นจุดเริ่มต้น 3) ครูมีหน้าที่จัดการให้นักเรียนได้ปรับขยายโครงสร้างทางปัญญา สมมติฐาน ต่อไปนี้ 3.1) สถานการที่เป็นปัญหาก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา 3.2) ความขัดแย้งทางปัญญาเป็นแรงจูงใจทาให้เราสามารถแก้ไข้ปัญหาได้ การสอนคณิตศาสตร์ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 สร้างความขัดแย้งทางปัญญา 1) ครูเสนอปัญหา A ให้นักเรียนคิดแก้ปัญหาเป็นรายบุคคล โดยที่ปัญหา A เป็นปัญหาที่มี ความยากในระดับที่นักเรียนต้องปรับโครงสร้างทางปัญญาที่มีอยู่เดิม หรือต้องสร้างโครงสร้างทาง ปัญญาขึ้นใหม่ จึงจะสามารถแก้ปัญหาได้ 2) จัดนักเรียนเข้ากลุ่มย่อย กลุ่มละ 4 – 6 คน นักเรียนแต่ละคนเสนอคาตอบและวิธีหา คาตอบของปัญหา A ต่อกลุ่มของตน ขั้นตอนที่ 2 ดาเนินกิจกรรมไตร่ตรอง 1) นักเรียนในกลุ่มย่อยตรวจสอบคาตอบและวิธีหาคาตอบของสมาชิกในกลุ่มตามเกณฑ์การ ตรวจสอบความเชื่อที่เสนอโดย โคโนลต์ ซึ่งได้แก่ ความสอดคล้องของความเชื่อ 1.1) ระหว่างบุคคล 1.2) ระหว่างสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกัน และ 1.3) ระหว่างความเชื่อกับการสังเกตในเชิงประจักษ์ โดยดาเนินการดังนี้ 2) สุ่มตัวแทนกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่ม มาเสนอวิธีหาคาตอบของปัญหา A ต่อกลุ่มใหญ่ กลุ่ม อื่นๆ เสนอตัวอย่างค้าน หรือเหตุผลมาค้านวิธีหาคาตอบที่ยังค้านได้ ถ้าไม่มีนักเรียนกลุ่มใด สามารถเสนอตัวอย่างค้านหรือเหตุผลมาค้านวิธีหาคาตอบที่ยังค้านได้ ครูจึงเป็นผู้เสนอเอง วิธีที่ถูก ค้านจะตกไป ส่วนวิธีที่ไม่ถูกค้านจะเป็นที่ยอมรับของกลุ่มใหญ่ว่าสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการหา คาตอบของปัญหาใด ๆ ที่อยู่ในกรอบของโครงสร้างความสัมพันธ์เดียวกันนั้นได้ ตลอดช่วงเวลาที่ยัง ไม่มีผู้ใดสามารถหาหลักฐานมาค้านได้ ซึ่งอาจมีมากกว่า 1 วิธี 3) ครูเสนอวิธีหาคาตอบของปัญหา A ที่ครูเตรียมไว้ต่อกลุ่มใหญ่ เมื่อพบว่าไม่มีกลุ่มใดเสนอ ในแบบที่ตรงกับวิธีที่ครูเตรียมไว้ ถ้ามี ครูก็ไม่ต้องเสนอ 4) นักเรียนแต่ละคนสร้างปัญหา C ซึ่งมีโครงสร้างความสัมพันธ์เหมือนกับปัญหา A ตาม กฎการสร้างการอุปมาอุปไมยของเจนท์เนอร์ดังกล่าวแล้วในข้อ (2) เลือกวิธีหาคาตอบจากวิธีซึ่งเป็นที่ ยอมรับของกลุ่มใหญ่ มาหาคาตอบของปัญหา C
  • 4. 4 5) นักเรียนแต่ละคนเขียนโจทย์ของปัญหา C ที่ตนสร้างขึ้นลงในแผ่นกระดาษพร้อมชื่อผู้สร้าง ปัญหา ส่งครู ครูนาแผ่นโจทย์ปัญหาของนักเรียนมาคละกันแล้วแจกให้นักเรียนทั้งห้องคน ละ 1 แผ่น 6) นักเรียนทุกคนหาคาตอบของปัญหาที่โจทย์ได้รับ ด้วยวิธีการหาคาตอบที่เลือกมาจากวิธีที่ เป็นที่ยอมรับของกลุ่มใหญ่แล้ว แล้วตรวจสอบคาตอบกับเจ้าของปัญหา ถ้าคาตอบขัดแย้งกัน ผู้ แก้ปัญหาและเจ้าของปัญหาจะต้องช่วยกันค้นหาจุดที่เป็นต้นเหตุแห่งความขัดแย้ง และช่วยกันขจัดความ ขัดแย้ง ขั้นตอนที่ 3 สรุปผลการสร้างโครงสร้างใหม่ทางปัญญา ครูและนักเรียนช่วยกันสรุป กระบวนการคิดคานวณ หรือกระบวนการแก้โจทย์ปัญหาที่ นักเรียนได้ช่วยกันสร้างขึ้นจากกิจกรรมในขั้นตอนที่ 2 ให้นักเรียนบันทึกข้อสรุปไว้
  • 5. 5 4. วิธีสอนแบบสาธิต เป็นวิธีสอนที่ครูแสดงให้นักเรียนดูและให้ความรู้แก่นักเรียนโดยใช้สื่อการเรียนรู้ที่เป็นรูปธรรม และผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรง การสอนแบบสาธิตแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ได้แก่ ผู้สอนเป็นผู้ สาธิต ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสาธิต ผู้เรียนสาธิตเป็นกลุ่ม ผู้เรียนสาธิตเป็นรายบุคคล วิทยากร เป็นผู้สาธิต และการสาธิตแบบเงียบโดยให้นักเรียนสังเกตเอง ขั้นตอนของการสอนแบบสาธิต 1.ขั้นเตรียมการสอน 1.1 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้โดยวิธีการสาธิต 1.2 ศึกษาเนื้อหาสาระให้ชัดเจน และจัดลาดับให้เหมาะสม 1.3 เตรียมกิจกรรมให้ผู้เรียนปฏิบัติ 1.4 เตรียมสื่อ อุปกรณ์ เอกสารให้เพียงพอกับผู้เรียน 1.5 กาหนดเวลาการสาธิตให้พอเหมาะ 1.6 กาหนดวิธีการประเมินผล 1.7 เตรียมสภาพห้องเรียน 1.8 ทดลองสาธิตก่อนสอนจริงในห้องเรียน 2.ขั้นสาธิต 2.1 แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระที่จะเรียนรู้ 2.2 บอกให้นักเรียนรู้บทบาทของตนเอง ได้แก่ การทดลองปฏิบัติ การจดบันทึก การสรุป 2.3 แนะนาสื่อการเรียนรู้ 2.4 ดาเนินการสาธิต 3.ขั้นสรุป 3.1 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสรุปผลที่เกิดจากการสาธิต 3.2 บันทึกขั้นตอนการสาธิตพร้อมทั้งผลที่เกิดขึ้น 4.ขั้นวัดและประเมินผล 4.1 ผู้เรียนทดลองสาธิตให้ผู้อื่นดูพร้อมทั้งบอกผลและข้อคิดที่ได้ 4.2 ให้เขียนรายงาน ตอบคาถามจากแบบฝึกหัด และแสดงความคิดเห็น ข้อดีของการสอนแบบสาธิต 1. นักเรียนได้ประสบการณ์ตรง 2. สร้างความสนใจ และความกระตือรือร้น 3. ฝึกการสังเกต การสรุปผล การบันทึก และการจัดขั้นตอน ข้อจากัดของการสอนแบบสาธิต 1. การสาธิตบางครั้งไม่สามารถใช้กับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ 2. ผู้สอนต้องแนะนาขั้นตอน อุปกรณ์ ที่ใช้ในการสาธิตอย่างชัดเจน 3. ผู้สอนต้องทดลองการสาธิตก่อนสอนให้แม่นยาเพื่อลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น
  • 6. 6 5. การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ (Discovery Method) ความหมาย เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนค้นหาคาตอบ หรือความรู้ด้วยตนเองโดยผู้สอนจะเป็น ผู้สร้างสถานการณ์ในลักษณะที่ผู้เรียนจะเผชิญกับปัญหาเป็นวิธีจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการ เหมาะ สาหรับวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์แต่ก็สามารถใช้กับวิธีอื่น ๆ ได้ ในการแก้ปัญหานั้นผู้เรียน จะต้องนาข้อมูลทาการวิเคราะห์สังเคราะห์และสรุปเพื่อให้ได้ข้อค้นพบใหม่หรือเกิดความคิดรวบยอดใน เรื่องนั้น ขั้นตอนการสอน 1.ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 1.1ผู้สอนกระตุ้นและเร้าความสนใจของผู้เรียนให้สนใจที่จะศึกษาบทเรียน 2.ขั้นเรียนรู้ประกอบด้วย 2.1ผู้สอนใช้วิธีจัดการเรียนรู้แบบอุปนัยในตอนแรกเพื่อให้ผู้เรียนค้นพบข้อสรุป 2.2 ผู้สอนใช้วิธีตัดการเรียนรู้ แบบนิรนัย เพื่อให้ผู้เรียนนาข้อสรุปที่ได้ในข้อ 2 ไปใช้เพื่อ เรียนรู้หรือค้นพบข้อสรุปใหม่ในตอนที่สองโดยอาศัยเทคนิคการซักถามโต้ตอบหรืออภิปรายเพื่อเป็น แนวทางในการค้นพบ 2.3ผู้เรียนสรุปข้อค้นพบหรือความคิดรวบยอดใหม่ 3ขั้นนาไปใช้ 3.1 ผู้สอนให้ผู้เรียนนาเสนอแนวทางการนาข้อค้นพบที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหาอาจใช้วิธีการ ให้ทาแบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อประเมินผลว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จริงหรือไม่ เปฺาหมาย 1.เพื่อช่วยให้ผู้เรียนคิดอย่างมีเหตุผล 2.เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง 3.เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความมั่นใจ 4.เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทางด้านความคิด 5.เพื่อช่วยปลูกฝังนิสัยรักการอ่านค้นคว้าเพื่อหาคาตอบด้วยตนเอง 6.เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียน 7.เพื่อช่วยให้ผู้เรียนรู้วิธีสร้างความรู้ด้วยตนเอง เช่น การหาข้อมูลการวิเคราะห์และสรุปข้อความรู้ ข้อดี 1. ด้านผู้เรียนช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การค้นหาคาตอบ หรือความรู้ด้วยตัวเองและได้พัฒนาความคิด ของตนเอง 2.ด้านผู้สอนสามารถประเมินได้ว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ (เข้าใจ)หรือไม่ ข้อเสีย 1. ด้านผู้เรียน เหมาะสาหรับผู้เรียนที่ฉลาดมีความเชื่อมั่นในตนเองและมีแรงจูงใจสูง 2.ด้านผู้สอนหรือผู้นาเสนอจะต้องมีวิธีการการจัดการเรียนรู้ไว้หลากหลายวิธี
  • 7. 7 6. วิธีสอนโดยการใช้สื่อ(Media) วิธีสอนโดยการใช้สื่อ คือ กระบวนการที่ผู้สอนได้ใช้วัสดุ เครื่องมือ อุปกรณ์ รวมทั้ง วิธีการต่างๆ เป็นตัวกลางในการสื่อความหมายใดๆ เพื่อถ่ายทอดความรู้ไปสู่ผู้เรียนตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ กาหนดไว้ เนื่องจากเนื้อหาสาระในวิชาคณิตศาสตร์ส่วนมากล้วนเป็นนามธรรม ยากต่อการเข้าใจ จึง จาเป็นต้องใช้สื่อมาช่วยให้เกิดความเป็นรูปธรรมมากขึ้น เช่น มีการใช้แบบจาลองรูปเรขาคณิต ใช้ สิ่งของมาอธิบายในเรื่อง การบวก ลบ คูณ หาร เป็นต้น วัตถุประสงค์ของวิธีสอนโดยการใช้สื่อ เป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้ ด้วยการทาสิ่งที่ ซับซ้อนหรือเป็นนามธรรมเข้าใจยาก ให้เป็นรูปธรรมที่เห็นภาพชัดเจนและเข้าใจง่าย ช่วยทาให้ผู้เรียน เกิดความสนใจและสามารถเรียนรู้ได้ในปริมาณที่มากขึ้น ขั้นตอนการสอนโดยการใช้สื่อ การใช้สื่อการสอนนั้นอาจจะใช้เฉพาะขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งของการสอน หรือจะใช้ในทุกขั้นตอนก็ ได้ ดังนี้ 1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน - เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในเนื้อที่กาลังจะเรียน - สื่อที่ใช้ในขั้นนี้ควรเป็นสื่อแสดงเนื้อหากว้างๆ หรือเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนในครั้งก่อน เพื่อบอกให้ ผู้เรียนทราบว่าในวันนี้จะเรียนเรื่องไร -ควรเป็นสื่อที่ง่ายต่อการนาเสนอในระยะเวลาอันสั้น เช่น ภาพ บัตรคา บัตรปัญญา เป็น ต้น 2. ขั้นดาเนินการสอน - เป็นขั้นที่จะให้ความรู้เนื้อหาอย่างละเอียด เพื่อสนองวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ - ต้องเลือกสื่อให้ตรงกับเนื้อหาและวิธีการสอน หรืออาจจะใช้สื่อประสมก็ได้ - ต้องมีการจัดลาดับขั้นตอนการใช้สื่อให้เหมาะสมและสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียน - การใช้สื่อในขั้นนี้จะต้องให้ผู้เรียนได้รับความรู้นั้นอย่างละเอียดถูกต้องแล้วชัดเจนเช่น แผนภูมิ ภาพยนตร์ สไลด์ แผ่นโปร่งใส่ วีดิทัศน์ ชุดการเรียน เป็นต้น 3. ขั้นฝึกปฏิบัติ - เป็นขั้นที่จะเพิ่มพูนประสบการณ์ตรงแก่ผู้เรียน เพื่อให้ได้ทดลองนาความรู้ด้านทฤษฎี หรือ หลักการที่เรียน มาแล้วไปใช้แก้ปัญหาในขั้นฝึกหัดโดยลงมือปฏิบัติเอง - ควรเป็นสื่อที่เป็นประเด็นปัญหาให้ผู้เรียนได้ขบคิด โดยผู้เรียนเป็นผู้ใช้สื่อเองให้มาก ที่สุด เช่น สมุด แบบฝึกหัด ภาพ บัตรปัญหา แถบบันทึกเสียง ชุดการเรียนรายบุคคล ชุดฝึก ชุด ทดลอง เป็นต้น 4. ขั้นสรุปบทเรียน
  • 8. 8 -เป็นขั้นที่จะย้าเนื้อหา บทเรียนให้ผู้เรียนมีความเข้าใจที่ถูกต้องและตรงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ด้วย -สื่อที่ใช้สรุปจึงควรครอบคลุมเนื้อหาที่สาคัญทั้งหมดโดยย่อและใช้เวลาน้อย เช่น แผนภูมิ แผ่น โปร่งใส เป็นต้น
  • 9. 9 ข้อดีของการใช้สื่อ 1) ช่วยให้คุณภาพการเรียนรู้ดีขึ้น ผู้เรียนสามารถจาได้มากและนานขึ้น 2) ช่วยให้ผู้เรียนรู้ในปริมาณมากขึ้นในเวลาที่กาหนดไว้ 3) ช่วยให้ผู้เรียนมีความสนใจและมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ ข้อเสียของการใช้สื่อ 1) ในการใช้สื่อบางชนิด ต้องเสียค่าใช้จ่ายการซื้อเครื่อง และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เช่น โปร เจ็กเตอร์ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น 2) สื่อบางชนิด เหมาะสาหรับการศึกษาเป็นกลุ่มย่อย เช่น สื่อวัสดุ 3 มิติ วัสดุกราฟิก เป็นต้น 3) ในการใช้สื่อแต่ละชนิด ผู้ใช้จะต้องมีความรู้ความชานาญในการใช้สื่อนั้นๆ อย่างแท้จริง มิฉะนั้นจะทาให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจผิดในเนื้อหาสาระที่เรียนได้
  • 10. 10 7. รูปแบบการเรียนรู้โมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : โมเดลซิปปา (Cippa Model) หรือ รูปแบบการประสานห้าแนวคิด พบว่าแนวคิดจานวนหนึ่งสามารถใช้ได้ผลดีตลอดมา จึงได้นาแนวคิด เหล่านั้นมาประสานกันเกิดเป็นแบบแผนขึ้น แนวคิดดังกล่าวได้แก่ แนวคิดการสร้างความรู้ แนวคิด กระบวนการกลุ่มและการเรียนรู้แบบร่วมมือ แนวคิดเกี่ยวกับความพร้อมในการเรียนรู้ แนวคิดเกี่ยวกับ กระบวนการเรียนรู้และแนวคิดเกี่ยวกับการถ่ายโอนความรู้ เมื่อนาแนวคิดดังกล่าวมาจัดการเรียนการ สอนพบว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนได้ครบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญาและ สังคม เปฺาหมาย :โดยหลักการของโมเดลซิปปา ได้ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ในตัว หลักการ คือ การช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนมีบทบาทและมีส่วนร่วมใน กระบวนการเรียนรู้ให้มากที่สุด มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและได้เรียนรู้จากกันและกัน มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ความรู้ ความคิดเห็นและประสบการณ์ ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ ร่วมกับการผลิตผลงาน ซึ่งมีความคิดสร้างสรรค์ที่หลากหลายและสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ให้นักเรียนเป็น ผู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองตามแนวคิด Constructivism. ความหมายของ CIPPA C มาจากคาว่า Construct หมายถึง การสร้างความรู้ตามแนวคิด ของ Constructiviism. กล่าวคือ เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วย ตนเอง ทาความเข้าใจ เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมายแก่ตนเอง และค้นพบความรู้ด้วยตนเอง เป็น กิจกรรมที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางสติปัญญา I มาจากคาว่า Interaction หมายถึง การช่วยให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีจะต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล และ แหล่งความรู้ที่หลากหลาย ได้รู้จักกันและกัน ได้แลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ ความคิดประสบการณ์ แก่กัน และกันให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนทางสังคม P มาจากคาว่า Physical Participation หมายถึง การช่วยให้ ผู้เรียนมีบทบาท มีส่วนร่วมทางด้านร่างกาย ให้ผู้เรียนมีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกาย โดยการทา กิจกรรมในลักษณะต่างๆ ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางด้านร่างกาย P มาจากคาว่า Process Learning หมายถึง การเรียนรู้ กระบวนการ ต่างๆ ของกิจกรรมการเรียนรู้ที่ดี ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการ ต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต A มาจากคาว่า Application หมายถึง การนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ ซึ่ง จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์จากการเรียน เป็นการช่วยผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ในลักษณะใดลักษณะ หนึ่งในสังคม และชีวิตประจาวัน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เพิ่มเติมขึ้นเรื่อยๆจากแนวคิดในการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า หลักของโมเดลซิป ปา (CIPPA MODEL) ซึ่งได้รูปแบบการเรียนการสอนซึ่งสามารถประยุกต์ใช้จัดกิจกรรมการเรียน การสอน มีขั้นตอนสาคัญดังนี้
  • 11. 11 1.ขั้นทบทวนความรู้เดิม ขั้นนี้เป็นการดึงความรู้ของผู้เรียนในเรื่องที่เรียนเพื่อช่วยให้ผู้เรียนมี ความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิมของตน 2. ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่ ขั้นนี้เป็นการแสวงหาข้อมูล ความรู้ใหม่ที่ผู้เรียนยังไม่มีจาก แหล่งข้อมูลหรือแหล่งความรู้ต่างๆ ซึ่งครูอาจเตรียมมาให้ผู้เรียนหรือให้คาแนะนาเกี่ยวกับแหล่งข้อมูล ต่างๆเพื่อให้ผู้เรียนไปแสวงหาก็ได้
  • 12. 12 3. ขั้นการศึกษาทาความเข้าใจข้อมูล/ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม ขั้นนี้ เป็นขั้นที่ผู้เรียนเผชิญปัญหา และทาความเข้าใจกับข้อมูล ผู้เรียนจะต้องสร้างความหมายของ ข้อมูล ประสบการณ์ใหม่ๆ โดยใช้กระบวนการต่างๆ ด้วยตนเอง เช่นใช้กระบวนการคิด และ กระบวนการกลุ่มในการอภิปรายและสรุปผลความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้น ซึ่งอาจจาเป็นต้องอาศัยการ เชื่อมโยงความรู้เดิม มีการตรวจสอบความเข้าใจต่อตนเองหรือกลุ่ม โดยครูใช้สื่อและย้ามโนมติในการ เรียนรู้ 4. ขั้นการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม ขั้นนี้เป็นขั้นที่ผู้เรียนอาศัยกลุ่มเป็น เครื่องมือ ในการตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของตนเอง รวมทั้งขยายความรู้ความเข้าใจของตนให้ กว้างขึ้น ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนได้แบ่งปันความรู้ความเข้าใจของตนเองแก่ผู้อื่นและได้รับประโยชน์จาก ความรู้ ความเข้าใจของผู้อื่นไปพร้อมๆกัน 5. ขั้นการสรุปและจัดระเบียบความรู้ ขั้นนี้เป็นขั้นของการสรุปความรู้ที่ได้รับทั้งหมด ทั้งความรู้ เดิมและความรู้ใหม่ และจัดสิ่งที่เรียนรู้ให้เป็นระบบระเบียบ เพื่อช่วยให้จดจาสิ่งที่เรียนรู้ได้ง่าย 6. ขั้นการแสดงผลงาน ขั้นนี้เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสได้แสดงผลงานการสร้างความรู้ ของตนเองให้ผู้อื่นรับรู้ เป็นการช่วยให้ผู้เรียนตอกย้า หรือตรวจสอบ เพื่อช่วยให้จดจาสิ่งที่เรียนรู้ได้ ง่าย 7. ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้ ขั้นนี้เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการนาความรู้ ความเข้าใจ ของตนเองไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆที่หลากหลายเพื่อเพิ่มความชานาญ ความเข้าใจ ความสามารถใน การแก้ปัญหาและความจาในเรื่องนั้น การวิพากษ์ วิจารณ์รูปแบบการเรียนรู้โมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) น่าจะเหมาะสมที่สุดเพราะ ในรูปแบบนี้จะเน้นตัวนักเรียนเป็นสิ่งสาคัญและ อาจารย์มีการสอน แบบเอาความรู้เดิมมาทบทวน แล้วค่อยสอนความรู้ใหม่ให้แก่นักเรียนแล้วอธิบายถึงความหมายหรือให้ นักเรียนคิดและหาความหมายของเรื่องนั้นๆ แล้วสรุปออกมาเป็นความเข้าใจของเราเอง ดังนั้นแล้วได้ เอาความรู้เก่ากับความรู้ใหม่มาใช้รวมกันให้เกิดประโยชน์ มากขึ้นและให้เกิดความเข้าใจให้มากยิ่งขึ้น ดังนั้นจึงคิดว่ารูปแบบของรูปแบบการเรียนรู้โมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) เหมาะสมในการนา รูปแบบนี้มาให้กับคณิตศาสตร์
  • 13. 13 8. วิธีสอนโดยใช้การนิรนัย (Deduction) “เป็นการสอนจากหลักการไปสู่ตัวอย่างย่อยๆ ผู้เรียนมีโอกาสได้ฝึกฝนการนาหลักการไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่” ความหมาย วิธีการสอนโดยใช้การนิรนัย คือกระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม วัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยการช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎี หลักการ กฎ หรือ ข้อสรุปในเรื่องที่เรียน แล้วจึงให้ตัวอย่างหลาย ๆ ตัวอย่างเกี่ยวกับการใช้ทฤษฎี/ หลักการ / กฎ หรือข้อสรุปนั้น หรืออาจให้ผู้เรียนฝึกนาทฤษฎี/ หลักการ/ กฎ หรือข้อสรุปนั้นไปในสถานการณ์ใหม่ ๆ ที่หลากหลาย เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในทฤษฎี/ หลักการ/ กฎ หรือข้อสรุปนั้น ๆ อย่าง ลึกซึ้งขึ้น หรือกล่าวสั้น ๆ ได้ว่าเป็นการสอนจากหลักการไปสู่ตัวอย่างย่อย ๆ เปฺาหมาย วิธีการสอนโดยใช้การนิรนัยเป็นวิธีการที่มุ่งช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้หลักการและสามารถนา หลักการดังกล่าวไปใช้ได้ 1.ขั้นตอนสาคัญ (ที่ขาดไม่ได้) ของการสอน 1.1 ผู้สอนถ่ายทอดความรู้ / ทฤษฎี / หลักการ / กฎ / ข้อสรุปที่ต้องการให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้ ด้วยวิธีการต่าง ๆ ตามความเหมาะสม 1.2 ผู้สอนให้ตัวอย่างสถานการณ์ใหม่ที่หลากหลายที่สามารถนาความรู้ที่ได้เรียนมาไปใช้ 1.3 ผู้สอนให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัตินาความรู้ ความเข้าใจที่เกิดขึ้นไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ 1.4 ผู้สอนให้ผู้เรียนวิเคราะห์และอภิปรายการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น 1.5 ผู้สอนวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.ข้อดีและข้อจากัด ข้อดี 1) เป็นวิธีสอนที่ช่วยถ่ายทอดเนื้อหาสาระได้อย่างรวดเร็วและไม่ยุ่งยาก 2) เป็นวิธีสอนที่ผู้เรียนมีโอกาสได้ฝึกฝนการนาทฤษฎี / หลักการไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ ๆ 3) เป็นวิธีสอนที่เอื้ออานวยให้ผู้เรียนที่มีความสามารถหรือเรียนรู้ได้เร็วสามารถพัฒนาโดยไม่ต้อง รอผู้เรียนที่ช้ากว่า ข้อจากัด 1) เป็นวิธีสอนที่ผู้สอนจาเป็นต้องเตรียมตัวอย่าง / สถานการณ์ / ปัญหาที่หลากหลายมาให้ ผู้เรียนได้ฝึกทา 2) เป็นวิธีสอนที่ขึ้นกับความเข้าใจและความสามารถของผู้สอนในการนาเสนอทฤษฎี หลักการ 3) เป็นวิธีสอนที่ผู้เรียนที่เรียนรู้ได้ช้า อาจจะตามไม่ทันเพื่อน และเกิดปัญหาในการเรียนรู้
  • 14. 14 ขั้นที่ 1 ขั้นสาธิตทักษะหรือการกระทา ขั้นนี้เป็นขั้นที่ให้ผู้เรียนได้เห็นทักษะหรือการ กระทาที่ต้องการให้ผู้เรียนทาได้ในภาพรวม โดยสาธิตให้ผู้เรียนดูทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบ ทักษะ หรือ การกระทาที่สาธิตให้ผู้เรียนดูนั้น จะต้องเป็นการกระทาในลักษณะที่เป็นธรรมชาติ ไม่ช้าหรือเร็วเกิน ปกติ ก่อนการสาธิต ครูควรให้คาแนะนาแก่ผู้เรียนในการสังเกต ควรชี้แนะจุดสาคัญที่ควรให้ความสนใจ เป็นพิเศษในการสังเกต วัตถุประสงค์ของรูปแบบ รูปแบบนี้มุ่งช่วยพัฒนาความสามารถด้านทักษะปฏิบัติของผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทักษะที่ประกอบด้วยทักษะย่อยจานวนมาก กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ ขั้นที่ 1 ขั้นสาธิตทักษะหรือการกระทา ขั้นนี้เป็นขั้นที่ให้ผู้เรียนได้เห็นทักษะหรือการ กระทาที่ต้องการให้ผู้เรียนทาได้ในภาพรวม โดยสาธิตให้ผู้เรียนดูทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบ ทักษะ หรือ การกระทาที่สาธิตให้ผู้เรียนดูนั้น จะต้องเป็นการกระทาในลักษณะที่เป็นธรรมชาติ ไม่ช้าหรือเร็วเกิน ปกติ ก่อนการสาธิต ครูควรให้คาแนะนาแก่ผู้เรียนในการสังเกต ควรชี้แนะจุดสาคัญที่ควรให้ความสนใจ เป็นพิเศษในการสังเกต ขั้นที่ 2 ขั้นสาธิตและให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย เมื่อ ผู้เรียนได้เห็นภาพรวมของการ กระทาหรือทักษะทั้งหมดแล้ว ผู้สอนควรแตกทักษะทั้งหมดให้เป็นทักษะย่อย ๆ หรือแบ่งสิ่งที่กระทา ออกเป็นส่วนย่อย ๆ และสาธิตส่วนย่อยแต่ละส่วนให้ผู้เรียนสังเกตและทาตามไปทีละส่วนอย่างช้า ๆ ขั้นที่ 3 ขั้นให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย ผู้ เรียนลงมือปฏิบัติทักษะย่อยโดยไม่มีการ สาธิตหรือมีแบบอย่างให้ดู หากติดขัดจุดใด ผู้สอนควรให้คาชี้แนะ และช่วยแก้ไขจนกระทั่งผู้เรียนทาได้ เมื่อได้แล้วผู้สอนจึงเริ่มสาธิตทักษะย่อยส่วนต่อไป และให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อยนั้นจนทาได้ ทาเช่นนี้ เรื่อยไปจนกระทั่งครบทุกส่วน ขั้นที่ 4 ขั้นให้เทคนิควิธีการ เมื่อ ผู้เรียนปฏิบัติได้แล้ว ผู้สอนอาจแนะนาเทคนิค วิธีการที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถทางานนั้นได้ดีขึ้น เช่น ทาได้ประณีตสวยงามขึ้น ทาได้รวดเร็วขึ้น ทา ได้ง่ายขึ้น หรือสิ้นเปลืองน้อยลง เป็นต้น 9. รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ( Davies’ Instructional Model for Psychomotor Domain ) ทฤษฎี/หลักการ/แนวคิดของรูปแบบ เดวีส์ (Davies, 1971: 50-56) ได้นาเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติไว้ ว่า ทักษะส่วนใหญ่จะประกอบไปด้วยทักษะย่อย ๆ จานวนมาก การฝึกให้ผู้เรียนสามารถทาทักษะย่อย ๆ เหล่านั้นได้ก่อนแล้วค่อยเชื่อมโยงต่อกันเป็นทักษะใหญ่ จะช่วยให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จได้ดีและเร็วขึ้น วัตถุประสงค์ของรูปแบบ รูปแบบนี้มุ่งช่วยพัฒนาความสามารถด้านทักษะปฏิบัติของผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทักษะที่ประกอบด้วยทักษะย่อยจานวนมาก กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ
  • 15. 15 ขั้นที่ 5 ขั้น ให้ผู้เรียนเชื่อมโยงทักษะย่อย ๆ เป็นทักษะที่สมบูรณ์ เมื่อผู้เรียน สามารถปฏิบัติแต่ละส่วนได้แล้ว จึงให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย ๆ ต่อเนื่องกันตั้งแต่ต้นจนจบ และฝึก ปฏิบัติหลาย ๆ ครั้ง จนกระทั่งสามารถปฏิบัติทักษะที่สมบูรณ์ได้อย่างชานาญ
  • 16. 16 ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนตามรูปแบบ ผู้เรียนจะสามารถปฏิบัติทักษะได้เป็นอย่างดี มีประสิทธิภาพวิพากษ์วิจารณ์ รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ดังกล่าวเป็น รูปแบบการฝึกฝนที่เน้นทักษะ พิสัย คือเน้น กระบวนการปฎิบัติโดยส่วนใหญ่ ซึ่งเหมาะสมที่จะนาไปปรับใช้หรือประยุกต์ใช้ในการ เรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เพราะ การเรียนคณิตศาสตร์ ที่ดีและได้ผล ควรฝึก ปฎิบัติบ่อยๆ เช่น ฝึกทาโจทย์ทางคณิตศาสตร์บ่อยๆ ท่องสูตรต่างๆ เป็นต้น แต่ทั้งนี้หาก ผู้สอนหรือผู้ที่สนใจจะนารูปแบบดังกล่าวไปปรับใช้ควรมีเทคนิคการสอนพอควร และหากให้มีการฝึกฝน ควรมีการทดสอบเพื่อวัดผลและประเมินว่าผู้เรียนมีความเข้าใจในเนื้อหามากน้อยเพียงใด รวมถึงจะ เป็นแนวทางในการประเมินการสอนของผู้สอนอีกด้วย 10. วิธีสอนแบบบรรยาย (Lecture Method) เป็นวิธีสอนที่ผู้สอนให้ความรู้ตามเนื้อหาสาระด้วยการเล่าอธิบายแสดงสาธิตโดยที่ผู้เรียนเป็น ผู้ฟังเพียงอย่างเดียวอาจเปิดโอกาสให้ซักถามปัญหาได้บ้างในตอนท้ายของการบรรยาย ความมุ่งหมายของวิธีสอนแบบบรรยาย 1. เป็นการสอนที่เน้นเนื้อหาสาระที่นาเสนอโดยครูผู้สอนผู้บรรยายจะเสนอปัญหาวิธีการ ต่างๆในการแก้ปัญหาและสรุปด้วยว่าวิธีการใดเป็นวิธีการแก้ปัญหาที่ดีที่สุดตามหลักการ 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้หลายๆแนวคิดก่อนที่จะสรุปเป็นข้อคิดหรือทางเลือกที่เหมาะสม ข้อดีของวิธีสอนแบบบรรยาย 1. ดาเนินการสอนได้รวดเร็ว 2. ง่ายต่อการสอนเพราะไม่ต้องเตรียมสื่อการสอนเพียงแต่ครูเตรียมเนื้อหาสาระที่จะสอนล่วงหน้าก็ เพียงพอ 3. สามารถใช้สอนได้ในเวลาอันจากัดส่งเสริมทักษะในการย่อและเขียนสรุป ข้อสังเกตของวิธีสอนแบบบรรยาย 1. หากผู้เรียนมีความตั้งใจฟังการบรรยายจะช่วยเสริมทักษะในการสรุปความ 2. ผู้สอนต้องรู้จักการสร้างบรรยากาศด้วยวาทศิลป์เพื่อมิให้ผู้ฟังสูญเสียความสนใจ 3. สาระที่ได้จากการบรรยายมิได้เกิดจากการเรียนรู้ที่เกิดกับผู้เรียนโดยตรงแต่เป็นสาระความรู้ที่ได้จาก การบอกเล่าจากครูผู้สอน 4. ความรู้ที่ได้รับจากการฟังเพียงอย่างเดียวอาจลืมง่ายเป็นความทรงจาที่ไม่ถาวร
  • 17. 17 11. การจัดการเรียนการสอนแบบ TGT (Teams – Games - Tournaments) การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือตามรูปแบบ TGT เป็นการเรียนแบบร่วมมือกันแข่งขันทา กิจกรรม โดยมีขั้นตอนการจัดกิจกรรมดังนี้ ขั้นที่ 1ครูทบทวนบทเรียนที่เรียนมาแล้วครั้งก่อน ด้วยการซักถามและอธิบาย ตอบข้อสงสัยของ นักเรียน ขั้นที่ 2 จัดกลุ่มแบบคละกัน (Home Team) กลุ่ม 3-4 คน ขั้นที่ 3 แต่ละทีมศึกษาหัวข้อที่เรียนในวันนี้จากแบบฝึก (Worksheet And Answer Sheet) นัก เรียนแต่ละคนทาหน้าที่และปฏิบัติตามกติกาของCooperative Learning เช่น เป็นผู้จดบันทึก ผู้ คานวณ ผู้สนับสนุน เมื่อสมาชิกทุกคนเข้าใจและสามารถทาแบบฝึกหัดได้ถูกต้องทุกข้อ ทีมจะเริ่มทาการ แข่งขันตอบปัญหา ขั้นที่ 4 การแข่งขันตอบปัญหา (Academic Games Tournament) 4.1ครูทาหน้าที่เป็นผู้จัดการห้องเรียน โดยแบ่งตามความสามารถของนักเรียน เช่น โต๊ะที่ 1 เป็นโต๊ะแข่งขันสาหรับนักเรียนที่มีความสามารถเก่งมาก โต๊ะที่ 2 และ 3 เป็นโต๊ะแข่งขันสาหรับนักเรียนที่มีความสามารถปานกลาง โต๊ะที่ 4 เป็นโต๊ะที่แข่งขันสาหรับนักเรียนที่มีความสามารถอ่อน 4.2 ครูแจกซองคาถามจานวน 10 คาถามให้ทุกโต๊ะ (เป็นคาถามเหมือนกัน) 4.3 นักเรียนเปลี่ยนกันหยิบซองคาถามทีละ 1 ซอง (1 คาถาม) แล้ววางลงกลางโต๊ะ 4.4 นักเรียน 3 คนที่เหลือคานวณหาคาตอบ จากคาถามที่ อ่าน 4.3 เขียนคาตอบลงในกระดาษคาตอบที่แต่ละคนมีอยู่ 4.5 นักเรียนคนที่ทาหน้าที่อ่านคาถามจะเป็นคนให้คะแนน โดยมีกติกาการให้คะแนน ดังนี้ 4.5.1 ผู้ตอบถูกเป็นคนแรก จะได้ 2 คะแนน 4.5.2 ผู้ตอบถูกคนต่อไป จะได้คนละ 1 คะแนน 4.5.3 ถ้าตอบผิด ให้ 0 คะแนน 4.6 ทาขั้นตอนที่ 4.3 - 4.5 โดยผลัดกันอ่านคาถามจนกว่าคาถามจะหมด 4.7 นักเรียนทุกคนรวมคะแนนของตัวเอง โดยที่ทุกคนควรได้ตอบคาถามจานวนเท่าๆ กัน จัดลาดับของคะแนนที่ได้ ซึ่งกาหนดโบนัสของแต่ละโต๊ะดังนี้ โบนัส ผู้ที่ได้คะแนนสูงสุดที่ 1ประจาโต๊ะแต่ละโต๊ะ จะได้โบนัส 10 แต้ม ผู้ที่ได้คะแนนรองที่ 2 ประจาโต๊ะแต่ละโต๊ะ จะได้โบนัส 8 แต้ม ผู้ที่ได้คะแนนรองที่ 3 ประจาโต๊ะแต่ละโต๊ะ จะได้โบนัส 6 แต้ม ผู้ที่ได้คะแนนน้อยที่สุด ประจาโต๊ะแต่ละโต๊ะ จะได้โบนัส 4 แต้ม ขั้นที่ 5นักเรียนกลับมากลุ่มเดิม (Home Team) รวมแต้มโบนัสของทุกคน ทีมใดที่มีแต้มโบนัสสูงสุด จะให้รางวัลหรือติดประกาศไว้ในมุมข่าวของห้อง
  • 18. 18 12. เทคนิค TGT (Team - Games – Tournament) เทคนิคการจัดกิจกรรม TGT เป็นเทคนิครูปแบบหนึ่งในการสอนแบบร่วมมือและมีลักษณะของ กิจกรรมคล้ายกันกับ STAD แต่เพิ่มเกมและการแข่งขันเข้ามาด้วย เหมาะสาหรับการจัดการเรียนการ สอนในจุดประสงค์ที่มีคาตอบถูกต้องเพียงคาตอบเดียว องค์ประกอบ 4 ประการ ของ TGT 1. การสอน เป็นการนาเสนอความคิดรวบยอดใหม่หรือบทเรียนใหม่ อาจเป็นการสอนตรงหรือจัดใน รูปแบบของการอภิปราย หรือกลุ่มศึกษา 2. การจัดทีม เป็นขั้นตอนการจัดกลุ่ม หรือจัดทีมของนักเรียน โดยจัดให้คละกันทั้งเพศ และ ความสามารถและทีมจะต้องช่วยกันและกัน ในการเตรียมความพร้อมและความเข้มแข็งให้สมาชิกทุกคน 3. การแข่งขัน การแข่งขันมักจัดในช่วงท้ายสัปดาห์หรือท้ายบทเรียน ซึ่งจะใช้คาถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่ เรียนมาในข้อ 1 และผ่านการเตรียมความพร้อมของทีมมาแล้วการจัดโต๊ะแข่งขันจะมีหลายโต๊ะ แต่ละโต๊ะ จะมีตัวแทนของกลุ่ม/ทีม แต่ละทีมมาร่วมแข่งขัน ทุกโต๊ะการแข่งขันควรเริ่มดาเนินการเพื่อนาไปเทียบหา ค่าคะแนนโบนัส 4. การยอมรับความสาเร็จของทีม ให้นาคะแนนโบนัสของแต่ละคนในทีมมารวมกันเป็นคะแนนของทีม และหาค่าเฉลี่ยทีมที่มีค่าสูงสุด จะได้รับการยอมรับให้เป็นทีมชนะเลิศ โดยอาจเรียกชื่อทีมที่ได้ชนะเลิศ กับ รองลงมา โดยใช้ชื่อเก๋ ๆ ก็ได้ หรืออาจให้นักเรียนตั้งชื่อเอง และควรประกาศผลการแข่งขันในที่ สาธารณะด้วย ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูสอนความคิดรวบยอดใหม่ หรือบทเรียนใหม่ โดยอาจใช้ใบความรู้ให้นักเรียนได้ศึกษา หรือใช้ กิจกรรมการศึกษาหาความรู้รูปแบบอื่นตามที่ครูเห็นว่าเหมาะสม 2. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4 – 5 คน เพื่อปฏิบัติตามใบงาน 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมความพร้อมให้กับสมาชิกในกลุ่มทุกคน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจใน บทเรียนและพร้อมที่จะเข้าสู่สนามแข่งขัน 4. แต่ละกลุ่มประเมินความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาของสมาชิกในกลุ่ม โดยอาจตั้งคาถามขึ้นมาเองและให้ สมาชิกกลุ่มทดลองตอบคาถาม 5. สมาชิกกลุ่มช่วยกันอธิบายเพิ่มเติมในจุดที่บางคนยังไม่เข้าใจ 6. ครูจัดให้มีการแข่งขัน โดยใช้คาถามตามเนื้อหาในบทเรียน 7. จัดการแข่งขันเป็นโต๊ะ โดยแต่ละโต๊ะจะมีตัวแทนของทีมต่าง ๆ ร่วมแข่งขัน อาจให้แต่ละทีมส่งชื่อผู้ แข่งขันแต่ละโต๊ะมาก่อนและเป็นความลับ 8. ทุกโต๊ะแข่งขันจะเริ่มดาเนินการแข่งขันพร้อมๆกันโดยกาหนดเวลาให้ 9. เมื่อการแข่งขันจบลง ให้แต่ละโต๊ะจัดลาดับผลการแข่งขัน และให้หาค่าคะแนนโบนัส 10. ผู้เข้าร่วมแข่งขันกลับไปเข้ากลุ่มเดิมของตนพร้อมด้วยนาคะแนนโบนัสไปด้วย 11. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาคะแนนโบนัสของแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนของทีม หาค่าเฉลี่ย ที่ที่ได้ ค่าเฉลี่ย (อาจใช้คะแนนโบนัสรวมกันก็ได้) สูงสุด จะได้รับการยอมรับเป็นทีมชนะเลิศและรองลงไป 12. ให้ตั้งชื่อทีมชนะเลิศ และรองลงมา 13. ครูประกาศผลการแข่งขันในที่สาธารณะ เช่น ปิดประกาศที่บอร์ด ลงข่าวหนังสือพิมพ์หรือประกาศ หน้าเสาธง
  • 19. 19 13. วิธีสอนแบบแฮร์บาร์ต (Herbart Method) 1. ความหมาย แฮร์บาร์ต เป็นชาวเยอรมันได้คิดแนว การสอนแบบนี้ขึ้นเขามีความคิดว่า การที่นักเรียนจะเรียน อะไรนั้นจะต้องเกิดขึ้น เพราะความสนใจเป็นเบื้องแรกการสอนควรเร้าให้นักเรียนสนใจก่อนอื่น เมื่อ นักเรียนเกิดความสนใจและมีความตั้งใจจะเรียนแล้วจึงเริ่มดาเนินการสอน เพื่อให้เรียนรู้ต่อไป 2. ขั้นตอนการสอน 2.1 ขั้นเตรียม ขั้นนี้มีความมุ่งหมายที่จะเร้าให้นักเรียนเห็นความจาเป็นและเกิดความสนใจต่อ ผู้เรียนกระหายที่จะเรียนรู้ในสิ่งที่ครูสอน ด้วยวิธีเร้าความสนใจรื้อฟื้นความรู้เก่าให้ต่อกับความรู้ใหม่ 2.2 ขั้นสอน ขั้นนี้เป็นขั้นดาเนินการสอน เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้ในเรื่องต่างๆ ของบทเรียน ครูจะถ่ายทอดความรู้ต่างๆ ให้นักเรียน 2.3 ขั้นสัมพันธ์หรือขันทบทวนและเปรียบเทียบ เป็นขั้นที่สื่อต่อจากขั้นสอนเมื่อครูสอนจบบทเรียน แล้วก็ทบทวนความรู้ที่นักเรียน เรียนไปแล้วและนาความรู้ใหม่ไปเกี่ยวกับความรู้เก่าครูจะต้องวิเคราะห์ ข้อความต่างๆที่สอนไปแล้วว่ามีความแตกต่างและคล้ายคลึงกับบทเรียนเก่าอย่างไร 2.4 ขั้นตั้งกฎหรือขั้นสรุป มีความมุ่งหมายให้นักเรียนเข้าใจบทเรียนกว้างขึ้นครูและนักเรียนจะ รวบรวมและย่อความรู้ต่างๆ จากขึ้นก่อนๆ แล้วสรุปความรู้เอาไว้ตอนหนึ่งเรื่องหนึ่งให้เป็นระเบียบและ จดบันทึกเอาไว้ 2.5 ขั้นใช้ ขั้นนี้เน้นให้นักเรียนนาเอาความรู้ความเข้าใจที่ได้เรียนมาแล้วไปใช้ในสิ่งอื่นได้ 3. ข้อดีของวิธีสอนแฮร์บาร์ต 1.นักเรียนได้เรียนรู้จากความสนใจ 2.การเรียนรู้ดาเนินไปจากง่ายไปหายากตามลาดับ 3.การสร้างกฏเกณฑ์หรือข้อสรุปกระทาโดยนักเรียนและครู 4. ข้อสังเกตของวิธีสอนแบบแฮร์บาร์ต 1.ในขั้นของการสัมพันธ์หรือทบทวนและเปรียบเทียบ ครูต้องให้โอกาสนักเรียนในการวิเคราะห์ เปรียบเทียบความแตกต่างและคล้ายคลึงกันระหว่างความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ด้วยตนเองมิใช่เกิดจาก การแนะนาของครู 2. ครูควรเน้นย้าให้นักเรียนจดบันทึกความรู้ตามลาดับขั้นตอนจากง่ายไปหายาก
  • 20. 20 14. วิธีสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง (Self Study Method) ความหมาย วิธีสอบแบบศึกษาด้วยตนเองเป็นวิธีสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองที่ นอกเหนือจากในหนังสือเรียน เปฺาหมาย เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองโดยได้รับคาแนะนาของครู เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาส แก้ปัญหาด้วยการแสดงความคิดเห็นในกลุ่ม และหาข้อสรุป ขั้นตอนของวิธีสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง 1. จัดนักเรียนเป็นกลุ่มเล็กๆ หรืออาจเป็นผู้เรียนคนเดียวศึกษาค้นคว้าตามลาพังโดยมีหัวข้อให้ไป ค้นคว้า 2. ครูกระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นและให้คาแนะนาให้มีการร่วมมือกันในการวางแผนที่จะศึกษา ค้นคว้าในเรื่องต่างๆ 3.คอยดูแลและให้ความช่วยเหลือในการศึกษาจัดหาและเสนอแนะแหล่งความรู้ได้แก่วัสดุหนังสือและสิ่งพิมพ์ อื่นๆ 4.นักเรียนเขียนรายงานผลการวินิจฉัยปัญหา ข้อดี 1.ช่วยพัฒนาสติปัญญา ส่งเสริมนิสัยในการวิเคราะห์ข้อมูลและการตัดสินใจ การเลือกวิธีแก้ปัญหา 2.ช่วยให้ผู้เรียนรู้จักที่จะควบคุมการทางานของตนเองได้ 3.สร้างนิสัยรักการศึกษาค้นคว้า และความรับผิดชอบตนเอง ข้อเสีย วิธีนี้อาจจะไม่ได้ผล ถ้าผู้เรียนขาดความรับผิดชอบและไม่ตั้งใจจริง วิพากษ์วิจารณ์ รูปแบบการสอนนี้มีความเหมาะสมกับวิชาคณิตศาสตร์อยู่มากเพราะบ้างครั้งการที่ได้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วนตนเองจะทาให้ผู้เรียนมีทักษะในการแก้ปัญหาต่างๆได้ง่ายขึ้น แต่การสอน แบบนี้ทดสอบได้ยากและเห็นผลช้า
  • 21. 21 15. รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการสืบสอบและแสวงหาความรู้เป็นกลุ่ม (Group Investigation Instructional Model) ทฤษฎี/หลักการ/แนวคิดของรูปแบบ จอยส์ และ วีล (Yoyce& Weil, 1996: 80-88) เป็นผู้พัฒนารูปแบบนี้จากแนวคิดหลัก ของเธเลน (Thelen) 2 แนวคิด คือแนวคิดเกี่ยวกับการสืบเสาะแสวงหาความรู้(inquiry) และแนวคิด เกี่ยวกับความรู้ (knowledge) เธเลนได้อธิบายว่า สิ่งสาคัญที่สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึก หรือความต้องการที่จะสืบค้นหรือเสาะแสวงหาความรู้ก็คือตัวปัญหา แต่ปัญหานั้นจะต้องมีลักษณะที่มี ความหมายต่อผู้เรียนและท้าทายเพียงพอที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะแสวงหาคาตอบ นอกจากนั้นปัญหาที่ชวนให้เกิดความงุนงงสงสัย หรือก่อให้เกิดความขัดแย้งทางความคิด จะยิ่งทาให้ ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะเสาะแสวงหาความรู้หรือคาตอบมากยิ่งขึ้น เนื่องจากมนุษย์อาศัยอยู่ใน สังคม ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นในสังคม เพื่อสนองความต้องการของตนทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคม ความขัดแย้งทางความคิดที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลหรือในกลุ่ม จึง เป็นสิ่งที่บุคคลต้องพยายามหาหนทางขจัดแก้ไขหรือจัดการทาความกระจ่างให้เป็นที่พอใจหรือยอมรับ ทั้งของตนเองและผู้เกี่ยวข้อง ส่วนในเรื่อง “ความรู้” นั้น เธเลนมีความเห็นว่า ความรู้เป็นเปฺาหมาย ของกระบวนการสืบสอบทั้งหลาย ความรู้เป็นสิ่งที่ได้จากการนาประสบการณ์หรือความรู้เดิมมาใช้ใน ประสบการณ์ใหม่ ดังนั้น ความรู้จึงเป็นสิ่งที่ค้นพบผ่านกระบวนการสืบสอบโดยอาศัยความรู้และ ประสบการณ์ วัตถุประสงค์ของรูปแบบ รูปแบบนี้มุ่งพัฒนาทักษะในการสืบสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ความเข้าใจ โดยอาศัยกลุ่มซึ่งเป็น เครื่องมือทางสังคมช่วยกระตุ้นความสนใจหรือความอยากรู้และช่วยดาเนินงานการแสวงหาความรู้ หรือคาตอบที่ต้องการ กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ ขั้นที่ 1 ให้ผู้เรียนเผชิญปัญหาหรือสถานการณ์ที่ชวนให้งุนงงสงสัย ปัญหาหรือสถานการณ์ที่ใช้ในการกระตุ้นความสนใจและความต้องการในการสืบสอบและ แสวงหาความรู้ต่อไปนั้น ควรเป็นปัญหาหรือสถานการณ์ที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความ สนใจของผู้เรียน และจะต้องมีลักษณะที่ชวนให้งุนงงสงสัย เพื่อท้าทายความคิดและความใฝูรู้ของผู้เรียน ขั้นที่ 2 ให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาหรือสถานการณ์นั้น ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง และพยายามกระตุ้นให้เกิดความ ขัดแย้งหรือความแตกต่างทางความคิดขึ้น เพื่อท้าทายให้ผู้เรียนพยายามหาทางเสาะแสวงหาข้อมูลหรือ วิธีการพิสูจน์ทดสอบความคิดของตน เมื่อมีความแตกต่างทางความคิดเกิดขึ้น ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนที่มี ความคิดเห็นเดียวกันรวมกลุ่มกัน หรืออาจรวมกลุ่มโดยให้แต่ละกลุ่มมีสมาชิกที่มีความคิดเห็นแตกต่าง กันก็ได้ ขั้นที่ 3 ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนในการแสวงหาความรู้ เมื่อกลุ่มมีความคิดเห็นแตกต่างกันแล้ว สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนว่า จะแสวงหาข้อมูล อะไร กลุ่มจะพิสูจน์อะไร จะตั้งสมมติฐานอะไร กลุ่มจาเป็นต้องมีข้อมูลอะไร และจะไปแสวงหาที่ไหนหรือ
  • 22. 22 จะได้ข้อมูลนั้นมาได้อย่างไร จะต้องใช้เครื่องมืออะไรบ้าง เมื่อได้ข้อมูลมาแล้ว จะวิเคราะห์อย่างไร และจะ สรุปผลอย่างไร ใครจะช่วยทา
  • 23. 23 อะไร จะใช้เวลาเท่าใด ขั้นนี้เป็นขั้นที่ผู้เรียนจะได้ฝึกทักษะการสืบสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการกลุ่ม ผู้สอนทาหน้าที่อานวยความสะดวกในการทางานให้แก่ผู้เรียน รวมทั้งให้ คาแนะนาเกี่ยวกับการวางแผน แหล่งความรู้ และการทางานร่วมกัน ขั้นที่ 4 ให้ผู้เรียนดาเนินการแสวงหาความรู้ ผู้เรียนดาเนินการเสาะแสวงหาความรู้ตามแผนงานที่ได้กาหนดไว้ ผู้สอนช่วยอานวยความ สะดวก ให้คาแนะนาและติดตามการทางานของผู้เรียน ขั้นที่ 5 ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลข้อมูล นาเสนอและอภิปรายผล เมื่อกลุ่มรวบรวมข้อมูลได้มาแล้ว กลุ่มทาการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล ต่อจากนั้นจึงให้แต่ ละกลุ่มนาเสนอผล อภิปรายผลร่วมกันทั้งชั้น และประเมินผลทั้งทางด้านผลงานและกระบวนการเรียนรู้ ที่ได้รับ ขั้นที่ 6 ให้ผู้เรียนกาหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการสืบเสาะหาคาตอบต่อไป การสืบสอบและเสาะแสวงหาความรู้ของกลุ่มตามขั้นตอนข้างต้นช่วยให้กลุ่มได้รับความรู้ ความเข้าใจ และคาตอบในเรื่องที่ศึกษา และอาจพบประเด็นที่เป็นปัญหาชวนให้งุนงงสงสัยหรืออยากรู้ ต่อไป ผู้เรียนสามารถเริ่มต้นวงจรการเรียนรู้ใหม่ ตั้งแต่ขั้นที่ 1 เป็นต้นไป การเรียนการสอนตาม รูปแบบนี้ จึงอาจมีต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ ตามความสนใจของผู้เรียน ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนตามรูปแบบ ผู้เรียนจะสามารถสืบสอบและเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เกิดความใฝูรู้และมีความมั่นใจใน ตนเองเพิ่มขึ้น และได้พัฒนาทักษะการสืบสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการทางาน กลุ่ม ข้อดี 1.เป็นวิธีการเรียนรู้ที่มีความหมายสาหรับผู้เรียน เพราะผู้เรียนเป็นผู้ศึกษาค้นคว้าหาแนวทางและเรียนรู้ ด้วยตนเอง 2.ผู้เรียนได้ฝึกการใช้ทักษะและกระบวนการต่างๆ ในการเรียนรู้ - ทักษะทางปัญญา ผู้เรียนได้ใช้ความคิดและสติปัญญาในการหาข้อมูลแสดงเหตุผลอย่างอิสระ - ทักษะทางสังคม ทาให้ผู้เรียนเกิดความเชื่อมั่น กล้าคิดกล้าแสดงออก หรือรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น - ทักษะทางการปฏิบัติ เป็นการปลูกฝังให้ผู้เรียนเป็นคนละเอียดถี่ถ้วน มีความรอบคอบ รู้จักการ สังเกต ไม่เชื่ออะไรง่ายๆโดยไม่ได้ตรวจสอบก่อ ข้อเสีย 1.เป็นวิธีการเรียนการสอนที่ใช้เวลามากพอสมควร 2.ผู้สอนจะต้องคอยดูแล ช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด การเรียนรู้จึงจะได้ผลดี 3.ผู้เรียนจะต้องมีความกระตือรือร้นในการเรียน