SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 53
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย ฉบับที่ 19
(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
Thailand’s 19th Constitution law
จัดทาโดย
นางสาว ณัฐฉรียา ชาเทพ ม.6/4 เลขที่ 32
นางสาว สุพิชญา ฟองศรี ม.6/4 เลขที่ 33
เสนอ
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
หลักการและทฤษฎี
แนวทางการดาเนินงาน
อุปกรณ์ที่ใช้
งบประมาณ
ขั้นตอนและแผนการดาเนินงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สถานที่ดาเนินการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
แหล่งอ้างอิง
ที่มาและความสาคัญ
วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ในประชุมร่วม 7 ฝ่าย เพื่อหาทางออกของประเทศ
ครั้งที่ 2 ตามประกาศกอ.รส. ฉบับที่ 8/2557 โดยมีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็น
ประธานในที่ประชุม ระหว่างการประชุม พลเอก ประยุทธ์ เปิดโอกาสให้แต่ละฝ่ายได้
เสนอแนวทางที่เห็นว่าเป็นทางออกที่ดีที่สุดของประเทศ หลังจากเวลาผ่านไปสองชั่วโมง
ก็ไม่มีข้อยุติ ต่อมา สุเทพ เทือกสุบรรณ กับ จตุพร พรหมพันธุ์ แยกไปหารือเป็นการ
ส่วนตัว ขณะเดียวกัน ประยุทธ์ก็ได้หารือกับผู้บัญชาการเหล่าทัพไปพร้อม ๆ กัน เมื่อ
กลับมาหารือกันต่อ ประยุทธ์ได้สอบถาม ชัยเกษม นิติสิริ ในฐานะหัวหน้าตัวแทน
ฝ่ายรัฐบาล ว่ารัฐบาลยืนยันไม่ลาออก ทั้งรายบุคคลและทั้งคณะใช่หรือไม่ ซึ่งชัยเกษม
ระบุว่า นาทีนี้ไม่ลาออก และต้องการดาเนินการต่อจนกว่าจะครบวาระตามกฎหมาย
ประยุทธ์จึงตอบกลับว่าจะยึดอานาจการปกครอง และสั่งจับกุมสมาชิกคณะรัฐมนตรี
ตลอดจนแกนนา กปปส., นปช. และพรรคการเมืองที่เข้าร่วมเจรจา
ทั้งหมดถูกนาไปกักขัง ที่กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ ต่อมา
เวลา 16:30 น. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประกาศตั้ง "คณะรักษาความสงบแห่งชาติ" (คสช.)
ยึดอานาจรัฐบาลรักษาการทันที
คสช. ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติกฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร ,ให้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 สิ้นสุดลง ยกเว้นหมวด 2
พระมหากษัตริย์ ,ห้ามประชาชนออกจากเคหสถาน ตั้งแต่เวลา 22.00 น. - 5.00 น. ทั่ว
ราชอาณาจักร เว้นแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากเจ้าหน้าที่ และ บังคับให้สื่อวิทยุ โทรทัศน์
และโทรทัศน์ดาวเทียมทุกสถานี งดออกอากาศรายการตามปกติ และให้ใช้สัญญาณของ
สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกออกอากาศไปจนกว่าจะได้รับคาสั่งเปลี่ยนแปลง และ วันที่
22 กรกฎาคม 2557 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช
2557 มีผลใช้บังคับ
เพื่อให้ได้รู้จักและเข้าใจกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับนี้มากขึ้น เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่
ต้องการศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับนี้
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ได้รู้จักและเข้าใจกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับนี้มากขึ้น
2. เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับกฎหมาย
รัฐธรรมนูญฉบับนี้
ขอบเขตโครงงาน
ขอบเขตด้านเนื้อหา เรื่อง กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ซึ่ง
ประกอบด้วย บทบัญญัติทั่วไป ข้อวิจารณ์ บทบัญญัติแห่ง
รัฐธรรมนูญ 48 มาตรา
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่
สนับสนุนการทาโครงงาน)
รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายที่มุ่งคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยบทบัญญัติแห่ง
รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว 48มาตรา)มีดังนี้
•มาตรา ๑ ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้
•มาตรา ๒ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข ให้บทบัญญัติของหมวด ๒ พระมหากษัตริย์ ของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งยังคงมีผลใช้บังคับอยู่ตามประกาศคณะ
รักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม พุทธศักราช
๒๕๕๗ ยังคงใช้บังคับต่อไปเป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญนี้ และภายใต้บังคับมาตรา
๔๓ วรรคหนึ่ง ที่ใดในบทบัญญัติดังกล่าวอ้างถึงรัฐสภาหรือประธานรัฐสภา ให้หมายถึง
สภานิติบัญญัติแห่งชาติหรือประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติตามรัฐธรรมนูญนี้ แล้วแต่
กรณี
•มาตรา ๓ อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็น
ประมุข ทรงใช้อานาจนั้นทางสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี และศาล
ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
•มาตรา ๔ ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค บรรดาที่ชนชาวไทยเคยได้รับการคุ้มครอง
ตามประเพณีการปกครองประเทศไทย ในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่ประเทศ
ไทย มีอยู่แล้ว ย่อมได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญนี้
•มาตรา ๕ เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้กระทาการ
นั้นหรือวินิจฉัย กรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข แต่ประเพณีการปกครอง
ดังกล่าวต้องไม่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้
ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการวินิจฉัยกรณีใดตามความในวรรคหนึ่งเกิดขึ้นในวงงาน
ของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด หรือเมื่อมี
กรณีที่เกิดขึ้นนอกวงงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
คณะรัฐมนตรี ศาลฎีกา หรือศาลปกครองสูงสุด จะขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาด
ก็ได้ แต่สาหรับศาลฎีกาและศาลปกครองสูงสุดให้กระทาได้เฉพาะ เมื่อมีมติของที่
ประชุมใหญ่ศาลฎีกาหรือที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด และเฉพาะใน
ส่วน ที่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี
•มาตรา ๖ ให้มีสภานิติบัญญัติแห่งชาติประกอบด้วยสมาชิกจานวนไม่เกินสองร้อย
ยี่สิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากผู้มีสัญชาติไทยโดยการเกิดและมีอายุไม่ต่า
กว่าสี่สิบปี ตามที่คณะรักษา ความสงบแห่งชาติถวายคาแนะนา ให้สภานิติบัญญัติ
แห่งชาติทาหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา
•มาตรา ๗ การถวายคาแนะนาเพื่อทรงแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ให้
คานึงถึง ความรู้ความสามารถ ความหลากหลายของบุคคลจากกลุ่มต่าง ๆ ในภาครัฐ
ภาคเอกชน ภาคสังคม ภาควิชาการ ภาควิชาชีพ และภาคอื่นที่จะเป็นประโยชน์ต่อ
การปฏิบัติหน้าที่ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
•มาตรา ๘ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(๑) ดารงตาแหน่งหรือเคยดารงตาแหน่งใดในพรรคการเมืองภายในระยะเวลาสามปีก่อน
วันที่ได้รับ การแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
(๒) เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช
(๓) เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต
(๔) เคยถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
(๕) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ
เพราะทุจริตต่อหน้าที่หรือถือว่ากระทาการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ
(๖) เคยต้องคาพิพากษาให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ารวยผิดปกติหรือมี
ทรัพย์สิน เพิ่มขึ้นผิดปกติ
(๗) อยู่ระหว่างต้องห้ามมิให้ดารงตาแหน่งทางการเมือง หรือเคยถูกถอดถอนจากตาแหน่ง
(๘) เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิด
ต่อ ตาแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือกระทาผิดกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด หรือ
กฎหมายเกี่ยวกับการพนัน ในฐานความผิดเป็นเจ้ามือหรือเจ้าสานัก
(๙) เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทาโดยประมาท
หรือ ความผิดลหุโทษ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจะดารงตาแหน่งสมาชิกสภาปฏิรูป
แห่งชาติหรือรัฐมนตรี ในขณะเดียวกันมิได้
•มาตรา ๙ สมาชิกภาพของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติสิ้นสุดลงเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง หรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘
(๔) สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติให้พ้นจากสมาชิกภาพตามมาตรา ๑๒
(๕) ไม่แสดงตนเพื่อลงมติในที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติเกินจานวนที่กาหนดไว้ใน
ข้อบังคับ การประชุม ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการสิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิก
สภานิติบัญญัติแห่งชาติตามวรรคหนึ่ง ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้วินิจฉัย
•มาตรา ๑๐ พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นประธานสภา
นิติบัญญัติ แห่งชาติคนหนึ่ง และเป็นรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติไม่เกินสองคน
ตามมติของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติให้หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติลงนามรับ
สนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิก สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และประธานสภาและ
รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
•มาตรา ๑๑ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทย ต้องอุทิศตน
ให้แก่ การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของปวงชนชาว
ไทย
•มาตรา ๑๒ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติผู้ใดกระทาการอันเป็นการเสื่อมเสียเกียรติ
ศักดิ์ของ การเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือมีพฤติการณ์อันเป็นการขัดขวาง
การปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิก สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจาน
วนไม่น้อยกว่ายี่สิบห้าคนมีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อ ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อให้
สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติให้ผู้นั้นพ้นจากสมาชิกภาพ มติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ตามวรรคหนึ่งต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของ จานวนสมาชิกทั้งหมด
•มาตรา ๑๓ การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่า
กึ่งหนึ่งของ จานวนสมาชิกทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม สภานิติบัญญัติแห่งชาติมี
อานาจตราข้อบังคับเกี่ยวกับการเลือกและการปฏิบัติหน้าที่ของประธานสภา รอง
ประธานสภา และกรรมาธิการ วิธีการประชุม การเสนอและการพิจารณาร่าง
พระราชบัญญัติและ ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ การเสนอญัตติ การ
อภิปราย การลงมติ การตั้งกระทู้ถาม การรักษาระเบียบและความเรียบร้อย และ
กิจการอื่นเพื่อดาเนินการตามอานาจหน้าที่
•มาตรา ๑๔ พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราชบัญญัติโดยคาแนะนาและยินยอม
ของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ ร่างพระราชบัญญัติจะเสนอได้ก็แต่โดยสมาชิกสภานิติ
บัญญัติแห่งชาติร่วมกันจานวนไม่น้อยกว่า ยี่สิบห้าคน หรือคณะรัฐมนตรี หรือสภา
ปฏิรูปแห่งชาติตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง แต่ร่างพระราชบัญญัติ เกี่ยวด้วยการเงิน
จะเสนอได้ก็แต่โดยคณะรัฐมนตรี
ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินตามวรรคสอง หมายความถึงร่าง
พระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับ การตั้งขึ้น ยกเลิก ลด เปลี่ยนแปลง แก้ไข ผ่อน หรือวาง
ระเบียบการบังคับอันเกี่ยวกับภาษีหรืออากร การจัดสรร รับ รักษา หรือจ่ายเงิน
แผ่นดิน หรือการโอนงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน การกู้เงิน การค้าประกัน
หรือการใช้เงินกู้ หรือการดาเนินการที่ผูกพันทรัพย์สินของรัฐ หรือเงินตรา ในกรณี
เป็นที่สงสัยว่าร่างพระราชบัญญัติที่เสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นร่าง
พระราชบัญญัติ เกี่ยวด้วยการเงินหรือไม่ ให้ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้
วินิจฉัย ร่างพระราชบัญญัติที่เสนอโดยสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติหรือสภา
ปฏิรูปแห่งชาตินั้น คณะรัฐมนตรีอาจขอรับไปพิจารณาก่อนสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
จะรับหลักการก็ได้ การตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญให้กระทาได้โดย
วิธีการที่บัญญัติไว้ในมาตรานี้ แต่การเสนอร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
ให้กระทาโดยคณะรัฐมนตรีหรือผู้รักษาการตาม พระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญนั้น
•มาตรา ๑๕ ร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ได้รับความ
เห็นชอบ ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนาขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อม
ถวายภายในยี่สิบวันนับแต่ วันที่ได้รับร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญนั้นจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และ
เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับเป็น กฎหมายได้ ร่างพระราชบัญญัติหรือ
ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใด พระมหากษัตริย์ไม่ทรง เห็นชอบด้วยและ
พระราชทานคืนมายังสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือเมื่อพ้นเก้าสิบวันแล้วมิได้ พระราชทาน
คืนมา สภานิติบัญญัติแห่งชาติจะต้องปรึกษาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญนั้นใหม่ ถ้าสภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติยืนยันตามเดิมด้วยคะแนนเสียง
ไม่น้อยกว่า สองในสามของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่แล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนาร่าง
พระราชบัญญัติหรือ ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อม
ถวายอีกครั้งหนึ่ง เมื่อพระมหากษัตริย์ มิได้ทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชทานคืนมาภายใน
สามสิบวัน ให้นายกรัฐมนตรีนาพระราชบัญญัติหรือ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
นั้นประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับเป็นกฎหมายได้เสมือนหนึ่งว่า พระมหากษัตริย์ได้
ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว
•มาตรา ๑๖ ในที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกทุกคนมีสิทธิตั้งกระทู้ถาม
รัฐมนตรี ในเรื่องใดอันเกี่ยวกับงานในหน้าที่ได้ แต่รัฐมนตรีย่อมมีสิทธิที่จะไม่ตอบเมื่อ
เห็นว่าเรื่องนั้นยังไม่ควรเปิดเผย เพราะเกี่ยวกับความปลอดภัยหรือประโยชน์สาคัญ
ของแผ่นดิน หรือเมื่อเห็นว่าเป็นกระทู้ที่ต้องห้าม ตามข้อบังคับ ในกรณีนี้สภานิติ
บัญญัติแห่งชาติจะตราข้อบังคับกาหนดองค์ประชุมให้แตกต่างจากที่ บัญญัติไว้ใน
มาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง ก็ได้ เมื่อมีปัญหาสาคัญ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจานวน
ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจานวน สมาชิกทั้งหมด จะเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปราย
เพื่อซักถามข้อเท็จจริงจากคณะรัฐมนตรีก็ได้ แต่จะ ลงมติไว้วางใจหรือไม่ไว้วางใจมิได้
•มาตรา ๑๗ ในกรณีที่มีปัญหาสาคัญเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินที่
คณะรัฐมนตรีเห็นสมควร จะฟังความคิดเห็นของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
นายกรัฐมนตรีจะแจ้งไปยังประธานสภานิติบัญญัติ แห่งชาติเพื่อให้มีการเปิดอภิปราย
ทั่วไปในที่ประชุมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติก็ได้ แต่สภานิติบัญญัติ แห่งชาติจะลงมติ
ในปัญหาที่อภิปรายมิได้
•มาตรา ๑๘ ในการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกผู้ใดจะกล่าวถ้อยคาใด ๆ ในทาง
แถลงข้อเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็น หรือออกเสียงลงคะแนน ย่อมเป็นเอกสิทธิ์โดย
เด็ดขาด จะนาไป เป็นเหตุฟ้องร้องว่ากล่าวผู้นั้นในทางใดมิได้ เอกสิทธิ์ตามวรรคหนึ่งให้
คุ้มครองถึงกรรมาธิการของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา รายงานการประชุม
ตามคาสั่งของสภานิติบัญญัติแห่งชาติหรือคณะกรรมาธิการ บุคคลซึ่งประธานในที่ประชุม
อนุญาตให้แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ตลอดจน ผู้ดาเนินการถ่ายทอดการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติทางวิทยุกระจายเสียงหรือ
วิทยุโทรทัศน์หรือ ทางอื่นใดที่ได้รับอนุญาตจากประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติด้วย แต่ไม่
คุ้มครองสมาชิกสภานิติบัญญัติ แห่งชาติผู้กล่าวถ้อยคาในการประชุมที่มีการถ่ายทอดทาง
วิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์หรือทางอื่นใด หากถ้อยคาที่กล่าวในที่ประชุมไปปรากฏ
นอกบริเวณสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และถ้อยคานั้นมีลักษณะ เป็นความผิดอาญา หรือ
ละเมิดสิทธิในทางแพ่งต่อบุคคลอื่นซึ่งมิใช่รัฐมนตรีหรือสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ใน
กรณีที่สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติถูกควบคุมหรือขัง ให้สั่งปล่อยเมื่อประธานสภานิติ
บัญญัติ แห่งชาติร้องขอ หรือในกรณีถูกฟ้องในคดีอาญา ให้ศาลพิจารณาคดีต่อไปได้ เว้นแต่
ประธานสภานิติบัญญัติ แห่งชาติร้องขอให้งดการพิจารณาคดี
•มาตรา ๑๙ พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งตามมติของสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ และรัฐมนตรีอื่นอีกจานวนไม่เกินสามสิบห้าคนตามที่นายกรัฐมนตรีถวายคาแนะ
นา ประกอบเป็นคณะรัฐมนตรี มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน ดาเนินการให้มีการปฏิรูป
ในด้านต่าง ๆ และส่งเสริมความสามัคคีและ ความสมานฉันท์ของประชาชนในชาติ ก่อน
เข้ารับหน้าที่ รัฐมนตรีต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ด้วยถ้อยคาดังต่อไปนี้
“ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่อ
พระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศ
และประชาชน ทั้งจะรักษาไว้และ ปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุก
ประการ” พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอานาจในการให้นายกรัฐมนตรีพ้นจาก
ตาแหน่งตามที่ประธาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติถวายคาแนะนาตามมติของสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติที่เสนอโดยคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ และให้รัฐมนตรีพ้นจากตาแหน่งตามที่
นายกรัฐมนตรีถวายคาแนะนา การแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและการให้นายกรัฐมนตรีพ้นจาก
ตาแหน่ง ให้ประธานสภานิติบัญญัติ แห่งชาติลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีมีสิทธิเข้าร่วมประชุมชี้แจงแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมสภา
นิติบัญญัติ แห่งชาติหรือสภาปฏิรูปแห่งชาติ แต่ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน และให้นา
เอกสิทธิ์ตามมาตรา ๑๘ มาใช้บังคับแก่การชี้แจงแสดงความคิดเห็นของนายกรัฐมนตรีและ
รัฐมนตรีตามมาตรานี้ด้วยโดยอนุโลม
•มาตรา ๒๐ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
ดังต่อไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
(๒) มีอายุไม่ต่ากว่าสี่สิบปี
(๓) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
(๔) ไม่เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกพรรคการเมืองภายในระยะเวลาสามปีก่อนวันที่ได้รับการ
แต่งตั้ง และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘
(๕) ไม่เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมาธิการยกร่าง
รัฐธรรมนูญ หรือสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
(๖) ไม่เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้พิพากษาหรือตุลาการ อัยการ กรรมการการเลือกตั้ง
ผู้ตรวจการแผ่นดิน กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรรมการ
ตรวจเงินแผ่นดิน ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน หรือกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อขาดคุณสมบัติหรือมี
ลักษณะ ต้องห้ามตามวรรคหนึ่ง หรือเมื่อมีกรณีตามมาตรา ๙ (๑) หรือ (๒)
•มาตรา ๒๑ เมื่อมีกรณีฉุกเฉินที่มีความจาเป็นรีบด่วนเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษา
ความมั่นคง แห่งราชอาณาจักร ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
ของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติ สาธารณะ หรือเมื่อมีความจาเป็นต้องมีกฎหมาย
เกี่ยวด้วยภาษีอากรหรือเงินตราที่ต้องพิจารณาโดยด่วน และลับ พระมหากษัตริย์ทรง
ไว้ซึ่งพระราชอานาจในการตราพระราชกาหนดให้ใช้บังคับดังเช่นพระราชบัญญัติ เมื่อ
ได้ประกาศใช้พระราชกาหนดแล้ว ให้คณะรัฐมนตรีเสนอพระราชกาหนดนั้นต่อสภา
นิติบัญญัติ แห่งชาติโดยไม่ชักช้า ถ้าสภานิติบัญญัติแห่งชาติอนุมัติ ให้พระราชกาหนด
นั้นมีผลใช้บังคับเป็น พระราชบัญญัติต่อไป ถ้าสภานิติบัญญัติแห่งชาติไม่อนุมัติ ให้
พระราชกาหนดนั้นตกไป แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนกิจการที่ได้เป็นไปในระหว่างที่
พระราชกาหนดนั้นใช้บังคับ
เว้นแต่พระราชกาหนดนั้น มีผลเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
ใด ให้บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีอยู่ก่อน การแก้ไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกนั้นมีผลใช้บังคับ
ต่อไปตั้งแต่วันที่พระราชกาหนดดังกล่าวตกไป การอนุมัติหรือไม่อนุมัติพระราชกาหนดให้
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในกรณีที่ไม่อนุมัติ ให้มีผลตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา
•มาตรา ๒๒ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอานาจในการตราพระราชกฤษฎีกาโดยไม่
ขัดต่อ กฎหมาย พระราชอานาจในการพระราชทานอภัยโทษ และพระราชอานาจในการ
อื่นตามประเพณี การปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
•มาตรา ๒๓ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอานาจในการทาหนังสือสัญญาสันติภาพ
สัญญาสงบศึก และสัญญาอื่นกับนานาประเทศหรือกับองค์การระหว่างประเทศ หนังสือ
สัญญาใดมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย หรือเขตพื้นที่นอกอาณาเขต ซึ่งประเทศไทย มี
สิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอานาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือ
จะต้องออก พระราชบัญญัติเพื่อให้การเป็นไปตามหนังสือสัญญา หรือที่กระทบต่อความ
มั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคม ของประเทศอย่างกว้างขวาง
ต้องได้รับความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในการนี้ สภานิติบัญญัติ แห่งชาติ
จะต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับเรื่อง หนังสือสัญญาที่กระทบ
ต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอย่างกว้างขวาง ตามวรรคสอง หมายถึง
หนังสือสัญญาเกี่ยวกับการค้าเสรี เขตศุลกากรร่วม หรือการให้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ หรือ
ทาให้ประเทศต้องสูญเสียสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมดหรือบางส่วน หรือการอื่นตามที่
กฎหมาย บัญญัติ เมื่อมีปัญหาว่าหนังสือสัญญาใดเป็นกรณีตามวรรคสองหรือวรรคสาม
หรือไม่ คณะรัฐมนตรี จะขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยก็ได้ ทั้งนี้ ให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย
ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่ วันที่ได้รับคาขอ
•มาตรา ๒๔ พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือน ตาแหน่ง
ปลัดกระทรวง อธิบดี และเทียบเท่า ผู้พิพากษาและตุลาการ ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรตาม
รัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และข้าราชการฝ่าย
อื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ และ ทรงให้พ้นจากตาแหน่ง เว้นแต่กรณีที่พ้นจากตาแหน่ง
เพราะความตาย
•มาตรา ๒๕ บรรดาบทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการใด ๆ อัน
เกี่ยวกับ ราชการแผ่นดิน ต้องมีรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ เว้นแต่
รัฐธรรมนูญนี้บัญญัติไว้ เป็นอย่างอื่น
•มาตรา ๒๖ ผู้พิพากษาและตุลาการมีอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีในพระ
ปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์ให้เป็นไปโดยยุติธรรมตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย
•มาตรา ๒๗ ให้มีสภาปฏิรูปแห่งชาติมีหน้าที่ศึกษาและเสนอแนะเพื่อให้เกิดการปฏิรูป
ในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
(๑) การเมือง
(๒) การบริหารราชการแผ่นดิน
(๓) กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
(๔) การปกครองท้องถิ่น
(๕) การศึกษา
(๖) เศรษฐกิจ
(๗) พลังงาน
(๘) สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
(๙) สื่อสารมวลชน
(๑๐) สังคม
(๑๑) อื่น ๆ ทั้งนี้
เพื่อให้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมีความ
เหมาะสม กับสภาพสังคมไทย มีระบบการเลือกตั้งที่สุจริตและเป็นธรรม มีกลไกป้องกัน
และขจัดการทุจริตและ ประพฤติมิชอบที่มีประสิทธิภาพ ขจัดความเหลื่อมล้าและสร้าง
ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทาให้กลไกของรัฐ
สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างทั่วถึง สะดวก รวดเร็ว และมีการบังคับใช้กฎหมาย
อย่างเคร่งครัดและเป็นธรรม
•มาตรา ๒๘ ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติประกอบด้วยสมาชิกจานวนไม่เกินสองร้อยห้าสิบ
คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากผู้มีสัญชาติไทยโดยการเกิดและมีอายุไม่ต่ากว่า
สามสิบห้าปี ตามที่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติถวายคาแนะนา พระมหากษัตริย์
ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติเป็นประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติคนหนึ่ง และ
เป็นรองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติไม่เกินสองคน ตามมติของสภาปฏิรูปแห่งชาติ ให้
หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้ง
สมาชิก สภาปฏิรูปแห่งชาติ และประธานสภาและรองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ
•มาตรา ๒๙ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘ (๒)
(๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) และ (๙) และให้นาความในมาตรา ๙ มาใช้บังคับแก่การ
สิ้นสุดสมาชิกภาพของ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติโดยอนุโลม แต่การวินิจฉัยตาม
มาตรา ๙ วรรคสอง ให้เป็นอานาจของสภาปฏิรูปแห่งชาติ
•มาตรา ๓๐ ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติดาเนินการคัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับ
การแต่งตั้ง เป็นสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
(๑) จัดให้มีคณะกรรมการสรรหาบุคคลด้านต่าง ๆ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๗ ด้าน
ละ หนึ่งคณะ และให้มีคณะกรรมการสรรหาประจาจังหวัดแต่ละจังหวัดเพื่อสรรหาจาก
บุคคลซึ่งมีภูมิลาเนา ในจังหวัดนั้น ๆ
(๒) ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาแต่ละด้านจาก
ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งมีความรู้และประสบการณ์เป็นที่ยอมรับของบุคคลในด้านนั้น ๆ
(๓) ให้คณะกรรมการสรรหาดาเนินการสรรหาบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๘ ไม่
มี ลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๙ และมีความรู้ความสามารถเป็นที่ประจักษ์ในแต่ละ
ด้าน แล้วจัดทา บัญชีรายชื่อเสนอต่อคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ในการนี้
คณะกรรมการสรรหาจะเสนอชื่อตนเองมิได้
(๔) การสรรหาบุคคลตาม (๓) ให้คานึงถึงความหลากหลายของบุคคลจากกลุ่มต่าง ๆ
ในภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสังคม ภาควิชาการ ภาควิชาชีพ และภาคอื่นที่จะเป็น
ประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ของสภาปฏิรูปแห่งชาติ การกระจายตามจังหวัด โอกาส
และความเท่าเทียมกันทางเพศ รวมทั้งผู้ด้อยโอกาส
(๕) ให้คณะกรรมการสรรหาประจาจังหวัดประกอบด้วยบุคคลตามที่กาหนดใน
พระราชกฤษฎีกา
(๖) ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติคัดเลือกบุคคลที่เห็นสมควรได้รับการแต่งตั้ง
เป็นสมาชิก สภาปฏิรูปแห่งชาติจากบัญชีรายชื่อที่คณะกรรมการสรรหาตาม (๑)
เสนอ ไม่เกินสองร้อยห้าสิบคน โดยในจานวนนี้ให้คัดเลือกจากบุคคลที่
คณะกรรมการสรรหาประจาจังหวัดเสนอ จังหวัดละหนึ่งคน จานวนกรรมการใน
คณะกรรมการสรรหาแต่ละคณะ วิธีการสรรหา กาหนดเวลาในการสรรหา จานวน
บุคคลที่จะต้องสรรหา และการอื่นที่จาเป็น ให้เป็นไปตามที่กาหนดในพระราช
กฤษฎีกา
•มาตรา ๓๑ สภาปฏิรูปแห่งชาติมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ศึกษา วิเคราะห์
และจัดทาแนวทางและข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปด้านต่าง ๆ ตามมาตรา ๒๗
เสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี คณะรักษาความสงบแห่งชาติ และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (๒) เสนอความเห็นหรือข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมาธิการยก
ร่างรัฐธรรมนูญเพื่อประโยชน์ ในการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ (๓) พิจารณาและให้
ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญจัดทาขึ้น
ในการดาเนินการตาม (๑) หากเห็นว่ากรณีใดจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัติหรือ
พระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญขึ้นใช้บังคับ ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติจัดทาร่าง
พระราชบัญญัติดังกล่าวเสนอต่อ สภานิติบัญญัติแห่งชาติเพื่อพิจารณาต่อไป ในกรณีที่เป็น
ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินหรือ ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ให้จัดทา
เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อดาเนินการต่อไป ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติเสนอความเห็นหรือ
ข้อเสนอแนะตาม (๒) ต่อคณะกรรมาธิการยกร่าง รัฐธรรมนูญภายในหกสิบวันนับแต่วันที่มี
การประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติครั้งแรก ให้นาความในมาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๘ มาใช้
บังคับแก่การปฏิบัติหน้าที่ของสภาปฏิรูปแห่งชาติ ด้วยโดยอนุโลม
•มาตรา ๓๒ ให้มีคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญขึ้นคณะหนึ่งเพื่อจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ
ประกอบด้วยกรรมาธิการจานวนสามสิบหกคน ซึ่งประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้งจาก
บุคคล ดังต่อไปนี้ (๑) ประธานกรรมาธิการตามที่คณะรกษาความสงบแหั่งชาติเสนอ (๒) ผู้
ซึ่งสภาปฏิรูปแห่งชาติเสนอ จานวนยี่สิบคน (๓) ผู้ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี
และคณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ ฝ่ายละห้าคน
การแต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญตามวรรคหนึ่ง ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จ
ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่มีการเรียกประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติเป็นครั้งแรก ในกรณีที่
กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพ้นจากตาแหน่งไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้คณะกรรมาธิการ ยก
ร่างรัฐธรรมนูญที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ โดยให้ถือว่าคณะกรรมาธิการยกร่าง
รัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเท่าที่เหลืออยู่ แต่ให้
ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้ง กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญแทนตาแหน่งที่ว่างตาม
หลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในวรรคหนึ่งภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่กรรมาธิการยกร่าง
รัฐธรรมนูญพ้นจากตาแหน่ง ให้นาความในมาตรา ๑๘ มาใช้บังคับแก่การปฏิบัติหน้าที่
ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ด้วยโดยอนุโลม
•มาตรา ๓๓ กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องมีสัญชาติไทยโดยการเกิด มีอายุไม่ต่า
กว่าสี่สิบปี และไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(๑) เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง เว้นแต่เป็นผู้ดารงตาแหน่งในคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ
(๒) เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกหรือดารงตาแหน่งใดในพรรคการเมืองภายในระยะเวลาสาม
ปีก่อน วันที่ได้รับการแต่งตั้ง
(๓) มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๙
(๔) เป็นผู้พิพากษาหรือตุลาการ หรือผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรตามรัฐธรรมนูญตาม
รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เพื่อประโยชน์แห่งการขจัด
ส่วนได้เสีย ห้ามมิให้กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญดารงตาแหน่ง ทางการเมืองภายใน
สองปีนับแต่วันที่พ้นจากตาแหน่งกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
•มาตรา ๓๔ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จ
ภายใน หนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏิรูป
แห่งชาติตามมาตรา ๓๑ (๒) แล้วเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณา ในการจัด
ทาร่างรัฐธรรมนูญ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญนาความเห็นหรือ
ข้อเสนอแนะของ สภาปฏิรูปแห่งชาติตามมาตรา ๓๑ (๒) ความเห็นของสภานิติ
บัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี และคณะรักษา ความสงบแห่งชาติ และความเห็นของ
ประชาชนรวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาประกอบการพิจารณาด้วย
•มาตรา ๓๕ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้ครอบคลุม
เรื่อง ดังต่อไปนี้ด้วย
(๑)การรับรองความเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้
(๒) การให้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่
เหมาะสม กับสภาพสังคมของไทย
(๓) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งกลไกในการกากับและควบคุมให้การใช้อานาจรัฐ
เป็นไปเพื่อประโยชน์ ส่วนรวมของประเทศชาติและประชาชน
(๔) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและตรวจสอบมิให้ผู้เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่ง
ที่ชอบด้วยกฎหมายว่ากระทาการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ หรือเคยกระทาการอันทา
ให้การเลือกตั้ง ไม่สุจริตหรือเที่ยงธรรม เข้าดารงตาแหน่งทางการเมืองอย่างเด็ดขาด
(๕) กลไกที่มีประสิทธิภาพที่ทาให้เจ้าหน้าที่ของรัฐโดยเฉพาะผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองและ
พรรคการเมือง สามารถปฏิบัติหน้าที่หรือดาเนินกิจกรรมได้โดยอิสระ ปราศจากการครอบงา
หรือชี้นา โดยบุคคลหรือคณะบุคคลใด ๆ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
(๖) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของหลักนิติธรรม และการสร้างเสริม
คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในทุกภาคส่วนและทุกระดับ
(๗) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการปรับโครงสร้างและขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและสังคม
เพื่อให้ เกิดความเป็นธรรมอย่างยั่งยืน และป้องกันการบริหารราชการแผ่นดินที่มุ่งสร้างความ
นิยมทางการเมือง ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและประชาชน
ในระยะยาว
(๘) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงินของรัฐให้เป็นไปอย่างคุ้มค่าและตอบสนองต่อ
ประโยชน์ส่วนรวมของประชาชนโดยสอดคล้องกับสถานะทางการเงินการคลังของประเทศ
และกลไก การตรวจสอบและเปิดเผยการใช้จ่ายเงินของรัฐที่มีประสิทธิภาพ
(๙) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันมิให้มีการทาลายหลักการสาคัญที่รัฐธรรมนูญจะได้
วางไว้
(๑๐) กลไกที่จะผลักดันให้มีการปฏิรูปเรื่องสาคัญต่าง ๆ ให้สมบูรณ์ต่อไป ให้
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาถึงความจาเป็นและความคุ้มค่าที่ต้องมี
องค์กร ตามรัฐธรรมนูญหรือองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยอาศัยอานาจตามรัฐธรรมนูญ ใน
กรณีที่จาเป็นต้องมี ให้พิจารณา มาตรการที่จะให้การดาเนินงานขององค์กรดังกล่าว
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย
•มาตรา ๓๖ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเสนอร่างรัฐธรรมนูญที่จัดทาเสร็จ
ต่อประธาน สภาปฏิรูปแห่งชาติ และให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติจัดให้สภาปฏิรูป
แห่งชาติประชุมกันเพื่อพิจารณา เสนอแนะหรือให้ความเห็นให้แล้วเสร็จภายในสิบวัน
นับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติอาจขอแก้ไขเพิ่มเติมร่าง
รัฐธรรมนูญได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ สภาปฏิรูปแห่งชาติเสร็จสิ้นการพิจารณา
ตามวรรคหนึ่ง คาขอแก้ไขเพิ่มเติมของสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ ต้องมีสมาชิกสภา
ปฏิรูปแห่งชาติลงชื่อรับรองไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจานวนสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ
และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติที่ยื่นคาขอหรือที่ให้คารับรองคาขอของสมาชิกอื่นแล้ว
จะยื่นคาขอหรือ รับรองคาขอของสมาชิกอื่นอีกมิได้
ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญส่งร่างรัฐธรรมนูญให้คณะรัฐมนตรีและคณะรักษา
ความสงบแห่งชาติด้วย และคณะรัฐมนตรีหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติจะเสนอความ
คิดเห็นหรือ ยื่นคาขอแก้ไขเพิ่มเติมได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ คา
ขอแก้ไขเพิ่มเติมให้ยื่นต่อประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
•มาตรา ๓๗ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาคาขอแก้ไขเพิ่มเติมให้แล้ว
เสร็จ ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ครบกาหนดยื่นคาขอแก้ไขเพิ่มเติมตามมาตรา ๓๖ วรรค
สอง ในการนี้ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญอาจแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญได้ตามที่
เห็นสมควร เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้แก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญตาม
วรรคหนึ่งแล้ว ให้เสนอร่างรัฐธรรมนูญต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
หรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้น ทั้งฉบับ โดยสภาปฏิรูปแห่งชาติต้องมีมติภายในสิบห้า
วันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญจากคณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ สภา
ปฏิรูปแห่งชาติจะแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อความของร่างรัฐธรรมนูญนั้นมิได้ เว้นแต่ เป็น
ข้อผิดพลาดที่มิใช่สาระสาคัญ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเห็นชอบด้วยกับการ
แก้ไข เพิ่มเติมนั้น หรือเป็นกรณีที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเห็นว่าจาเป็นต้อง
แก้ไขเพิ่มเติมเพื่อให้ สมบูรณ์ขึ้น
เมื่อสภาปฏิรูปแห่งชาติมีมติเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญตามวรรคสองแล้ว ให้ประธาน สภา
ปฏิรูปแห่งชาตินาร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายภายในสามสิบวันนับแต่วันที่
สภาปฏิรูปแห่งชาติมีมติ และเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
และใช้บังคับได้ โดยให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ในกรณี
ที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญและพระราชทานคืนมา หรือ เมื่อพ้น
กาหนดเก้าสิบวันแล้วมิได้พระราชทานคืนมา ให้ร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไป
•มาตรา ๓๘ ในกรณีที่สภาปฏิรูปแห่งชาติพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในเวลา ที่
กาหนด หรือไม่ให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ หรือร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไปตามมาตรา
๓๗ ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้มีการ
ดาเนินการ เพื่อแต่งตั้งสภาปฏิรูปแห่งชาติและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดใหม่ขึ้น
เพื่อดาเนินการแทน ตามอานาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้ ในกรณีที่คณะกรรมาธิการยก
ร่างรัฐธรรมนูญยกร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลา ที่กาหนดไว้ตามมาตรา ๓๔ ให้
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้ดาเนินการ แต่งตั้งคณะกรรมาธิการ
ยกร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่คณะกรรมาธิการยกร่าง รัฐธรรมนูญสิ้นสุด
ลง ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ
สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และ กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดที่สิ้นสุดลงตามวรรค
หนึ่งหรือวรรคสอง จะเป็นประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ
สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ หรือกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แล้วแต่กรณี ชุดใหม่มิได้
•มาตรา ๓๙ เมื่อจัดทาร่างรัฐธรรมนูญเสร็จแล้ว ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติและ
คณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญยังคงปฏิบัติหน้าที่ต่อไปเพื่อประโยชน์ในการจัดให้
มีร่างกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายอื่นที่จาเป็น ในการนี้ สภาปฏิรูป
แห่งชาติอาจแต่งตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นเพื่อพิจารณา ร่างกฎหมายที่จาเป็นก็ได้ แต่เมื่อ
มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญใหม่แล้ว การปฏิบัติหน้าที่ของสภาปฏิรูปแห่งชาติและ
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้นั้น
• มาตรา ๔๐ เงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง และประโยชน์ตอบแทนอื่นของ
ประธานสภาและ รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานสภาและรอง
ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ ผู้ดารงตาแหน่ง ในคณะรักษาความสงบแห่งชาติ สมาชิก
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญ
ให้เป็นไปตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
•มาตรา ๔๑ ในกรณีที่มีบทบัญญัติของกฎหมายใดกาหนดคุณสมบัติหรือลักษณะ
ต้องห้าม ในการดารงตาแหน่งทางการเมือง มิให้นาบทบัญญัติแห่งกฎหมายนั้นมาใช้
บังคับแก่ผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้ง เป็นผู้ดารงตาแหน่งในคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมาธิการยกร่าง
รัฐธรรมนูญ ข้าราชการการเมืองตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการการเมือง
และข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการรัฐสภา
•มาตรา ๔๒ ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ ฉบับที่ ๖/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗ เป็นคณะ
รักษาความสงบแห่งชาติต่อไป และมีอานาจหน้าที่ปฏิบัติการตามที่บัญญัติไว้ใน
รัฐธรรมนูญนี้ ในกรณีจาเป็นเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ หัวหน้าคณะรักษา
ความสงบแห่งชาติ จะเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมผู้ดารงตาแหน่งใดในคณะรักษาความ
สงบแห่งชาติก็ได้ แต่ในกรณีเพิ่มเติม เมื่อรวมกันแล้วต้องไม่เกินสิบห้าคน และจะ
กาหนดให้หน่วยงานใดทาหน้าที่เป็นหน่วยธุรการของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ก็ได้ตามที่เห็นสมควร
ในกรณีที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติเห็นว่าคณะรัฐมนตรีควรดาเนินการตามอานาจ
หน้าที่ ที่กาหนดไว้ในมาตรา ๑๙ ในเรื่องใด ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติแจ้งให้
คณะรัฐมนตรีทราบ เพื่อดาเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไป ในกรณีที่เห็นสมควร
หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติหรือนายกรัฐมนตรีอาจขอให้มี การประชุม
ร่วมกันของคณะรักษาความสงบแห่งชาติและคณะรัฐมนตรีเพื่อร่วมพิจารณาหรือแก้ไข
ปัญหาใด ๆ อันเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อยหรือความมั่นคงของชาติ รวม
ตลอดทั้งการปรึกษาหารือเป็นครั้งคราว ในเรื่องอื่นใดก็ได้
•มาตรา ๔๓ ในระหว่างที่ยังไม่มีสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติ
ให้ การดาเนินการเรื่องใดต้องได้รับความเห็นชอบหรือรับทราบจากสภาผู้แทนราษฎร
วุฒิสภา หรือรัฐสภา ให้เป็นอานาจของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติในการให้
ความเห็นชอบหรือรับทราบแทน สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือรัฐสภา ก่อนที่
คณะรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญนี้จะเข้ารับหน้าที่ ให้บรรดาอานาจหน้าที่ของ
นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีเป็นอานาจหน้าที่ของหัวหน้าคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ
•มาตรา ๔๔ ในกรณีที่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติเห็นเป็นการจา
เป็นเพื่อประโยชน์ ในการปฏิรูปในด้านต่าง ๆ การส่งเสริมความสามัคคีและ
ความสมานฉันท์ของประชาชนในชาติ หรือเพื่อ ป้องกัน ระงับ หรือ
ปราบปรามการกระทาอันเป็นการบ่อนทาลายความสงบเรียบร้อยหรือความ
มั่นคงของชาติ ราชบัลลังก์ เศรษฐกิจของประเทศ หรือราชการแผ่นดิน ไม่ว่า
จะเกิดขึ้นภายในหรือภายนอกราชอาณาจักร ให้หัวหน้าคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีอานาจสั่งการ
ระงับยับยั้ง หรือกระทาการใด ๆ ได้ ไม่ว่าการกระทานั้นจะมีผลบังคับในทาง
นิติบัญญัติ ในทางบริหาร หรือในทางตุลาการ และให้ถือว่าคาสั่งหรือการ
กระทา รวมทั้งการปฏิบัติตามคาสั่งดังกล่าว เป็นคาสั่ง หรือการกระทา หรือ
การปฏิบัติที่ชอบด้วยกฎหมายและรัฐธรรมนูญนี้และเป็นที่สุด ทั้งนี้ เมื่อได้
ดาเนินการดังกล่าวแล้ว ให้รายงานประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติและ
นายกรัฐมนตรีทราบโดยเร็ว
•มาตรา ๔๕ ภายใต้บังคับมาตรา ๕ และมาตรา ๔๔ ให้ศาลรัฐธรรมนูญมีอานาจ
พิจารณา วินิจฉัยปัญหาว่ากฎหมายใดขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้หรือไม่ และตามที่
กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินและกฎหมายประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมืองกาหนดให้เป็นอานาจของ ศาลรัฐธรรมนูญ แต่สา
หรับผู้ตรวจการแผ่นดิน ให้มีอานาจเสนอเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยได้เฉพาะ เมื่อ
มีกรณีที่เห็นว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญนี้
การพิจารณาและการทาคาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย
การนั้น ในระหว่างที่ยังไม่มีกฎหมายดังกล่าว ให้เป็นไปตามข้อกาหนดของศาล
รัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณา และการทาคาวินิจฉัยที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่
รัฐธรรมนูญนี้ใช้บังคับ ทั้งนี้ เพียงเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อ วรรคหนึ่งหรือรัฐธรรมนูญนี้
•มาตรา ๔๖ ในกรณีที่เห็นเป็นการจาเป็นและสมควร คณะรัฐมนตรีและคณะรักษา
ความสงบแห่งชาติ จะมีมติร่วมกันให้แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญนี้ก็ได้ โดยจัดทาเป็น
ร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมเสนอต่อ สภานิติบัญญัติแห่งชาติเพื่อให้ความเห็นชอบ
ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ
แก้ไขเพิ่มเติม ตามวรรคหนึ่งภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญแก้ไข
เพิ่มเติม ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบ สภานิติบัญญัติแห่งชาติจะแก้ไขเพิ่มเติม
ร่างรัฐธรรมนูญ แก้ไขเพิ่มเติมนั้นมิได้ เว้นแต่คณะรัฐมนตรีและคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติจะเห็นชอบด้วย มติให้ความเห็นชอบต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจานวนสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เมื่อสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมแล้ว ให้นายกรัฐมนตรี นาร่าง
รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่
สภานิติบัญญัติ แห่งชาติมีมติ เพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และเมื่อ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้ โดยให้นายกรัฐมนตรีลงนามรับ
สนองพระบรมราชโองการ และให้นาความในมาตรา ๓๗ วรรคสี่ มาใช้บังคับโดย
อนุโลม
•มาตรา ๔๗ บรรดาประกาศและคาสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติหรือคาสั่ง
ของหัวหน้า คณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ได้ประกาศหรือสั่งในระหว่างวันที่ ๒๒
พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗ จนถึงวันที่คณะรัฐมนตรีเข้ารับหน้าที่ตาม
รัฐธรรมนูญนี้ ไม่ว่าประกาศหรือสั่งให้มีผลบังคับในทาง รัฐธรรมนูญ ในทางนิติ
บัญญัติ ในทางบริหาร หรือในทางตุลาการ ให้ประกาศหรือคาสั่ง ตลอดจน การ
ปฏิบัติตามประกาศหรือคาสั่งนั้น ไม่ว่าจะกระทาก่อนหรือหลังวันที่รัฐธรรมนูญนี้ใช้
บังคับ เป็นประกาศ หรือคาสั่งหรือการปฏิบัติที่ชอบด้วยกฎหมายและชอบด้วย
รัฐธรรมนูญและเป็นที่สุด และให้ประกาศหรือ คาสั่งดังกล่าวที่ยังมีผลใช้บังคับอยู่ใน
วันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้มีผลใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมี กฎหมาย กฎ
ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี หรือคาสั่ง แล้วแต่กรณี แก้ไขเพิ่มเติมหรือยกเลิก ใน
กรณีที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้มีคาสั่งให้บุคคลใดดารงตาแหน่งหรือพ้นจาก
ตาแหน่งใด ที่ระบุไว้ในมาตรา ๒๔ ก่อนวันที่รัฐธรรมนูญนี้ใช้บังคับ ให้
นายกรัฐมนตรีนาความกราบบังคมทูล เพื่อทรงแต่งตั้งให้บุคคลนั้นดารงตาแหน่งนั้น
หรือทรงให้บุคคลนั้นพ้นจากตาแหน่งนั้นด้วย
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909CUPress
 
อายุเอกสารการบริหารงานบุคคล
อายุเอกสารการบริหารงานบุคคลอายุเอกสารการบริหารงานบุคคล
อายุเอกสารการบริหารงานบุคคลKKU Archive
 
พรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูป
พรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูปพรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูป
พรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูปPalida Sookjai
 
หนังสือเวียนเกี่ยวกับเอกสารราชการ
หนังสือเวียนเกี่ยวกับเอกสารราชการหนังสือเวียนเกี่ยวกับเอกสารราชการ
หนังสือเวียนเกี่ยวกับเอกสารราชการKKU Archive
 
จุดเน้นที่ออกสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
จุดเน้นที่ออกสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540จุดเน้นที่ออกสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
จุดเน้นที่ออกสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540waoram
 
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้...
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้...พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้...
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้...liberalparty
 
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551Jaturapad Pratoom
 
โครงการถ่ายสำเนาอิเล็กทรอนิกส์หนังสือหายากจากประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าตามพ...
โครงการถ่ายสำเนาอิเล็กทรอนิกส์หนังสือหายากจากประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าตามพ...โครงการถ่ายสำเนาอิเล็กทรอนิกส์หนังสือหายากจากประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าตามพ...
โครงการถ่ายสำเนาอิเล็กทรอนิกส์หนังสือหายากจากประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าตามพ...Satapon Yosakonkun
 
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่Palida Sookjai
 
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องChacrit Sitdhiwej
 

Mais procurados (18)

9789740332909
97897403329099789740332909
9789740332909
 
Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 
อายุเอกสารการบริหารงานบุคคล
อายุเอกสารการบริหารงานบุคคลอายุเอกสารการบริหารงานบุคคล
อายุเอกสารการบริหารงานบุคคล
 
พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551
พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551
พรบ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551
 
พรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูป
พรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูปพรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูป
พรก.ว่าด้วยการสรรหาสมาชิกสภาปฏิรูป
 
หนังสือเวียนเกี่ยวกับเอกสารราชการ
หนังสือเวียนเกี่ยวกับเอกสารราชการหนังสือเวียนเกี่ยวกับเอกสารราชการ
หนังสือเวียนเกี่ยวกับเอกสารราชการ
 
วินัยข้าราชการ คำวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด
วินัยข้าราชการ คำวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุดวินัยข้าราชการ คำวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด
วินัยข้าราชการ คำวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด
 
จุดเน้นที่ออกสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
จุดเน้นที่ออกสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540จุดเน้นที่ออกสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
จุดเน้นที่ออกสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
 
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้...
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้...พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้...
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้...
 
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551
 
โครงการถ่ายสำเนาอิเล็กทรอนิกส์หนังสือหายากจากประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าตามพ...
โครงการถ่ายสำเนาอิเล็กทรอนิกส์หนังสือหายากจากประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าตามพ...โครงการถ่ายสำเนาอิเล็กทรอนิกส์หนังสือหายากจากประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าตามพ...
โครงการถ่ายสำเนาอิเล็กทรอนิกส์หนังสือหายากจากประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าตามพ...
 
Civil Servant Ethics
Civil Servant Ethics Civil Servant Ethics
Civil Servant Ethics
 
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ.2540
 
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
กระบวนการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
 
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
 
Watermark yhk3aubv ktr22tuz
Watermark yhk3aubv ktr22tuzWatermark yhk3aubv ktr22tuz
Watermark yhk3aubv ktr22tuz
 

Destaque

ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8PluemSupichaya
 
ใบงานที่หนึ่งจ้ะ
ใบงานที่หนึ่งจ้ะใบงานที่หนึ่งจ้ะ
ใบงานที่หนึ่งจ้ะPluemSupichaya
 
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)tangmo77
 
ข้อสอบ O net 48 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 วิทยาศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 48 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 วิทยาศาสตร์ ม 6PluemSupichaya
 
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6PluemSupichaya
 
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6PluemSupichaya
 
เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์
เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์
เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์PluemSupichaya
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์PluemSupichaya
 
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษเฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษPluemSupichaya
 
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6PluemSupichaya
 

Destaque (17)

ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8
 
ใบงานที่หนึ่งจ้ะ
ใบงานที่หนึ่งจ้ะใบงานที่หนึ่งจ้ะ
ใบงานที่หนึ่งจ้ะ
 
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
 
จีน
จีนจีน
จีน
 
เฉลยจีน
เฉลยจีนเฉลยจีน
เฉลยจีน
 
Anscheva march 45
Anscheva march 45Anscheva march 45
Anscheva march 45
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
ข้อสอบ O net 48 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 วิทยาศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 48 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 วิทยาศาสตร์ ม 6
 
Math
MathMath
Math
 
Blog 140627022109-phpapp01
Blog 140627022109-phpapp01Blog 140627022109-phpapp01
Blog 140627022109-phpapp01
 
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
 
Cheva march 45
Cheva march 45Cheva march 45
Cheva march 45
 
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6
 
เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์
เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์
เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
 
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษเฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษ
 
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6
 

Semelhante a โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่

ข้อสอบความรู้ทั่วไป
ข้อสอบความรู้ทั่วไปข้อสอบความรู้ทั่วไป
ข้อสอบความรู้ทั่วไปLhin Za
 
20190501 ratchakitcha-136-57-page-8-41
20190501 ratchakitcha-136-57-page-8-4120190501 ratchakitcha-136-57-page-8-41
20190501 ratchakitcha-136-57-page-8-41Invest Ment
 
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติมประพันธ์ เวารัมย์
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย IsLawsom
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1thnaporn999
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550Poramate Minsiri
 
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6Pukkawin Ngamdee
 

Semelhante a โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่ (13)

ข้อสอบความรู้ทั่วไป
ข้อสอบความรู้ทั่วไปข้อสอบความรู้ทั่วไป
ข้อสอบความรู้ทั่วไป
 
20190501 ratchakitcha-136-57-page-8-41
20190501 ratchakitcha-136-57-page-8-4120190501 ratchakitcha-136-57-page-8-41
20190501 ratchakitcha-136-57-page-8-41
 
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติม
 
ชุดที่81
ชุดที่81ชุดที่81
ชุดที่81
 
ชุดที่81
ชุดที่81ชุดที่81
ชุดที่81
 
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Isระบบร่างกฎหมายไทย Is
ระบบร่างกฎหมายไทย Is
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1จัดทำกฎหมายไทย1
จัดทำกฎหมายไทย1
 
กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550
กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550
กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
 
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
 
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
 
บทความ+ศา..
บทความ+ศา..บทความ+ศา..
บทความ+ศา..
 

Mais de PluemSupichaya

ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8PluemSupichaya
 
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6PluemSupichaya
 
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6PluemSupichaya
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์PluemSupichaya
 
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษเฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษPluemSupichaya
 
เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์
เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์
เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์PluemSupichaya
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6PluemSupichaya
 
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6PluemSupichaya
 
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6PluemSupichaya
 
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6PluemSupichaya
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์PluemSupichaya
 

Mais de PluemSupichaya (17)

ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6
 
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
 
เฉลยจีน
เฉลยจีนเฉลยจีน
เฉลยจีน
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
 
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษเฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 48 ภาษาอังกฤษ
 
เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์
เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์
เฉลย O net 48 คณิตศาสตร์
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Math
MathMath
Math
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
 
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาอังกฤษ ม 6
 
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6
ข้อสอบ O net 48 ภาษาไทย ม 6
 
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 48 คณิตศาสตร์ ม 6
 
เฉลยจีน
เฉลยจีนเฉลยจีน
เฉลยจีน
 
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 48 วิทยาศาสตร์
 

โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเต้าใหม่

  • 2. จัดทาโดย นางสาว ณัฐฉรียา ชาเทพ ม.6/4 เลขที่ 32 นางสาว สุพิชญา ฟองศรี ม.6/4 เลขที่ 33 เสนอ ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 4. ที่มาและความสาคัญ วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ในประชุมร่วม 7 ฝ่าย เพื่อหาทางออกของประเทศ ครั้งที่ 2 ตามประกาศกอ.รส. ฉบับที่ 8/2557 โดยมีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็น ประธานในที่ประชุม ระหว่างการประชุม พลเอก ประยุทธ์ เปิดโอกาสให้แต่ละฝ่ายได้ เสนอแนวทางที่เห็นว่าเป็นทางออกที่ดีที่สุดของประเทศ หลังจากเวลาผ่านไปสองชั่วโมง ก็ไม่มีข้อยุติ ต่อมา สุเทพ เทือกสุบรรณ กับ จตุพร พรหมพันธุ์ แยกไปหารือเป็นการ ส่วนตัว ขณะเดียวกัน ประยุทธ์ก็ได้หารือกับผู้บัญชาการเหล่าทัพไปพร้อม ๆ กัน เมื่อ กลับมาหารือกันต่อ ประยุทธ์ได้สอบถาม ชัยเกษม นิติสิริ ในฐานะหัวหน้าตัวแทน ฝ่ายรัฐบาล ว่ารัฐบาลยืนยันไม่ลาออก ทั้งรายบุคคลและทั้งคณะใช่หรือไม่ ซึ่งชัยเกษม ระบุว่า นาทีนี้ไม่ลาออก และต้องการดาเนินการต่อจนกว่าจะครบวาระตามกฎหมาย ประยุทธ์จึงตอบกลับว่าจะยึดอานาจการปกครอง และสั่งจับกุมสมาชิกคณะรัฐมนตรี ตลอดจนแกนนา กปปส., นปช. และพรรคการเมืองที่เข้าร่วมเจรจา
  • 5. ทั้งหมดถูกนาไปกักขัง ที่กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ ต่อมา เวลา 16:30 น. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประกาศตั้ง "คณะรักษาความสงบแห่งชาติ" (คสช.) ยึดอานาจรัฐบาลรักษาการทันที คสช. ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติกฎอัยการศึกทั่วราชอาณาจักร ,ให้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 สิ้นสุดลง ยกเว้นหมวด 2 พระมหากษัตริย์ ,ห้ามประชาชนออกจากเคหสถาน ตั้งแต่เวลา 22.00 น. - 5.00 น. ทั่ว ราชอาณาจักร เว้นแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากเจ้าหน้าที่ และ บังคับให้สื่อวิทยุ โทรทัศน์ และโทรทัศน์ดาวเทียมทุกสถานี งดออกอากาศรายการตามปกติ และให้ใช้สัญญาณของ สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกออกอากาศไปจนกว่าจะได้รับคาสั่งเปลี่ยนแปลง และ วันที่ 22 กรกฎาคม 2557 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มีผลใช้บังคับ เพื่อให้ได้รู้จักและเข้าใจกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับนี้มากขึ้น เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ ต้องการศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับนี้
  • 7. ขอบเขตโครงงาน ขอบเขตด้านเนื้อหา เรื่อง กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ซึ่ง ประกอบด้วย บทบัญญัติทั่วไป ข้อวิจารณ์ บทบัญญัติแห่ง รัฐธรรมนูญ 48 มาตรา
  • 8. หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่ สนับสนุนการทาโครงงาน) รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายที่มุ่งคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยบทบัญญัติแห่ง รัฐธรรมนูญ (ฉบับชั่วคราว 48มาตรา)มีดังนี้ •มาตรา ๑ ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้ •มาตรา ๒ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข ให้บทบัญญัติของหมวด ๒ พระมหากษัตริย์ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งยังคงมีผลใช้บังคับอยู่ตามประกาศคณะ รักษาความสงบแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗ ยังคงใช้บังคับต่อไปเป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญนี้ และภายใต้บังคับมาตรา ๔๓ วรรคหนึ่ง ที่ใดในบทบัญญัติดังกล่าวอ้างถึงรัฐสภาหรือประธานรัฐสภา ให้หมายถึง สภานิติบัญญัติแห่งชาติหรือประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติตามรัฐธรรมนูญนี้ แล้วแต่ กรณี
  • 9. •มาตรา ๓ อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็น ประมุข ทรงใช้อานาจนั้นทางสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ •มาตรา ๔ ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาค บรรดาที่ชนชาวไทยเคยได้รับการคุ้มครอง ตามประเพณีการปกครองประเทศไทย ในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่ประเทศ ไทย มีอยู่แล้ว ย่อมได้รับการคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญนี้ •มาตรา ๕ เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้กระทาการ นั้นหรือวินิจฉัย กรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข แต่ประเพณีการปกครอง ดังกล่าวต้องไม่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้
  • 10. ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการวินิจฉัยกรณีใดตามความในวรรคหนึ่งเกิดขึ้นในวงงาน ของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด หรือเมื่อมี กรณีที่เกิดขึ้นนอกวงงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี ศาลฎีกา หรือศาลปกครองสูงสุด จะขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาด ก็ได้ แต่สาหรับศาลฎีกาและศาลปกครองสูงสุดให้กระทาได้เฉพาะ เมื่อมีมติของที่ ประชุมใหญ่ศาลฎีกาหรือที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด และเฉพาะใน ส่วน ที่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี •มาตรา ๖ ให้มีสภานิติบัญญัติแห่งชาติประกอบด้วยสมาชิกจานวนไม่เกินสองร้อย ยี่สิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากผู้มีสัญชาติไทยโดยการเกิดและมีอายุไม่ต่า กว่าสี่สิบปี ตามที่คณะรักษา ความสงบแห่งชาติถวายคาแนะนา ให้สภานิติบัญญัติ แห่งชาติทาหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา •มาตรา ๗ การถวายคาแนะนาเพื่อทรงแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ให้ คานึงถึง ความรู้ความสามารถ ความหลากหลายของบุคคลจากกลุ่มต่าง ๆ ในภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสังคม ภาควิชาการ ภาควิชาชีพ และภาคอื่นที่จะเป็นประโยชน์ต่อ การปฏิบัติหน้าที่ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
  • 11. •มาตรา ๘ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) ดารงตาแหน่งหรือเคยดารงตาแหน่งใดในพรรคการเมืองภายในระยะเวลาสามปีก่อน วันที่ได้รับ การแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (๒) เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช (๓) เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต (๔) เคยถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง (๕) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่หรือถือว่ากระทาการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ (๖) เคยต้องคาพิพากษาให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ารวยผิดปกติหรือมี ทรัพย์สิน เพิ่มขึ้นผิดปกติ (๗) อยู่ระหว่างต้องห้ามมิให้ดารงตาแหน่งทางการเมือง หรือเคยถูกถอดถอนจากตาแหน่ง (๘) เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิด ต่อ ตาแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือกระทาผิดกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด หรือ กฎหมายเกี่ยวกับการพนัน ในฐานความผิดเป็นเจ้ามือหรือเจ้าสานัก
  • 12. (๙) เคยต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่ในความผิดอันได้กระทาโดยประมาท หรือ ความผิดลหุโทษ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจะดารงตาแหน่งสมาชิกสภาปฏิรูป แห่งชาติหรือรัฐมนตรี ในขณะเดียวกันมิได้ •มาตรา ๙ สมาชิกภาพของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติสิ้นสุดลงเมื่อ (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง หรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘ (๔) สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติให้พ้นจากสมาชิกภาพตามมาตรา ๑๒ (๕) ไม่แสดงตนเพื่อลงมติในที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติเกินจานวนที่กาหนดไว้ใน ข้อบังคับ การประชุม ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการสิ้นสุดสมาชิกภาพของสมาชิก สภานิติบัญญัติแห่งชาติตามวรรคหนึ่ง ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้วินิจฉัย
  • 13. •มาตรา ๑๐ พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นประธานสภา นิติบัญญัติ แห่งชาติคนหนึ่ง และเป็นรองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติไม่เกินสองคน ตามมติของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติให้หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติลงนามรับ สนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิก สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และประธานสภาและ รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ •มาตรา ๑๑ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทย ต้องอุทิศตน ให้แก่ การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของปวงชนชาว ไทย •มาตรา ๑๒ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติผู้ใดกระทาการอันเป็นการเสื่อมเสียเกียรติ ศักดิ์ของ การเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือมีพฤติการณ์อันเป็นการขัดขวาง การปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิก สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจาน วนไม่น้อยกว่ายี่สิบห้าคนมีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อ ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อให้ สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติให้ผู้นั้นพ้นจากสมาชิกภาพ มติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ตามวรรคหนึ่งต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของ จานวนสมาชิกทั้งหมด
  • 14. •มาตรา ๑๓ การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่งของ จานวนสมาชิกทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม สภานิติบัญญัติแห่งชาติมี อานาจตราข้อบังคับเกี่ยวกับการเลือกและการปฏิบัติหน้าที่ของประธานสภา รอง ประธานสภา และกรรมาธิการ วิธีการประชุม การเสนอและการพิจารณาร่าง พระราชบัญญัติและ ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ การเสนอญัตติ การ อภิปราย การลงมติ การตั้งกระทู้ถาม การรักษาระเบียบและความเรียบร้อย และ กิจการอื่นเพื่อดาเนินการตามอานาจหน้าที่ •มาตรา ๑๔ พระมหากษัตริย์ทรงตราพระราชบัญญัติโดยคาแนะนาและยินยอม ของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ ร่างพระราชบัญญัติจะเสนอได้ก็แต่โดยสมาชิกสภานิติ บัญญัติแห่งชาติร่วมกันจานวนไม่น้อยกว่า ยี่สิบห้าคน หรือคณะรัฐมนตรี หรือสภา ปฏิรูปแห่งชาติตามมาตรา ๓๑ วรรคสอง แต่ร่างพระราชบัญญัติ เกี่ยวด้วยการเงิน จะเสนอได้ก็แต่โดยคณะรัฐมนตรี
  • 15. ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินตามวรรคสอง หมายความถึงร่าง พระราชบัญญัติที่เกี่ยวกับ การตั้งขึ้น ยกเลิก ลด เปลี่ยนแปลง แก้ไข ผ่อน หรือวาง ระเบียบการบังคับอันเกี่ยวกับภาษีหรืออากร การจัดสรร รับ รักษา หรือจ่ายเงิน แผ่นดิน หรือการโอนงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน การกู้เงิน การค้าประกัน หรือการใช้เงินกู้ หรือการดาเนินการที่ผูกพันทรัพย์สินของรัฐ หรือเงินตรา ในกรณี เป็นที่สงสัยว่าร่างพระราชบัญญัติที่เสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นร่าง พระราชบัญญัติ เกี่ยวด้วยการเงินหรือไม่ ให้ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้ วินิจฉัย ร่างพระราชบัญญัติที่เสนอโดยสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติหรือสภา ปฏิรูปแห่งชาตินั้น คณะรัฐมนตรีอาจขอรับไปพิจารณาก่อนสภานิติบัญญัติแห่งชาติ จะรับหลักการก็ได้ การตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญให้กระทาได้โดย วิธีการที่บัญญัติไว้ในมาตรานี้ แต่การเสนอร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ให้กระทาโดยคณะรัฐมนตรีหรือผู้รักษาการตาม พระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญนั้น
  • 16. •มาตรา ๑๕ ร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่ได้รับความ เห็นชอบ ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนาขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อม ถวายภายในยี่สิบวันนับแต่ วันที่ได้รับร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญนั้นจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และ เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับเป็น กฎหมายได้ ร่างพระราชบัญญัติหรือ ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญใด พระมหากษัตริย์ไม่ทรง เห็นชอบด้วยและ พระราชทานคืนมายังสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือเมื่อพ้นเก้าสิบวันแล้วมิได้ พระราชทาน คืนมา สภานิติบัญญัติแห่งชาติจะต้องปรึกษาร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญนั้นใหม่ ถ้าสภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติยืนยันตามเดิมด้วยคะแนนเสียง ไม่น้อยกว่า สองในสามของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่แล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนาร่าง พระราชบัญญัติหรือ ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อม ถวายอีกครั้งหนึ่ง เมื่อพระมหากษัตริย์ มิได้ทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชทานคืนมาภายใน สามสิบวัน ให้นายกรัฐมนตรีนาพระราชบัญญัติหรือ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ นั้นประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับเป็นกฎหมายได้เสมือนหนึ่งว่า พระมหากษัตริย์ได้ ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว
  • 17. •มาตรา ๑๖ ในที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกทุกคนมีสิทธิตั้งกระทู้ถาม รัฐมนตรี ในเรื่องใดอันเกี่ยวกับงานในหน้าที่ได้ แต่รัฐมนตรีย่อมมีสิทธิที่จะไม่ตอบเมื่อ เห็นว่าเรื่องนั้นยังไม่ควรเปิดเผย เพราะเกี่ยวกับความปลอดภัยหรือประโยชน์สาคัญ ของแผ่นดิน หรือเมื่อเห็นว่าเป็นกระทู้ที่ต้องห้าม ตามข้อบังคับ ในกรณีนี้สภานิติ บัญญัติแห่งชาติจะตราข้อบังคับกาหนดองค์ประชุมให้แตกต่างจากที่ บัญญัติไว้ใน มาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง ก็ได้ เมื่อมีปัญหาสาคัญ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจานวน ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจานวน สมาชิกทั้งหมด จะเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปราย เพื่อซักถามข้อเท็จจริงจากคณะรัฐมนตรีก็ได้ แต่จะ ลงมติไว้วางใจหรือไม่ไว้วางใจมิได้ •มาตรา ๑๗ ในกรณีที่มีปัญหาสาคัญเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดินที่ คณะรัฐมนตรีเห็นสมควร จะฟังความคิดเห็นของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ นายกรัฐมนตรีจะแจ้งไปยังประธานสภานิติบัญญัติ แห่งชาติเพื่อให้มีการเปิดอภิปราย ทั่วไปในที่ประชุมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติก็ได้ แต่สภานิติบัญญัติ แห่งชาติจะลงมติ ในปัญหาที่อภิปรายมิได้
  • 18. •มาตรา ๑๘ ในการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกผู้ใดจะกล่าวถ้อยคาใด ๆ ในทาง แถลงข้อเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็น หรือออกเสียงลงคะแนน ย่อมเป็นเอกสิทธิ์โดย เด็ดขาด จะนาไป เป็นเหตุฟ้องร้องว่ากล่าวผู้นั้นในทางใดมิได้ เอกสิทธิ์ตามวรรคหนึ่งให้ คุ้มครองถึงกรรมาธิการของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา รายงานการประชุม ตามคาสั่งของสภานิติบัญญัติแห่งชาติหรือคณะกรรมาธิการ บุคคลซึ่งประธานในที่ประชุม อนุญาตให้แถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ตลอดจน ผู้ดาเนินการถ่ายทอดการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติทางวิทยุกระจายเสียงหรือ วิทยุโทรทัศน์หรือ ทางอื่นใดที่ได้รับอนุญาตจากประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติด้วย แต่ไม่ คุ้มครองสมาชิกสภานิติบัญญัติ แห่งชาติผู้กล่าวถ้อยคาในการประชุมที่มีการถ่ายทอดทาง วิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน์หรือทางอื่นใด หากถ้อยคาที่กล่าวในที่ประชุมไปปรากฏ นอกบริเวณสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และถ้อยคานั้นมีลักษณะ เป็นความผิดอาญา หรือ ละเมิดสิทธิในทางแพ่งต่อบุคคลอื่นซึ่งมิใช่รัฐมนตรีหรือสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ใน กรณีที่สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติถูกควบคุมหรือขัง ให้สั่งปล่อยเมื่อประธานสภานิติ บัญญัติ แห่งชาติร้องขอ หรือในกรณีถูกฟ้องในคดีอาญา ให้ศาลพิจารณาคดีต่อไปได้ เว้นแต่ ประธานสภานิติบัญญัติ แห่งชาติร้องขอให้งดการพิจารณาคดี
  • 19. •มาตรา ๑๙ พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งตามมติของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ และรัฐมนตรีอื่นอีกจานวนไม่เกินสามสิบห้าคนตามที่นายกรัฐมนตรีถวายคาแนะ นา ประกอบเป็นคณะรัฐมนตรี มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน ดาเนินการให้มีการปฏิรูป ในด้านต่าง ๆ และส่งเสริมความสามัคคีและ ความสมานฉันท์ของประชาชนในชาติ ก่อน เข้ารับหน้าที่ รัฐมนตรีต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์ด้วยถ้อยคาดังต่อไปนี้ “ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อผู้ปฏิญาณ) ขอถวายสัตย์ปฏิญาณว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะจงรักภักดีต่อ พระมหากษัตริย์ และจะปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศ และประชาชน ทั้งจะรักษาไว้และ ปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุก ประการ” พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอานาจในการให้นายกรัฐมนตรีพ้นจาก ตาแหน่งตามที่ประธาน สภานิติบัญญัติแห่งชาติถวายคาแนะนาตามมติของสภานิติบัญญัติ แห่งชาติที่เสนอโดยคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ และให้รัฐมนตรีพ้นจากตาแหน่งตามที่ นายกรัฐมนตรีถวายคาแนะนา การแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและการให้นายกรัฐมนตรีพ้นจาก ตาแหน่ง ให้ประธานสภานิติบัญญัติ แห่งชาติลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
  • 20. นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีมีสิทธิเข้าร่วมประชุมชี้แจงแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมสภา นิติบัญญัติ แห่งชาติหรือสภาปฏิรูปแห่งชาติ แต่ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน และให้นา เอกสิทธิ์ตามมาตรา ๑๘ มาใช้บังคับแก่การชี้แจงแสดงความคิดเห็นของนายกรัฐมนตรีและ รัฐมนตรีตามมาตรานี้ด้วยโดยอนุโลม •มาตรา ๒๐ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด (๒) มีอายุไม่ต่ากว่าสี่สิบปี (๓) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า (๔) ไม่เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกพรรคการเมืองภายในระยะเวลาสามปีก่อนวันที่ได้รับการ แต่งตั้ง และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘ (๕) ไม่เป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมาธิการยกร่าง รัฐธรรมนูญ หรือสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น (๖) ไม่เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้พิพากษาหรือตุลาการ อัยการ กรรมการการเลือกตั้ง
  • 21. ผู้ตรวจการแผ่นดิน กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน หรือกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อขาดคุณสมบัติหรือมี ลักษณะ ต้องห้ามตามวรรคหนึ่ง หรือเมื่อมีกรณีตามมาตรา ๙ (๑) หรือ (๒) •มาตรา ๒๑ เมื่อมีกรณีฉุกเฉินที่มีความจาเป็นรีบด่วนเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษา ความมั่นคง แห่งราชอาณาจักร ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติ สาธารณะ หรือเมื่อมีความจาเป็นต้องมีกฎหมาย เกี่ยวด้วยภาษีอากรหรือเงินตราที่ต้องพิจารณาโดยด่วน และลับ พระมหากษัตริย์ทรง ไว้ซึ่งพระราชอานาจในการตราพระราชกาหนดให้ใช้บังคับดังเช่นพระราชบัญญัติ เมื่อ ได้ประกาศใช้พระราชกาหนดแล้ว ให้คณะรัฐมนตรีเสนอพระราชกาหนดนั้นต่อสภา นิติบัญญัติ แห่งชาติโดยไม่ชักช้า ถ้าสภานิติบัญญัติแห่งชาติอนุมัติ ให้พระราชกาหนด นั้นมีผลใช้บังคับเป็น พระราชบัญญัติต่อไป ถ้าสภานิติบัญญัติแห่งชาติไม่อนุมัติ ให้ พระราชกาหนดนั้นตกไป แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนกิจการที่ได้เป็นไปในระหว่างที่ พระราชกาหนดนั้นใช้บังคับ
  • 22. เว้นแต่พระราชกาหนดนั้น มีผลเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ใด ให้บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีอยู่ก่อน การแก้ไขเพิ่มเติมหรือยกเลิกนั้นมีผลใช้บังคับ ต่อไปตั้งแต่วันที่พระราชกาหนดดังกล่าวตกไป การอนุมัติหรือไม่อนุมัติพระราชกาหนดให้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในกรณีที่ไม่อนุมัติ ให้มีผลตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจา นุเบกษา •มาตรา ๒๒ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอานาจในการตราพระราชกฤษฎีกาโดยไม่ ขัดต่อ กฎหมาย พระราชอานาจในการพระราชทานอภัยโทษ และพระราชอานาจในการ อื่นตามประเพณี การปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข •มาตรา ๒๓ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอานาจในการทาหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก และสัญญาอื่นกับนานาประเทศหรือกับองค์การระหว่างประเทศ หนังสือ สัญญาใดมีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย หรือเขตพื้นที่นอกอาณาเขต ซึ่งประเทศไทย มี สิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอานาจตามหนังสือสัญญาหรือตามกฎหมายระหว่างประเทศ หรือ จะต้องออก พระราชบัญญัติเพื่อให้การเป็นไปตามหนังสือสัญญา หรือที่กระทบต่อความ มั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคม ของประเทศอย่างกว้างขวาง
  • 23. ต้องได้รับความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในการนี้ สภานิติบัญญัติ แห่งชาติ จะต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับเรื่อง หนังสือสัญญาที่กระทบ ต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือสังคมของประเทศอย่างกว้างขวาง ตามวรรคสอง หมายถึง หนังสือสัญญาเกี่ยวกับการค้าเสรี เขตศุลกากรร่วม หรือการให้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ หรือ ทาให้ประเทศต้องสูญเสียสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมดหรือบางส่วน หรือการอื่นตามที่ กฎหมาย บัญญัติ เมื่อมีปัญหาว่าหนังสือสัญญาใดเป็นกรณีตามวรรคสองหรือวรรคสาม หรือไม่ คณะรัฐมนตรี จะขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยก็ได้ ทั้งนี้ ให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่ วันที่ได้รับคาขอ •มาตรา ๒๔ พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือน ตาแหน่ง ปลัดกระทรวง อธิบดี และเทียบเท่า ผู้พิพากษาและตุลาการ ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรตาม รัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และข้าราชการฝ่าย อื่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ และ ทรงให้พ้นจากตาแหน่ง เว้นแต่กรณีที่พ้นจากตาแหน่ง เพราะความตาย
  • 24. •มาตรา ๒๕ บรรดาบทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการใด ๆ อัน เกี่ยวกับ ราชการแผ่นดิน ต้องมีรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ เว้นแต่ รัฐธรรมนูญนี้บัญญัติไว้ เป็นอย่างอื่น •มาตรา ๒๖ ผู้พิพากษาและตุลาการมีอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีในพระ ปรมาภิไธย พระมหากษัตริย์ให้เป็นไปโดยยุติธรรมตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย •มาตรา ๒๗ ให้มีสภาปฏิรูปแห่งชาติมีหน้าที่ศึกษาและเสนอแนะเพื่อให้เกิดการปฏิรูป ในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ (๑) การเมือง (๒) การบริหารราชการแผ่นดิน (๓) กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม (๔) การปกครองท้องถิ่น (๕) การศึกษา (๖) เศรษฐกิจ
  • 25. (๗) พลังงาน (๘) สาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม (๙) สื่อสารมวลชน (๑๐) สังคม (๑๑) อื่น ๆ ทั้งนี้ เพื่อให้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมีความ เหมาะสม กับสภาพสังคมไทย มีระบบการเลือกตั้งที่สุจริตและเป็นธรรม มีกลไกป้องกัน และขจัดการทุจริตและ ประพฤติมิชอบที่มีประสิทธิภาพ ขจัดความเหลื่อมล้าและสร้าง ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทาให้กลไกของรัฐ สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างทั่วถึง สะดวก รวดเร็ว และมีการบังคับใช้กฎหมาย อย่างเคร่งครัดและเป็นธรรม
  • 26. •มาตรา ๒๘ ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติประกอบด้วยสมาชิกจานวนไม่เกินสองร้อยห้าสิบ คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากผู้มีสัญชาติไทยโดยการเกิดและมีอายุไม่ต่ากว่า สามสิบห้าปี ตามที่ คณะรักษาความสงบแห่งชาติถวายคาแนะนา พระมหากษัตริย์ ทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติเป็นประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติคนหนึ่ง และ เป็นรองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติไม่เกินสองคน ตามมติของสภาปฏิรูปแห่งชาติ ให้ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้ง สมาชิก สภาปฏิรูปแห่งชาติ และประธานสภาและรองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ •มาตรา ๒๙ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๘ (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) และ (๙) และให้นาความในมาตรา ๙ มาใช้บังคับแก่การ สิ้นสุดสมาชิกภาพของ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติโดยอนุโลม แต่การวินิจฉัยตาม มาตรา ๙ วรรคสอง ให้เป็นอานาจของสภาปฏิรูปแห่งชาติ
  • 27. •มาตรา ๓๐ ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติดาเนินการคัดเลือกบุคคลที่สมควรได้รับ การแต่งตั้ง เป็นสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ (๑) จัดให้มีคณะกรรมการสรรหาบุคคลด้านต่าง ๆ ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๒๗ ด้าน ละ หนึ่งคณะ และให้มีคณะกรรมการสรรหาประจาจังหวัดแต่ละจังหวัดเพื่อสรรหาจาก บุคคลซึ่งมีภูมิลาเนา ในจังหวัดนั้น ๆ (๒) ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาแต่ละด้านจาก ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งมีความรู้และประสบการณ์เป็นที่ยอมรับของบุคคลในด้านนั้น ๆ (๓) ให้คณะกรรมการสรรหาดาเนินการสรรหาบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติตามมาตรา ๒๘ ไม่ มี ลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๙ และมีความรู้ความสามารถเป็นที่ประจักษ์ในแต่ละ ด้าน แล้วจัดทา บัญชีรายชื่อเสนอต่อคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ในการนี้ คณะกรรมการสรรหาจะเสนอชื่อตนเองมิได้ (๔) การสรรหาบุคคลตาม (๓) ให้คานึงถึงความหลากหลายของบุคคลจากกลุ่มต่าง ๆ ในภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสังคม ภาควิชาการ ภาควิชาชีพ และภาคอื่นที่จะเป็น ประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ของสภาปฏิรูปแห่งชาติ การกระจายตามจังหวัด โอกาส และความเท่าเทียมกันทางเพศ รวมทั้งผู้ด้อยโอกาส
  • 28. (๕) ให้คณะกรรมการสรรหาประจาจังหวัดประกอบด้วยบุคคลตามที่กาหนดใน พระราชกฤษฎีกา (๖) ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติคัดเลือกบุคคลที่เห็นสมควรได้รับการแต่งตั้ง เป็นสมาชิก สภาปฏิรูปแห่งชาติจากบัญชีรายชื่อที่คณะกรรมการสรรหาตาม (๑) เสนอ ไม่เกินสองร้อยห้าสิบคน โดยในจานวนนี้ให้คัดเลือกจากบุคคลที่ คณะกรรมการสรรหาประจาจังหวัดเสนอ จังหวัดละหนึ่งคน จานวนกรรมการใน คณะกรรมการสรรหาแต่ละคณะ วิธีการสรรหา กาหนดเวลาในการสรรหา จานวน บุคคลที่จะต้องสรรหา และการอื่นที่จาเป็น ให้เป็นไปตามที่กาหนดในพระราช กฤษฎีกา •มาตรา ๓๑ สภาปฏิรูปแห่งชาติมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทาแนวทางและข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปด้านต่าง ๆ ตามมาตรา ๒๗ เสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี คณะรักษาความสงบแห่งชาติ และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (๒) เสนอความเห็นหรือข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมาธิการยก ร่างรัฐธรรมนูญเพื่อประโยชน์ ในการจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ (๓) พิจารณาและให้ ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญจัดทาขึ้น
  • 29. ในการดาเนินการตาม (๑) หากเห็นว่ากรณีใดจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัติหรือ พระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญขึ้นใช้บังคับ ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติจัดทาร่าง พระราชบัญญัติดังกล่าวเสนอต่อ สภานิติบัญญัติแห่งชาติเพื่อพิจารณาต่อไป ในกรณีที่เป็น ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินหรือ ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ให้จัดทา เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อดาเนินการต่อไป ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติเสนอความเห็นหรือ ข้อเสนอแนะตาม (๒) ต่อคณะกรรมาธิการยกร่าง รัฐธรรมนูญภายในหกสิบวันนับแต่วันที่มี การประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติครั้งแรก ให้นาความในมาตรา ๑๓ และมาตรา ๑๘ มาใช้ บังคับแก่การปฏิบัติหน้าที่ของสภาปฏิรูปแห่งชาติ ด้วยโดยอนุโลม •มาตรา ๓๒ ให้มีคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญขึ้นคณะหนึ่งเพื่อจัดทาร่างรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยกรรมาธิการจานวนสามสิบหกคน ซึ่งประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้งจาก บุคคล ดังต่อไปนี้ (๑) ประธานกรรมาธิการตามที่คณะรกษาความสงบแหั่งชาติเสนอ (๒) ผู้ ซึ่งสภาปฏิรูปแห่งชาติเสนอ จานวนยี่สิบคน (๓) ผู้ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี และคณะรักษาความสงบแห่งชาติเสนอ ฝ่ายละห้าคน
  • 30. การแต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญตามวรรคหนึ่ง ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จ ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่มีการเรียกประชุมสภาปฏิรูปแห่งชาติเป็นครั้งแรก ในกรณีที่ กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพ้นจากตาแหน่งไม่ว่าด้วยเหตุใด ให้คณะกรรมาธิการ ยก ร่างรัฐธรรมนูญที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ โดยให้ถือว่าคณะกรรมาธิการยกร่าง รัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเท่าที่เหลืออยู่ แต่ให้ ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติแต่งตั้ง กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญแทนตาแหน่งที่ว่างตาม หลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในวรรคหนึ่งภายในสิบห้าวัน นับแต่วันที่กรรมาธิการยกร่าง รัฐธรรมนูญพ้นจากตาแหน่ง ให้นาความในมาตรา ๑๘ มาใช้บังคับแก่การปฏิบัติหน้าที่ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ด้วยโดยอนุโลม •มาตรา ๓๓ กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องมีสัญชาติไทยโดยการเกิด มีอายุไม่ต่า กว่าสี่สิบปี และไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง เว้นแต่เป็นผู้ดารงตาแหน่งในคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ (๒) เป็นหรือเคยเป็นสมาชิกหรือดารงตาแหน่งใดในพรรคการเมืองภายในระยะเวลาสาม ปีก่อน วันที่ได้รับการแต่งตั้ง
  • 31. (๓) มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๒๙ (๔) เป็นผู้พิพากษาหรือตุลาการ หรือผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรตามรัฐธรรมนูญตาม รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เพื่อประโยชน์แห่งการขจัด ส่วนได้เสีย ห้ามมิให้กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญดารงตาแหน่ง ทางการเมืองภายใน สองปีนับแต่วันที่พ้นจากตาแหน่งกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ •มาตรา ๓๔ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จ ภายใน หนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏิรูป แห่งชาติตามมาตรา ๓๑ (๒) แล้วเสนอต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณา ในการจัด ทาร่างรัฐธรรมนูญ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญนาความเห็นหรือ ข้อเสนอแนะของ สภาปฏิรูปแห่งชาติตามมาตรา ๓๑ (๒) ความเห็นของสภานิติ บัญญัติแห่งชาติ คณะรัฐมนตรี และคณะรักษา ความสงบแห่งชาติ และความเห็นของ ประชาชนรวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาประกอบการพิจารณาด้วย
  • 32. •มาตรา ๓๕ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องจัดทาร่างรัฐธรรมนูญให้ครอบคลุม เรื่อง ดังต่อไปนี้ด้วย (๑)การรับรองความเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบ่งแยกมิได้ (๒) การให้มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ เหมาะสม กับสภาพสังคมของไทย (๓) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกัน ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งกลไกในการกากับและควบคุมให้การใช้อานาจรัฐ เป็นไปเพื่อประโยชน์ ส่วนรวมของประเทศชาติและประชาชน (๔) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและตรวจสอบมิให้ผู้เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่ง ที่ชอบด้วยกฎหมายว่ากระทาการทุจริตหรือประพฤติมิชอบ หรือเคยกระทาการอันทา ให้การเลือกตั้ง ไม่สุจริตหรือเที่ยงธรรม เข้าดารงตาแหน่งทางการเมืองอย่างเด็ดขาด
  • 33. (๕) กลไกที่มีประสิทธิภาพที่ทาให้เจ้าหน้าที่ของรัฐโดยเฉพาะผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองและ พรรคการเมือง สามารถปฏิบัติหน้าที่หรือดาเนินกิจกรรมได้โดยอิสระ ปราศจากการครอบงา หรือชี้นา โดยบุคคลหรือคณะบุคคลใด ๆ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย (๖) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของหลักนิติธรรม และการสร้างเสริม คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในทุกภาคส่วนและทุกระดับ (๗) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการปรับโครงสร้างและขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้ เกิดความเป็นธรรมอย่างยั่งยืน และป้องกันการบริหารราชการแผ่นดินที่มุ่งสร้างความ นิยมทางการเมือง ที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและประชาชน ในระยะยาว (๘) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงินของรัฐให้เป็นไปอย่างคุ้มค่าและตอบสนองต่อ ประโยชน์ส่วนรวมของประชาชนโดยสอดคล้องกับสถานะทางการเงินการคลังของประเทศ และกลไก การตรวจสอบและเปิดเผยการใช้จ่ายเงินของรัฐที่มีประสิทธิภาพ (๙) กลไกที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันมิให้มีการทาลายหลักการสาคัญที่รัฐธรรมนูญจะได้ วางไว้
  • 34. (๑๐) กลไกที่จะผลักดันให้มีการปฏิรูปเรื่องสาคัญต่าง ๆ ให้สมบูรณ์ต่อไป ให้ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาถึงความจาเป็นและความคุ้มค่าที่ต้องมี องค์กร ตามรัฐธรรมนูญหรือองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยอาศัยอานาจตามรัฐธรรมนูญ ใน กรณีที่จาเป็นต้องมี ให้พิจารณา มาตรการที่จะให้การดาเนินงานขององค์กรดังกล่าว เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วย •มาตรา ๓๖ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเสนอร่างรัฐธรรมนูญที่จัดทาเสร็จ ต่อประธาน สภาปฏิรูปแห่งชาติ และให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติจัดให้สภาปฏิรูป แห่งชาติประชุมกันเพื่อพิจารณา เสนอแนะหรือให้ความเห็นให้แล้วเสร็จภายในสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติอาจขอแก้ไขเพิ่มเติมร่าง รัฐธรรมนูญได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ สภาปฏิรูปแห่งชาติเสร็จสิ้นการพิจารณา ตามวรรคหนึ่ง คาขอแก้ไขเพิ่มเติมของสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ ต้องมีสมาชิกสภา ปฏิรูปแห่งชาติลงชื่อรับรองไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจานวนสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติที่ยื่นคาขอหรือที่ให้คารับรองคาขอของสมาชิกอื่นแล้ว จะยื่นคาขอหรือ รับรองคาขอของสมาชิกอื่นอีกมิได้
  • 35. ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญส่งร่างรัฐธรรมนูญให้คณะรัฐมนตรีและคณะรักษา ความสงบแห่งชาติด้วย และคณะรัฐมนตรีหรือคณะรักษาความสงบแห่งชาติจะเสนอความ คิดเห็นหรือ ยื่นคาขอแก้ไขเพิ่มเติมได้ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญ คา ขอแก้ไขเพิ่มเติมให้ยื่นต่อประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ •มาตรา ๓๗ ให้คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญพิจารณาคาขอแก้ไขเพิ่มเติมให้แล้ว เสร็จ ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ครบกาหนดยื่นคาขอแก้ไขเพิ่มเติมตามมาตรา ๓๖ วรรค สอง ในการนี้ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญอาจแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญได้ตามที่ เห็นสมควร เมื่อคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้แก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญตาม วรรคหนึ่งแล้ว ให้เสนอร่างรัฐธรรมนูญต่อสภาปฏิรูปแห่งชาติเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ หรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญนั้น ทั้งฉบับ โดยสภาปฏิรูปแห่งชาติต้องมีมติภายในสิบห้า วันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญจากคณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ สภา ปฏิรูปแห่งชาติจะแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อความของร่างรัฐธรรมนูญนั้นมิได้ เว้นแต่ เป็น ข้อผิดพลาดที่มิใช่สาระสาคัญ และคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเห็นชอบด้วยกับการ แก้ไข เพิ่มเติมนั้น หรือเป็นกรณีที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเห็นว่าจาเป็นต้อง แก้ไขเพิ่มเติมเพื่อให้ สมบูรณ์ขึ้น
  • 36. เมื่อสภาปฏิรูปแห่งชาติมีมติเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญตามวรรคสองแล้ว ให้ประธาน สภา ปฏิรูปแห่งชาตินาร่างรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ สภาปฏิรูปแห่งชาติมีมติ และเมื่อทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา และใช้บังคับได้ โดยให้ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ในกรณี ที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยกับร่างรัฐธรรมนูญและพระราชทานคืนมา หรือ เมื่อพ้น กาหนดเก้าสิบวันแล้วมิได้พระราชทานคืนมา ให้ร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไป •มาตรา ๓๘ ในกรณีที่สภาปฏิรูปแห่งชาติพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในเวลา ที่ กาหนด หรือไม่ให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ หรือร่างรัฐธรรมนูญนั้นเป็นอันตกไปตามมาตรา ๓๗ ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้มีการ ดาเนินการ เพื่อแต่งตั้งสภาปฏิรูปแห่งชาติและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดใหม่ขึ้น เพื่อดาเนินการแทน ตามอานาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้ ในกรณีที่คณะกรรมาธิการยก ร่างรัฐธรรมนูญยกร่างรัฐธรรมนูญไม่แล้วเสร็จภายในระยะเวลา ที่กาหนดไว้ตามมาตรา ๓๔ ให้ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันสิ้นสุดลง และให้ดาเนินการ แต่งตั้งคณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่คณะกรรมาธิการยกร่าง รัฐธรรมนูญสิ้นสุด ลง ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ
  • 37. สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และ กรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญชุดที่สิ้นสุดลงตามวรรค หนึ่งหรือวรรคสอง จะเป็นประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ รองประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ หรือกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ แล้วแต่กรณี ชุดใหม่มิได้ •มาตรา ๓๙ เมื่อจัดทาร่างรัฐธรรมนูญเสร็จแล้ว ให้สภาปฏิรูปแห่งชาติและ คณะกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญยังคงปฏิบัติหน้าที่ต่อไปเพื่อประโยชน์ในการจัดให้ มีร่างกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ หรือกฎหมายอื่นที่จาเป็น ในการนี้ สภาปฏิรูป แห่งชาติอาจแต่งตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นเพื่อพิจารณา ร่างกฎหมายที่จาเป็นก็ได้ แต่เมื่อ มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญใหม่แล้ว การปฏิบัติหน้าที่ของสภาปฏิรูปแห่งชาติและ คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญที่ประกาศใช้นั้น • มาตรา ๔๐ เงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง และประโยชน์ตอบแทนอื่นของ ประธานสภาและ รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานสภาและรอง ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ ผู้ดารงตาแหน่ง ในคณะรักษาความสงบแห่งชาติ สมาชิก สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ และกรรมาธิการ ยกร่างรัฐธรรมนูญ ให้เป็นไปตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
  • 38. •มาตรา ๔๑ ในกรณีที่มีบทบัญญัติของกฎหมายใดกาหนดคุณสมบัติหรือลักษณะ ต้องห้าม ในการดารงตาแหน่งทางการเมือง มิให้นาบทบัญญัติแห่งกฎหมายนั้นมาใช้ บังคับแก่ผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้ง เป็นผู้ดารงตาแหน่งในคณะรักษาความสงบแห่งชาติ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ กรรมาธิการยกร่าง รัฐธรรมนูญ ข้าราชการการเมืองตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการการเมือง และข้าราชการรัฐสภาฝ่ายการเมืองตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการรัฐสภา •มาตรา ๔๒ ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ ฉบับที่ ๖/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗ เป็นคณะ รักษาความสงบแห่งชาติต่อไป และมีอานาจหน้าที่ปฏิบัติการตามที่บัญญัติไว้ใน รัฐธรรมนูญนี้ ในกรณีจาเป็นเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ หัวหน้าคณะรักษา ความสงบแห่งชาติ จะเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมผู้ดารงตาแหน่งใดในคณะรักษาความ สงบแห่งชาติก็ได้ แต่ในกรณีเพิ่มเติม เมื่อรวมกันแล้วต้องไม่เกินสิบห้าคน และจะ กาหนดให้หน่วยงานใดทาหน้าที่เป็นหน่วยธุรการของ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ก็ได้ตามที่เห็นสมควร
  • 39. ในกรณีที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติเห็นว่าคณะรัฐมนตรีควรดาเนินการตามอานาจ หน้าที่ ที่กาหนดไว้ในมาตรา ๑๙ ในเรื่องใด ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติแจ้งให้ คณะรัฐมนตรีทราบ เพื่อดาเนินการตามอานาจหน้าที่ต่อไป ในกรณีที่เห็นสมควร หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติหรือนายกรัฐมนตรีอาจขอให้มี การประชุม ร่วมกันของคณะรักษาความสงบแห่งชาติและคณะรัฐมนตรีเพื่อร่วมพิจารณาหรือแก้ไข ปัญหาใด ๆ อันเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อยหรือความมั่นคงของชาติ รวม ตลอดทั้งการปรึกษาหารือเป็นครั้งคราว ในเรื่องอื่นใดก็ได้ •มาตรา ๔๓ ในระหว่างที่ยังไม่มีสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติ ให้ การดาเนินการเรื่องใดต้องได้รับความเห็นชอบหรือรับทราบจากสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือรัฐสภา ให้เป็นอานาจของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติในการให้ ความเห็นชอบหรือรับทราบแทน สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือรัฐสภา ก่อนที่ คณะรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญนี้จะเข้ารับหน้าที่ ให้บรรดาอานาจหน้าที่ของ นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีเป็นอานาจหน้าที่ของหัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาติ
  • 40. •มาตรา ๔๔ ในกรณีที่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติเห็นเป็นการจา เป็นเพื่อประโยชน์ ในการปฏิรูปในด้านต่าง ๆ การส่งเสริมความสามัคคีและ ความสมานฉันท์ของประชาชนในชาติ หรือเพื่อ ป้องกัน ระงับ หรือ ปราบปรามการกระทาอันเป็นการบ่อนทาลายความสงบเรียบร้อยหรือความ มั่นคงของชาติ ราชบัลลังก์ เศรษฐกิจของประเทศ หรือราชการแผ่นดิน ไม่ว่า จะเกิดขึ้นภายในหรือภายนอกราชอาณาจักร ให้หัวหน้าคณะรักษาความสงบ แห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีอานาจสั่งการ ระงับยับยั้ง หรือกระทาการใด ๆ ได้ ไม่ว่าการกระทานั้นจะมีผลบังคับในทาง นิติบัญญัติ ในทางบริหาร หรือในทางตุลาการ และให้ถือว่าคาสั่งหรือการ กระทา รวมทั้งการปฏิบัติตามคาสั่งดังกล่าว เป็นคาสั่ง หรือการกระทา หรือ การปฏิบัติที่ชอบด้วยกฎหมายและรัฐธรรมนูญนี้และเป็นที่สุด ทั้งนี้ เมื่อได้ ดาเนินการดังกล่าวแล้ว ให้รายงานประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติและ นายกรัฐมนตรีทราบโดยเร็ว
  • 41. •มาตรา ๔๕ ภายใต้บังคับมาตรา ๕ และมาตรา ๔๔ ให้ศาลรัฐธรรมนูญมีอานาจ พิจารณา วินิจฉัยปัญหาว่ากฎหมายใดขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้หรือไม่ และตามที่ กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินและกฎหมายประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมืองกาหนดให้เป็นอานาจของ ศาลรัฐธรรมนูญ แต่สา หรับผู้ตรวจการแผ่นดิน ให้มีอานาจเสนอเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยได้เฉพาะ เมื่อ มีกรณีที่เห็นว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญนี้ การพิจารณาและการทาคาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย การนั้น ในระหว่างที่ยังไม่มีกฎหมายดังกล่าว ให้เป็นไปตามข้อกาหนดของศาล รัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณา และการทาคาวินิจฉัยที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่ รัฐธรรมนูญนี้ใช้บังคับ ทั้งนี้ เพียงเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อ วรรคหนึ่งหรือรัฐธรรมนูญนี้
  • 42. •มาตรา ๔๖ ในกรณีที่เห็นเป็นการจาเป็นและสมควร คณะรัฐมนตรีและคณะรักษา ความสงบแห่งชาติ จะมีมติร่วมกันให้แก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญนี้ก็ได้ โดยจัดทาเป็น ร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมเสนอต่อ สภานิติบัญญัติแห่งชาติเพื่อให้ความเห็นชอบ ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาให้ความเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญ แก้ไขเพิ่มเติม ตามวรรคหนึ่งภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับร่างรัฐธรรมนูญแก้ไข เพิ่มเติม ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบ สภานิติบัญญัติแห่งชาติจะแก้ไขเพิ่มเติม ร่างรัฐธรรมนูญ แก้ไขเพิ่มเติมนั้นมิได้ เว้นแต่คณะรัฐมนตรีและคณะรักษาความสงบ แห่งชาติจะเห็นชอบด้วย มติให้ความเห็นชอบต้องมีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจานวนสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เมื่อสภานิติบัญญัติ แห่งชาติให้ความเห็นชอบร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมแล้ว ให้นายกรัฐมนตรี นาร่าง รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ สภานิติบัญญัติ แห่งชาติมีมติ เพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และเมื่อ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้ โดยให้นายกรัฐมนตรีลงนามรับ สนองพระบรมราชโองการ และให้นาความในมาตรา ๓๗ วรรคสี่ มาใช้บังคับโดย อนุโลม
  • 43. •มาตรา ๔๗ บรรดาประกาศและคาสั่งของคณะรักษาความสงบแห่งชาติหรือคาสั่ง ของหัวหน้า คณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ได้ประกาศหรือสั่งในระหว่างวันที่ ๒๒ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๕๗ จนถึงวันที่คณะรัฐมนตรีเข้ารับหน้าที่ตาม รัฐธรรมนูญนี้ ไม่ว่าประกาศหรือสั่งให้มีผลบังคับในทาง รัฐธรรมนูญ ในทางนิติ บัญญัติ ในทางบริหาร หรือในทางตุลาการ ให้ประกาศหรือคาสั่ง ตลอดจน การ ปฏิบัติตามประกาศหรือคาสั่งนั้น ไม่ว่าจะกระทาก่อนหรือหลังวันที่รัฐธรรมนูญนี้ใช้ บังคับ เป็นประกาศ หรือคาสั่งหรือการปฏิบัติที่ชอบด้วยกฎหมายและชอบด้วย รัฐธรรมนูญและเป็นที่สุด และให้ประกาศหรือ คาสั่งดังกล่าวที่ยังมีผลใช้บังคับอยู่ใน วันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้มีผลใช้บังคับต่อไปจนกว่าจะมี กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี หรือคาสั่ง แล้วแต่กรณี แก้ไขเพิ่มเติมหรือยกเลิก ใน กรณีที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้มีคาสั่งให้บุคคลใดดารงตาแหน่งหรือพ้นจาก ตาแหน่งใด ที่ระบุไว้ในมาตรา ๒๔ ก่อนวันที่รัฐธรรมนูญนี้ใช้บังคับ ให้ นายกรัฐมนตรีนาความกราบบังคมทูล เพื่อทรงแต่งตั้งให้บุคคลนั้นดารงตาแหน่งนั้น หรือทรงให้บุคคลนั้นพ้นจากตาแหน่งนั้นด้วย