SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 30
Baixar para ler offline
เรียนอะไรก็รู้เรื่อง
แค่สรุปได้ใน 20 คํา
すべての知識を「20字」
でまとめる 紙1枚!独学法
Asada Suguru
เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 ค�ำ
すべての知識を「20字」でまとめる 紙1枚!独学法
SUBETE NO CHISHIKI WO “20-JI” NI MATOMERU KAMI 1-MAI! DOKUGAKUHOU
Copyright © 2018 Suguru Asada
All rights reserved.
Original Japanese edition published in 2018 by SB Creative Corp.
Thai translation rights arranged with SB Creative Corp. Tokyo
through Japan UNI Agency, Inc., Tokyo and Arika Interrights Agency
Thai language translation copyright © 2020 by Superposition Co., Ltd.
เลขมำตรฐำนสำกลประจ�ำหนังสือ 978-616-8109-24-3
ผู้เขียน: Asada Suguru
ผู้แปล: ทินภาส พาหะนิชย์
กองบรรณำธิกำร: ปิยะพงษ์ ศิริสุทธานันท์,
ธีร์ มีนสุข, ธีพร บรรจงเปลี่ยน
ออกแบบปก: สมเกียรติ ภูผาสิทธิ์
จัดรูปเล่ม: อรณัญช์ สุขเกษม
รำคำ 215 บำท
จัดพิมพ์โดย ส�ำนักพิมพ์บิงโก
ภายในเครือ บริษัท ซุปเปอร์โพซิชั่น จ�ากัด (Superposition Co., Ltd.)
18 ซอยดุลิยา ถนนกาญจนาภิเษก แขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน กทม. 10170
อีเมล superposition.books@gmail.com
โทรศัพท์ 094-810-7272
เว็บไซต์ www.bingobook.co เฟซบุ๊ก www.facebook.com/bingobooks
จัดจ�ำหน่ำยโดย
บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ากัด (มหาชน) SE-EDUCATION Public Company Limited
เลขที่ 1858/87-90 ถนนเทพรัตน แขวงบางนาใต้ เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260
โทร. 0-2826-8000 โทรสาร 0-2826-8999
เว็บไซต์ www.se-ed.com
พิมพ์ที่ P.R. Color Print โทรศัพท์ 02-806-6344
หากต้องการสั่งซื้อเป็นจ�านวนมาก กรุณาติดต่อรับส่วนลดได้ที่ บริษัท ซุปเปอร์โพซิชั่น จ�ากัด
อีเมล superposition.books@gmail.com
3
ระหว่าง 2 คนนี้ คุณอยากฟังใครพูดมากกว่ากันครับ?
A:“หนังสือเล่มนี้เล่าเรื่องการท�างานได้ดีผมจึงอยากให้
คุณได้อ่าน”
B:“ประเด็นส�าคัญในหนังสือเล่มนี้คือการบริหารเวลา
ให้คุ้มค่าหนังสือเล่มนี้บอกว่าการท�างานให้ดีเริ่มที่การบริหาร
เวลา เราทุกคนจึงต้องบริหารเวลาให้เป็น
บทนํา
ทําไมเราถึงนําสิ่งที่เรียน
มาปรับใช้ไม่ได้?
4 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา
ทั้งสองคนนี้อ่านหนังสือเล่มเดียวกัน แต่กลับถ่ายทอด
เนื้อหาออกมาแตกต่างกันมากสาเหตุมาจากทั้งคู่มี“วิธีเรียนรู้”
ที่แตกต่างกันตั้งแต่แรก
ถ้าคุณเคยอ่านหนังสือธุรกิจหรือเข้าร่วมงานสัมมนา
คุณน่าจะเคยกังวลกับความคิดท�านองว่า “เรียนมำตั้งเยอะ
แต่รู้สึกว่ำน�ำไปใช้ท�ำงำนจริงไม่ได้” ส่วนบางคนก็ไม่ค่อย
สนใจหรอกว่าจะน�าสิ่งที่เรียนไปใช้ในการท�างานได้หรือไม่
เพราะพวกเขาแค่“ชอบและสนุกกับกำรเรียนรู้ผ่ำนหนังสือ
คลิปวิดีโอ สื่อกำรเรียนรู้ หรือคอร์สเรียน”
ในทางตรงกันข้าม หลายคนไม่มีนิสัยรักการเรียนรู้
จึงแอบกังวลอยู่ลึกๆ ว่า “ยุคสมัยเปลี่ยนไปแล้ว ถ้าฉันไม่หา
ความรู้ใส่ตัวอาจจะล�าบาก”
คุณจะมีแรงจูงใจในการเรียนรู้แบบไหนไม่ส�าคัญ จะ
เป็นเรียนรู้เพราะ “จ�าเป็นต่อการท�างาน” “สนุกกับการเรียน”
“ถ้าไม่เรียนจะล�าบาก” ฯลฯ แต่ผมเชื่อว่าทุกคนย่อม “อยำก
จะน�ำสิ่งที่เรียนมำใช้ในกำรท�ำงำนให้มำกขึ้น”
ดังนั้นผมจะสอน "วิธีคิดและเทคนิคในกำรเรียนรู้"
ให้คุณในหนังสือเล่มนี้
5
คนท�างานแบบคุณอาจเคยตกอยู่ในสภาพเหล่านี้ว่า
•อุตส่าห์เรียนเพื่อน�าความรู้มาใช้ในการท�างาน แต่
กลับใช้ประโยชน์ไม่ได้
•“เรียนเอาสนุก” ไม่ได้ “เรียนเพื่อใช้งาน”
•ลองอ่านหนังสือเพราะอยากจะเรียนรู้ แต่กลับจ�า
เนื้อหาส�าคัญไม่ได้เลย
คุณเลยคิดหาทางเปลี่ยนแปลงตัวเอง แต่ก็ยังไม่เจอ
หนังสือที่อ่านแล้วได้ผลสักที เพราะไม่มีหนังสือเล่มไหนมา
อธิบายความเชื่อฝังหัวแบบผิดๆ เกี่ยวกับการเรียน ความเชื่อ
ผิดๆ ที่พบเห็นบ่อยๆ คือ
ควำมเชื่อผิดๆ ข้อที่ 1: ต้องจ�ำทุกอย่ำงที่เรียน
ถ้าคุณเรียนเพื่อใช้ในการท�างาน คุณจ�าแค่ “เนื้อหา
ส�าคัญบรรทัดเดียว” ก็พอ ไม่ต้องจ�าทั้งหมด
ควำมเชื่อผิดๆ ข้อที่ 2: ตั้งใจเรียน = แค่ป้อนควำม
รู้เข้ำหัวก็พอ
ถ้าคุณจะเรียนให้ได้ประโยชน์ คุณต้องเอาความรู้นั้น
ไปสร้างผลลัพธ์หรือ OUTPUT ให้ได้ด้วย
6 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา
ควำมเชื่อผิดๆ ข้อที่ 3: เรียนเพื่อตัวเอง
ถ้าคุณอยากน�าสิ่งที่เรียนมาใช้ในการท�างาน คุณต้อง
“เรียนเพื่อคนอื่น”
หนังสือเล่มนี้จะเปลี่ยนวิธีเรียนรู้ของคุณตั้งแต่เริ่มโดย
ผมจะสอน“3เทคนิคกำรเรียนรู้เพื่อใช้ในกำรท�ำงำน”ให้คุณ
เริ่มต้นจาก Part1 ควำมรู้เบื้องต้น: INPUT
คนท�างานส่วนใหญ่เวลาเรียนมักกลุ้มใจเรื่อง “เรียน
แล้วลืม”เลยท�าอะไรต่อไม่ได้ดังนั้นเป้าหมายของเทคนิคการ
เรียนรู้ที่คุณจะได้รับใน Part1 นี้คือ “จดจ�าความรู้ได้เสมอ”
ผมจะพูดถึง “3 สาเหตุที่เรียนแล้วลืม” จากนั้นผมจะ
แนะน�าวิธีเขียนและวิธีใช้ “กระดาษแผ่นเดียว” เพื่อแก้ไข
สาเหตุเหล่านั้น
เมื่อครู่ผมพูดค�าว่า “กระดาษแผ่นเดียว” ใช่แล้วครับ
เทคนิคการเรียนรู้ที่หนังสือเล่มนี้จะมอบให้คุณคือ “แค่เขียน
กระดำษแผ่นเดียว” ซึ่งท�าได้จริงและคุณยังได้รับประโยชน์
อื่นๆ ตามมาคือ
•คุณจะสรุปสิ่งที่เรียนได้ใน 20 ค�า
•คุณจะอธิบายสิ่งที่เรียนให้เข้าใจง่ายได้ใน3ประเด็น
•ท�าตัวเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนร่วมงานและลูกค้า
7
ต่อมาเนื้อหาในPart2 ควำมรู้ระดับกลำง: OUTPUT
จะคลายข้อสงสัยที่ว่า “ท�าไมเรียนแล้วจบไปเฉยๆ ไม่ได้
อะไรเลย” ถ้าคนเราแค่พอใจที่ได้เรียน แต่สร้างผลงานอะไร
ไม่ได้ ต่อให้เราจะป้อนความรู้เข้าตัวเพิ่มขึ้นสักเท่าไหร่ก็ไม่มี
ทางน�าไปใช้ในการท�างานหรือชีวิตประจ�าวันได้
ผมเชื่อว่าปัญหา "เรียนแล้วไม่ได้อะไรเลย" น่าปวดใจ
ยิ่งกว่า “เรียนแล้วลืม” ใน Part 1 เสียอีก
จากนั้นผมจะอธิบายค�าว่า “OUTPUT” เพื่อให้คุณ
เข้าใจได้ตรงประเด็นคุณจะมีมุมมองที่ชัดเจนและลงมือปฏิบัติ
ง่ายขึ้นเพราะผมจะสอนเทคนิค“แค่เขียนกระดาษแผ่นเดียว”
แบบภาคปฏิบัติให้คุณได้ลองฝึกใช้งานจนคล่อง
ส่วนสุดท้ายคือ Part3 เคล็ดวิชำ
ส่วนนี้จะเจาะลึกค�าถามที่ว่า“ท�าไมเรียนแล้วเอาไปใช้
ในการท�างานไม่ได้” ผมจะพูดถึงมุมมองการท�างาน ซึ่งมีผล
ต่อการเรียนรู้ของคุณ วิธีนี้จะช่วยให้คุณเข้าใจแก่นแท้ใน
การท�างาน เมื่อคุณเข้าใจแก่นแท้ในการท�างานแล้ว คุณจะน�า
เทคนิค “แค่เขียนกระดาษแผ่นเดียว” ไปใช้ในการท�างานได้
อย่างเป็นธรรมชาติ
ทั้งหมดนี้คือเนื้อหาคร่าวๆ ของ “ระบบการเรียนรู้”
ในหนังสือเล่มนี้
8 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา
คุณอาจก�าลังสงสัยว่าท�าไมผมถึงใช้ค�าว่า “ระบบ”
แทนที่จะเป็น “วิธี”
ผมใช้ค�าว่าระบบ เพราะถ้าคุณเข้าใจและปฏิบัติตาม
ล�าดับเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ คุณจะเข้าถึงแก่นแท้การเรียนรู้
ที่ใช้ในการท�างานได้โดยธรรมชาติไม่ต้องฝืน ช่วงแรกๆ คุณ
อาจรู้สึกว่าเนื้อหาไกลตัวไปบ้าง แต่พอเรียนรู้ไปทีละขั้นตอน
ใครๆ ก็เข้าถึงแก่นแท้ได้ครับ
ผมเจอจุดเปลี่ยนในชีวิตตอนสอบเข้ามหาวิทยาลัย
ช่วงนั้นผมไม่เก่งวิชาอะไรเลย แต่พอผมได้อ่านคู่มือ
เตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัยที่มีเนื้อหาดีมากๆผมจึงเรียนเก่งขึ้น
หลายวิชาจนสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ส�าเร็จ
ทั้งที่ตอนแรกเรียนไม่เก่งแต่พอผมท�าความเข้าใจและ
ปฏิบัติไปตามล�าดับตั้งแต่หน้าแรก วิชาที่เคยเรียนไม่เก่งก็
กลายเป็นเก่งได้ คู่มือดีๆ ส�าหรับเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย
เปลี่ยนแปลงชีวิตคนได้จริงๆ
ส่วนช่วงที่หางานท�า ผมก็ท�าแบบเดียวกัน
พอผมเจอหนังสือสอนหางานที่มีเนื้อหาดีๆ สักเล่ม
แม้ตอนนั้นจะเป็นช่วงที่หลายคนบ่นว่าหางานยาก ผมก็เข้า
ท�างานที่บริษัทโตโยต้าได้ส�าเร็จ
ตอนท�างานที่โตโยต้า ผมมีหน้าที่เขียนเรื่องต่างๆ ซ�้าๆ
9
ในกระดาษแผ่นเดียว ตอนสอบเข้ามหาวิทยาลัยก็เช่นกัน
ผมท�าเรื่องเดิมๆ ซ�้าไปซ�้ามา ผมท�ามันอย่างต่อเนื่องยาวนาน
แต่ถ้าผมท�าแต่เรื่องไม่มีความหมาย ต่อให้ผมท�าบ่อย
สักแค่ไหน มันก็แค่ความพยายามที่เปล่าประโยชน์
ถ้าเราอยากได้ผลลัพธ์ที่ดี เราต้องท�าสิ่งนั้นอย่างเป็น
ระบบและเหมาะสม
ผมพบว่าการเรียนรู้ที่ดีมี 2 เงื่อนไขด้วยกัน
ต้องเรียนอย่างมีระบบ
มีการลงมือท�าเพื่อเพิ่มความเข้าใจ
ตอนที่ผมเปลี่ยนงาน ผมได้น�าระบบการสรุปทุกอย่าง
ลงในกระดาษแผ่นเดียวที่ผมเรียนรู้จากโตโยต้ากลับมา
ใช้ประโยชน์อีกครั้ง พอผมเริ่มตั้งบริษัทของตัวเอง ผมก็น�า
ระบบนี้มาปรับใหม่ในแบบของตัวเองและเริ่มเปิดสอนใน
แวดวงการฝึกอบรมพนักงาน
ผมใช้เรื่องง่ายๆ อย่าง “การเขียนกระดาษแผ่นเดียว”
ในการท�างานแต่ละวันและในช่วงส�าคัญของชีวิต เช่น สอบ
เข้ามหาวิทยาลัย หางานท�า เปลี่ยนงาน และตั้งบริษัทของ
ตัวเองในช่วงจุดเปลี่ยนชีวิตเหล่านี้ผมสามารถท�าความเข้าใจ
ปฏิบัติ และเรียนรู้ได้ด้วยการเขียนกระดาษแผ่นเดียว ผมจึงมี
10 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา
ทักษะการเรียนรู้แบบนี้ติดตัว
หนังสือทั้ง 4 เล่มที่ผมเคยตีพิมพ์ล้วนมีพื้นฐานมาจาก
วิธีเรียนรู้แบบนี้ จุดยืนของผมในการเขียนหนังสือคือ “เขียน
หนังสือที่ยังไม่มีใครเคยท�า” และ “เขียนหนังสือที่จะกลาย
เป็นต�าราพื้นฐาน” ในสาขาความรู้นั้นๆ แต่หนังสือเล่มนี้มี
มิติเนื้อหาแตกต่างจากเล่มที่ผ่านๆ มา ผมจึงรู้สึกตื่นเต้นมาก
กับการส่งมอบหนังสือเล่มนี้ให้คุณ
สุดท้ายแล้วถ้าหนังสือเล่มนี้เป็น “หนังสือเล่มหนึ่งที่
เปลี่ยนชีวิตคุณได้” เหมือนอย่างในอดีตที่ผมเคยเจอหนังสือ
เปลี่ยนชีวิตมาแล้ว มันคงเป็นเรื่องน่ายินดีที่สุดแล้วครับ
อะซะดะ ซุงุรุ
สารบัญ
บทนํา
ทําไมเราถึงนําสิ่งที่เรียนมาปรับใช้ไม่ได้? 3
PART1: ความรู้เบื้องต้น INPUT
บทที่ 1 เรียนแล้วลืม 14
ไม่ได้เรียนเพราะอยากได้ความรู้ 17
ไม่ได้เรียนรู้เพราะมัวแต่อ่าน ดู ฟัง 20
ไม่ได้สรุปย่อเนื้อหาที่เรียน 23
บทที่ 2 เทคนิคการเรียนรู้แบบสรุปใน 20 คํา 28
ทักษะการสรุปที่ผมเรียนรู้มาจากโตโยต้า 31
ตามหาใจความส�าคัญ 38
กระดาษ ปากกา และหัวข้อ 41
เทคนิคการเรียนรู้แบบสรุปใน 20 ค�า 45
•เคล็ดลับสรุปใน 20 ค�าข้อ 1 51
•เคล็ดลับสรุปใน 20 ค�าข้อ 2 55
•เคล็ดลับสรุปใน 20 ค�าข้อ 3 59
CASE 2 สรุปเนื้อหาพร้อมกันจากหนังสือหลายเล่ม 66
CASE 3 หาความรู้ใส่ตัวด้วยการสรุปใน 20 ค�า 74
การศึกษาส�าคัญอย่างไร 80
PART2: ความรู้ระดับกลาง OUTPUT
บทที่ 3 เรียนให้เป็ นอธิบายให้ได้ 82
เรื่องที่ผมเรียนรู้จากหัวหน้าที่โตโยต้า 84
ท�าไมคนเก่งตอบค�าถามเก่ง? 86
ประโยชน์ที่ตามมาถ้าคุณอธิบายเก่ง 88
สภาวะปลอด 3 ค�าถาม 89
เรียบเรียงความคิดด้วย What Why How 91
วิธีเรียบเรียงความคิดให้ถูกใจคนอื่น 92
ขีดเส้นแบ่งความเข้าใจ 93
เข้าใจด้วยการเรียนรู้ 2W 1H 94
บทที่ 4 เทคนิคการเรียนรู้แบบปลอด 3Q 96
•เคล็ดลับเทคนิคปลอด 3Q ข้อ 1 105
•เคล็ดลับเทคนิคปลอด 3Q ข้อ 2 107
•เคล็ดลับเทคนิคปลอด 3Q ข้อ 3 112
ข้อควรระวังเวลากรอกข้อมูล 115
CASE 2 เนื้อหาในหนังสือหนาก็สรุปใน 20 ค�าได้ 118
CASE 3 แค่อ่านส่วนหนึ่งของหนังสือก็เรียนรู้ได้ 128
ตัวอย่างการอธิบายสิ่งที่เรียนรู้ 134
PART3: เคล็ดวิชา
บทที่ 5 ทําไมนําความรู้มาใช้ทํางานไม่ได้ 138
ใครเป็นคนสร้างยอดขาย 143
การท�างานคืออะไร ค�าสอนของคุณทะสะกะ ฮิโรชิ 145
คุณท�างานเพื่อใคร 150
ท�าไมน�าความรู้ที่มีไปใช้หาเงินไม่ส�าเร็จ 153
บทที่ 6 เทคนิคการเรียนรู้แบบทําเพื่อคนอื่น 158
• เคล็ดลับเทคนิคท�าเพื่อคนอื่นข้อ 1 162
• เคล็ดลับเทคนิคท�าเพื่อคนอื่นข้อ 2 167
• เคล็ดลับเทคนิคท�าเพื่อคนอื่นข้อ 3 170
ลองถ่ายทอดสิ่งที่เรียน 172
CASE 2 เพิ่มทักษะการท�างานของผู้อื่น
ด้วยสิ่งที่เรียน 174
ตัวอย่างสุดท้าย 188
บทส่งท้าย
นําการเรียนรู้แบบ “ใฝ่ รู้” กลับมา 191
ประวัติผู้เขียน 194
PART 1
ความรู้เบื้องต้น: INPUT
เรียนแล้วลืม
1
- บท -
15- บท 1 - เรียนแล้วลืม
คุณเคยเจอหนังสือ การสัมมนา สื่อการเรียนรู้ หรือ
บทความที่ชวนให้รู้สึกท�านองนี้บ้างไหมครับ
“เฮ้ย! หนังสือเล่มนี้สนุกจริงๆ”
“ฉันเพิ่งเคยเข้าร่วมการสัมมนาที่ได้ความรู้มากขนาดนี้”
“สื่อการเรียนรู้นี้มีเนื้อหาดีมากถึงขั้นเปลี่ยนชีวิตได้”
ถ้าเคย ผมขอถามต่อว่า
•สิ่งนั้นมีเนื้อหาอย่างไร?
•คุณได้เรียนรู้อะไรบ้าง?
•คุณประทับใจสิ่งนั้นตรงไหน?
หนังสือที่ผมเขียนมียอดพิมพ์รวมทั้งสิ้นกว่า 350,000
เล่มผมเคยฝึกอบรมทักษะทางธุรกิจและอบรมเชิงปฏิบัติการ
ให้คนท�างานกว่า8,000คนทั้งหมดนี้ท�าให้ผมมีโอกาสได้ใกล้
ชิดคนท�างานที่มีพื้นเพแตกต่างกัน
ผมลองถามค�าถามด้านบนนี้กับผู้คนมากมายพวกเขา
ตอบชื่อหนังสือ ชื่อนักเขียน หรือชื่อวิธีได้ แต่น่าเสียดายที่
น้อยคนนักจะเล่าเนื้อหานอกเหนือจากนั้นได้
16 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา
คุณคงเคยเจอเหตุการณ์ “เรียนแล้วลืม” มาบ้าง
คุณอาจคิดด้วยซ�้าว่า“คนอื่นๆก็คงลืมเหมือนกัน”และมองว่า
“นี่ไม่ใช่ปัญหา” ถ้าคุณเป็นคนประเภท “เวลาเรียนก็ตั้งใจนะ
แต่ตอนนี้แทบลืมไปหมดแล้ว” นั่นแปลว่าคุณไม่ได้เตรียม
พร้อมที่จะน�าสิ่งที่เรียนมาใช้ท�างานเลย
ท�าไมถึงเกิดเรื่องแบบนี้ได้?
ผมหาค�าตอบของค�าถามนี้มานาน ทั้งในฐานะผู้เรียน
และผู้สอน จนกระทั่งเจอเหตุผล 3 ข้อดังนี้
ไม่ได้เรียนรู้เพราะอยากได้ความรู้
ไม่ได้เรียนรู้เพราะมัวแต่อ่าน ดู ฟัง
ไม่ได้สรุปย่อเนื้อหาที่เรียน
17- บท 1 - เรียนแล้วลืม
ไม่ได้เรียนรู้เพราะอยากได้ความรู้
เหตุผลข้อแรกผมน�ามาจากวาทกรรมแห่งยุค ถ้าจะ
อธิบายให้เข้าใจง่ายที่สุด ผมขอสรุปว่า สมัยนี้เป็นยุคที่
“กำรเรียนรู้” กลำยเป็น “กำรบริโภค”
นับตั้งแต่เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 รายการโทรทัศน์เกือบ
ทั้งหมด ถ้าไม่สอดแทรกความรู้ที่เป็นประโยชน์อะไรสักอย่าง
จะไม่มีเนื้อหาดีพอที่จะออกอากาศได้เลย รายการวาไรตี้ที่มี
แค่ความสนุกทยอยหายไปเหลือแต่รายการเกมโชว์ที่สนุกและ
มีประโยชน์ รายการเล่าข่าว และรายการสาระประโยชน์
ขนาดหนังสือขายดีอย่างกล้าที่จะถูกเกลียดยังถูกน�ามา
ดัดแปลงเป็นรายการโทรทัศน์เมื่อเร็วๆ นี้เลย นี่ก็เป็นตัวอย่าง
หนึ่งของความบันเทิงที่สอดแทรกความรู้ ถ้าคุณมีโอกาสดู
โทรทัศน์บ้างคุณน่าจะสังเกตเห็นกระแสของรายการโทรทัศน์
ที่มีเนื้อหาเพื่อการศึกษาได้ไม่ยาก
เ
หตุผลข้อ
ที่
1
18 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา
นอกจากนี้ในโลกอินเทอร์เน็ตยังมีข้อมูลและคลิปวิดีโอ
ที่ให้ความรู้ในหัวข้อต่างๆ เต็มไปหมดจนเรียกได้ว่า “ข้อมูล
ล้นหลาม” เราจึงเรียนรู้ด้วยความรู้สึกสบายๆ และลื่นไหล
แบบไม่มีอุปสรรคราวกับเราก�าลังดื่มน�้าทั้งหมดนี้ส่งผลให้การ
เรียนรู้มีคุณค่าลดลงกลายเป็น “การบริโภค” ไปแทน
คนส่วนใหญ่อาจตอบค�าถามง่ายๆ อย่าง “เมื่อ 3 วัน
ที่แล้วกินอะไรเป็นมื้อเย็น?” ไม่ได้ด้วยซ�้า ถึงตอนนั้นจะได้กิน
อาหารอร่อยๆ ติดๆ กัน แต่ตราบใดที่เราแค่ “บริโภค” ข้อมูล
แทบทั้งหมดนั้นก็จะหายไปจากความทรงจ�าอย่างรวดเร็ว
ถ้าผมลองเปลี่ยนค�าถามเมื่อครู่เป็น “เมื่อ 3 วันที่แล้ว
คุณเรียนอะไร?”
คุณตอบค�าถามนี้ได้ไหมครับ?
อะไรก็ตามที่ได้มาง่าย เรามักจะลืมสิ่งนั้นไปอย่าง
รวดเร็ว ในยุคที่การเรียนรู้ในรูปแบบการบริโภคกลายเป็น
เรื่องปกติในชีวิตประจ�าวัน เรามักจะมีความคิดว่า “เนื้อหาที่
เรียน = จ�าไม่ได้ทั้งหมดและลืมเป็นเรื่องธรรมดา”
สุดท้ายแล้วความคิดนี้ก็กลายเป็นกระแสหลักไป
โดยปริยาย แต่เราต้องรู้ตัวให้ได้ว่าตอนนี้เราตกอยู่ในสภาพ
แวดล้อมการเรียนรู้แบบนี้จนส่งผลให้ความคิดที่ว่า“การเรียนรู้
= การบริโภค” กลายเป็นเรื่องธรรมดาไปโดยไม่รู้ตัว
19- บท 1 - เรียนแล้วลืม
เมื่อเรารู้ว่า “ตอนนี้การเรียนรู้เป็นการบริโภค” เราก็จะ
หาทางแก้ไขด้วยตัวเองได้ ซึ่งวิธีแก้ไขเรื่องนี้ก็คือ จงเปลี่ยน
มุมมองกำรเรียนรู้แบบ “บริโภค” เป็นมุมมองกำรเรียนรู้
แบบ “ลงทุน”
กุญแจส�าคัญในการเรียนรู้แบบลงทุนคือ ก�ำหนด
เป้ำหมำยให้ชัดเจน
คุณต้องก�าหนดเป้าหมายของการเรียนรู้ให้ชัดเจน
ไม่พึงพอใจกับการเป็นผู้รับอย่างเดียว และเรียนรู้เชิงรุกเพื่อ
บรรลุเป้าหมายนั้น
20 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา
ไม่ได้เรียนรู้
เพราะมัวแต่อ่าน ดู ฟัง
เหตุผลข้อที่2ถ้าพูดในเชิงเปรียบเปรยคือ“ไม่ได้ลิ้มรส”
เราแค่เชื่อสิ่งที่ผู้เขียนหรืออาจารย์บอกโดยไม่พิจารณาให้ดี
เราจึงจ�าอะไรไม่ค่อยได้
ผมเคยถามผู้เข้าอบรมคนหนึ่งซึ่งเป็นหนอนหนังสือว่า
“หนังสือเล่มไหนที่เปลี่ยนแปลงชีวิตคุณ?”
ค�าตอบที่ผมได้รับคือTheEffectiveExecutiveหนังสือดัง
ของปีเตอร์ ดรักเกอร์ บิดาแห่งการบริหารจัดการ
ผมจึงถามเขาต่อว่า “คุณได้เรียนรู้อะไรบ้าง?”
ค�าตอบที่ได้มีแต่ “ได้เรียนรู้แก่นแท้ของการท�างาน”
“เป็นหนังสือที่ดีจริงๆ” “ลองอ่านดูนะครับ” ทั้งหมดนี้ล้วนไม่มี
ข้อมูลอะไรที่จับต้องได้เลย
อันที่จริง ผมก็เป็นแฟนคลับของปีเตอร์ ดรักเกอร์ และ
เคยอ่าน The Effective Executive มาหลายรอบแล้ว ผมจึง
เ
หตุผลข้อ
ที่
2
21- บท 1 - เรียนแล้วลืม
ลองเปลี่ยนค�าถามเป็น“ผมชอบเรื่องการบริหารเวลาในบทที่2
มันชื่ออะไรนะ?”
เขาตอบผมว่า “ชื่อ ‘จงรู้เวลาของคุณ’ ครับ เนื้อหาบท
นั้นยอดเยี่ยมมากเลยครับ”
บทที่ 2 ในหนังสือชื่อนี้จริงๆ แต่สุดท้ายผมก็ไม่ได้ยิน
เนื้อหาที่เป็นประโยชน์จากปากเขา ผมเลยสรุปว่า “เขาแทบ
จ�าอะไรไม่ได้เลย” ช่างน่าเสียดายจริงๆ ครับ
เขาอาจคิดว่า “นี่เป็นหนังสือดัง” เวลาอ่านจึงกระหาย
ความรู้และอิ่มใจมาก แต่กลับไม่สามารถจ�าเนื้อหาที่ชัดเจน
ได้เลย เขาคิดว่าการอ่านหนังสือคือการ “ใส่ค�าพูดของผู้เขียน
ลงในหัว” เท่านั้นเอง เมื่อผู้เข้าอบรมคนนี้เรียนรู้แบบผ่านตา
แล้วก็ผ่านไปเขาก็ไม่สามารถอธิบายเนื้อหาส�าคัญในหนังสือ
และถ่ายทอดใหม่ด้วยค�าพูดของตัวเองได้
พอผมลองช่วยบอกใบ้ เขาก็นึกเนื้อหาส�าคัญออก แต่
ก็ยังอธิบายอะไรมากกว่านั้นไม่ได้อยู่ดี
เมื่อคุณตกอยู่ในสภาพแบบนี้สุดท้ายคุณก็จะน�าอะไร
ไปใช้ในการท�างานจริงไม่ได้เลยถ้าคุณแค่เทิดทูนค�าพูดสวยๆ
จากในหนังสืองานสัมมนาหรือคลิปวิดีโอนอกจากคุณจะน�า
มันไปใช้ในการท�างานจริงไม่ได้แล้วพอเวลาเริ่มผ่านไปสักพัก
คุณก็“ลืม”คุณจะอวดอ้างความรู้ที่เรียนมาก็ไม่ได้เพราะคุณ
22 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา
แค่อัดความรู้ใส่ตัวเพียงอย่างเดียว
ถ้าคุณรู้ตัวว่า“ฉันลืมเพราะอธิบายในแบบตัวเองไม่ได้”
วิธีที่ผมแนะน�าคือเปลี่ยนสิ่งที่เรียนเป็นค�ำพูดของตัวเองที่
จ�ำได้ง่ำยคุณต้อง“ลิ้มรส”สิ่งที่เรียนด้วยตัวเองนั่นคือ“เรียนรู้
พลำงเรียบเรียงควำมคิด”
23- บท 1 - เรียนแล้วลืม
ไม่ได้สรุปย่อเนื้อหาที่เรียน
ผมเคยจัดอบรมเชิงปฏิบัติ 1 วันในหัวข้อ เทคนิคสรุป
ทุกอย่างลงในกระดาษแผ่นเดียว ที่ฉันเรียนรู้มาจากโตโยต้า
ซึ่งเป็นชื่อเดียวกับหนังสือเล่มแรกของผมพอจบการอบรมผม
มอบโจทย์ 1 ข้อให้ทุกคนว่า “จงสรุปสิ่งที่เรียนไปวันนี้”
วันต่อมา ผู้เข้าอบรมก็สรุปสิ่งที่เรียนไปมาส่งให้ผม
ในจ�านวนนั้นมีข้อความดังต่อไปนี้
จงสรุปสิ่งที่เรียนไปครั้งนี้
การเรียบเรียงความคิดในระดับลงมือปฏิบัติด้วยการ
เขียนกระดาษแผ่นเดียวช่วยเพิ่มผลผลิตในชีวิตประจ�าวัน
เมื่อเราสรุปเนื้อหาได้ใน 3 ข้อและอธิบายให้คนรอบข้างฟังได้
เราจึงท�างาน "เพื่อคนอื่น" ไม่ใช่ท�างานแบบ "ไม่สนใคร" หรือ
"เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง"
เ
หตุผลข้อ
ที่
3
24 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา
เห็นได้ชัดเลยว่าเขาสรุปมายาวมากและยังใช้ค�ายาก
เกินกว่าจะจ�าได้ขึ้นใจ
พอผมลองเปลี่ยนค�าถามใหม่เป็น “ช่วยสรุปย่อให้พูด
จบได้ในลมหายใจเดียวได้ไหม?”
เขาเลยสรุปสั้นๆ ว่า การเขียนกระดาษแผ่นเดียวช่วย
ให้เราท�างานโดยเข้าใจภาพรวม ไม่ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง
แม้เขาตั้งใจจะสรุปออกมาให้ดี คนอื่นก็อาจเข้าใจไม่
ตรงประเด็นกันก็ได้ พอต้องสรุปออกมาแล้วเลยใช้ประโยค
ยาวเกินไปบ้างและยากเกินไปบ้าง
ผมเจอคนประเภทนี้เยอะมาก แล้วคุณล่ะครับ สรุป
สิ่งที่เรียนมาได้ตรงประเด็นและคล่องแคล่วหรือเปล่า?
1. ไม่ได้เรียนรู้เพราะอยากได้ความรู้
(สมัยนี้เป็นยุคที่การเรียนรู้กลายเป็นการบริโภค)
2. ไม่ได้เรียนรู้เพราะมัวแต่อ่าน ดู ฟั ง
3. ไม่ได้สรุปย่อเนื้อหาที่เรียน
สรุปสาเหตุ “ทําไมเรียนแล้วลืม?”
25- บท 1 - เรียนแล้วลืม
ลองตั้งค�าถามกับตัวเองว่า…
•คุณสรุปสิ่งที่เรียนอย่างเรียบง่าย และท�าได้ในชีวิต
ประจ�าวันหรือไม่?
•คุณเรียนรู้โดยอธิบายสิ่งที่เรียนในแบบตัวเองได้
หรือไม่?
•ก่อนจะเรียนอะไรสักอย่าง คุณก�าหนดเป้าหมาย
การเรียนอย่างชัดเจนหรือไม่?
•คุณคิดว่า “การเรียนรู้ = การบริโภค” โดยไม่รู้ตัว
หรือไม่?
ถ้าคุณยังตอบค�าถามเหล่านี้ด้วยค�าว่า “ใช่” ได้ไม่
เต็มปาก คุณมีแนวโน้มที่จะ “เรียนแล้วลืม”
1. กําหนดเป้ าหมายให้ชัดเจน
2. เรียนรู้พลางเรียบเรียงความคิด
3. สรุปย่ออย่างตรงประเด็น
วิธีแก้ไขไม่ให้ตัวเองเรียนแล้วลืม
26 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา
นอกจากวิธีแก้ไขที่ผมแนะน�าไปแล้ว สิ่งพิเศษที่สุดใน
หนังสือเล่มนี้ที่ผมอยากมอบให้กับคุณก็คือ“เทคนิคกำรเรียนรู้
แบบสรุปใน 20 ค�ำ”ซึ่งเราจะใช้พื้นฐานของการเขียนเอกสาร
กระดาษแผ่นเดียวที่ผมเรียนรู้มาจากบริษัทโตโยต้านั่นเอง
ถ้าคุณพร้อมแล้ว เรามาเข้าสู่เนื้อหาในบทต่อไปกัน
เลยครับ
27
ถ้าคุณแค่เทิดทูน
คําพูดสวยๆ จากในหนังสือ
งานสัมมนา หรือคลิปวิดีโอ
นอกจากคุณจะนํามันไปใช้
ในการทํางานจริงไม่ได้แล้ว
พอเวลาเริ่มผ่านไปสักพักคุณก็ “ลืม”
PART 1
ความรู้เบื้องต้น: INPUT
เทคนิคการเรียนรู้
แบบสรุปใน 20 คํา
2
- บท -
29- บท 2 - เทคนิคการเรียนรู้แบบสรุปใน 20 คํา
จากนี้ไปเราจะค่อยๆ เข้าสู่ “ภาคฏิบัติ” กันนะครับ
เนื้อหาในบทนี้เกี่ยวกับ“เทคนิคการเรียนรู้แบบจ�าได้นาน”
เพื่อช่วยแก้อาการ “เรียนแล้วลืม” ให้หมดไป โดยผมขอน�า
3 วิธีแก้ไขไม่ให้ตัวเองเรียนแล้วลืมในบทที่ 1 มาอธิบายให้
ละเอียดอีกครั้ง แต่ก่อนอื่นผมขออธิบายวิธีที่ 3 “สรุปย่ออย่าง
ตรงประเด็น” ให้คุณเข้าใจมากขึ้นก่อน
ผมแนะน�าผู้เข้าอบรมอยู่เสมอว่า “จงสรุปสิ่งที่เรียน
ให้อยู่ใน 20 ค�ำ”
ถ้าคุณนึกหน้าตาของการสรุปแบบนี้ไม่ออก ผมลอง
เลือกตัวอย่างมารวมไว้ให้ดังนี้ครับ
•สมัยนี้เป็นยุคที่ “การเรียนรู้” กลายเป็น “การบริโภค”
•เปลี่ยนมุมมองการเรียนรู้แบบ “บริโภค” เป็นมุมมอง
การเรียนรู้แบบ “ลงทุน”
•ไม่ได้เรียนรู้เพราะมัวแต่อ่าน ดู ฟัง
•ไม่ได้สรุปย่อเนื้อหาที่เรียน
•การเขียนกระดาษแผ่นเดียวช่วยให้เราท�างานโดย
เข้าใจภาพรวม ไม่ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง
•จงสรุปสิ่งที่เรียนให้อยู่ใน 20 ค�า
30 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา
ตัวอย่างการสรุปที่ผมยกมาข้างบนนี้เมื่อคุณอ่านคร่าวๆ
ก็จะเข้าใจประเด็นส�าคัญได้ทันทีอันที่จริงก่อนหน้านี้ผมก็แทรก
การสรุปเนื้อหาแบบนี้อยู่เรื่อยๆ เพื่อให้คุณเข้าใจง่ายๆ ครับ
ถ้าใครสงสัยว่าท�าไมถึงเข้าใจง่าย?
ผมขอตอบว่าเพราะผมพยายามจ�ากัดเนื้อหาให้อยู่ใน
20ค�าเนื้อหาจึงออกมาพอเหมาะพอเจาะผมตั้งใจสรุปเนื้อหา
ให้ได้จ�านวนค�าประมาณนี้ทุกครั้ง ไม่ใช่เรื่องบังเอิญ
แล้วถ้าถามต่อว่าท�าไมต้องเป็น 20 ค�าด้วยล่ะ?
เหตุผลสั้นๆ ก็คือ “แค่ 20 ค�าก็สื่อความได้”

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
เล็ก เล็ก
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธ
khaowpun
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
พัน พัน
 
เสน่ห์การพลิก
เสน่ห์การพลิกเสน่ห์การพลิก
เสน่ห์การพลิก
FS Pasvijit
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
bangonchin
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
Piyarerk Bunkoson
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
Namfon Wannapa
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 

Mais procurados (18)

บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจการพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
การพัฒนาแนวใหม่การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ
 
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
นำเสนอการอ่านเชิงวิเคราะห์
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
เธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธเธšเธ—เธ„เธงเธ
เธšเธ—เธ„เธงเธ
 
งานอบรมการใช้อินเตอร์เน็ต
งานอบรมการใช้อินเตอร์เน็ตงานอบรมการใช้อินเตอร์เน็ต
งานอบรมการใช้อินเตอร์เน็ต
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้นเทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
เทคนิคการสอนการฟังภาษาอังกฤษเบื้องต้น
 
เสน่ห์การพลิก
เสน่ห์การพลิกเสน่ห์การพลิก
เสน่ห์การพลิก
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
ความหมายของแบบฝึกเสริมทักษะ
 
Blog writing
Blog writingBlog writing
Blog writing
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่บทที่ 2.ใหม่
บทที่ 2.ใหม่
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 

Mais de Piyapong Sirisutthanant

ตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdfตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdf
Piyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdfตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdf
Piyapong Sirisutthanant
 
AI 2041 ตัวอย่าง
AI 2041 ตัวอย่างAI 2041 ตัวอย่าง
AI 2041 ตัวอย่าง
Piyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stick
ตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stickตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stick
ตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stick
Piyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect
ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect
ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect
Piyapong Sirisutthanant
 
ตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวย
ตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวยตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวย
ตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวย
Piyapong Sirisutthanant
 
Successful peopleact sample
Successful peopleact sampleSuccessful peopleact sample
Successful peopleact sample
Piyapong Sirisutthanant
 
AI SUPERPOWERS_Sample
AI SUPERPOWERS_SampleAI SUPERPOWERS_Sample
AI SUPERPOWERS_Sample
Piyapong Sirisutthanant
 
How to be better at (almost) everything sample
How to be better at (almost) everything sampleHow to be better at (almost) everything sample
How to be better at (almost) everything sample
Piyapong Sirisutthanant
 

Mais de Piyapong Sirisutthanant (20)

ตัวอย่างหนังสือ_พูดคุยอย่างไร ได้ทั้งใจ ได้ทั้งงาน.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_พูดคุยอย่างไร ได้ทั้งใจ ได้ทั้งงาน.pdfตัวอย่างหนังสือ_พูดคุยอย่างไร ได้ทั้งใจ ได้ทั้งงาน.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_พูดคุยอย่างไร ได้ทั้งใจ ได้ทั้งงาน.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_ฉันแข็งแกร่งพอที่จะเชื่อความคิดของตัวเอง.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ฉันแข็งแกร่งพอที่จะเชื่อความคิดของตัวเอง.pdfตัวอย่างหนังสือ_ฉันแข็งแกร่งพอที่จะเชื่อความคิดของตัวเอง.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ฉันแข็งแกร่งพอที่จะเชื่อความคิดของตัวเอง.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_ถกเถียงอย่างไร ให้เราเข้าใจกันมากกว่าเดิม.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ถกเถียงอย่างไร ให้เราเข้าใจกันมากกว่าเดิม.pdfตัวอย่างหนังสือ_ถกเถียงอย่างไร ให้เราเข้าใจกันมากกว่าเดิม.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ถกเถียงอย่างไร ให้เราเข้าใจกันมากกว่าเดิม.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_เพราะฉันแตกต่างจึงบริหารเวลาแบบนี้.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เพราะฉันแตกต่างจึงบริหารเวลาแบบนี้.pdfตัวอย่างหนังสือ_เพราะฉันแตกต่างจึงบริหารเวลาแบบนี้.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เพราะฉันแตกต่างจึงบริหารเวลาแบบนี้.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_เธอหรือฉันใครกันที่Toxic.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เธอหรือฉันใครกันที่Toxic.pdfตัวอย่างหนังสือ_เธอหรือฉันใครกันที่Toxic.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เธอหรือฉันใครกันที่Toxic.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_เก่งด้วยศาสตร์.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เก่งด้วยศาสตร์.pdfตัวอย่างหนังสือ_เก่งด้วยศาสตร์.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_เก่งด้วยศาสตร์.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_ถ้าสอนงานแบบนี้.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ถ้าสอนงานแบบนี้.pdfตัวอย่างหนังสือ_ถ้าสอนงานแบบนี้.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_ถ้าสอนงานแบบนี้.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_แค่มองให้เป็น.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_แค่มองให้เป็น.pdfตัวอย่างหนังสือ_แค่มองให้เป็น.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_แค่มองให้เป็น.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdfตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คู่มือทำธุรกิจฉบับคนคิดสร้างสรรค์.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdfตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_คิดอย่างไรไม่ให้คิดไปเอง.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ_Blitzscaling.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_Blitzscaling.pdfตัวอย่างหนังสือ_Blitzscaling.pdf
ตัวอย่างหนังสือ_Blitzscaling.pdf
 
ฉันหมด Passion หรือแค่ยังหามันไม่เจอ_Sample.pdf
ฉันหมด Passion หรือแค่ยังหามันไม่เจอ_Sample.pdfฉันหมด Passion หรือแค่ยังหามันไม่เจอ_Sample.pdf
ฉันหมด Passion หรือแค่ยังหามันไม่เจอ_Sample.pdf
 
AI 2041 ตัวอย่าง
AI 2041 ตัวอย่างAI 2041 ตัวอย่าง
AI 2041 ตัวอย่าง
 
LHTL_Sample.pdf
LHTL_Sample.pdfLHTL_Sample.pdf
LHTL_Sample.pdf
 
ตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stick
ตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stickตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stick
ตัวอย่างหนังสือ อยากขายดี สตอรี่ต้องโดน Stories that stick
 
ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect
ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect
ตัวอย่างหนังสือ The Compound Effect
 
ตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวย
ตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวยตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวย
ตัวอย่างหนังสือ Everything is f*cked คู่มือแห่งความหวัง ในโลกสุดเฮงซวย
 
Successful peopleact sample
Successful peopleact sampleSuccessful peopleact sample
Successful peopleact sample
 
AI SUPERPOWERS_Sample
AI SUPERPOWERS_SampleAI SUPERPOWERS_Sample
AI SUPERPOWERS_Sample
 
How to be better at (almost) everything sample
How to be better at (almost) everything sampleHow to be better at (almost) everything sample
How to be better at (almost) everything sample
 

You canlearnanything sample

  • 2. เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 ค�ำ すべての知識を「20字」でまとめる 紙1枚!独学法 SUBETE NO CHISHIKI WO “20-JI” NI MATOMERU KAMI 1-MAI! DOKUGAKUHOU Copyright © 2018 Suguru Asada All rights reserved. Original Japanese edition published in 2018 by SB Creative Corp. Thai translation rights arranged with SB Creative Corp. Tokyo through Japan UNI Agency, Inc., Tokyo and Arika Interrights Agency Thai language translation copyright © 2020 by Superposition Co., Ltd. เลขมำตรฐำนสำกลประจ�ำหนังสือ 978-616-8109-24-3 ผู้เขียน: Asada Suguru ผู้แปล: ทินภาส พาหะนิชย์ กองบรรณำธิกำร: ปิยะพงษ์ ศิริสุทธานันท์, ธีร์ มีนสุข, ธีพร บรรจงเปลี่ยน ออกแบบปก: สมเกียรติ ภูผาสิทธิ์ จัดรูปเล่ม: อรณัญช์ สุขเกษม รำคำ 215 บำท จัดพิมพ์โดย ส�ำนักพิมพ์บิงโก ภายในเครือ บริษัท ซุปเปอร์โพซิชั่น จ�ากัด (Superposition Co., Ltd.) 18 ซอยดุลิยา ถนนกาญจนาภิเษก แขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน กทม. 10170 อีเมล superposition.books@gmail.com โทรศัพท์ 094-810-7272 เว็บไซต์ www.bingobook.co เฟซบุ๊ก www.facebook.com/bingobooks จัดจ�ำหน่ำยโดย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จ�ากัด (มหาชน) SE-EDUCATION Public Company Limited เลขที่ 1858/87-90 ถนนเทพรัตน แขวงบางนาใต้ เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0-2826-8000 โทรสาร 0-2826-8999 เว็บไซต์ www.se-ed.com พิมพ์ที่ P.R. Color Print โทรศัพท์ 02-806-6344 หากต้องการสั่งซื้อเป็นจ�านวนมาก กรุณาติดต่อรับส่วนลดได้ที่ บริษัท ซุปเปอร์โพซิชั่น จ�ากัด อีเมล superposition.books@gmail.com
  • 3. 3 ระหว่าง 2 คนนี้ คุณอยากฟังใครพูดมากกว่ากันครับ? A:“หนังสือเล่มนี้เล่าเรื่องการท�างานได้ดีผมจึงอยากให้ คุณได้อ่าน” B:“ประเด็นส�าคัญในหนังสือเล่มนี้คือการบริหารเวลา ให้คุ้มค่าหนังสือเล่มนี้บอกว่าการท�างานให้ดีเริ่มที่การบริหาร เวลา เราทุกคนจึงต้องบริหารเวลาให้เป็น บทนํา ทําไมเราถึงนําสิ่งที่เรียน มาปรับใช้ไม่ได้?
  • 4. 4 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา ทั้งสองคนนี้อ่านหนังสือเล่มเดียวกัน แต่กลับถ่ายทอด เนื้อหาออกมาแตกต่างกันมากสาเหตุมาจากทั้งคู่มี“วิธีเรียนรู้” ที่แตกต่างกันตั้งแต่แรก ถ้าคุณเคยอ่านหนังสือธุรกิจหรือเข้าร่วมงานสัมมนา คุณน่าจะเคยกังวลกับความคิดท�านองว่า “เรียนมำตั้งเยอะ แต่รู้สึกว่ำน�ำไปใช้ท�ำงำนจริงไม่ได้” ส่วนบางคนก็ไม่ค่อย สนใจหรอกว่าจะน�าสิ่งที่เรียนไปใช้ในการท�างานได้หรือไม่ เพราะพวกเขาแค่“ชอบและสนุกกับกำรเรียนรู้ผ่ำนหนังสือ คลิปวิดีโอ สื่อกำรเรียนรู้ หรือคอร์สเรียน” ในทางตรงกันข้าม หลายคนไม่มีนิสัยรักการเรียนรู้ จึงแอบกังวลอยู่ลึกๆ ว่า “ยุคสมัยเปลี่ยนไปแล้ว ถ้าฉันไม่หา ความรู้ใส่ตัวอาจจะล�าบาก” คุณจะมีแรงจูงใจในการเรียนรู้แบบไหนไม่ส�าคัญ จะ เป็นเรียนรู้เพราะ “จ�าเป็นต่อการท�างาน” “สนุกกับการเรียน” “ถ้าไม่เรียนจะล�าบาก” ฯลฯ แต่ผมเชื่อว่าทุกคนย่อม “อยำก จะน�ำสิ่งที่เรียนมำใช้ในกำรท�ำงำนให้มำกขึ้น” ดังนั้นผมจะสอน "วิธีคิดและเทคนิคในกำรเรียนรู้" ให้คุณในหนังสือเล่มนี้
  • 5. 5 คนท�างานแบบคุณอาจเคยตกอยู่ในสภาพเหล่านี้ว่า •อุตส่าห์เรียนเพื่อน�าความรู้มาใช้ในการท�างาน แต่ กลับใช้ประโยชน์ไม่ได้ •“เรียนเอาสนุก” ไม่ได้ “เรียนเพื่อใช้งาน” •ลองอ่านหนังสือเพราะอยากจะเรียนรู้ แต่กลับจ�า เนื้อหาส�าคัญไม่ได้เลย คุณเลยคิดหาทางเปลี่ยนแปลงตัวเอง แต่ก็ยังไม่เจอ หนังสือที่อ่านแล้วได้ผลสักที เพราะไม่มีหนังสือเล่มไหนมา อธิบายความเชื่อฝังหัวแบบผิดๆ เกี่ยวกับการเรียน ความเชื่อ ผิดๆ ที่พบเห็นบ่อยๆ คือ ควำมเชื่อผิดๆ ข้อที่ 1: ต้องจ�ำทุกอย่ำงที่เรียน ถ้าคุณเรียนเพื่อใช้ในการท�างาน คุณจ�าแค่ “เนื้อหา ส�าคัญบรรทัดเดียว” ก็พอ ไม่ต้องจ�าทั้งหมด ควำมเชื่อผิดๆ ข้อที่ 2: ตั้งใจเรียน = แค่ป้อนควำม รู้เข้ำหัวก็พอ ถ้าคุณจะเรียนให้ได้ประโยชน์ คุณต้องเอาความรู้นั้น ไปสร้างผลลัพธ์หรือ OUTPUT ให้ได้ด้วย
  • 6. 6 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา ควำมเชื่อผิดๆ ข้อที่ 3: เรียนเพื่อตัวเอง ถ้าคุณอยากน�าสิ่งที่เรียนมาใช้ในการท�างาน คุณต้อง “เรียนเพื่อคนอื่น” หนังสือเล่มนี้จะเปลี่ยนวิธีเรียนรู้ของคุณตั้งแต่เริ่มโดย ผมจะสอน“3เทคนิคกำรเรียนรู้เพื่อใช้ในกำรท�ำงำน”ให้คุณ เริ่มต้นจาก Part1 ควำมรู้เบื้องต้น: INPUT คนท�างานส่วนใหญ่เวลาเรียนมักกลุ้มใจเรื่อง “เรียน แล้วลืม”เลยท�าอะไรต่อไม่ได้ดังนั้นเป้าหมายของเทคนิคการ เรียนรู้ที่คุณจะได้รับใน Part1 นี้คือ “จดจ�าความรู้ได้เสมอ” ผมจะพูดถึง “3 สาเหตุที่เรียนแล้วลืม” จากนั้นผมจะ แนะน�าวิธีเขียนและวิธีใช้ “กระดาษแผ่นเดียว” เพื่อแก้ไข สาเหตุเหล่านั้น เมื่อครู่ผมพูดค�าว่า “กระดาษแผ่นเดียว” ใช่แล้วครับ เทคนิคการเรียนรู้ที่หนังสือเล่มนี้จะมอบให้คุณคือ “แค่เขียน กระดำษแผ่นเดียว” ซึ่งท�าได้จริงและคุณยังได้รับประโยชน์ อื่นๆ ตามมาคือ •คุณจะสรุปสิ่งที่เรียนได้ใน 20 ค�า •คุณจะอธิบายสิ่งที่เรียนให้เข้าใจง่ายได้ใน3ประเด็น •ท�าตัวเป็นประโยชน์ต่อเพื่อนร่วมงานและลูกค้า
  • 7. 7 ต่อมาเนื้อหาในPart2 ควำมรู้ระดับกลำง: OUTPUT จะคลายข้อสงสัยที่ว่า “ท�าไมเรียนแล้วจบไปเฉยๆ ไม่ได้ อะไรเลย” ถ้าคนเราแค่พอใจที่ได้เรียน แต่สร้างผลงานอะไร ไม่ได้ ต่อให้เราจะป้อนความรู้เข้าตัวเพิ่มขึ้นสักเท่าไหร่ก็ไม่มี ทางน�าไปใช้ในการท�างานหรือชีวิตประจ�าวันได้ ผมเชื่อว่าปัญหา "เรียนแล้วไม่ได้อะไรเลย" น่าปวดใจ ยิ่งกว่า “เรียนแล้วลืม” ใน Part 1 เสียอีก จากนั้นผมจะอธิบายค�าว่า “OUTPUT” เพื่อให้คุณ เข้าใจได้ตรงประเด็นคุณจะมีมุมมองที่ชัดเจนและลงมือปฏิบัติ ง่ายขึ้นเพราะผมจะสอนเทคนิค“แค่เขียนกระดาษแผ่นเดียว” แบบภาคปฏิบัติให้คุณได้ลองฝึกใช้งานจนคล่อง ส่วนสุดท้ายคือ Part3 เคล็ดวิชำ ส่วนนี้จะเจาะลึกค�าถามที่ว่า“ท�าไมเรียนแล้วเอาไปใช้ ในการท�างานไม่ได้” ผมจะพูดถึงมุมมองการท�างาน ซึ่งมีผล ต่อการเรียนรู้ของคุณ วิธีนี้จะช่วยให้คุณเข้าใจแก่นแท้ใน การท�างาน เมื่อคุณเข้าใจแก่นแท้ในการท�างานแล้ว คุณจะน�า เทคนิค “แค่เขียนกระดาษแผ่นเดียว” ไปใช้ในการท�างานได้ อย่างเป็นธรรมชาติ ทั้งหมดนี้คือเนื้อหาคร่าวๆ ของ “ระบบการเรียนรู้” ในหนังสือเล่มนี้
  • 8. 8 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา คุณอาจก�าลังสงสัยว่าท�าไมผมถึงใช้ค�าว่า “ระบบ” แทนที่จะเป็น “วิธี” ผมใช้ค�าว่าระบบ เพราะถ้าคุณเข้าใจและปฏิบัติตาม ล�าดับเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ คุณจะเข้าถึงแก่นแท้การเรียนรู้ ที่ใช้ในการท�างานได้โดยธรรมชาติไม่ต้องฝืน ช่วงแรกๆ คุณ อาจรู้สึกว่าเนื้อหาไกลตัวไปบ้าง แต่พอเรียนรู้ไปทีละขั้นตอน ใครๆ ก็เข้าถึงแก่นแท้ได้ครับ ผมเจอจุดเปลี่ยนในชีวิตตอนสอบเข้ามหาวิทยาลัย ช่วงนั้นผมไม่เก่งวิชาอะไรเลย แต่พอผมได้อ่านคู่มือ เตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัยที่มีเนื้อหาดีมากๆผมจึงเรียนเก่งขึ้น หลายวิชาจนสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ส�าเร็จ ทั้งที่ตอนแรกเรียนไม่เก่งแต่พอผมท�าความเข้าใจและ ปฏิบัติไปตามล�าดับตั้งแต่หน้าแรก วิชาที่เคยเรียนไม่เก่งก็ กลายเป็นเก่งได้ คู่มือดีๆ ส�าหรับเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย เปลี่ยนแปลงชีวิตคนได้จริงๆ ส่วนช่วงที่หางานท�า ผมก็ท�าแบบเดียวกัน พอผมเจอหนังสือสอนหางานที่มีเนื้อหาดีๆ สักเล่ม แม้ตอนนั้นจะเป็นช่วงที่หลายคนบ่นว่าหางานยาก ผมก็เข้า ท�างานที่บริษัทโตโยต้าได้ส�าเร็จ ตอนท�างานที่โตโยต้า ผมมีหน้าที่เขียนเรื่องต่างๆ ซ�้าๆ
  • 9. 9 ในกระดาษแผ่นเดียว ตอนสอบเข้ามหาวิทยาลัยก็เช่นกัน ผมท�าเรื่องเดิมๆ ซ�้าไปซ�้ามา ผมท�ามันอย่างต่อเนื่องยาวนาน แต่ถ้าผมท�าแต่เรื่องไม่มีความหมาย ต่อให้ผมท�าบ่อย สักแค่ไหน มันก็แค่ความพยายามที่เปล่าประโยชน์ ถ้าเราอยากได้ผลลัพธ์ที่ดี เราต้องท�าสิ่งนั้นอย่างเป็น ระบบและเหมาะสม ผมพบว่าการเรียนรู้ที่ดีมี 2 เงื่อนไขด้วยกัน ต้องเรียนอย่างมีระบบ มีการลงมือท�าเพื่อเพิ่มความเข้าใจ ตอนที่ผมเปลี่ยนงาน ผมได้น�าระบบการสรุปทุกอย่าง ลงในกระดาษแผ่นเดียวที่ผมเรียนรู้จากโตโยต้ากลับมา ใช้ประโยชน์อีกครั้ง พอผมเริ่มตั้งบริษัทของตัวเอง ผมก็น�า ระบบนี้มาปรับใหม่ในแบบของตัวเองและเริ่มเปิดสอนใน แวดวงการฝึกอบรมพนักงาน ผมใช้เรื่องง่ายๆ อย่าง “การเขียนกระดาษแผ่นเดียว” ในการท�างานแต่ละวันและในช่วงส�าคัญของชีวิต เช่น สอบ เข้ามหาวิทยาลัย หางานท�า เปลี่ยนงาน และตั้งบริษัทของ ตัวเองในช่วงจุดเปลี่ยนชีวิตเหล่านี้ผมสามารถท�าความเข้าใจ ปฏิบัติ และเรียนรู้ได้ด้วยการเขียนกระดาษแผ่นเดียว ผมจึงมี
  • 10. 10 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา ทักษะการเรียนรู้แบบนี้ติดตัว หนังสือทั้ง 4 เล่มที่ผมเคยตีพิมพ์ล้วนมีพื้นฐานมาจาก วิธีเรียนรู้แบบนี้ จุดยืนของผมในการเขียนหนังสือคือ “เขียน หนังสือที่ยังไม่มีใครเคยท�า” และ “เขียนหนังสือที่จะกลาย เป็นต�าราพื้นฐาน” ในสาขาความรู้นั้นๆ แต่หนังสือเล่มนี้มี มิติเนื้อหาแตกต่างจากเล่มที่ผ่านๆ มา ผมจึงรู้สึกตื่นเต้นมาก กับการส่งมอบหนังสือเล่มนี้ให้คุณ สุดท้ายแล้วถ้าหนังสือเล่มนี้เป็น “หนังสือเล่มหนึ่งที่ เปลี่ยนชีวิตคุณได้” เหมือนอย่างในอดีตที่ผมเคยเจอหนังสือ เปลี่ยนชีวิตมาแล้ว มันคงเป็นเรื่องน่ายินดีที่สุดแล้วครับ อะซะดะ ซุงุรุ
  • 11. สารบัญ บทนํา ทําไมเราถึงนําสิ่งที่เรียนมาปรับใช้ไม่ได้? 3 PART1: ความรู้เบื้องต้น INPUT บทที่ 1 เรียนแล้วลืม 14 ไม่ได้เรียนเพราะอยากได้ความรู้ 17 ไม่ได้เรียนรู้เพราะมัวแต่อ่าน ดู ฟัง 20 ไม่ได้สรุปย่อเนื้อหาที่เรียน 23 บทที่ 2 เทคนิคการเรียนรู้แบบสรุปใน 20 คํา 28 ทักษะการสรุปที่ผมเรียนรู้มาจากโตโยต้า 31 ตามหาใจความส�าคัญ 38 กระดาษ ปากกา และหัวข้อ 41 เทคนิคการเรียนรู้แบบสรุปใน 20 ค�า 45 •เคล็ดลับสรุปใน 20 ค�าข้อ 1 51 •เคล็ดลับสรุปใน 20 ค�าข้อ 2 55 •เคล็ดลับสรุปใน 20 ค�าข้อ 3 59 CASE 2 สรุปเนื้อหาพร้อมกันจากหนังสือหลายเล่ม 66 CASE 3 หาความรู้ใส่ตัวด้วยการสรุปใน 20 ค�า 74 การศึกษาส�าคัญอย่างไร 80
  • 12. PART2: ความรู้ระดับกลาง OUTPUT บทที่ 3 เรียนให้เป็ นอธิบายให้ได้ 82 เรื่องที่ผมเรียนรู้จากหัวหน้าที่โตโยต้า 84 ท�าไมคนเก่งตอบค�าถามเก่ง? 86 ประโยชน์ที่ตามมาถ้าคุณอธิบายเก่ง 88 สภาวะปลอด 3 ค�าถาม 89 เรียบเรียงความคิดด้วย What Why How 91 วิธีเรียบเรียงความคิดให้ถูกใจคนอื่น 92 ขีดเส้นแบ่งความเข้าใจ 93 เข้าใจด้วยการเรียนรู้ 2W 1H 94 บทที่ 4 เทคนิคการเรียนรู้แบบปลอด 3Q 96 •เคล็ดลับเทคนิคปลอด 3Q ข้อ 1 105 •เคล็ดลับเทคนิคปลอด 3Q ข้อ 2 107 •เคล็ดลับเทคนิคปลอด 3Q ข้อ 3 112 ข้อควรระวังเวลากรอกข้อมูล 115 CASE 2 เนื้อหาในหนังสือหนาก็สรุปใน 20 ค�าได้ 118 CASE 3 แค่อ่านส่วนหนึ่งของหนังสือก็เรียนรู้ได้ 128 ตัวอย่างการอธิบายสิ่งที่เรียนรู้ 134
  • 13. PART3: เคล็ดวิชา บทที่ 5 ทําไมนําความรู้มาใช้ทํางานไม่ได้ 138 ใครเป็นคนสร้างยอดขาย 143 การท�างานคืออะไร ค�าสอนของคุณทะสะกะ ฮิโรชิ 145 คุณท�างานเพื่อใคร 150 ท�าไมน�าความรู้ที่มีไปใช้หาเงินไม่ส�าเร็จ 153 บทที่ 6 เทคนิคการเรียนรู้แบบทําเพื่อคนอื่น 158 • เคล็ดลับเทคนิคท�าเพื่อคนอื่นข้อ 1 162 • เคล็ดลับเทคนิคท�าเพื่อคนอื่นข้อ 2 167 • เคล็ดลับเทคนิคท�าเพื่อคนอื่นข้อ 3 170 ลองถ่ายทอดสิ่งที่เรียน 172 CASE 2 เพิ่มทักษะการท�างานของผู้อื่น ด้วยสิ่งที่เรียน 174 ตัวอย่างสุดท้าย 188 บทส่งท้าย นําการเรียนรู้แบบ “ใฝ่ รู้” กลับมา 191 ประวัติผู้เขียน 194
  • 15. 15- บท 1 - เรียนแล้วลืม คุณเคยเจอหนังสือ การสัมมนา สื่อการเรียนรู้ หรือ บทความที่ชวนให้รู้สึกท�านองนี้บ้างไหมครับ “เฮ้ย! หนังสือเล่มนี้สนุกจริงๆ” “ฉันเพิ่งเคยเข้าร่วมการสัมมนาที่ได้ความรู้มากขนาดนี้” “สื่อการเรียนรู้นี้มีเนื้อหาดีมากถึงขั้นเปลี่ยนชีวิตได้” ถ้าเคย ผมขอถามต่อว่า •สิ่งนั้นมีเนื้อหาอย่างไร? •คุณได้เรียนรู้อะไรบ้าง? •คุณประทับใจสิ่งนั้นตรงไหน? หนังสือที่ผมเขียนมียอดพิมพ์รวมทั้งสิ้นกว่า 350,000 เล่มผมเคยฝึกอบรมทักษะทางธุรกิจและอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้คนท�างานกว่า8,000คนทั้งหมดนี้ท�าให้ผมมีโอกาสได้ใกล้ ชิดคนท�างานที่มีพื้นเพแตกต่างกัน ผมลองถามค�าถามด้านบนนี้กับผู้คนมากมายพวกเขา ตอบชื่อหนังสือ ชื่อนักเขียน หรือชื่อวิธีได้ แต่น่าเสียดายที่ น้อยคนนักจะเล่าเนื้อหานอกเหนือจากนั้นได้
  • 16. 16 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา คุณคงเคยเจอเหตุการณ์ “เรียนแล้วลืม” มาบ้าง คุณอาจคิดด้วยซ�้าว่า“คนอื่นๆก็คงลืมเหมือนกัน”และมองว่า “นี่ไม่ใช่ปัญหา” ถ้าคุณเป็นคนประเภท “เวลาเรียนก็ตั้งใจนะ แต่ตอนนี้แทบลืมไปหมดแล้ว” นั่นแปลว่าคุณไม่ได้เตรียม พร้อมที่จะน�าสิ่งที่เรียนมาใช้ท�างานเลย ท�าไมถึงเกิดเรื่องแบบนี้ได้? ผมหาค�าตอบของค�าถามนี้มานาน ทั้งในฐานะผู้เรียน และผู้สอน จนกระทั่งเจอเหตุผล 3 ข้อดังนี้ ไม่ได้เรียนรู้เพราะอยากได้ความรู้ ไม่ได้เรียนรู้เพราะมัวแต่อ่าน ดู ฟัง ไม่ได้สรุปย่อเนื้อหาที่เรียน
  • 17. 17- บท 1 - เรียนแล้วลืม ไม่ได้เรียนรู้เพราะอยากได้ความรู้ เหตุผลข้อแรกผมน�ามาจากวาทกรรมแห่งยุค ถ้าจะ อธิบายให้เข้าใจง่ายที่สุด ผมขอสรุปว่า สมัยนี้เป็นยุคที่ “กำรเรียนรู้” กลำยเป็น “กำรบริโภค” นับตั้งแต่เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 รายการโทรทัศน์เกือบ ทั้งหมด ถ้าไม่สอดแทรกความรู้ที่เป็นประโยชน์อะไรสักอย่าง จะไม่มีเนื้อหาดีพอที่จะออกอากาศได้เลย รายการวาไรตี้ที่มี แค่ความสนุกทยอยหายไปเหลือแต่รายการเกมโชว์ที่สนุกและ มีประโยชน์ รายการเล่าข่าว และรายการสาระประโยชน์ ขนาดหนังสือขายดีอย่างกล้าที่จะถูกเกลียดยังถูกน�ามา ดัดแปลงเป็นรายการโทรทัศน์เมื่อเร็วๆ นี้เลย นี่ก็เป็นตัวอย่าง หนึ่งของความบันเทิงที่สอดแทรกความรู้ ถ้าคุณมีโอกาสดู โทรทัศน์บ้างคุณน่าจะสังเกตเห็นกระแสของรายการโทรทัศน์ ที่มีเนื้อหาเพื่อการศึกษาได้ไม่ยาก เ หตุผลข้อ ที่ 1
  • 18. 18 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา นอกจากนี้ในโลกอินเทอร์เน็ตยังมีข้อมูลและคลิปวิดีโอ ที่ให้ความรู้ในหัวข้อต่างๆ เต็มไปหมดจนเรียกได้ว่า “ข้อมูล ล้นหลาม” เราจึงเรียนรู้ด้วยความรู้สึกสบายๆ และลื่นไหล แบบไม่มีอุปสรรคราวกับเราก�าลังดื่มน�้าทั้งหมดนี้ส่งผลให้การ เรียนรู้มีคุณค่าลดลงกลายเป็น “การบริโภค” ไปแทน คนส่วนใหญ่อาจตอบค�าถามง่ายๆ อย่าง “เมื่อ 3 วัน ที่แล้วกินอะไรเป็นมื้อเย็น?” ไม่ได้ด้วยซ�้า ถึงตอนนั้นจะได้กิน อาหารอร่อยๆ ติดๆ กัน แต่ตราบใดที่เราแค่ “บริโภค” ข้อมูล แทบทั้งหมดนั้นก็จะหายไปจากความทรงจ�าอย่างรวดเร็ว ถ้าผมลองเปลี่ยนค�าถามเมื่อครู่เป็น “เมื่อ 3 วันที่แล้ว คุณเรียนอะไร?” คุณตอบค�าถามนี้ได้ไหมครับ? อะไรก็ตามที่ได้มาง่าย เรามักจะลืมสิ่งนั้นไปอย่าง รวดเร็ว ในยุคที่การเรียนรู้ในรูปแบบการบริโภคกลายเป็น เรื่องปกติในชีวิตประจ�าวัน เรามักจะมีความคิดว่า “เนื้อหาที่ เรียน = จ�าไม่ได้ทั้งหมดและลืมเป็นเรื่องธรรมดา” สุดท้ายแล้วความคิดนี้ก็กลายเป็นกระแสหลักไป โดยปริยาย แต่เราต้องรู้ตัวให้ได้ว่าตอนนี้เราตกอยู่ในสภาพ แวดล้อมการเรียนรู้แบบนี้จนส่งผลให้ความคิดที่ว่า“การเรียนรู้ = การบริโภค” กลายเป็นเรื่องธรรมดาไปโดยไม่รู้ตัว
  • 19. 19- บท 1 - เรียนแล้วลืม เมื่อเรารู้ว่า “ตอนนี้การเรียนรู้เป็นการบริโภค” เราก็จะ หาทางแก้ไขด้วยตัวเองได้ ซึ่งวิธีแก้ไขเรื่องนี้ก็คือ จงเปลี่ยน มุมมองกำรเรียนรู้แบบ “บริโภค” เป็นมุมมองกำรเรียนรู้ แบบ “ลงทุน” กุญแจส�าคัญในการเรียนรู้แบบลงทุนคือ ก�ำหนด เป้ำหมำยให้ชัดเจน คุณต้องก�าหนดเป้าหมายของการเรียนรู้ให้ชัดเจน ไม่พึงพอใจกับการเป็นผู้รับอย่างเดียว และเรียนรู้เชิงรุกเพื่อ บรรลุเป้าหมายนั้น
  • 20. 20 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา ไม่ได้เรียนรู้ เพราะมัวแต่อ่าน ดู ฟัง เหตุผลข้อที่2ถ้าพูดในเชิงเปรียบเปรยคือ“ไม่ได้ลิ้มรส” เราแค่เชื่อสิ่งที่ผู้เขียนหรืออาจารย์บอกโดยไม่พิจารณาให้ดี เราจึงจ�าอะไรไม่ค่อยได้ ผมเคยถามผู้เข้าอบรมคนหนึ่งซึ่งเป็นหนอนหนังสือว่า “หนังสือเล่มไหนที่เปลี่ยนแปลงชีวิตคุณ?” ค�าตอบที่ผมได้รับคือTheEffectiveExecutiveหนังสือดัง ของปีเตอร์ ดรักเกอร์ บิดาแห่งการบริหารจัดการ ผมจึงถามเขาต่อว่า “คุณได้เรียนรู้อะไรบ้าง?” ค�าตอบที่ได้มีแต่ “ได้เรียนรู้แก่นแท้ของการท�างาน” “เป็นหนังสือที่ดีจริงๆ” “ลองอ่านดูนะครับ” ทั้งหมดนี้ล้วนไม่มี ข้อมูลอะไรที่จับต้องได้เลย อันที่จริง ผมก็เป็นแฟนคลับของปีเตอร์ ดรักเกอร์ และ เคยอ่าน The Effective Executive มาหลายรอบแล้ว ผมจึง เ หตุผลข้อ ที่ 2
  • 21. 21- บท 1 - เรียนแล้วลืม ลองเปลี่ยนค�าถามเป็น“ผมชอบเรื่องการบริหารเวลาในบทที่2 มันชื่ออะไรนะ?” เขาตอบผมว่า “ชื่อ ‘จงรู้เวลาของคุณ’ ครับ เนื้อหาบท นั้นยอดเยี่ยมมากเลยครับ” บทที่ 2 ในหนังสือชื่อนี้จริงๆ แต่สุดท้ายผมก็ไม่ได้ยิน เนื้อหาที่เป็นประโยชน์จากปากเขา ผมเลยสรุปว่า “เขาแทบ จ�าอะไรไม่ได้เลย” ช่างน่าเสียดายจริงๆ ครับ เขาอาจคิดว่า “นี่เป็นหนังสือดัง” เวลาอ่านจึงกระหาย ความรู้และอิ่มใจมาก แต่กลับไม่สามารถจ�าเนื้อหาที่ชัดเจน ได้เลย เขาคิดว่าการอ่านหนังสือคือการ “ใส่ค�าพูดของผู้เขียน ลงในหัว” เท่านั้นเอง เมื่อผู้เข้าอบรมคนนี้เรียนรู้แบบผ่านตา แล้วก็ผ่านไปเขาก็ไม่สามารถอธิบายเนื้อหาส�าคัญในหนังสือ และถ่ายทอดใหม่ด้วยค�าพูดของตัวเองได้ พอผมลองช่วยบอกใบ้ เขาก็นึกเนื้อหาส�าคัญออก แต่ ก็ยังอธิบายอะไรมากกว่านั้นไม่ได้อยู่ดี เมื่อคุณตกอยู่ในสภาพแบบนี้สุดท้ายคุณก็จะน�าอะไร ไปใช้ในการท�างานจริงไม่ได้เลยถ้าคุณแค่เทิดทูนค�าพูดสวยๆ จากในหนังสืองานสัมมนาหรือคลิปวิดีโอนอกจากคุณจะน�า มันไปใช้ในการท�างานจริงไม่ได้แล้วพอเวลาเริ่มผ่านไปสักพัก คุณก็“ลืม”คุณจะอวดอ้างความรู้ที่เรียนมาก็ไม่ได้เพราะคุณ
  • 22. 22 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา แค่อัดความรู้ใส่ตัวเพียงอย่างเดียว ถ้าคุณรู้ตัวว่า“ฉันลืมเพราะอธิบายในแบบตัวเองไม่ได้” วิธีที่ผมแนะน�าคือเปลี่ยนสิ่งที่เรียนเป็นค�ำพูดของตัวเองที่ จ�ำได้ง่ำยคุณต้อง“ลิ้มรส”สิ่งที่เรียนด้วยตัวเองนั่นคือ“เรียนรู้ พลำงเรียบเรียงควำมคิด”
  • 23. 23- บท 1 - เรียนแล้วลืม ไม่ได้สรุปย่อเนื้อหาที่เรียน ผมเคยจัดอบรมเชิงปฏิบัติ 1 วันในหัวข้อ เทคนิคสรุป ทุกอย่างลงในกระดาษแผ่นเดียว ที่ฉันเรียนรู้มาจากโตโยต้า ซึ่งเป็นชื่อเดียวกับหนังสือเล่มแรกของผมพอจบการอบรมผม มอบโจทย์ 1 ข้อให้ทุกคนว่า “จงสรุปสิ่งที่เรียนไปวันนี้” วันต่อมา ผู้เข้าอบรมก็สรุปสิ่งที่เรียนไปมาส่งให้ผม ในจ�านวนนั้นมีข้อความดังต่อไปนี้ จงสรุปสิ่งที่เรียนไปครั้งนี้ การเรียบเรียงความคิดในระดับลงมือปฏิบัติด้วยการ เขียนกระดาษแผ่นเดียวช่วยเพิ่มผลผลิตในชีวิตประจ�าวัน เมื่อเราสรุปเนื้อหาได้ใน 3 ข้อและอธิบายให้คนรอบข้างฟังได้ เราจึงท�างาน "เพื่อคนอื่น" ไม่ใช่ท�างานแบบ "ไม่สนใคร" หรือ "เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง" เ หตุผลข้อ ที่ 3
  • 24. 24 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา เห็นได้ชัดเลยว่าเขาสรุปมายาวมากและยังใช้ค�ายาก เกินกว่าจะจ�าได้ขึ้นใจ พอผมลองเปลี่ยนค�าถามใหม่เป็น “ช่วยสรุปย่อให้พูด จบได้ในลมหายใจเดียวได้ไหม?” เขาเลยสรุปสั้นๆ ว่า การเขียนกระดาษแผ่นเดียวช่วย ให้เราท�างานโดยเข้าใจภาพรวม ไม่ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง แม้เขาตั้งใจจะสรุปออกมาให้ดี คนอื่นก็อาจเข้าใจไม่ ตรงประเด็นกันก็ได้ พอต้องสรุปออกมาแล้วเลยใช้ประโยค ยาวเกินไปบ้างและยากเกินไปบ้าง ผมเจอคนประเภทนี้เยอะมาก แล้วคุณล่ะครับ สรุป สิ่งที่เรียนมาได้ตรงประเด็นและคล่องแคล่วหรือเปล่า? 1. ไม่ได้เรียนรู้เพราะอยากได้ความรู้ (สมัยนี้เป็นยุคที่การเรียนรู้กลายเป็นการบริโภค) 2. ไม่ได้เรียนรู้เพราะมัวแต่อ่าน ดู ฟั ง 3. ไม่ได้สรุปย่อเนื้อหาที่เรียน สรุปสาเหตุ “ทําไมเรียนแล้วลืม?”
  • 25. 25- บท 1 - เรียนแล้วลืม ลองตั้งค�าถามกับตัวเองว่า… •คุณสรุปสิ่งที่เรียนอย่างเรียบง่าย และท�าได้ในชีวิต ประจ�าวันหรือไม่? •คุณเรียนรู้โดยอธิบายสิ่งที่เรียนในแบบตัวเองได้ หรือไม่? •ก่อนจะเรียนอะไรสักอย่าง คุณก�าหนดเป้าหมาย การเรียนอย่างชัดเจนหรือไม่? •คุณคิดว่า “การเรียนรู้ = การบริโภค” โดยไม่รู้ตัว หรือไม่? ถ้าคุณยังตอบค�าถามเหล่านี้ด้วยค�าว่า “ใช่” ได้ไม่ เต็มปาก คุณมีแนวโน้มที่จะ “เรียนแล้วลืม” 1. กําหนดเป้ าหมายให้ชัดเจน 2. เรียนรู้พลางเรียบเรียงความคิด 3. สรุปย่ออย่างตรงประเด็น วิธีแก้ไขไม่ให้ตัวเองเรียนแล้วลืม
  • 26. 26 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา นอกจากวิธีแก้ไขที่ผมแนะน�าไปแล้ว สิ่งพิเศษที่สุดใน หนังสือเล่มนี้ที่ผมอยากมอบให้กับคุณก็คือ“เทคนิคกำรเรียนรู้ แบบสรุปใน 20 ค�ำ”ซึ่งเราจะใช้พื้นฐานของการเขียนเอกสาร กระดาษแผ่นเดียวที่ผมเรียนรู้มาจากบริษัทโตโยต้านั่นเอง ถ้าคุณพร้อมแล้ว เรามาเข้าสู่เนื้อหาในบทต่อไปกัน เลยครับ
  • 29. 29- บท 2 - เทคนิคการเรียนรู้แบบสรุปใน 20 คํา จากนี้ไปเราจะค่อยๆ เข้าสู่ “ภาคฏิบัติ” กันนะครับ เนื้อหาในบทนี้เกี่ยวกับ“เทคนิคการเรียนรู้แบบจ�าได้นาน” เพื่อช่วยแก้อาการ “เรียนแล้วลืม” ให้หมดไป โดยผมขอน�า 3 วิธีแก้ไขไม่ให้ตัวเองเรียนแล้วลืมในบทที่ 1 มาอธิบายให้ ละเอียดอีกครั้ง แต่ก่อนอื่นผมขออธิบายวิธีที่ 3 “สรุปย่ออย่าง ตรงประเด็น” ให้คุณเข้าใจมากขึ้นก่อน ผมแนะน�าผู้เข้าอบรมอยู่เสมอว่า “จงสรุปสิ่งที่เรียน ให้อยู่ใน 20 ค�ำ” ถ้าคุณนึกหน้าตาของการสรุปแบบนี้ไม่ออก ผมลอง เลือกตัวอย่างมารวมไว้ให้ดังนี้ครับ •สมัยนี้เป็นยุคที่ “การเรียนรู้” กลายเป็น “การบริโภค” •เปลี่ยนมุมมองการเรียนรู้แบบ “บริโภค” เป็นมุมมอง การเรียนรู้แบบ “ลงทุน” •ไม่ได้เรียนรู้เพราะมัวแต่อ่าน ดู ฟัง •ไม่ได้สรุปย่อเนื้อหาที่เรียน •การเขียนกระดาษแผ่นเดียวช่วยให้เราท�างานโดย เข้าใจภาพรวม ไม่ยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง •จงสรุปสิ่งที่เรียนให้อยู่ใน 20 ค�า
  • 30. 30 เรียนอะไรก็รู้เรื่อง แค่สรุปได้ใน 20 คํา ตัวอย่างการสรุปที่ผมยกมาข้างบนนี้เมื่อคุณอ่านคร่าวๆ ก็จะเข้าใจประเด็นส�าคัญได้ทันทีอันที่จริงก่อนหน้านี้ผมก็แทรก การสรุปเนื้อหาแบบนี้อยู่เรื่อยๆ เพื่อให้คุณเข้าใจง่ายๆ ครับ ถ้าใครสงสัยว่าท�าไมถึงเข้าใจง่าย? ผมขอตอบว่าเพราะผมพยายามจ�ากัดเนื้อหาให้อยู่ใน 20ค�าเนื้อหาจึงออกมาพอเหมาะพอเจาะผมตั้งใจสรุปเนื้อหา ให้ได้จ�านวนค�าประมาณนี้ทุกครั้ง ไม่ใช่เรื่องบังเอิญ แล้วถ้าถามต่อว่าท�าไมต้องเป็น 20 ค�าด้วยล่ะ? เหตุผลสั้นๆ ก็คือ “แค่ 20 ค�าก็สื่อความได้”