SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 12
Baixar para ler offline
การทางานของเครื่อง MRI
สมาชิกกลุ่ม
นางสาวพิชญา แสงไพโรจน์ ชั้นม.6/2 เลขที่16
นางสาวบุษยมาศ กันทาอ้าย ชั้นม.6/2 เลขที่17
ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจากปัจจุบันอัตราการเกิดโรคมะเร็ง โรคหัวใจ หรือโรคที่เกี่ยวกับสมองเพิ่มสูงขึ้นมากกว่าอดีต ซึ่งเกิดจาก
หลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นการเกิดจากการรับประทานอาหาร พันธุกรรม หรือเเม้กระทั่งการไม่ยอมตรวจร่างกายตั้งแต่เเรก
ทาให้อาการเริ่มหนักเเละรักษาได้ยาก ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจหาความผิดปกติของร่างกายนั้นก็คือ เครื่อง MRI ที่
สามารถตรวจได้ทุกส่วนของร่างกายเพื่อตรวจหาความผิดปกติ ซึ่งถ้าเราตรวจตั้งเเต่เนิ่นๆ ก็ยิ่งเป็นผลดีในการรักษาซึ่งมี
โอกาสสูงมากที่จะรักษาให้หายขาดได้
ดังนั้นโครงงานจึงจัดขึ้นเพื่อศึกษาการทางานของเครื่อง MRI นี้ว่ามีการทางานอย่างไร มีข้อดี ข้อเสีย อะไรบ้าง
ถึงสามารถตรวจวินิจฉัย ผู้ป่วยว่ามีความผิดปกติอย่างไร เเล้วมีความเเม่นยาสูงมาก ที่สาคัญสามารถตรวจได้ทั่วร่างกาย
และผลที่ออกมาค่อนข้างละเอียด และช่วยทาให้ลดอัตราการเกิดโรคดังกล่าวได้เพราะ เรารู้ว่าเราเป็นโรคนี้ตั้งเเต่เนิ่นๆ
จากการตรวจร่างกาย จึงสามารถช่วยลดสิ่งนี้ได้ ทาให้เรามีชีวิตที่ดีขึ้นกว่าเดิม
วัตถุประสงค์
❖1.เพื่อศึกษาการทางานของเครื่อง MRI
❖2.เพื่อศึกษาถึงข้อดี ข้อเสียของเครื่องว่ามีอะไรบ้าง
❖3.เพื่อให้ผู้ป่วยหันมาตรวจสุขภาพ หรือ ความผิดปกติของร่างกายให้เพิ่มมากขึ้น
❖4.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็ง โรคหัวใจ หรือโรคที่เกี่ยวกับสมอง ที่ถึงขั้นรุนเเรงได้
ประวัติของเครื่อง MRI
ในปี 1971 บลอช (Bloch) และ พัลเซล (Purcell) ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกันในการพัฒนาในเรื่องการ เรโซแนสของ
นิวเคลียสด้วยแม่เหล็ก NMR (Nuclear magnetic resonance) โดย NMR เป็นหลักการทางฟิสิกส์ที่อยู่เบื้องหลัง MRI ซึ่ง
แมนส์ฟิล (Mansfield) และลัวเตอร์เบอร์ (Lauterbur) ได้พัฒนาเครื่อง NMR จนสามารถสร้างภาพร่างกายมนุษย์จากสัญญาณ
ที่ได้จาก NMR MRI ชื่อเดิมคือ การสร้างภาพจากการเรโซแนสของนิวเคลียสด้วยแม่เหล็ก (Nuclear Magnetic Resonance
Imaging) แต่ต้องมาเปลี่ยนชื่อมาเป็น Magnetic Resonance Imaging (MRI) เนื่องจากเกรงว่าคนทั่วไปจะเข้าใจผิดว่าใช้รังสี
ซึ่งในความเป็นจริงมิได้เป็นเช่นนั้น เครื่อง MRI ถูกนามาใช้ในทางการแพทย์อย่างแพร่หลายและรวดเร็วมาก
MRI คือ อะไร?
เอ็มอาร์ไอ (MRI : Magnetic Resonance Imaging)
เป็นเครื่องมือที่ใช้ตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะต่างๆในร่างกาย โดยใช้สนามแม่เหล็กความเข้มสูงและ
คลื่นความถี่ในย่านความถี่วิทยุ มาใช้ในการสร้างภาพตัดขวางและภาพในแนวระนาบต่างๆ ซึ่งทาให้แพทย์สามารถ
วินิจฉัยโรคได้อย่างละเอียด และแม่นยามากยิ่งขึ้น โดยไม่ก่อให้เกิดอันตราย หรือ ความเจ็บปวดใดๆแก่ผู้ป่วยและ
ไม่มีรังสีเอกซเรย์
ข้อบ่งชี้ในการตรวจ MRI SCAN
MRI Scan เป็นวิธีในการตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะเกือบทั่วร่างกายที่ค่อนข้างแม่นยา
และมักจะใช้ยืนยันผลวินิจฉัยหลังจากการทดสอบให้ข้อมูลได้ไม่เพียงพอ
โดยการตรวจ MRI Scan ในแต่ละส่วนในร่างกายอาจมีจุดประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป เช่น
ศีรษะ เป็นการตรวจหาความผิดปกติของสมองและเส้นประสาทในสมองที่เชื่อมกับอวัยวะ
หน้าอก เป็นการตรวจดูความผิดปกติบริเวณหน้าอกและหัวใจ
หน้าท้องและกระดูกเชิงกราน เป็นการตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะและโครงสร้างภายในช่องท้อง
เส้นเลือด เป็นการตรวจดูเส้นเลือดและการไหลเวียนของเลือด
ไขสันหลัง ตรวจเช็คหมอนกระดูกและเส้นประสาทไขสันหลังในบาง
กระดูกและข้อต่อ ตรวจดูความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับกระดูกและข้อต่อ
ข้อดีของการตรวจด้วยเครื่อง เอ็มอาร์ไอ
สามารถจาแนกคุณสมบัติของเนื้ อเยื่อที่แตกต่างกันได้ชัดเจน ทาให้แพทย์วินิจฉัยโรคได้ถูกต้องแม่นยามากยิ่งขึ้น
ใช้ได้ดีกับส่วนที่เป็นเนื้ อเยื่อ เช่น เนื้ อเยื่อสมอง เส้นประสาทไขสันหลัง กล้าม เอ็นยึดกระดูกและกล้ามเนื้ อ เส้นเลือด ไข
กระดูก และข้อต่อกระดูกเป็นต้น
สามรถตรวจหาสิ่งผิดปกติในร่างกายได้ตั้งแต่ระยะแรกๆ
ตรวจได้ทุกระนาบโดยไม่ต้องเคลื่อนย้ายหรือเปลี่ยนท่า
ไม่มีรังสีเอกซเรย์ที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย
ข้อพึงระวังในการตรวจด้วยเครื่อง MRI
เนื่องจากห้องตรวจเอ็มอาร์ไอ จะมีสนามแม่เหล็กไฟฟ้าความเข้มสูงตลอดเวลา ซึ่งมีผลต่อการการทางานของเครื่องมือที่
ไวต่อแม่เหล็ก และดึงดูดวัตถุที่เป็นโลหะทุกชนิด จึงมีข้อพึงระวังก่อนเข้ารับการตรวจด้วยเครื่องเอ็มอาร์ไอ ดังนี้
➢ ห้ามตรวจในผู้ที่มีการฝังโลหะในร่างกาย เช่น ผู้ป่วยที่ผ่าตัดติดคลิปอุดหลอดเลือดในเส้นเลือดโป่ งพอง ผู้ป่วยใส่ลิ้นหัวใจ
เทียม หรือข้อเทียม ผู้ป่วยที่ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ ผู้ป่วยที่ผ่าตัดใส่อวัยวะเทียมภายในหู เป็นต้น
➢ ควรหลีกเลี่ยงการตรวจ เอ็มอาร์ไอ ในผู้ป่วยที่กลัวที่แคบ (Claustrophobic) เพราะเครื่อง เอ็มอาร์ไอ มีลักษณะเป็น
โพรงให้เตียงผู้ป่วยเคลื่อนเข้าไปได้
➢ ผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจ เอ็มอาร์ไอ จะต้องนาโลหะต่างๆออกจากตัว เช่น ที่หนีบผม ฟันปลอม ต่างหู เครื่องประดับ
บัตรเอทีเอ็ม หรือบัตรเครดิต กุญแจ หรือ นาฬิกา เป็นต้น
หลักการทางานของเครื่อง เอ็มอาร์ไอ
MRI คือเครื่องตรวจร่างกายด้วยการสร้างภาพเหมือนจริงของส่วนต่างๆของร่างกาย โดยใช้สนามแม่เหล็กความเข้มสูง เมื่อ
ใส่สนามแม่เหล็กให้กับร่างกาย นิวเคลียสของอะตอมในร่างกายจะเข้าสู่สถานะถูกกระตุ้น และเมื่อหยุดให้สนามแม่เหล็ก
นิวเคลียสของอะตอมจะเกิดการปลดปล่อยพลังงานเพื่อกลับคืนสู่สถานะปกติ เมื่อรับคลื่นความถี่ที่ปล่อยออกมา แล้วนาไป
ประมวลผลและสร้างเป็นภาพด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถให้รายละเอียดและความคมชัดเหมือนการตัดร่างกายออกเป็น
แผ่นๆทาให้แพทย์สามารถมองจุดที่ผิดปกติในร่างกายคนเราได้อย่างละเอียด โดยที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้รับการตรวจ
เครื่อง MRI มีส่วนประกอบที่สาคัญคือ แม่เหล็กที่มีกาลังสูงมากซึ่งใช้ในการเปลี่ยนการเอียงตัวของสปินของ
นิวเคลียสให้มีการเอียงตัวตามทิศของสนามแม่เหล็กที่ให้ แล้วหลังจากนั้นก็หยุดให้สนามแม่เหล็กเพื่อให้นิวเคลียส
เกิดการคายพลังงานเพื่อกลับสู่ตาแหน่งเดิม จับสัญญาณการคายพลังงานที่ได้ แล้วนามาสังเคราะห์ภาพก็จะได้
ภาพต่างๆในบริเวณที่ทาการศึกษาดังนั้นสนามแม่เหล็กที่ใช้จึงจะต้องมีความเข้มสูงมากและต้องใช้เวลาสั้นมากๆ
เพื่อให้มีผลกระทบต่อการวัดน้อยที่สุด
เข้าใจ MRI ใน 3 นาที
อ้างอิง
https://goo.gl/JNxQQd
https://goo.gl/3zZ48h
https://goo.gl/AyGesH

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Com

มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน14LIFEYES
 
10 ผักต้านมะเร็ง
10 ผักต้านมะเร็ง10 ผักต้านมะเร็ง
10 ผักต้านมะเร็งTcnk Pond
 
Health today _may_12
Health today _may_12Health today _may_12
Health today _may_12sms_msn_
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดVorramon1
 

Semelhante a Com (7)

2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
10 ผักต้านมะเร็ง
10 ผักต้านมะเร็ง10 ผักต้านมะเร็ง
10 ผักต้านมะเร็ง
 
Health today _may_12
Health today _may_12Health today _may_12
Health today _may_12
 
มะเร็ง
มะเร็งมะเร็ง
มะเร็ง
 
ธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัดธรรมชาติบำบัด
ธรรมชาติบำบัด
 

Mais de Phitchaya Sangphairot (11)

Pupipat
PupipatPupipat
Pupipat
 
Brain
BrainBrain
Brain
 
Fight for your dream
Fight for your dreamFight for your dream
Fight for your dream
 
Project03
Project03Project03
Project03
 
Project3
Project3Project3
Project3
 
Project2
Project2Project2
Project2
 
Project2 3
Project2 3Project2 3
Project2 3
 
Project3
Project3Project3
Project3
 
Project3
Project3Project3
Project3
 
Project2
Project2Project2
Project2
 
Work2 602-15-phitchaya
Work2 602-15-phitchayaWork2 602-15-phitchaya
Work2 602-15-phitchaya
 

Com

  • 1. การทางานของเครื่อง MRI สมาชิกกลุ่ม นางสาวพิชญา แสงไพโรจน์ ชั้นม.6/2 เลขที่16 นางสาวบุษยมาศ กันทาอ้าย ชั้นม.6/2 เลขที่17
  • 2. ที่มาและความสาคัญ เนื่องจากปัจจุบันอัตราการเกิดโรคมะเร็ง โรคหัวใจ หรือโรคที่เกี่ยวกับสมองเพิ่มสูงขึ้นมากกว่าอดีต ซึ่งเกิดจาก หลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นการเกิดจากการรับประทานอาหาร พันธุกรรม หรือเเม้กระทั่งการไม่ยอมตรวจร่างกายตั้งแต่เเรก ทาให้อาการเริ่มหนักเเละรักษาได้ยาก ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการตรวจหาความผิดปกติของร่างกายนั้นก็คือ เครื่อง MRI ที่ สามารถตรวจได้ทุกส่วนของร่างกายเพื่อตรวจหาความผิดปกติ ซึ่งถ้าเราตรวจตั้งเเต่เนิ่นๆ ก็ยิ่งเป็นผลดีในการรักษาซึ่งมี โอกาสสูงมากที่จะรักษาให้หายขาดได้ ดังนั้นโครงงานจึงจัดขึ้นเพื่อศึกษาการทางานของเครื่อง MRI นี้ว่ามีการทางานอย่างไร มีข้อดี ข้อเสีย อะไรบ้าง ถึงสามารถตรวจวินิจฉัย ผู้ป่วยว่ามีความผิดปกติอย่างไร เเล้วมีความเเม่นยาสูงมาก ที่สาคัญสามารถตรวจได้ทั่วร่างกาย และผลที่ออกมาค่อนข้างละเอียด และช่วยทาให้ลดอัตราการเกิดโรคดังกล่าวได้เพราะ เรารู้ว่าเราเป็นโรคนี้ตั้งเเต่เนิ่นๆ จากการตรวจร่างกาย จึงสามารถช่วยลดสิ่งนี้ได้ ทาให้เรามีชีวิตที่ดีขึ้นกว่าเดิม
  • 3. วัตถุประสงค์ ❖1.เพื่อศึกษาการทางานของเครื่อง MRI ❖2.เพื่อศึกษาถึงข้อดี ข้อเสียของเครื่องว่ามีอะไรบ้าง ❖3.เพื่อให้ผู้ป่วยหันมาตรวจสุขภาพ หรือ ความผิดปกติของร่างกายให้เพิ่มมากขึ้น ❖4.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็ง โรคหัวใจ หรือโรคที่เกี่ยวกับสมอง ที่ถึงขั้นรุนเเรงได้
  • 4. ประวัติของเครื่อง MRI ในปี 1971 บลอช (Bloch) และ พัลเซล (Purcell) ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกันในการพัฒนาในเรื่องการ เรโซแนสของ นิวเคลียสด้วยแม่เหล็ก NMR (Nuclear magnetic resonance) โดย NMR เป็นหลักการทางฟิสิกส์ที่อยู่เบื้องหลัง MRI ซึ่ง แมนส์ฟิล (Mansfield) และลัวเตอร์เบอร์ (Lauterbur) ได้พัฒนาเครื่อง NMR จนสามารถสร้างภาพร่างกายมนุษย์จากสัญญาณ ที่ได้จาก NMR MRI ชื่อเดิมคือ การสร้างภาพจากการเรโซแนสของนิวเคลียสด้วยแม่เหล็ก (Nuclear Magnetic Resonance Imaging) แต่ต้องมาเปลี่ยนชื่อมาเป็น Magnetic Resonance Imaging (MRI) เนื่องจากเกรงว่าคนทั่วไปจะเข้าใจผิดว่าใช้รังสี ซึ่งในความเป็นจริงมิได้เป็นเช่นนั้น เครื่อง MRI ถูกนามาใช้ในทางการแพทย์อย่างแพร่หลายและรวดเร็วมาก
  • 5. MRI คือ อะไร? เอ็มอาร์ไอ (MRI : Magnetic Resonance Imaging) เป็นเครื่องมือที่ใช้ตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะต่างๆในร่างกาย โดยใช้สนามแม่เหล็กความเข้มสูงและ คลื่นความถี่ในย่านความถี่วิทยุ มาใช้ในการสร้างภาพตัดขวางและภาพในแนวระนาบต่างๆ ซึ่งทาให้แพทย์สามารถ วินิจฉัยโรคได้อย่างละเอียด และแม่นยามากยิ่งขึ้น โดยไม่ก่อให้เกิดอันตราย หรือ ความเจ็บปวดใดๆแก่ผู้ป่วยและ ไม่มีรังสีเอกซเรย์
  • 6. ข้อบ่งชี้ในการตรวจ MRI SCAN MRI Scan เป็นวิธีในการตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะเกือบทั่วร่างกายที่ค่อนข้างแม่นยา และมักจะใช้ยืนยันผลวินิจฉัยหลังจากการทดสอบให้ข้อมูลได้ไม่เพียงพอ โดยการตรวจ MRI Scan ในแต่ละส่วนในร่างกายอาจมีจุดประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป เช่น ศีรษะ เป็นการตรวจหาความผิดปกติของสมองและเส้นประสาทในสมองที่เชื่อมกับอวัยวะ หน้าอก เป็นการตรวจดูความผิดปกติบริเวณหน้าอกและหัวใจ หน้าท้องและกระดูกเชิงกราน เป็นการตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะและโครงสร้างภายในช่องท้อง เส้นเลือด เป็นการตรวจดูเส้นเลือดและการไหลเวียนของเลือด ไขสันหลัง ตรวจเช็คหมอนกระดูกและเส้นประสาทไขสันหลังในบาง กระดูกและข้อต่อ ตรวจดูความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับกระดูกและข้อต่อ
  • 7. ข้อดีของการตรวจด้วยเครื่อง เอ็มอาร์ไอ สามารถจาแนกคุณสมบัติของเนื้ อเยื่อที่แตกต่างกันได้ชัดเจน ทาให้แพทย์วินิจฉัยโรคได้ถูกต้องแม่นยามากยิ่งขึ้น ใช้ได้ดีกับส่วนที่เป็นเนื้ อเยื่อ เช่น เนื้ อเยื่อสมอง เส้นประสาทไขสันหลัง กล้าม เอ็นยึดกระดูกและกล้ามเนื้ อ เส้นเลือด ไข กระดูก และข้อต่อกระดูกเป็นต้น สามรถตรวจหาสิ่งผิดปกติในร่างกายได้ตั้งแต่ระยะแรกๆ ตรวจได้ทุกระนาบโดยไม่ต้องเคลื่อนย้ายหรือเปลี่ยนท่า ไม่มีรังสีเอกซเรย์ที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย
  • 8. ข้อพึงระวังในการตรวจด้วยเครื่อง MRI เนื่องจากห้องตรวจเอ็มอาร์ไอ จะมีสนามแม่เหล็กไฟฟ้าความเข้มสูงตลอดเวลา ซึ่งมีผลต่อการการทางานของเครื่องมือที่ ไวต่อแม่เหล็ก และดึงดูดวัตถุที่เป็นโลหะทุกชนิด จึงมีข้อพึงระวังก่อนเข้ารับการตรวจด้วยเครื่องเอ็มอาร์ไอ ดังนี้ ➢ ห้ามตรวจในผู้ที่มีการฝังโลหะในร่างกาย เช่น ผู้ป่วยที่ผ่าตัดติดคลิปอุดหลอดเลือดในเส้นเลือดโป่ งพอง ผู้ป่วยใส่ลิ้นหัวใจ เทียม หรือข้อเทียม ผู้ป่วยที่ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ ผู้ป่วยที่ผ่าตัดใส่อวัยวะเทียมภายในหู เป็นต้น ➢ ควรหลีกเลี่ยงการตรวจ เอ็มอาร์ไอ ในผู้ป่วยที่กลัวที่แคบ (Claustrophobic) เพราะเครื่อง เอ็มอาร์ไอ มีลักษณะเป็น โพรงให้เตียงผู้ป่วยเคลื่อนเข้าไปได้ ➢ ผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจ เอ็มอาร์ไอ จะต้องนาโลหะต่างๆออกจากตัว เช่น ที่หนีบผม ฟันปลอม ต่างหู เครื่องประดับ บัตรเอทีเอ็ม หรือบัตรเครดิต กุญแจ หรือ นาฬิกา เป็นต้น
  • 9. หลักการทางานของเครื่อง เอ็มอาร์ไอ MRI คือเครื่องตรวจร่างกายด้วยการสร้างภาพเหมือนจริงของส่วนต่างๆของร่างกาย โดยใช้สนามแม่เหล็กความเข้มสูง เมื่อ ใส่สนามแม่เหล็กให้กับร่างกาย นิวเคลียสของอะตอมในร่างกายจะเข้าสู่สถานะถูกกระตุ้น และเมื่อหยุดให้สนามแม่เหล็ก นิวเคลียสของอะตอมจะเกิดการปลดปล่อยพลังงานเพื่อกลับคืนสู่สถานะปกติ เมื่อรับคลื่นความถี่ที่ปล่อยออกมา แล้วนาไป ประมวลผลและสร้างเป็นภาพด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถให้รายละเอียดและความคมชัดเหมือนการตัดร่างกายออกเป็น แผ่นๆทาให้แพทย์สามารถมองจุดที่ผิดปกติในร่างกายคนเราได้อย่างละเอียด โดยที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้รับการตรวจ
  • 10. เครื่อง MRI มีส่วนประกอบที่สาคัญคือ แม่เหล็กที่มีกาลังสูงมากซึ่งใช้ในการเปลี่ยนการเอียงตัวของสปินของ นิวเคลียสให้มีการเอียงตัวตามทิศของสนามแม่เหล็กที่ให้ แล้วหลังจากนั้นก็หยุดให้สนามแม่เหล็กเพื่อให้นิวเคลียส เกิดการคายพลังงานเพื่อกลับสู่ตาแหน่งเดิม จับสัญญาณการคายพลังงานที่ได้ แล้วนามาสังเคราะห์ภาพก็จะได้ ภาพต่างๆในบริเวณที่ทาการศึกษาดังนั้นสนามแม่เหล็กที่ใช้จึงจะต้องมีความเข้มสูงมากและต้องใช้เวลาสั้นมากๆ เพื่อให้มีผลกระทบต่อการวัดน้อยที่สุด