SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 64
Baixar para ler offline
๑
บทความชุด
ระบบสุขภาพองครวม
๔ เรื่อง
๒
หนา
๑. ระบบสุขภาพองครวม ๓
๒. ระบบการพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการ ๒๐
(คูมือพัฒนาอำเเภออยางบูรณาการ สูแผนดินศานติสุข)
๓. ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิอัจฉริยะ ๔๕
(Smart Primary Health Care System)
๔. ระบบนโยบายสาธารณะ P4
๕๗
(กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีสวนรวม)
๓
๑.
ระบบสุขภาพองครวม
สิ่งสูงสุด (Summum Bonum)
เมื่อมีความเปนองครวม ก็เกิดคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย
๔
๑.
องคกร ส. ทั้ง ๗
พลังมหาศาลที่จะทำสิ่งสูงสุด
องคกร ส. ทั้ง ๗ ประกอบดวย
สธ. กระทรวงสาธารณสุข ไดสรางโครงสรางระบบบริการสาธารณสุขอยางทั่วถึง ภายใน
เวลารวดเร็วไดอยางมหัศจรรย เปนมหากาพยแหงการสาธารณสุขได
สวรส. (๒๕๓๕) = สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
สสส. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ
สปสช. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
สรพ. สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
สช. (๒๕๕๐) สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ
มสช. (๒๕๓๕) มูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ
องคกรตระกูล ส. ๖ องคกรหลังเกิดโดยกฎหมาย เปนองคกรอิสระที่ทำหนาที่สนับสนุน สธ. และ
สุขภาพโดยรวม มีอายุ ๑๕ - ๓๐ ป
องคกร ส. ทั้ง ๗ ทำงานมานานพอสมควรและเขมแข็งมาก จนกระทั่งการสาธารณสุขไทยมีชื่อเสียง
ไปทั่วโลก
บัดนี้นาจะรวมกำลังกันทำสิ่งสุงสุดของมนุษยชาติ
อะไรคือสิ่งสูงสุดของมนุษยชาติ
๕
๒.
สุขภาพและสุขภาวะของมวลมนุษยทั้งโลก
(Health and well-being of mankind around the world
เปนสิ่งสูงสุดที่องคกรทางสุขภาพระดับโลกใฝฝนมานาน
ทำไมจึงวาเปนสิ่งสูงสุด ลองดูคำนิยามของคำวาสุขภาพดูก็จะเขาใจ ซึ่งมีดังนี้
“สุขภาพ คือ สุขภาวะที่สมบูรณ ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปญญา”
เปนคำที่แรงและลึกอยางสุด ๆ ไมมีอะไรจะแรงหรือลึกเทานี้อีกแลว
สุขภาวะที่สมบูรณ (Complete well-being) นั้นแรงและครอบคลุมที่สุด
สุขภาวะที่สมบูรณทาง กาย หมายถึงอะไร
สุขภาวะที่สมบูรณทาง จิต หมายถึงอะไร
สุขภาวะที่สมบูรณทาง สังคม หมายถึงอะไร
สุขภาวะที่สมบูรณทาง ปญญา หมายถึงอะไร
พูดอยางไมเกรงใจก็เทากับ นิพพาน ทั้ง ๔ มิติเลย
จึงกลาววาสุขภาพเปนสิ่งสูงสุดของมนุษยชาติ และสุขภาพไมใชเรื่อง มดหมอ หยูกยา โรงพยาบาล
เทานั้น แตบูรณาการอยูในการพัฒนาทั้งหมด จึงมีคำกลาววา “สุขภาพคือทั้งหมด” (Health is the
whole)
ฉะนั้น การพัฒนาระบบสุขภาพองครวม กับการพัฒนาประเทศไทยองครวม จึงเปนเรื่องเดียวกัน
คุณสมบัติใหมอันมหัศจรรยของระบบสุขภาพองครวม กับคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรยของประเทศ
ไทยเปนสิ่งเดียวกันตองไปดวยกัน
๖
๓.
เรื่องสวนยอย (Parts) กับ องครวม (Whole)
เซลลเปนสวนยอย
เซลลหลาย ๆ เซลล รวมกันเปนอวัยวะ อวัยวะเปนองครวม
อวัยวะเปนสวนยอย อวัยวะทั้งหมดทุกอวัยวะรวมกันเปนคน คนเปนองครวม
ความเปนคนมีคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย ที่ไมใชคุณสมบัติของอวัยวะ
ฉันใด
เครื่องบิน มีระบบและโครงสราง เมื่อประกอบชิ้นสวนหลายหมื่นชิ้น ตามโครงสรางจนครบ
สมบูรณเปนองครวม คือเครื่องบินเกิดคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย คือบินได ในขณะที่ชิ้นสวนไมมีชิ้นใดที่
บินไดเลย คุณสมบัติใหมเกิดขึ้นกับความเปนองครวมไมเกิดขึ้นกับสวนยอย
เรามักทำการพัฒนาแบบแยกสวน หรือทำเปนสวน ๆ จึงไมเคยเสพเสวยผลอันมหัศจรรยของความ
เปนองครวมของประเทศไทย หรือของระบบสุขภาพ
การแยกสวนเปนชิ้น ๆ เชน การชำแหละโคหรือสุกรทำใหสิ้นชีวิต เมื่อไมมีชีวิตชิ้นสวนก็เติบโต
ไมได ไมมีจิต เรียนรูไมได มีแตเนาเปอยผุพังไป
ชีวิตเกิดจากการเชื่อมโยง เมื่อมีชีวิตก็เติบโตได มีจิตที่จะเรียนรูทำใหฉลาด ตัดสินใจได ปรับตัวได
การเชื่อมโยง คือ การบูรณาการ
การบูรณาการสูความเปนองครวม เพื่อใหคุณสมบัติใหมผุดบังเกิด (Emerge) คือ หลักการที่จะใช
ในการพูดถึงองครวม
๗
๔.
ระบบสุขภาพองครวม
ระบบสุขภาพองครวมประกอบดวย โครงสราง ๓ อยาง หรือเปนองค ๓ หรือ ไตรยางค
โดยเทียบกับระบบรางกายมนุษย ดังนี้
๑. ตองมีรางกายที่สมประกอบ และทุกสวนบูรณาการกันอยางสมบูรณทำใหเกิดความสมดุล เมื่อสมดุล
ก็สงบสุข หรือปรกติสุข หรือสุขภาพดี และอายุยืน เพราะฉะนั้น โครงสรางของระบบสุขภาพองครวม
คือ การพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการที่สมบูรณ เมื่อพื้นที่ประเทศทั้งหมดบูรณาการก็สมดุล มีความ
เปนปรกติสุข หรือสุขภาพดีทั้งประเทศ เหมือนมีรางกายที่สมบูรณแข็งแรง
๒. ระบบบริการสุขภาพที่สมบูรณ ถึงรางกายจะสมบูรณแข็งแรงเพียงใด ก็จะมีวันเวลาที่เจ็บปวยอยาง
ใดอยางหนึ่ง ทั้งจากปจจัยภายในและภายนอก จึงตองการระบบบริการสุขภาพที่ดีหรือสมบูรณที่
เรียกวา EQE คือ มีความทั่วถึง เปนธรรม (Equity) คุณภาพดี (Quality) และมีประสิทธิภาพ
(Efficiency)
๓. ระบบสมอง ถึงระบบรางกายจะสมบูรณดีเทาไร แตถาไมมีสมองหรือปญญาออนก็เอาตัวไมรอด
เพราะรางกายตองเผชิญตอการเปลี่ยนแปลงทั้งจากภายในและภายนอก ตองมีสมองสำหรับรูและ
วิเคราะห สังเคราะห ประเมิน ไปสูการตัดสินใจ ถาตัดสินใจผิดก็หายนะถาตัดสินใจถูกก็วัฒนะ
สมองของชาติ คือ ระบบนโยบายสาธารณะ นโยบายสาธารณะที่ดีและปฏิบัติไดสำเร็จ
กอใหเกิดความถูกตองทุกประการ เปนปจจัยสำคัญที่สุดในการสรางสังคมสุขภาวะ
ฉะนั้น ระบบสุขภาพองครวมจึงประกอบดวย โครงสรางทั้ง ๓ ที่กลาวมากลาวคือ
๑. ระบบการพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการที่สมบูรณ
๒. ระบบบริการสุขภาพที่สมบูรณ EQE
๓. ระบบนโยบายสาธารณะที่สมบูรณ
๓ สมบูรณที่ประสานสัมพันธกัน จะนำไปสูสุขภาวะที่สมบูรณของมหาชนชาวสยามทั้งแผนดิน
เกิดเปนแผนดินศานติสุข
๘
แผนดินศานติสุข คือ คุณสมบัติใหมอันมหัศจรรยที่ผุดบังเกิดขึ้น จากความเปนองครวมของระบบ
สุขภาพหรือของประเทศไทย
รูปที่ ๑ ระบบสุขภาพองครวม ประกอบดวยองค ๓ หรือไตรยางค
๑. ระบบพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการ สสส. และเบญจภาคีกำลังทำอยู แต ส.ทั้งหมด ควรรวม
๒. ระบบบริการสุขภาพ สธ. และ สปสช. ทำอยูแต ส.อื่น ก็ควรรวมดวยทั้งหมด
๓. ระบบนโยบายสาธารณะ สช. ทำอยู แตควรรวมกันทั้งหมด
ตอไปจะขยายความองค ๓ แหงระบบสุขภาพองครวม
๓.
๑.
๒.
บูรณาการ
นโยบาย
บริการ
๙
(๑)
ระบบการพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการ
เรื่องนี้ไดเขียนวิธีการโดยละเอียดไวในบทความที่ ๒ ในชุดนี้ ที่แนบอยูกับเรื่องนี้
โดยสรุป เมื่อมีการพัฒนาอยางบูรณาการทุกหมูบาน ทุกตำบล ทุกอำเภอ โดยพัฒนา ๘ มิติบูรณา
การอยูในกันและกัน กลาวคือ
เศรษฐกิจ - จิตใจ - สังคม - สิ่งแวดลอม –
วัฒนธรรม - สุขภาพ - การศึกษา - ประชาธิปไตย
ทั้งนี้โดยมี สัมมาชีพเต็มพื้นที่เปนจุดคานงัด
เมื่อมีสัมมาชีพเต็มพื้นที่ก็จะเกิดความรมเย็นเปนสุขเพราะทุกคนมีงานทำ มีรายไดมากกวารายจาย
ไมมีคนวางงาน ไมมีคนจน ความเหลื่อมล้ำลดลง ๆ
การพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการจึงสรางแผนดินศานติสุขขึ้น เปนปจจัยใหญที่สุดของการสราง
สังคมสุขภาวะ
๑๐
(๒)
ระบบบริการสุขภาพที่สมบูรณ EQE
ระบบบริการสุขภาพมี ๓ ระดับ คือ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ
จุดคานงัดอยูที่ระบบสุขภาพปฐมภูมิ เพราะทั่วถึง ใกลชิด คุณภาพสูง ทุติยภูมิ ตติยภูมิ เสริม
คุณภาพ แตไมสามารถทำอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ อีกทั้งประสิทธิภาพนอย
ระบบบริการสุขภาพประกอบดวย ๙ ประเภท โดย ๑ - ๗ คือ ระบบสุขภาพปฐมภูมิ ดังนี้ (ภาพที่ ๒)
ภาพที่ ๒ ระบบบริการสุขภาพ ๙ ประเภท
๖. รพ.สต.
๒. ร้านขายยาใกล้บ้าน
๔. คลินิคเอกชนใกล้บ้าน
๗. รพช.
๘.รพท.
๙. รพศ. รพ.มหาวิทยาลัย รพ.เอกชน
๑. ประชาชนดูแล
ตนเองและครอบครัว
๓.ศูนย์สุขภาพในชุมชน
๑: ๑,๐๐๐
๕. ศูนย์การแพทย์
แผนไทยตําบล
๑๑
๑. ประชาชนดูแลตนเอง โดยมีความรูและวิธีการสนับสนุนอยางเต็มที่
๒. รานขายยาใกลบาน ที่มีความรู มีน้ำใจ มีความรับผิดชอบ
๓. หนวยสุขภาพ Health unit ในชุมชน ๑ หนวย ตอประชากร ๑,๐๐๐ คน มีบุคลากร ๓ คนคือ เวช
กรชุมชน ๑ และผูชวย ๒ เวชกรชุมชน อาจเปนแพทยครอบครัว/ชุมชน หรือหมออนามัย หรือ
พยาบาล สวนใหญเปนพยาบาล ผูชวยสวนใหญเปนผูชวยพยาบาลอาจเปนผูชวยเวชกรที่ไดรับการ
อบรม ๖ เดือนก็ได บุคลากรทั้ง ๓ รูจักทุกคนในชุมชนอยางใกลชิดประดุจญาติ ใหบริการในปญหาที่
พบบอยประจำวัน รวมทั้งโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง รวมทั้งการดูแลปญหาการแพทย
ฉุกเฉินเบื้องตนไดทันทวงที ถือเปนบริการใกลบานใกลใจที่ดีและทั่วถึงที่สุด หนวยสุขภาพในชุมชน ๑
ตอ ๑,๐๐๐ นี้ เปนของชุมชน โดยชุมชน และเพื่อชุมชน
๔. คลินิกเอกชนใกลบาน
๕. ศูนยการแพทยแผนไทยตำบล ควรมีทุกตำบล เปนของชุมชนทองถิ่นใหบริการไดอยางนอย ๓ อยาง
คือ ขายยาสมุนไพร นวดแผนไทย และประคบดวยสมุนไพร ซึ่งเหมาะแกผูสูงอายุมาก
๖. รพ.สต. มีอยูอยางนอย ๑ ตอ ตำบล
๗. โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) มีอยูในทุกอำเภอ
๘. โรงพยาบาลทั่วไป อยางนอยจังหวัดละ ๑ แหง
๙. โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลเอกชน
ทุกแหงเชื่อมโยงกันดวยระบบการสื่อสารดิจิทัลที่ทันสมัย เปนระบบบริการสุขภาพอัจฉริยะ (Smart
health care system) ขอมูล ความรู คำปรึกษาหารือ การเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติ เคลื่อนไหวติดตอ
ถึงกันตลอด ๒๔ ชั่วโมง เพื่อใหคุณภาพสูงสุดและประหยัด ในอนาคตเมื่อขอมูลและความรูที่มีจาก
ประสบการณมากพออาจมี AI ที่เหมาะสมกับการใชทั้ง ๙ จุด ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาระบบสุขภาพที่สมบูรณ EQE
โดยการมีสวนรวมขององคกร ส.ทั้ง ๗
๑๒
โรงพยาบาลชุมชนเปนจุดยุทธศาสตร
รพช. เปนจุดยุทธศาสตรดวยเหตุผลหลายอยางดวยกัน เชน
๑. รพช. ตั้งอยูในพื้นที่ทุกอำเภอทั่วประเทศ เรียกวาครองพื้นที่ทั้งประเทศ
๒. รพช. เปนจุดบรรจบระหวางเทคโนโลยีสมัยใหมกับวัฒนธรรมหรือความจริงของแผนดินไทย ที่บางที
เรียกวา ภูมิบานภูมิเมือง ตรงนี้สำคัญยิ่งนัก จะเขาใจความลมเหลวของการพัฒนาถาเขาใจความจริง
วาความรูมี ๒ ประเภทคือ
(๑) ความรู เทคนิควิธี ซึ่งเปนสากล
(๒) ความรู หรือปญญารูความจริงของแผนดิน ซึ่งมีความจำเพาะของแตละประเภท
ถามีแตความรูในเทคนิควิธี แมดีเลิศแคไหนแตไมรูความจริงของแผนดิน รบ ๑๐๐ ครั้ง ก็ไม
ชนะทั้ง ๑๐๐ ครั้ง ตัวอยางมีใหดูมากมาย เชน
เมื่อกองกำลังคอมมิวนิสตจีนตอสูกับกำลังอันเกรียงไกรของเจียงไคเช็ค เมื่อแรกบัญชาการ
โดยปญญาชนจีนที่ไปเรียนมาจากมอสโกปรากฏวาแพหลุดลุย จนกระทั่งเหมาเจอตุงเขามา
บัญชาการแทน เหมาไมเคยไปเรียนเมืองนอก แตรูความจริงของแผนดินจีนจึงชนะเรื่อยมา
จนกระทั่งรวมประเทศจีนไดแข็งแรงเติบโตอยางรวดเร็ว
ในสงครามเวียดนาม กองทัพอเมริกันมีกำลังพลถึง ๕๐๐,๐๐๐ คน อาวุธยุทโธปกรณที่
ทันสมัยเพียบพรอมและงบประมาณมหาศาล ฝายเวียดนามเหมือนตัวเปลา อเมริกันพายแพเพราะ
ไมรูความจริงของแผนดินเวียดนาม
ระบบการศึกษาไทยสมัยใหมที่เริ่มมาตั้งแต ร.๕ เรียนแตความรูทางเทคนิควิธีโดยเอาวิชา
เปนตัวตั้ง ทำใหคนไมรูความจริงของแผนดินไทย เมื่อไมรูความจริงก็ทำใหถูกตองไมไดนั่นเปนเหตุวา
ทำไมจึงแกปญหาเศรษฐกิจไมได ไมวาจะมีเซียนทางเศรษฐกิจกี่ชุด ๆ ก็ตาม เพราะเขาไมรูความจริง
ของแผนดินไทย รูแตเทคนิควิธี
รพช. เปนฐานของคนที่มีความรูทั้ง ๒ ประเภท นั่นเปนเหตุวาทำไมอดีตแพทยโรงพยาบาล
ชุมชน จึงขึ้นมาเปนผูนำทางนโยบายตาง ๆ ในขณะที่แพทยผูเชี่ยวชาญในโรงพยาบาลใหญซึ่งมี
ประโยชนมากทางเทคนิค แตไมสามารถเปนผูนำทางนโยบายได
๑๓
ในการผลักดันใหมีการสรางรพช.ครบทุกอำเภอ ผูผลักดันมีเจตจำนงที่จะทำใหรพช.เปน
ฐานของคนไทยประมาณ ๒ - ๓ หมื่นคน ที่ทั้งรูเทคนิคและรูความจริงของแผนดินไทย ซึ่งก็ไดผลสม
เจตจำนง ฉะนั้นรพช. ๘๐๐ แหง จะเปนสถาบันพัฒนากำลังคนที่สำคัญ
๓. รพช. เปนสถาบันที่สนับสนุนหนวยบริการปฐมภูมิทั้งหมด เปนสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบบริการ
สุขภาพปฐมภูมิ ซึ่งเปนจุดคานงัดของระบบบริการสุขภาพทั้งหมด
๔. รพช. คือ จุดยุทธศาสตรของการพัฒนากำลังคนเพื่อสุขภาพตามแนวทาง 21st
Century Health
Professional Education จึงควรพัฒนาไปเปน District Hospital Academy หรือวิทยาลัย
โรงพยาบาลชุมชน เปนเสมือนมหาวิทยาลัยขนาดใหญซึ่งมีถึง ๘๐๐ วิทยาเขต คือในทุกอำเภอทั่ว
ประเทศ เพราะฉะนั้นการที่กำลังกอตัวกันเปน สถาบันพัฒนาระบบสุขภาพองครวม โดยความริเริ่ม
ของประธานมูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ รวมกับผูอำนวยการรพช.กลุมหนึ่ง จึงมีความสำคัญยิ่งนัก ซึ่ง
ตอไปจะขยายตัวเปนเครือขายรพช.ทั่วประเทศ สถาบันพัฒนาระบบสุขภาพองครวม หรือสพ.สอ. จะ
สามารถมีบทบาทไดทั้ง ๓ โครงสรางของระบบสุขภาพองครวมคือ ๑. บูรณาการ ๒. บริการ ๓. นโยบาย
๕. รพช. ในแตละอำเภอสามารถรวมและเปนกำลังสำคัญในโครงการ พชอ. หรือพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับ
อำเภอ ซึ่งก็คือการพัฒนาอำเภออยางบูรณาการนั่นเอง ชื่อเรื่องนี้จะนำไปสูการที่อำเภอทั้งอำเภอเปน
สถาบันการเรียนรูในรูปใหมที่ทรงพลังยิ่ง เรียกวา มหาวิชชาลัยอำเภอ ซึ่งเทากับมีมหาวิทยาลัยในรูป
ใหมถึง ๘๐๐ กวามหาวิทยาลัย ซึ่งดีกวาและสามารถรวมมือกับมหาวิทยาลัยในรูปเกา
ประเทศไทยจะเปลี่ยนแปลงโดยสิ้นเชิง จากสังคมนิยมอำนาจไปเปนสังคมอุดมปญญา โดยไมตอง
รบราฆาฟนแตประการใด เมื่อเปนสังคมอุดมปญญาความทุกขก็สิ้นสุดลง
ที่กลาวมานี้ จะเห็นวารพช. เปนจุดยุทธศาสตรแหงการเอาชนะสงครามไดชัดเจน ทุกฝายควรจะ
เขาใจประเด็นยุทธศาสตรนี้ และมุงมั่นรวมกันที่จะสนับสนุน รพช.
บุคลากรของรพช. สามารถเรียนรูและปฏิบัติงานในโครงสรางทั้ง ๓ ของระบบสุขภาพองครวม คือ
๑. ระบบการพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการ
๒. ระบบบริการสุขภาพ
๓. ระบบนโยบายสาธารณะ
๑๔
ดังในรูปที่ ๓ และทำใหมีความสืบเนื่อง
รูปที่ ๓ บุคลากรจาก รพช. สามารถเรียนรูและปฏิบัติงานในโครงสรางทั้ง ๓
นอกจากนั้น ควรมีโอกาสฝกอบรมอยางเต็มที่ในเรื่องที่แตละคนถนัดเปนพิเศษ เพื่อเปนผูนำใน
เรื่องตาง ๆ ซึ่งรวมถึงสุขภาพระหวางประเทศ เพราะมหาวิชชาลัยโรงพยาบาลชุมชนมีฐานที่ตั้งอยูในพื้นที่
อันเปนจุดบรรจบของเทคโนโลยีและการรูความจริงของแผนดินไทย ดังกลาวขางตน
ที่กลาวซ้ำ ๆ เพื่อย้ำใหเห็นวารพช.ทั้ง ๘๐๐ แหง เปนฐานแหงการพัฒนาบุคลากรอันเหมาะสมที่
มหาศาลจริง ๆ ขอใหชวยกันทุมเทเรื่องรพช.กับการพัฒนาแผนดินไทย
๓.
๒.
๑.
รพช.
๑๕
(๓)
ระบบการพัฒนานโยบายสาธารณะ
เรื่องนี้เขียนไวแลวในบทความชุดนี้ เรื่องที่ ๔
“P4 กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีสวนรวม”
ที่แนบ
๑๖
๕.
เครื่องมือพัฒนาระบบสุขภาพองครวม
มี ๓ อยาง สัมพันธกัน คือ
๑. ที่ประชุม ๗ ส.
๒. คณะเลขานุการรวม (Joint secretariat) ประกอบดวยตัวแทนจาก ๗ ส. และบุคคลอื่นที่เหมาะสม
และยินดีรวมประสานงาน เบื้องแรกมีนายแพทยสมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ เปนประธาน ตอไปจะหมุนเวียน
กันอยางไรก็แลวแตจะตกลงกัน ขอใหมีความตอเนื่องทางปญญา (Continuity of wisdom)
๓. สถาบันพัฒนาระบบสุขภาพองครวม ซึ่งเปนตัวแทนของ รพช.ทั่วประเทศ
ทั้ง ๓ เปนฟนเฟองที่ประสานกัน ตามรูปที่ ๔
รูปที่ ๔ ธรรมจักรแหงการพัฒนาระบบสุขภาพองครวม ประกอบดวยฟนเฟองทั้ง ๓ ประสานกัน
๗ส.
คณะ
เลขานุการ
ร่วม
สถาบัน
พัฒนาระบบ
สุขภาพองค์รวม
องค์กร
๑๗
เครื่องมือทั้ง ๓ มีทั้งสวนที่ตางคนตางทำที่เหมาะสมกับหนาที่ของตน ๆ แตควรมาประชุมรวมกัน
เดือนละ ๑ ครั้ง
โดยใชหลักอปริหานิยธรรม (ธรรมะเพื่อความเจริญถายเดียว) มี ๗ ขอ ๒ ขอแรก คือ
๑. หมั่นประชุมกันเปนเนืองนิตย
๒. พรอมเพรียงกันประชุม พรอมเพรียงกันเลิกประชุม พรอมเพรียงกันทำกิจที่พึงกระทำ
อาจเรียกวา “การประชุมกลุมสุขภาพองครวม” (กลุมสามพรานใหม) เขามาแทนที่กลุมสามพราน
เดิม สถานที่จะใชที่ใดก็แลวแตจะตกลงกัน ถือวาเปน Happy Day ที่พี่นองจะไดมาพบกันเดือนละครั้ง
และเปนกลไกของความตอเนื่องทางปญญา (Continuity of wisdom)
ความตอเนื่องทางปญญา เปนปจจัยสำคัญของความสำเร็จ ซึ่งในระบบราชการและระบบการเมือง
เปนสิ่งที่ขาดไป
การประชุมกลุมสามพรานตอเนื่องกันมาวา ๓๐ ป เปนสิ่งที่หาไดยาก และเปนตนกำเนิดขององคกร
ตระกูล ส.ทั้งหมด
ฉะนั้น ขอใหกลไกทั้ง ๓ ของระบบสุขภาพองครวม ใชหลักอปริหานิยธรรมมาประชุมพรอมเพรียงกัน
ทุก ๑ เดือน สืบทอดจิตวิญญาณของกลุมสามพราน ถือวาเปนคำสั่งเสียของอาจารยก็แลวกัน
ฟนเฟองทั้ง ๓ จะมีชีวิต ทดแทนตัวเองไปตลอด ยิ่งเมื่อหมุนไป ๆ ระบบสุขภาพองครวมก็ยิ่งสมบูรณ
ขึ้น ๆ อยางตอเนื่อง
๑๘
๖.
ทางสายกลาง (Transformative Learning) แรงโนมถวง
หลักคิดในการพัฒนาระบบสุขภาพองครวม คือ ทางสายกลางแนวพุทธอันเปนทางสายปญญาและ
ไมตรีจิต ไมคิดเชิงปฏิปกษ แบงขางแบงขั้ว ใชการเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติในสถานการณจริง หรือ PILA
(Participatory Interactive Learning through Action) อันเปนเครื่องมือในการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐาน
(Transformation) ในทุกมิติ กลาวคือ
๑. กอใหเกิดความเสมอภาค ภราดรภาพ และสามัคคีธรรม
๒. เกิดความเชื่อถือไววางใจ (Trust)
๓. ทุกคนฉลาดขึ้น และฉลาดรวมกัน
๔. เกิดปญญารวม (Collective wisdom) นวัตกรรม และอัจฉริยภาพกลุม (Group genius)
๕. ทั้งหมดกอใหเกิดพลังมหาศาล สามารถฝาความยากทุกชนิดไปสูความสำเร็จ
๖. ทุกคนเกิดความสุข ประดุจบรรลุนิพพาน
เมื่อมีความไวเนื้อเชื่อใจกันและปญญารวม อะไรที่ควรปฏิรูปก็จะปฏิรูปโดยอัตโนมัติดวยความพรอม
ใจของทุกฝาย เรียกวาปฏิรูป 360 องศา ตางจากความพยายามที่จะปฏิรูปที่แลวมา ซึ่งลมเหลวมาตลอด
PILA จึงเปน Transformative learning ที่ทรงพลังในการ Transform ประเทศไทย การเปลี่ยน
ใหญที่สุด คือ การเปลี่ยนประเทศไทยจากสังคมนิยมอำนาจเปนสังคมอุดมปญญา ซึ่งเปนวัตถุประสงคของ
ทางสายกลางหรือมัชฌิมาปฏิปทา เมื่อเปนสังคมอุดมปญญาปญหาก็สิ้นสุดลง
กระบวนการพัฒนาระบบสุขภาพองครวม เปนมวลแหงการรวมตัวรวมคิดรวมทำขนาดมหาศาล
เมื่อมีมวลมากก็จะมีแรงโนมถวง (gravity) มาก ที่จะดึงเรื่องตาง ๆ เขามาเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติ เกิด
ความสำเร็จและความสุข ดังกลาวขางตน จึงเรียกวาปฏิรูป 360 องศา
๑๙
๗.
คุณสมบัติใหมอันมหัศจรรยของความเปนประเทศไทยองครวม
เมื่อประกอบเครื่องครบเปนองครวม คือ เครื่องบิน เกิดคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย คือ บินได ฉัน
ใด
ประเทศไทยก็เชนเดียวกัน เมื่อเปนองครวมยอมเกิดคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย เนื่องจากยังไมเคย
เกิด จึงไมมีชื่อเรียกวาประเทศไทยที่บินไดเรียกวาอะไร ฉะนั้น ขณะนี้จึงอาจมีหลายชื่อตามคุณสมบัติที่จะ
เกิดขึ้น ซึ่งมีหลากหลาย เชน แผนดินศานติสุข ยุคพระศรีอริย แผนดินแหงสุขภาพที่สมบูรณ สังคมธนาธิป
ไตย สังคมอุดมปญญา สังคมสันติภาพ สังคมทางสายกลาง ไมมีขางไมมีขั้วซายขวา ไมขัดแยงกัน เหมือน
คนที่สมบูรณยอมมีทั้งแขนซายและแขนขวา หรือเครื่องบินยอมมีทั้งปกซายและปกขวาจึงจะบินได ซาย
ขวาลวนเปนขององครวมเดียวกัน ที่ขัดแยงถึงฆาฟนกันตายอยางนาสลดสังเวชเหมือนคนตาบอดที่ไมเห็น
ชางทั้งตัวสัมผัสไดเปนสวน ๆ ที่ตางกันและทะเลาะกันใหญ ถาตาไมบอดก็จะเห็นวาสวนตางลวนเปนของ
ชางตัวเดียวกันไมมีอะไรจะทะเลาะกัน ทัศนะองครวมทำใหเขาถึงความจริง
การเขาถึงความจริง คือ การบรรลุธรรม เฉกเชน มนุษยอวกาศ ชื่อ Edgar Mitchell ยืนอยูบนดวง
จันทรมองเห็นโลกทั้งใบเปนหนึ่งเดียว ลอยฟองอยูในอวกาศสีฟาสวยงาม จิตเขาเปลี่ยนโดยสิ้นเชิง
กลายเปนคนมีความสุขอยางลึกล้ำทั้งเนื้อทั้งตัว ประสบความงามอันลนเหลืออยูทั่วไป และเกิดไมตรีจิตอัน
ไพศาลตอเพื่อนมนุษยและสรรพสิ่ง นั่นคือเขาบรรลุธรรมจากการเขาถึงความเปนองครวมของโลกหนึ่ง
เดียวกัน (Oneness, One wholeness)
ฉะนั้น เมื่อประเทศไทยเปนองครวม จะมีผูคนบรรลุธรรมมากมายนับไมถวน เรียกวา ทวินนิพพาน
หรือนิพพานฝาแฝด คือ บุคคลนิพพาน - สังคมนิพพาน ไปดวยกัน
คุณสมบัติใหมอันมหัศจรรยบรรยายไมหวาดไหว ชวยกันทำใหเกิด และชวยกันนิยามก็แลวกัน
โดยสรุป คนไทยสามารถรวมกันสรางประเทศไทยที่นาอยูที่สุดในโลก มนุษยสามารถทนทุกขรวมกันได
ประเทศไทยจะเปนตัวอยางแกโลกโลกจะเปลี่ยนใหญกลายเปนองครวมเดียวกันดังNewVisionของมนุษยอวกาศ
กิจที่พึงทำ ทำเสร็จแลว
กิจอื่น เพื่อความเปนอยางนี้ มิไดมี------------------------------------------------------------
๒๐
๒.
ระบบการพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการ
คูมือพัฒนาอำเภออยางบูรณาการ
สูแผนดินศานติสุข
(ประดุจสวรรคบนดิน)
๒๑
เมื่อมีการออกแบบระบบและโครงสราง
ทุกคนและทุกองคกรก็รวมสรางแผนดินศานติสุข
ไดโดยงายดวยความรื่นรมย
อำเภอศานติสุข อำเภอสุขภาวะ คุณภาพชีวิตระดับอำเภอ คือ สิ่งเดียวกัน
ไดแก
การที่คนทั้งอำเภออยูดีมีสุข มีความปลอดภัย มีภูมิคุมกัน มีปญญา
มีศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยอยางเทาเทียมกัน มีสวนรวมในการพัฒนาอำเภอ
และไดรับผลของการพัฒนาอยางเปนธรรม
เกิดจาก
คนทั้งอำเภอ รวมตัวรวมคิดรวมทำ เปนภูมิพลัง หรือพลังแผนดิน
มีความมุงมั่นรวมกัน และมีการจัดการพัฒนาอยางบูรณาการสูองครวมที่สมดุล
นอภ. = นักอำนวยภูมิพลัง
๒๒
การพัฒนา คือ การเชื่อมโยง
การแยกเปนสวน ๆ หรือการชำแหละใหขาดจากกัน เชน ชำแหละโค ชำแหละสุกร ทำใหสิ้นชีวิต
ชีวิตคือการเชื่อมโยง การเชื่อมโยงทำใหมีชีวิต
ทุกเซลลและทุกอวัยวะในรางกายของเราเชื่อมโยงหรือบูรณาการเปนองครวม คือ ความเปนมนุษย
ของเรา
องครวมเกิดคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย
ปญหาที่ผานมา คือ การพัฒนาแบบแยกสวน แยกจากกันเปนเรื่อง ๆ การพัฒนาใหม คือ การ
พัฒนาอยางบูรณาการ
ถาทรัพยากรทั้งหมดบนพื้นที่อำเภอเชื่อมโยงกัน บูรณาการเปนองครวมอำเภอ อำเภอจะมี
คุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย
๒๓
๑.
ทรัพยากรมหาศาลในพื้นที่อำเภอ
เพียงพอที่ทุกคนจะอยูดีมีสุข
พื้นที่อำเภอกวางขวางพอสมควร ประกอบดวยประมาณ ๑๐ ตำบล และ ๑๐๐ หมูบานหรือชุมชน
ประกอบดวยทรัพยากรมากมายหลายชนิด คือ
ทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก ที่ดิน ปาไม แหลงน้ำ ถาจัดการใชอยางเปนธรรม ก็เพียงพอที่คนทุก
คนจะมีปจจัย ๔ ในการดำรงชีวิตขั้นพื้นฐาน
ทรัพยากรคน แตละหมูบาน มีประชากรประมาณ ๕๐๐-๑,๐๐๐ คน
แตละตำบล มีประชากรประมาณ ๕,๐๐๐-๑๐,๐๐๐ คน
แตละอำเภอ มีประชากรประมาณ ๕๐,๐๐๐-๑๐๐,๐๐๐ คน
มีผูนำตามธรรมชาติ ประมาณหมูบานละ ๕๐ คน ตำบลละ ๕๐๐ คน
อำเภอละ ๕,๐๐๐ คน
ทรัพยากรทางสังคม สังคมคือการอยูรวมกัน เปนครอบครัว เปนชุมชน เปนทองถิ่น เปนเมือง
หากมีความเปนธรรม มีความอบอุน มีความพอเพียง มีปญญา มีความ
สมดุล ยอมเปนทั้งปจจัยและผลของอำเภอศานติสุข
ทรัพยากรทางวัฒนธรรม วัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวิตรวมกันของกลุมชนที่สอดคลองกับสิ่งแวดลอม
หนึ่ง ๆ ประกอบดวยความเชื่อรวมกัน คุณคารวมกัน การทำมาหากินที่
คุนเคยและถายทอดกันมา ภาษา อาหาร เครื่องแตงตัว ที่อยูอาศัย
ขนบธรรมเนียมประเพณี การดูแลรักษาสิ่งแวดลอม และการจัดการใช
ทรัพยากรธรรมชาติรวมกัน การดูแลรักษาสุขภาพ การจัดการความขัดแยง
สุนทรียกรรมตาง ๆ ศาสนาที่เปนความเชื่อรวมกันก็เปนวัฒนธรรมดวย
เนื่องจากสิ่งแวดลอมในแตละแหงไมเหมือนกัน วัฒนธรรมจึงมีความ
หลากหลายไปตามถิ่นตาง ๆ ไมถือวาวัฒนธรรมใครดีกวาใคร ตางมีความ
เหมาะสมกับสิ่งแวดลอมหนึ่ง ๆ
การเรียนรูในฐานวัฒนธรรมจึงงาย เพราะใคร ๆ ก็ปฏิบัติกัน เชน
ภาษาเด็ก ๆ ก็เรียนรูอยางงายดาย แตผูใหญเรียนภาษาตางประเทศได
ยากเย็นแสนเข็ญและเจ็บปวด
๒๔
จึงมีคำกลาววา “การเรียนรูในฐานวัฒนธรรมนั้นงายและรื่นรมย”
การศึกษาและภูมิปญญาที่คัดสรรและถายทอดกันมาเปนสวนสำคัญของ
วัฒนธรรม จนคำวา “ภูมิปญญา” หรือปญญาที่ติดแผนดิน หมายถึงวัฒนธรรม
ทรัพยากรทางศาสนา โดยเฉลี่ยอำเภอหนึ่ง ๆ มีวัดประมาณ ๕๐ วัด ในครั้งโบราณวัดเปนศูนยกลาง
ของชุมชน การพัฒนาปจจุบันทำอยางแยกสวน วัดจึงหมดบทบาทในการพัฒนา
แตในการพัฒนาอยางบูรณาการตองเชื่อมโยงวัดเขากับชุมชน มัสยิด
และโบสถในศาสนาอิสลามและคริสตก็เชนเดียวกัน
ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ ในพื้นที่อำเภอมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการเงินมากมาย
ทรัพยากรภาครัฐ ทั้งของทองถิ่น ทองที่ และของกระทรวงตาง ๆ มากมาย
ทรัพยากรทางพลังงาน ทั้งที่มาจากที่อื่น เชน ไฟฟา น้ำมันเบนซิน และพลังงานชุมชน
ทรัพยากรทางการสื่อสาร เกา ๆ เชน โทรศัพท วิทยุ โทรทัศน ใหม ๆ เชน ระบบดิจิทัล
ทรัพยากรทางการศึกษา แตละอำเภอมีโรงเรียนโดยเฉลี่ยประมาณ ๕๐ โรง มีระบบการศึกษา
นอกโรงเรียน อาจมีวิทยาลัยบางชนิดตั้งอยูในพื้นที่อำเภอ
แตควรมองระบบการศึกษาใหมวา คือ การเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติ (Interactive learning
through action) ในสถานการณจริงของคนทั้งอำเภอ ในการเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติของคนทั้งอำเภอ
ทรัพยากรทุกประเภทที่กลาวมาขางตนจะเปนประโยชนตอการเรียนรูของคนทั้งมวล (All For
Education/Education For All/Education For All Purposes)
อำเภอทั้งอำเภอจะเปนสังคมแหงการเรียนรู
อำเภอเปนสังคมอุดมปญญา
อำเภอจึงเปนสังคมอุดมสุข
ทรัพยากรจากภายนอกอำเภอ
ในประเทศยังมีทรัพยากรอื่น ๆ อีกมากมายที่อำเภอสามารถดึงมาใชใหเปนประโยชน โดยเฉพาะ
กระทรวงตาง ๆ เปนทรัพยากรทางนโยบาย ถาอำเภอมีความสามารถจะดึงมาใชใหเปนประโยชนในการ
พัฒนาอำเภอไดอยางมหาศาล
ฉะนั้นในแตละอำเภอควรมีการจัดตั้งกลุมพัฒนานโยบายของอำเภอ ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไป
ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาอำเภอยังมีอื่น ๆ อีก
ควรมีการสำรวจทำแผนที่ (Mapping) ทรัพยากรเพื่ออำเภอโดยละเอียดวามีอะไรบาง ขอมูลมี
ความสำคัญมากตอการคิดและการวางแผนพัฒนาอำเภอ
ฉะนั้น ควรมีการจัดตั้ง ศูนยวิจัยและขอมูลอำเภอ เพื่อทำหนาที่สรางความรูและรวบรวมขอมูล
เพื่อใชในการพัฒนาอำเภอ
ในการนี้ความรวมมือกับมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหนึ่งในพื้นที่จะมีประโยชนมาก
๒๕
๒.
ความสำคัญของการออกแบบระบบและโครงสราง
เรามีทรัพยากรเพื่อการพัฒนามาก แตขาดความคิดเชิงระบบและการจัดการ ทรัพยากรและ
เครื่องมือตาง ๆ จึงกระจัดกระจายอยูอยางเปะปะ โดยไมมีระบบและโครงสราง จึงไมสำเร็จประโยชน
ถาเราตองการอะไรที่วิ่งไปบนถนนได ก็ตองออกแบบ รถยนต
ถาเราตองการอะไรที่ลอยน้ำได ก็ตองออกแบบ เรือ
ถาเราตองการอะไรที่บินได ก็ตองออกแบบ เครื่องบิน
ถามีแตวัตถุปจจัยและเครื่องมือ แตไมมีการออกแบบ เราก็ไมมีวันมีรถยนต หรือเรือ หรือเครื่องบิน
รูปที่ ๑ การออกแบบรถยนตหรือเครื่องบิน
ถามีแตวัตถุปจจัยหรือชิ้นสวน แตไมมีการออกแบบระบบและโครงสราง ก็ไมมีทางจะสำเร็จ
ประโยชน
ระบบและโครงสรางกำหนดคุณสมบัติ
ถาระบบและโครงสรางเปนรถยนต มันก็วิ่งไปบนถนนได
ถาระบบและโครงสรางเปนเครื่องบิน มันก็บินสูทองฟาได
รถยนตและเครื่องบินเปนองครวม ของสวนประกอบทั้งหมด
เมื่อเปนองครวม มันเกิดคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย
คือวิ่งไปบนถนนได หรือบินได โดยชิ้นสวนแตละชิ้นไมมีอะไรบินไดเลย แตพอประกอบกันเปนองค
รวม คุณสมบัติใหมก็ผุดบังเกิดขึ้น (Emerge)
๒๖
ปญหาในการพัฒนาที่ไมไดผล เพราะการคิดแบบแยกสวน ทำแบบแยกสวน สวนตาง ๆ ก็ตางคน
ตางทำ ไมบูรณาการกันเขามาเปนองครวมประเทศไทย
ฉะนั้น คนไทยจึงไดแตลิ้มรสของชิ้นสวนเทานั้น ไมเคยมีประสบการณองครวมประเทศไทยที่บินได
เลย เปนเหมือนประเทศตาบอดคลำชาง คือ ไมเห็นชางทั้งตัวแลวเลยทะเลาะกันใหญระหวางผูที่รูเปน
สวน ๆ การทะเลาะเอาเปนเอาตายถึงเขนฆากันระหวางฝายซายกับฝายขวา ก็เพราะคิดแบบแยกสวน
นั่นเอง แตถามีทัศนะแบบองครวม เหมือนความเปนมนุษยที่สมบูรณก็ตองมีทั้งแขนซายและแขนขวา
เครื่องบินที่เปนองครวมก็ตองมีทั้งปกซายและปกขวา มีปกใดปกเดียวมันก็เปนไปไมได
ฉะนั้น ถาเราออกแบบระบบและโครงสรางประเทศไทยและประกอบชิ้นสวนใหครบเปนองครวม0
*
บานเมืองก็จะลงตัว เกิดประเทศไทยที่มีคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย ประดุจประเทศไทยที่บินได ไมมี
ปญหาความขัดแยงระหวางฝายซายกับฝายขวา หรือระหวางฝายใด ๆ อีกตอไป เพราะพนสภาพตาบอด
คลำชาง สวนตางลวนเปนของชางตัวเดียวกัน
* หนังสือยุทธศาสตรประกอบเครื่องประเทศไทย สูการสรางสังคมศานติสุขและสันติภาพโลก : ศาสตราจารยนายแพทยประเวศ วะสี
๒๗
๓.
การออกแบบระบบและโครงสรางประเทศไทย
ใหเปนแผนดินศานติสุข
วัตถุประสงคกำหนดระบบและโครงสราง
ดังตัวอยางที่กลาวมาในตอนที่ ๒ ถาวัตถุประสงคเปนอะไรที่บินได ระบบและโครงสรางของมันก็
ตองเปนแบบเครื่องบิน ไมใชระบบรถยนตหรือระบบเรือ ซึ่งมีวัตถุประสงคตางกัน
วัตถุประสงคประเทศไทย คือ เปนแผนดินศานติสุข
ซึ่งมีการอยูรวมกันอยางสมดุล ระหวางคนกับคน และระหวางคนกับธรรมชาติแวดลอม
ความสมดุล ทำใหเกิดความสงบ ความปรกติ ความปรกติสุข และความยั่งยืน
ความไมสมดุล ทำใหเกิดความปนปวน วุนวาย รุนแรง และวิกฤตการณ
วิกฤตการณ คือ การไมมีศานติสุข
ความสมดุลเกิดจากบูรณาการ การเสียสมดุลเกิดจากการแยกสวน
ดูตัวอยางรางกายของเรา ที่ประกอบดวยเซลลเปนลาน ๆ เซลล และอวัยวะตาง ๆ อีกจำนวนมาก
และหลากหลาย แตทั้งหมดบูรณาการเปนองครวมหนึ่งเดียวกัน รางกายของเราจึงมีความสมดุล สุขภาพดี
และอายุยืน
เซลลมะเร็ง เปนตัวอยางของเซลลที่สูญสำนึกแหงองครวม มันทำตัวแยกสวนเปนเอกเทศ ทำให
ระบบเสียสมดุล ปวย และตาย
การพัฒนาแบบแยกสวนจึงเปนการพัฒนาแบบมะเร็ง อะไร ๆ ก็ทำแบบแยกสวน เศรษฐกิจก็ทำ
แบบแยกสวน การศึกษาก็ทำแบบแยกสวน คือเอาวิชาเปนตัวตั้ง แมแตธรรมะก็ทำแบบแยกสวน คือเอา
หลักธรรมเปนตัวตั้ง แตแทที่จริงธรรมะบูรณาการอยูในทุกสวน
เมื่อพัฒนาแบบแยกสวน ประเทศจึงเสียสมดุล ปนปวน วุนวาย รุนแรง วิกฤต เหมือนคนเปน
มะเร็ง
ฉะนั้น ประเทศไทยที่จะเปนแผนดินศานติสุขตองพัฒนาอยางบูรณาการ ที่ทั้ง ๘ มิติ บูรณาการ
อยูในกันและกัน นั่นคือ
เศรษฐกิจ – จิตใจ – สังคม – สิ่งแวดลอม – วัฒนธรรม –
- สุขภาพ – การศึกษา – ประชาธิปไตย
ที่ผานมามีความพยายามพัฒนาทั้ง ๘ เรื่อง แตทำแบบแยกสวนเปนเรื่อง ๆ จึงไมไดผล หรือไดผล
นอย อยางเชน การศึกษา ใคร ๆ ก็รูวาสำคัญยิ่ง มีความพยายามปฏิรูปการศึกษาหลายครั้งหลายคราดวย
ความเจ็บปวด แตไมไดผล เพราะยังเปนการมองการศึกษาแบบแยกสวน
ระบบการศึกษาบูรณาการ คือคำตอบ
๒๘
การศึกษาตองบูรณาการอยูกับอีก ๗ เรื่อง ทำเรื่องการศึกษาก็ไดผลอีก ๗ เรื่อง ทำ ๗ เรื่องก็ไดผล
การศึกษา เพราะทั้ง ๘ เรื่องบูรณาการอยูในกันและกัน
ประชาธิปไตยก็เชนเดียวกัน ทำมาเกือบ ๑๐๐ ปก็ไมไดผล เพราะมองประชาธิปไตยแบบแยกสวน
เลยกลายเปนเพียงกลไกเทานั้น ไมใชระบบ ระบบประชาธิปไตยตองบูรณาการอยูกับอีก ๗ เรื่อง
ที่ผานมา ทั้งโลกลวนพัฒนาแบบแยกสวน คือ ทั้ง ๘ เรื่องแยกจากกันเปนเรื่อง ๆ คือ
เศรษฐกิจ ก็เอาจีดีพีเปนตัวตั้ง ไมไดเอาการอยูรวมกันอยางสมดุลเปนตัวตั้ง จึงเกิดความ
เหลื่อมล้ำสุด ๆ
จิตใจ พระก็สอนธรรมะแบบแยกสวน คือเอาธรรมะเปนตัวตั้ง ไมไดเอาการอยูรวมกัน
อยางสมดุลเปนตัวตั้ง เมื่อเสียสมดุลก็ปนปวน วุนวาย รุนแรง ทะเลาะกันมาก
ขัดแยงกันมาก จิตใจก็ไมสงบและพัฒนาไมขึ้น
สังคม พัฒนาไมสำเร็จ ถาขาดการพัฒนาอยางบูรณาการ
สิ่งแวดลอม ถาแกความยากจนและความเหลื่อมล้ำไมได ก็ไมมีทางรักษาสิ่งแวดลอม
วัฒนธรรม ก็มองแบบแยกสวน เห็นแตเรื่องรองรำทำเพลงและศิลปวัตถุเทานั้น แตวัฒนธรรม
องครวม คือวิถีชีวิตรวมกันของกลุมชนที่สอดคลองกับสิ่งแวดลอมหนึ่ง ๆ ซึ่งที่แทก็
คือ การอยูรวมกันอยางสมดุลนั่นเอง การพัฒนาจึงตองเอาวัฒนธรรมเปนตัวตั้ง
สุขภาพ ก็มองแบบแยกสวน เปนเรื่องมดหมอหยูกยา โรงพยาบาลเทานั้น แตที่จริงสุขภาพ
เกิดจากบูรณาการของทั้งหมด เชน ถายากจนและเหลื่อมล้ำสุด ๆ จะมีสุขภาพดีได
อยางไร
การศึกษา ก็แยกสวนไปเอาวิชาเปนตัวตั้ง ไมไดเอาชีวิตเปนตัวตั้ง คุณภาพชีวิต คือทั้งหมด
ประชาธิปไตย ก็มองแตวาคือการเลือกตั้ง แทที่จริงเปนกระบวนการของการพัฒนาอยางบูรณา
การ ดังจะไดเห็นตอไป
ฉะนั้น การพัฒนาอำเภอใหเปนแผนดินศานติสุข ตองไมพัฒนาแบบแยกสวน แตพัฒนา ๘ มิติ
ใหบูรณาการ
ทั้ง ๘ เรื่องที่บูรณาการกันมีจุดคานงัดหรือแกนอยูที่การมีสัมมาชีพเต็มพื้นที่ การมีสัมมาชีพเต็มพื้นที่
เปนปจจัยใหบานเมืองลงตัว ดังจะไดกลาวตอไป รูปที่ ๒ แสดงธรรมจักรแหงการพัฒนาอยางบูรณาการ
๒๙
รูปที่ ๒ ธรรมจักรแหงการพัฒนาอยางบูรณาการ มีการสรางสัมมาชีพเต็มพื้นที่เปนแกน
ระบบและโครงสรางของอำเภอเปนแผนดินศานติสุข คือ
๑. ทุกหมูบานประมาณ ๑๐๐ หมูบาน สามารถจัดการพัฒนาอยางบูรณาการ
๒. ทุกตำบลประมาณ ๑๐ ตำบล สามารถจัดการพัฒนาอยางบูรณาการ
๓. อำเภอมีความสามารถในการจัดการพัฒนาอยางบูรณาการเต็มพื้นที่
พื้นที่อำเภอทั้งอำเภอมีการพัฒนาอยางบูรณาการที่เศรษฐกิจดี จิตใจดี สังคมดี สิ่งแวดลอมดี วัฒนธรรม
ดี สุขภาพดี การศึกษาดี ประชาธิปไตยดี มีสัมมาชีพเต็มพื้นที่ เกิดความรมเย็นเปนสุข (ประดุจสวรรคบนดิน)
เมื่อเราออกแบบระบบและโครงสรางของการพัฒนาอยางบูรณาการและประกอบเครื่องไดแลว ระบบ
เทคโนโลยี นวัตกรรมตาง ๆ ก็เขามาเสริมแตงใหโครงสรางแข็งแรงขึ้น คุณภาพดีขึ้น สวยงามมากขึ้น
เหมือนเมื่อขึ้นโครงสรางรถยนตหรือเครื่องบินไดแลว เรื่องอื่น ๆ ก็เขามาตกแตงใหมันมีคุณภาพดี
ขึ้น สวยงามมากขึ้น โดยไมทำลายความเปนรถยนตหรือความเปนเครื่องบิน
แต ถาเราทำแตสวนที่ตกแตง เชน เทคโนโลยี และนวัตกรรมตางๆ โดยปราศจากโครงสรางที่บูรณาการ
การตกแตงตาง ๆ ก็ไมเปนรูปเปนราง หรือวุนวายมากขึ้น หรือทำลายของเกาจนแตกกระจายอยางที่เรียกวา
disruption และนิยมกันวาดี แตที่จริงมันเหมือนลูกระเบิดลงที่ทำใหของเกาพังพินาศและปนปวนวุนวาย
แตถาระบบและโครงสรางมันเปนองครวมแลวเชน รถยนตหรือเครื่องบินที่ประกอบเครื่องสมบูรณ ทุก
ชิ้นสวนก็จะอยูในที่ของมัน ทำหนาที่เชื่อมโยงและกำกับซึ่งกันและกัน ไมมีสวนไหนแตกแถวเปนเอกเทศ การระเบิด
น้ำมันในเครื่องยนตของรถยนตหรือเครื่องบิน ซึ่งรุนแรงยิ่งก็ไมเปนอันตรายกับผูใดแตเปนพลังขับเคลื่อนระบบ
แตถาการระเบิดน้ำมันนั้นเปนเอกเทศ ไมอยูในระบบ มันคือลูกระเบิด
ฉะนั้น ประเทศไทยเมื่อประกอบเครื่องตามระบบและโครงสรางไดแลว ทุกอยางก็จะเขาที่ ความ
รุนแรงก็กลายเปนพลังขับเคลื่อนระบบ ประเทศไทยที่เปนองครวมก็จะมีคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย ทั้ง
นาอยูและสวยงาม
สังคม
จิตใจ
สิ�งแวดล้อม
ประชาธิปไตย
สุขภาพ
วัฒนธรรม
เศรษฐกิจ
การศึกษา สัมมาชีพ
เต็มพื�นที�
๓๐
๔.
การมีสัมมาชีพเต็มพื้นที่
ทำใหเกิดความรมเย็นเปนสุข และศีลธรรม
ที่ตำบลยกกระบัตร อำเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร เมื่อ ๕๐ - ๖๐ ปที่แลว เต็มไปดวยสิ่งที่ไม
ดีงาม คือ การลักขโมย การพนัน และยาเสพติด พระจะสอนเทาใด ๆ ก็แกปญหาไมได
ตอมามีเจาอาวาสองคใหมเปนพระหนุมชื่อ ชุบ กลอมจิตร ซึ่งตอมาเปนพระครูสาครสังวรกิจ
สังเกตวาชาวบานยากจนมาก จึงศึกษาเรื่องการสรางอาชีพและสงเสริมใหคนทั้งตำบลปลูกมะพราว และ
ทำน้ำตาลมะพราวขาย ปรากฏวาขายดีมาก ทุกคนในตำบลมีรายไดวันละ ๒๐๐ - ๕๐๐ บาท (สมัยนั้น)
เมื่อมีสัมมาชีพเต็มพื้นที่ ทุกคนมีความเปนอยูที่ดี มีเงินสดในมือ สุขกาย สุขใจ ไมมีใครอยากมีพฤติกรรม
ไมดี การลักขโมย การพนัน ยาเสพติด หายไปหมด
ในขณะที่การสอนศีลธรรมไดผลนอยมาก การมีสัมมาชีพเต็มพื้นที่เปนบอเกิดของศีลธรรม สุข
ภาวะ และความรมเย็นเปนสุข
มีเรื่องเลาทำนองเดียวกันในพระไตรปฎก ในกูฏทันตสูตร พระพุทธเจาเลาถึงเรื่องพระราชาองคหนึ่ง
ชื่อ พระมหาวิชิตราช มีโจรเกิดขึ้นในแผนดินก็จะทรงสงกองทัพไปปราบ ปุโรหิตกราบทูลวาเมื่อกองทัพยกไป
โจรก็หลบไป เมื่อกองทัพกลับโจรก็กลับมาใหม วิธีแกไขที่จะไดผลถาวร คือ พระองคควรบำรุงอาชีพกสิกรรม
และโครักขกรรม พานิชกรรม และรับราชการ สมัยนั้นมีอาชีพเพียง ๓ ชนิด เมื่อบำรุงอาชีพเต็มพื้นที่
• บานเมืองของพระองคจะรมเย็นเปนสุข
• โภคทรัพยจะเกิดขึ้นในทองพระคลัง = เศรษฐกิจดี
• ราษฎรจะไมตองปดประตูเรือนอยู = ไมมีการลักขโมย
• จะยังบุตรใหฟอนอยูบนอก = ครอบครัวอบอุน
ขอสังเกต :
๑. การพัฒนาเศรษฐกิจขจัดความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำไมได แตการสรางสัมมาชีพเต็ม
พื้นที่ทำได และทำใหเศรษฐกิจโดยรวมดีขึ้นดวย เพราะมีอำนาจซื้อและการบริโภคเพิ่มขึ้น ถา
นักเศรษฐศาสตรและนักธุรกิจสงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ และการสรางสัมมาชีพเต็มพื้นที่ ก็
จะสามารถขจัดความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำได
๓๑
๒. เรื่องพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ซึ่งเปนเรื่องสำคัญยิ่ง แตจะสำเร็จไดอยางไร ถาพอแมยากจน
เกินไป หาเชาไมพอกินค่ำ ตองไปรับจางไกลบาน พอแมลูกตองพลัดพรากจากกัน แตถามี
สัมมาชีพในพื้นที่ เต็มพื้นที่ ครอบครัวก็จะอบอุน พัฒนาการของเด็กปฐมวัยก็จะเปนไปได
๓. ทางการสาธารณสุขไมตองการเห็นเด็กแรกคลอดน้ำหนักต่ำกวาเกณฑ เพราะมันบงวาเด็ดขาด
อาหารตั้งแตอยูในครรภมารดา ทารกเชนนี้เมื่อเติบโตเปนผูใหญ อายุประมาณ ๔๐ - ๕๐ ป มี
ความเสี่ยงที่จะเปนเบาหวาน เปนมะเร็ง เปนโรคหัวใจ ขณะนี้ยังมีอัตราทารกแรกคลอดน้ำหนัก
ต่ำกวาเกณฑถึงรอยละ ๑๐ การสาธารณสุขแบบแยกสวนไมมีทางจะทำได ถาประชาชนยัง
ยากจนเกินไป เรื่องสุขภาพจึงตองบูรณาการกับการสรางสัมมาชีพเต็มพื้นที่
๔. การศึกษาแบบแยกสวนที่เอาวิชาเปนตัวตั้ง เกิดปญหาสารพัด รวมทั้งความยากจนของครู ของ
นักเรียน และผูปกครอง แตถาการศึกษาบูรณาการกับทั้งหมด โดยมีการสรางสัมมาชีพเต็มพื้นที่
ครูก็หายจน นักเรียนก็หายจน ผูปกครองก็หายจน เชนนี้เปนตน
เพราะฉะนั้น การสรางสัมมาชีพเต็มพื้นที่ ตองเปนเปาหมายรวมของทุกคน ทุกฝายในพื้นที่และ
นอกพื้นที่
ถากำลังทุกฝายทุมไปสรางสัมมาชีพเต็มพื้นที่ ก็ไมมีทางที่จะไมสำเร็จ
๓๒
๕.
การสื่อสารใหเกิดความมุงมั่นรวมกัน
หรือเปาหมายและวิสัยทัศนรวมกัน
ถาคนทั้งอำเภอมีความมุงมั่นรวมกัน หรือมีเปาหมายและวิสัยทัศนรวม ก็เสมือนจูนคลื่นแสง
รวมกันเปนแสงเลเซอร ซึ่งมีพลังทะลุทะลวงสูงยิ่ง ทำใหสิ่งที่เปนไปไมไดเปนไปได นั่นคือ อำเภอเปน
แผนดินศานติสุข (ประดุจสวรรคบนดิน)
การสื่อสารใหเกิดเปาหมายและวิสัยทัศนรวมเปนหนาที่ของผูนำ ดังมีคำพูดวา “Great leader is
great communication” นายอำเภอเปน Great leader ไดทุกคน การมีนายอำเภอดี ๆ ๘๐๐ กวาคน
ทั่วประเทศไมใชเรื่องยาก
นอกจากผูนำที่เปนปจเจกแลวควรมีการนำรวม (Collective leadership) ผูนำตามธรรมชาติใน
พื้นที่มีจำนวนมากและคุณภาพสูง
• ในแตละหมูบาน มีผูนำตามธรรมชาติประมาณ ๕๐ คน
• ในแตละตำบล มีผูนำตามธรรมชาติประมาณ ๕๐๐ คน
• ในแตละอำเภอ มีผูนำตามธรรมชาติประมาณ ๕,๐๐๐ คน
ผูนำตามธรรมชาติเหลานี้ประกอบดวยผูนำกลุมอาชีพ ผูนำสตรี ผูนำเยาวชน ผูนำกลุมผูสูงอายุ
ผูนำกองทุน ครู พระ ศิลปน ปราชญชาวบาน หรืออื่น ๆ
เรียกวา ผูนำตามธรรมชาติมีในทุกภาคสวนทางสังคม
โดยเปนคนที่เห็นแกสวนรวม สุจริต รอบรู ชางคิด สื่อสารเกง เปนที่ยอมรับของคนทั่วไป ผูนำตาม
ธรรมชาติจึงมีคุณสมบัติสูงกวาผูนำที่เปนทางการโดยทั่ว ๆ ไป และกระจายกันในทุกภาคสวนของสังคม
มากกวานักเลือกตั้งซึ่งมาจากกลุมคนคลาย ๆ กัน
ควรมีสภาผูนำตามธรรมชาติ ๓ ระดับ คือ
๑. สภาผูนำชุมชน ในระดับหมูบานทุกหมูบาน
๒. สภาผูนำตำบล
๓. สภาผูนำอำเภอ
สภาผูนำทั้ง ๓ ระดับเชื่อมโยงรูถึงกัน โดยการสื่อสาร ๒ ทาง การสื่อสารผานสภาผูนำอำเภอ จะ
ไปสูตำบลและหมูบานโดยทั่วถึง และกลับกัน
นายอำเภออยูในฐานะที่ดี ที่จะสงเสริมใหเกิดสภาผูนำทั้ง ๓ ระดับ และเกิดเครือขายทางสังคม
เพื่ออำเภอ เชน
๓๓
๑. เครือขายพระสงฆ เพื่ออำเภอ...
๒. เครือขายครู เพื่ออำเภอ...
๓. เครือขายศิลปน เพื่ออำเภอ...
๔. เครือขายศิลปน เพื่ออำเภอ...
๕.เครือขายนักธุรกิจ เพื่ออำเภอ... ซึ่งอาจรวมกันตั้งมูลนิธิ
๖. เครือขายอาชีพตางๆ เพื่ออำเภอ...
๗. เครือขายสื่อมวลชน เพื่ออำเภอ...
๘. เครือขายอื่นๆ เพื่ออำเภอ...
ทั้งสภาผูนำ ทั้งเครือขายเพื่ออำเภอตาง ๆ เมื่อเกิดขึ้นเต็มอำเภอ จึงเปนภูมิพลัง หรือ พลังแผนดินอำเภอ
นอภ. จึงเปน นักอำนวยภูมิพลัง โดยแท
และภูมิพลังนี้แหละจะสรางอำเภอใหเปนแผนดินศานติสุข (ประดุจสวรรคบนดิน) ไดโดยมิยาก
เมื่อคนทั้งอำเภอมีความมุงมั่นรวมกันแลวก็ไมมีอะไรยากอีกตอไป เปาหมายและวิสัยทัศนรวม คือ
• ทุกคนมีจิตสำนึกองครวมของอำเภอ
• พัฒนาอยางบูรณาการใหทุกอยางเชื่อมโยงไปสูการอยูดีมีสุขของคนทุกคนในอำเภอ
๓๔
๖.
การบริหารจัดการพื้นที่อำเภอ ๓ ระดับ
๑๑๑ หนวยจัดการ
การบริหารจัดการพื้นที่ ๑ อำเภอ มี ๓ ระดับ คือ
(๑) ระดับชุมชน หรือหมูบาน มี ๑๐๐ หนวยจัดการ
(๒) ระดับตำบล มี ๑๐ หนวยจัดการ
(๓) ระดับอำเภอ มี ๑ หนวยจัดการ
รวม ๑๑๑ หนวยจัดการ
ระดับหมูบานหรือชุมชนเปนเรื่องของประชาชนลวน ๆ ไมมีองคกรของรัฐ แตระดับตำบลและ
อำเภอมีองคกรของรัฐ การบริหารจัดการจึงแตกตางกันในแตละระดับ การบริหารจัดการทั้ง ๓ ระดับ
เชื่อมโยงหนุนซึ่งกันและกัน หรือบูรณาการกัน
(๑) การบริหารจัดการในระดับชุมชน
ในหมูบานหรือชุมชนมีประชากรเพียง ๕๐๐ - ๑,๐๐๐ คน ทุกคนจึงมีสวนรวมไดโดยตรง ไมตอง
อาศัยการเลือกตั้ง เปนประชาธิปไตยทางตรง (Direct democracy) เมื่อไมมีการซื้อเสียงขายเสียง
ประชาธิปไตยชุมชนจึงเปนประชาธิปไตยที่มีคุณภาพสูงกวาประชาธิปไตยระดับบน และเปนฐานของ
ประชาธิปไตยระดับชาติ กระบวนการชุมชนเขมแข็ง เปนหัวใจของการพัฒนา ถาชวยกันทำความเขาใจ
ชาติจะหลุดออกจากสภาวะวิกฤต
กระบวนการชุมชนประกอบดวย
(๑) สภาผูนำชุมชน ผูนำตามธรรมชาติในชุมชน ซึ่งมีประมาณ ๔๐ - ๕๐ คน ดังกลาวในตอนที่ ๕
กอตัวกันเปนสภาผูนำชุมชน โดยไมตองมีใครแตงตั้ง เปนการกอตัวเอง (Self-organized) ซึ่ง
มีคุณภาพสูงกวาการแตงตั้งหรือเลือกตั้ง เพราะเปนของจริงแท
(๒) สำรวจขอมูลชุมชน สภาผูนำชุมชนจัดใหมีการสำรวจขอมูลชุมชน ขั้นตอนนี้ขามไมได เพราะ
ขอมูลทำใหเกิดความคิด ถามานั่งพูดกันเฉย ๆ โดยไมมีขอมูล จะไมกาวหนา
(๓) ทำแผนชุมชน จากขอมูล สภาผูนำชุมชนทำแผนชุมชน ตามลำดับความสำคัญที่ชุมชนคิด
กันเอง ที่ดีคือ เปนแผนพัฒนาอยางบูรณาการที่ ๘ มิติ เชื่อมโยงกัน ดังกลาวในตอนที่ ๓ อัน
ไดแก
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf
HealthSystem_vp.pdf

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a HealthSystem_vp.pdf

นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพThanom Sak
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพThanom Sak
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 sspravina Chayopan
 
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57หมอปอ ขจีรัตน์
 
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57หมอปอ ขจีรัตน์
 
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28Borwornsom Leerapan
 
human security integrated development
human security integrated developmenthuman security integrated development
human security integrated developmenttpsinfo
 
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...CDD Pathum Thani
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยAuamporn Junthong
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยDMS Library
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยguestd1493f
 
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158Chuchai Sornchumni
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 

Semelhante a HealthSystem_vp.pdf (20)

นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss
 
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
 
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
สปสช.การบริหารโรคเรื้อรัง57
 
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
 
Communty diagnosis
Communty diagnosisCommunty diagnosis
Communty diagnosis
 
human security integrated development
human security integrated developmenthuman security integrated development
human security integrated development
 
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
สพจ.ปทุมธานี : หมู่บ้านสารสนเทศชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมู่ 9 บ้านคลองส...
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
 
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59 นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
Niwespunya
NiwespunyaNiwespunya
Niwespunya
 
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 

Mais de Pattie Pattie

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศPattie Pattie
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdfPattie Pattie
 

Mais de Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
 

HealthSystem_vp.pdf

  • 2. ๒ หนา ๑. ระบบสุขภาพองครวม ๓ ๒. ระบบการพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการ ๒๐ (คูมือพัฒนาอำเเภออยางบูรณาการ สูแผนดินศานติสุข) ๓. ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิอัจฉริยะ ๔๕ (Smart Primary Health Care System) ๔. ระบบนโยบายสาธารณะ P4 ๕๗ (กระบวนการนโยบายสาธารณะแบบมีสวนรวม)
  • 4. ๔ ๑. องคกร ส. ทั้ง ๗ พลังมหาศาลที่จะทำสิ่งสูงสุด องคกร ส. ทั้ง ๗ ประกอบดวย สธ. กระทรวงสาธารณสุข ไดสรางโครงสรางระบบบริการสาธารณสุขอยางทั่วถึง ภายใน เวลารวดเร็วไดอยางมหัศจรรย เปนมหากาพยแหงการสาธารณสุขได สวรส. (๒๕๓๕) = สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สสส. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ สปสช. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ สรพ. สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล สช. (๒๕๕๐) สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ มสช. (๒๕๓๕) มูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ องคกรตระกูล ส. ๖ องคกรหลังเกิดโดยกฎหมาย เปนองคกรอิสระที่ทำหนาที่สนับสนุน สธ. และ สุขภาพโดยรวม มีอายุ ๑๕ - ๓๐ ป องคกร ส. ทั้ง ๗ ทำงานมานานพอสมควรและเขมแข็งมาก จนกระทั่งการสาธารณสุขไทยมีชื่อเสียง ไปทั่วโลก บัดนี้นาจะรวมกำลังกันทำสิ่งสุงสุดของมนุษยชาติ อะไรคือสิ่งสูงสุดของมนุษยชาติ
  • 5. ๕ ๒. สุขภาพและสุขภาวะของมวลมนุษยทั้งโลก (Health and well-being of mankind around the world เปนสิ่งสูงสุดที่องคกรทางสุขภาพระดับโลกใฝฝนมานาน ทำไมจึงวาเปนสิ่งสูงสุด ลองดูคำนิยามของคำวาสุขภาพดูก็จะเขาใจ ซึ่งมีดังนี้ “สุขภาพ คือ สุขภาวะที่สมบูรณ ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางปญญา” เปนคำที่แรงและลึกอยางสุด ๆ ไมมีอะไรจะแรงหรือลึกเทานี้อีกแลว สุขภาวะที่สมบูรณ (Complete well-being) นั้นแรงและครอบคลุมที่สุด สุขภาวะที่สมบูรณทาง กาย หมายถึงอะไร สุขภาวะที่สมบูรณทาง จิต หมายถึงอะไร สุขภาวะที่สมบูรณทาง สังคม หมายถึงอะไร สุขภาวะที่สมบูรณทาง ปญญา หมายถึงอะไร พูดอยางไมเกรงใจก็เทากับ นิพพาน ทั้ง ๔ มิติเลย จึงกลาววาสุขภาพเปนสิ่งสูงสุดของมนุษยชาติ และสุขภาพไมใชเรื่อง มดหมอ หยูกยา โรงพยาบาล เทานั้น แตบูรณาการอยูในการพัฒนาทั้งหมด จึงมีคำกลาววา “สุขภาพคือทั้งหมด” (Health is the whole) ฉะนั้น การพัฒนาระบบสุขภาพองครวม กับการพัฒนาประเทศไทยองครวม จึงเปนเรื่องเดียวกัน คุณสมบัติใหมอันมหัศจรรยของระบบสุขภาพองครวม กับคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรยของประเทศ ไทยเปนสิ่งเดียวกันตองไปดวยกัน
  • 6. ๖ ๓. เรื่องสวนยอย (Parts) กับ องครวม (Whole) เซลลเปนสวนยอย เซลลหลาย ๆ เซลล รวมกันเปนอวัยวะ อวัยวะเปนองครวม อวัยวะเปนสวนยอย อวัยวะทั้งหมดทุกอวัยวะรวมกันเปนคน คนเปนองครวม ความเปนคนมีคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย ที่ไมใชคุณสมบัติของอวัยวะ ฉันใด เครื่องบิน มีระบบและโครงสราง เมื่อประกอบชิ้นสวนหลายหมื่นชิ้น ตามโครงสรางจนครบ สมบูรณเปนองครวม คือเครื่องบินเกิดคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย คือบินได ในขณะที่ชิ้นสวนไมมีชิ้นใดที่ บินไดเลย คุณสมบัติใหมเกิดขึ้นกับความเปนองครวมไมเกิดขึ้นกับสวนยอย เรามักทำการพัฒนาแบบแยกสวน หรือทำเปนสวน ๆ จึงไมเคยเสพเสวยผลอันมหัศจรรยของความ เปนองครวมของประเทศไทย หรือของระบบสุขภาพ การแยกสวนเปนชิ้น ๆ เชน การชำแหละโคหรือสุกรทำใหสิ้นชีวิต เมื่อไมมีชีวิตชิ้นสวนก็เติบโต ไมได ไมมีจิต เรียนรูไมได มีแตเนาเปอยผุพังไป ชีวิตเกิดจากการเชื่อมโยง เมื่อมีชีวิตก็เติบโตได มีจิตที่จะเรียนรูทำใหฉลาด ตัดสินใจได ปรับตัวได การเชื่อมโยง คือ การบูรณาการ การบูรณาการสูความเปนองครวม เพื่อใหคุณสมบัติใหมผุดบังเกิด (Emerge) คือ หลักการที่จะใช ในการพูดถึงองครวม
  • 7. ๗ ๔. ระบบสุขภาพองครวม ระบบสุขภาพองครวมประกอบดวย โครงสราง ๓ อยาง หรือเปนองค ๓ หรือ ไตรยางค โดยเทียบกับระบบรางกายมนุษย ดังนี้ ๑. ตองมีรางกายที่สมประกอบ และทุกสวนบูรณาการกันอยางสมบูรณทำใหเกิดความสมดุล เมื่อสมดุล ก็สงบสุข หรือปรกติสุข หรือสุขภาพดี และอายุยืน เพราะฉะนั้น โครงสรางของระบบสุขภาพองครวม คือ การพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการที่สมบูรณ เมื่อพื้นที่ประเทศทั้งหมดบูรณาการก็สมดุล มีความ เปนปรกติสุข หรือสุขภาพดีทั้งประเทศ เหมือนมีรางกายที่สมบูรณแข็งแรง ๒. ระบบบริการสุขภาพที่สมบูรณ ถึงรางกายจะสมบูรณแข็งแรงเพียงใด ก็จะมีวันเวลาที่เจ็บปวยอยาง ใดอยางหนึ่ง ทั้งจากปจจัยภายในและภายนอก จึงตองการระบบบริการสุขภาพที่ดีหรือสมบูรณที่ เรียกวา EQE คือ มีความทั่วถึง เปนธรรม (Equity) คุณภาพดี (Quality) และมีประสิทธิภาพ (Efficiency) ๓. ระบบสมอง ถึงระบบรางกายจะสมบูรณดีเทาไร แตถาไมมีสมองหรือปญญาออนก็เอาตัวไมรอด เพราะรางกายตองเผชิญตอการเปลี่ยนแปลงทั้งจากภายในและภายนอก ตองมีสมองสำหรับรูและ วิเคราะห สังเคราะห ประเมิน ไปสูการตัดสินใจ ถาตัดสินใจผิดก็หายนะถาตัดสินใจถูกก็วัฒนะ สมองของชาติ คือ ระบบนโยบายสาธารณะ นโยบายสาธารณะที่ดีและปฏิบัติไดสำเร็จ กอใหเกิดความถูกตองทุกประการ เปนปจจัยสำคัญที่สุดในการสรางสังคมสุขภาวะ ฉะนั้น ระบบสุขภาพองครวมจึงประกอบดวย โครงสรางทั้ง ๓ ที่กลาวมากลาวคือ ๑. ระบบการพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการที่สมบูรณ ๒. ระบบบริการสุขภาพที่สมบูรณ EQE ๓. ระบบนโยบายสาธารณะที่สมบูรณ ๓ สมบูรณที่ประสานสัมพันธกัน จะนำไปสูสุขภาวะที่สมบูรณของมหาชนชาวสยามทั้งแผนดิน เกิดเปนแผนดินศานติสุข
  • 8. ๘ แผนดินศานติสุข คือ คุณสมบัติใหมอันมหัศจรรยที่ผุดบังเกิดขึ้น จากความเปนองครวมของระบบ สุขภาพหรือของประเทศไทย รูปที่ ๑ ระบบสุขภาพองครวม ประกอบดวยองค ๓ หรือไตรยางค ๑. ระบบพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการ สสส. และเบญจภาคีกำลังทำอยู แต ส.ทั้งหมด ควรรวม ๒. ระบบบริการสุขภาพ สธ. และ สปสช. ทำอยูแต ส.อื่น ก็ควรรวมดวยทั้งหมด ๓. ระบบนโยบายสาธารณะ สช. ทำอยู แตควรรวมกันทั้งหมด ตอไปจะขยายความองค ๓ แหงระบบสุขภาพองครวม ๓. ๑. ๒. บูรณาการ นโยบาย บริการ
  • 9. ๙ (๑) ระบบการพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการ เรื่องนี้ไดเขียนวิธีการโดยละเอียดไวในบทความที่ ๒ ในชุดนี้ ที่แนบอยูกับเรื่องนี้ โดยสรุป เมื่อมีการพัฒนาอยางบูรณาการทุกหมูบาน ทุกตำบล ทุกอำเภอ โดยพัฒนา ๘ มิติบูรณา การอยูในกันและกัน กลาวคือ เศรษฐกิจ - จิตใจ - สังคม - สิ่งแวดลอม – วัฒนธรรม - สุขภาพ - การศึกษา - ประชาธิปไตย ทั้งนี้โดยมี สัมมาชีพเต็มพื้นที่เปนจุดคานงัด เมื่อมีสัมมาชีพเต็มพื้นที่ก็จะเกิดความรมเย็นเปนสุขเพราะทุกคนมีงานทำ มีรายไดมากกวารายจาย ไมมีคนวางงาน ไมมีคนจน ความเหลื่อมล้ำลดลง ๆ การพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการจึงสรางแผนดินศานติสุขขึ้น เปนปจจัยใหญที่สุดของการสราง สังคมสุขภาวะ
  • 10. ๑๐ (๒) ระบบบริการสุขภาพที่สมบูรณ EQE ระบบบริการสุขภาพมี ๓ ระดับ คือ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ จุดคานงัดอยูที่ระบบสุขภาพปฐมภูมิ เพราะทั่วถึง ใกลชิด คุณภาพสูง ทุติยภูมิ ตติยภูมิ เสริม คุณภาพ แตไมสามารถทำอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ อีกทั้งประสิทธิภาพนอย ระบบบริการสุขภาพประกอบดวย ๙ ประเภท โดย ๑ - ๗ คือ ระบบสุขภาพปฐมภูมิ ดังนี้ (ภาพที่ ๒) ภาพที่ ๒ ระบบบริการสุขภาพ ๙ ประเภท ๖. รพ.สต. ๒. ร้านขายยาใกล้บ้าน ๔. คลินิคเอกชนใกล้บ้าน ๗. รพช. ๘.รพท. ๙. รพศ. รพ.มหาวิทยาลัย รพ.เอกชน ๑. ประชาชนดูแล ตนเองและครอบครัว ๓.ศูนย์สุขภาพในชุมชน ๑: ๑,๐๐๐ ๕. ศูนย์การแพทย์ แผนไทยตําบล
  • 11. ๑๑ ๑. ประชาชนดูแลตนเอง โดยมีความรูและวิธีการสนับสนุนอยางเต็มที่ ๒. รานขายยาใกลบาน ที่มีความรู มีน้ำใจ มีความรับผิดชอบ ๓. หนวยสุขภาพ Health unit ในชุมชน ๑ หนวย ตอประชากร ๑,๐๐๐ คน มีบุคลากร ๓ คนคือ เวช กรชุมชน ๑ และผูชวย ๒ เวชกรชุมชน อาจเปนแพทยครอบครัว/ชุมชน หรือหมออนามัย หรือ พยาบาล สวนใหญเปนพยาบาล ผูชวยสวนใหญเปนผูชวยพยาบาลอาจเปนผูชวยเวชกรที่ไดรับการ อบรม ๖ เดือนก็ได บุคลากรทั้ง ๓ รูจักทุกคนในชุมชนอยางใกลชิดประดุจญาติ ใหบริการในปญหาที่ พบบอยประจำวัน รวมทั้งโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง รวมทั้งการดูแลปญหาการแพทย ฉุกเฉินเบื้องตนไดทันทวงที ถือเปนบริการใกลบานใกลใจที่ดีและทั่วถึงที่สุด หนวยสุขภาพในชุมชน ๑ ตอ ๑,๐๐๐ นี้ เปนของชุมชน โดยชุมชน และเพื่อชุมชน ๔. คลินิกเอกชนใกลบาน ๕. ศูนยการแพทยแผนไทยตำบล ควรมีทุกตำบล เปนของชุมชนทองถิ่นใหบริการไดอยางนอย ๓ อยาง คือ ขายยาสมุนไพร นวดแผนไทย และประคบดวยสมุนไพร ซึ่งเหมาะแกผูสูงอายุมาก ๖. รพ.สต. มีอยูอยางนอย ๑ ตอ ตำบล ๗. โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) มีอยูในทุกอำเภอ ๘. โรงพยาบาลทั่วไป อยางนอยจังหวัดละ ๑ แหง ๙. โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลเอกชน ทุกแหงเชื่อมโยงกันดวยระบบการสื่อสารดิจิทัลที่ทันสมัย เปนระบบบริการสุขภาพอัจฉริยะ (Smart health care system) ขอมูล ความรู คำปรึกษาหารือ การเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติ เคลื่อนไหวติดตอ ถึงกันตลอด ๒๔ ชั่วโมง เพื่อใหคุณภาพสูงสุดและประหยัด ในอนาคตเมื่อขอมูลและความรูที่มีจาก ประสบการณมากพออาจมี AI ที่เหมาะสมกับการใชทั้ง ๙ จุด ทั้งนี้ เพื่อพัฒนาระบบสุขภาพที่สมบูรณ EQE โดยการมีสวนรวมขององคกร ส.ทั้ง ๗
  • 12. ๑๒ โรงพยาบาลชุมชนเปนจุดยุทธศาสตร รพช. เปนจุดยุทธศาสตรดวยเหตุผลหลายอยางดวยกัน เชน ๑. รพช. ตั้งอยูในพื้นที่ทุกอำเภอทั่วประเทศ เรียกวาครองพื้นที่ทั้งประเทศ ๒. รพช. เปนจุดบรรจบระหวางเทคโนโลยีสมัยใหมกับวัฒนธรรมหรือความจริงของแผนดินไทย ที่บางที เรียกวา ภูมิบานภูมิเมือง ตรงนี้สำคัญยิ่งนัก จะเขาใจความลมเหลวของการพัฒนาถาเขาใจความจริง วาความรูมี ๒ ประเภทคือ (๑) ความรู เทคนิควิธี ซึ่งเปนสากล (๒) ความรู หรือปญญารูความจริงของแผนดิน ซึ่งมีความจำเพาะของแตละประเภท ถามีแตความรูในเทคนิควิธี แมดีเลิศแคไหนแตไมรูความจริงของแผนดิน รบ ๑๐๐ ครั้ง ก็ไม ชนะทั้ง ๑๐๐ ครั้ง ตัวอยางมีใหดูมากมาย เชน เมื่อกองกำลังคอมมิวนิสตจีนตอสูกับกำลังอันเกรียงไกรของเจียงไคเช็ค เมื่อแรกบัญชาการ โดยปญญาชนจีนที่ไปเรียนมาจากมอสโกปรากฏวาแพหลุดลุย จนกระทั่งเหมาเจอตุงเขามา บัญชาการแทน เหมาไมเคยไปเรียนเมืองนอก แตรูความจริงของแผนดินจีนจึงชนะเรื่อยมา จนกระทั่งรวมประเทศจีนไดแข็งแรงเติบโตอยางรวดเร็ว ในสงครามเวียดนาม กองทัพอเมริกันมีกำลังพลถึง ๕๐๐,๐๐๐ คน อาวุธยุทโธปกรณที่ ทันสมัยเพียบพรอมและงบประมาณมหาศาล ฝายเวียดนามเหมือนตัวเปลา อเมริกันพายแพเพราะ ไมรูความจริงของแผนดินเวียดนาม ระบบการศึกษาไทยสมัยใหมที่เริ่มมาตั้งแต ร.๕ เรียนแตความรูทางเทคนิควิธีโดยเอาวิชา เปนตัวตั้ง ทำใหคนไมรูความจริงของแผนดินไทย เมื่อไมรูความจริงก็ทำใหถูกตองไมไดนั่นเปนเหตุวา ทำไมจึงแกปญหาเศรษฐกิจไมได ไมวาจะมีเซียนทางเศรษฐกิจกี่ชุด ๆ ก็ตาม เพราะเขาไมรูความจริง ของแผนดินไทย รูแตเทคนิควิธี รพช. เปนฐานของคนที่มีความรูทั้ง ๒ ประเภท นั่นเปนเหตุวาทำไมอดีตแพทยโรงพยาบาล ชุมชน จึงขึ้นมาเปนผูนำทางนโยบายตาง ๆ ในขณะที่แพทยผูเชี่ยวชาญในโรงพยาบาลใหญซึ่งมี ประโยชนมากทางเทคนิค แตไมสามารถเปนผูนำทางนโยบายได
  • 13. ๑๓ ในการผลักดันใหมีการสรางรพช.ครบทุกอำเภอ ผูผลักดันมีเจตจำนงที่จะทำใหรพช.เปน ฐานของคนไทยประมาณ ๒ - ๓ หมื่นคน ที่ทั้งรูเทคนิคและรูความจริงของแผนดินไทย ซึ่งก็ไดผลสม เจตจำนง ฉะนั้นรพช. ๘๐๐ แหง จะเปนสถาบันพัฒนากำลังคนที่สำคัญ ๓. รพช. เปนสถาบันที่สนับสนุนหนวยบริการปฐมภูมิทั้งหมด เปนสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบบริการ สุขภาพปฐมภูมิ ซึ่งเปนจุดคานงัดของระบบบริการสุขภาพทั้งหมด ๔. รพช. คือ จุดยุทธศาสตรของการพัฒนากำลังคนเพื่อสุขภาพตามแนวทาง 21st Century Health Professional Education จึงควรพัฒนาไปเปน District Hospital Academy หรือวิทยาลัย โรงพยาบาลชุมชน เปนเสมือนมหาวิทยาลัยขนาดใหญซึ่งมีถึง ๘๐๐ วิทยาเขต คือในทุกอำเภอทั่ว ประเทศ เพราะฉะนั้นการที่กำลังกอตัวกันเปน สถาบันพัฒนาระบบสุขภาพองครวม โดยความริเริ่ม ของประธานมูลนิธิสาธารณสุขแหงชาติ รวมกับผูอำนวยการรพช.กลุมหนึ่ง จึงมีความสำคัญยิ่งนัก ซึ่ง ตอไปจะขยายตัวเปนเครือขายรพช.ทั่วประเทศ สถาบันพัฒนาระบบสุขภาพองครวม หรือสพ.สอ. จะ สามารถมีบทบาทไดทั้ง ๓ โครงสรางของระบบสุขภาพองครวมคือ ๑. บูรณาการ ๒. บริการ ๓. นโยบาย ๕. รพช. ในแตละอำเภอสามารถรวมและเปนกำลังสำคัญในโครงการ พชอ. หรือพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับ อำเภอ ซึ่งก็คือการพัฒนาอำเภออยางบูรณาการนั่นเอง ชื่อเรื่องนี้จะนำไปสูการที่อำเภอทั้งอำเภอเปน สถาบันการเรียนรูในรูปใหมที่ทรงพลังยิ่ง เรียกวา มหาวิชชาลัยอำเภอ ซึ่งเทากับมีมหาวิทยาลัยในรูป ใหมถึง ๘๐๐ กวามหาวิทยาลัย ซึ่งดีกวาและสามารถรวมมือกับมหาวิทยาลัยในรูปเกา ประเทศไทยจะเปลี่ยนแปลงโดยสิ้นเชิง จากสังคมนิยมอำนาจไปเปนสังคมอุดมปญญา โดยไมตอง รบราฆาฟนแตประการใด เมื่อเปนสังคมอุดมปญญาความทุกขก็สิ้นสุดลง ที่กลาวมานี้ จะเห็นวารพช. เปนจุดยุทธศาสตรแหงการเอาชนะสงครามไดชัดเจน ทุกฝายควรจะ เขาใจประเด็นยุทธศาสตรนี้ และมุงมั่นรวมกันที่จะสนับสนุน รพช. บุคลากรของรพช. สามารถเรียนรูและปฏิบัติงานในโครงสรางทั้ง ๓ ของระบบสุขภาพองครวม คือ ๑. ระบบการพัฒนาพื้นที่อยางบูรณาการ ๒. ระบบบริการสุขภาพ ๓. ระบบนโยบายสาธารณะ
  • 14. ๑๔ ดังในรูปที่ ๓ และทำใหมีความสืบเนื่อง รูปที่ ๓ บุคลากรจาก รพช. สามารถเรียนรูและปฏิบัติงานในโครงสรางทั้ง ๓ นอกจากนั้น ควรมีโอกาสฝกอบรมอยางเต็มที่ในเรื่องที่แตละคนถนัดเปนพิเศษ เพื่อเปนผูนำใน เรื่องตาง ๆ ซึ่งรวมถึงสุขภาพระหวางประเทศ เพราะมหาวิชชาลัยโรงพยาบาลชุมชนมีฐานที่ตั้งอยูในพื้นที่ อันเปนจุดบรรจบของเทคโนโลยีและการรูความจริงของแผนดินไทย ดังกลาวขางตน ที่กลาวซ้ำ ๆ เพื่อย้ำใหเห็นวารพช.ทั้ง ๘๐๐ แหง เปนฐานแหงการพัฒนาบุคลากรอันเหมาะสมที่ มหาศาลจริง ๆ ขอใหชวยกันทุมเทเรื่องรพช.กับการพัฒนาแผนดินไทย ๓. ๒. ๑. รพช.
  • 16. ๑๖ ๕. เครื่องมือพัฒนาระบบสุขภาพองครวม มี ๓ อยาง สัมพันธกัน คือ ๑. ที่ประชุม ๗ ส. ๒. คณะเลขานุการรวม (Joint secretariat) ประกอบดวยตัวแทนจาก ๗ ส. และบุคคลอื่นที่เหมาะสม และยินดีรวมประสานงาน เบื้องแรกมีนายแพทยสมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ เปนประธาน ตอไปจะหมุนเวียน กันอยางไรก็แลวแตจะตกลงกัน ขอใหมีความตอเนื่องทางปญญา (Continuity of wisdom) ๓. สถาบันพัฒนาระบบสุขภาพองครวม ซึ่งเปนตัวแทนของ รพช.ทั่วประเทศ ทั้ง ๓ เปนฟนเฟองที่ประสานกัน ตามรูปที่ ๔ รูปที่ ๔ ธรรมจักรแหงการพัฒนาระบบสุขภาพองครวม ประกอบดวยฟนเฟองทั้ง ๓ ประสานกัน ๗ส. คณะ เลขานุการ ร่วม สถาบัน พัฒนาระบบ สุขภาพองค์รวม องค์กร
  • 17. ๑๗ เครื่องมือทั้ง ๓ มีทั้งสวนที่ตางคนตางทำที่เหมาะสมกับหนาที่ของตน ๆ แตควรมาประชุมรวมกัน เดือนละ ๑ ครั้ง โดยใชหลักอปริหานิยธรรม (ธรรมะเพื่อความเจริญถายเดียว) มี ๗ ขอ ๒ ขอแรก คือ ๑. หมั่นประชุมกันเปนเนืองนิตย ๒. พรอมเพรียงกันประชุม พรอมเพรียงกันเลิกประชุม พรอมเพรียงกันทำกิจที่พึงกระทำ อาจเรียกวา “การประชุมกลุมสุขภาพองครวม” (กลุมสามพรานใหม) เขามาแทนที่กลุมสามพราน เดิม สถานที่จะใชที่ใดก็แลวแตจะตกลงกัน ถือวาเปน Happy Day ที่พี่นองจะไดมาพบกันเดือนละครั้ง และเปนกลไกของความตอเนื่องทางปญญา (Continuity of wisdom) ความตอเนื่องทางปญญา เปนปจจัยสำคัญของความสำเร็จ ซึ่งในระบบราชการและระบบการเมือง เปนสิ่งที่ขาดไป การประชุมกลุมสามพรานตอเนื่องกันมาวา ๓๐ ป เปนสิ่งที่หาไดยาก และเปนตนกำเนิดขององคกร ตระกูล ส.ทั้งหมด ฉะนั้น ขอใหกลไกทั้ง ๓ ของระบบสุขภาพองครวม ใชหลักอปริหานิยธรรมมาประชุมพรอมเพรียงกัน ทุก ๑ เดือน สืบทอดจิตวิญญาณของกลุมสามพราน ถือวาเปนคำสั่งเสียของอาจารยก็แลวกัน ฟนเฟองทั้ง ๓ จะมีชีวิต ทดแทนตัวเองไปตลอด ยิ่งเมื่อหมุนไป ๆ ระบบสุขภาพองครวมก็ยิ่งสมบูรณ ขึ้น ๆ อยางตอเนื่อง
  • 18. ๑๘ ๖. ทางสายกลาง (Transformative Learning) แรงโนมถวง หลักคิดในการพัฒนาระบบสุขภาพองครวม คือ ทางสายกลางแนวพุทธอันเปนทางสายปญญาและ ไมตรีจิต ไมคิดเชิงปฏิปกษ แบงขางแบงขั้ว ใชการเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติในสถานการณจริง หรือ PILA (Participatory Interactive Learning through Action) อันเปนเครื่องมือในการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐาน (Transformation) ในทุกมิติ กลาวคือ ๑. กอใหเกิดความเสมอภาค ภราดรภาพ และสามัคคีธรรม ๒. เกิดความเชื่อถือไววางใจ (Trust) ๓. ทุกคนฉลาดขึ้น และฉลาดรวมกัน ๔. เกิดปญญารวม (Collective wisdom) นวัตกรรม และอัจฉริยภาพกลุม (Group genius) ๕. ทั้งหมดกอใหเกิดพลังมหาศาล สามารถฝาความยากทุกชนิดไปสูความสำเร็จ ๖. ทุกคนเกิดความสุข ประดุจบรรลุนิพพาน เมื่อมีความไวเนื้อเชื่อใจกันและปญญารวม อะไรที่ควรปฏิรูปก็จะปฏิรูปโดยอัตโนมัติดวยความพรอม ใจของทุกฝาย เรียกวาปฏิรูป 360 องศา ตางจากความพยายามที่จะปฏิรูปที่แลวมา ซึ่งลมเหลวมาตลอด PILA จึงเปน Transformative learning ที่ทรงพลังในการ Transform ประเทศไทย การเปลี่ยน ใหญที่สุด คือ การเปลี่ยนประเทศไทยจากสังคมนิยมอำนาจเปนสังคมอุดมปญญา ซึ่งเปนวัตถุประสงคของ ทางสายกลางหรือมัชฌิมาปฏิปทา เมื่อเปนสังคมอุดมปญญาปญหาก็สิ้นสุดลง กระบวนการพัฒนาระบบสุขภาพองครวม เปนมวลแหงการรวมตัวรวมคิดรวมทำขนาดมหาศาล เมื่อมีมวลมากก็จะมีแรงโนมถวง (gravity) มาก ที่จะดึงเรื่องตาง ๆ เขามาเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติ เกิด ความสำเร็จและความสุข ดังกลาวขางตน จึงเรียกวาปฏิรูป 360 องศา
  • 19. ๑๙ ๗. คุณสมบัติใหมอันมหัศจรรยของความเปนประเทศไทยองครวม เมื่อประกอบเครื่องครบเปนองครวม คือ เครื่องบิน เกิดคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย คือ บินได ฉัน ใด ประเทศไทยก็เชนเดียวกัน เมื่อเปนองครวมยอมเกิดคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย เนื่องจากยังไมเคย เกิด จึงไมมีชื่อเรียกวาประเทศไทยที่บินไดเรียกวาอะไร ฉะนั้น ขณะนี้จึงอาจมีหลายชื่อตามคุณสมบัติที่จะ เกิดขึ้น ซึ่งมีหลากหลาย เชน แผนดินศานติสุข ยุคพระศรีอริย แผนดินแหงสุขภาพที่สมบูรณ สังคมธนาธิป ไตย สังคมอุดมปญญา สังคมสันติภาพ สังคมทางสายกลาง ไมมีขางไมมีขั้วซายขวา ไมขัดแยงกัน เหมือน คนที่สมบูรณยอมมีทั้งแขนซายและแขนขวา หรือเครื่องบินยอมมีทั้งปกซายและปกขวาจึงจะบินได ซาย ขวาลวนเปนขององครวมเดียวกัน ที่ขัดแยงถึงฆาฟนกันตายอยางนาสลดสังเวชเหมือนคนตาบอดที่ไมเห็น ชางทั้งตัวสัมผัสไดเปนสวน ๆ ที่ตางกันและทะเลาะกันใหญ ถาตาไมบอดก็จะเห็นวาสวนตางลวนเปนของ ชางตัวเดียวกันไมมีอะไรจะทะเลาะกัน ทัศนะองครวมทำใหเขาถึงความจริง การเขาถึงความจริง คือ การบรรลุธรรม เฉกเชน มนุษยอวกาศ ชื่อ Edgar Mitchell ยืนอยูบนดวง จันทรมองเห็นโลกทั้งใบเปนหนึ่งเดียว ลอยฟองอยูในอวกาศสีฟาสวยงาม จิตเขาเปลี่ยนโดยสิ้นเชิง กลายเปนคนมีความสุขอยางลึกล้ำทั้งเนื้อทั้งตัว ประสบความงามอันลนเหลืออยูทั่วไป และเกิดไมตรีจิตอัน ไพศาลตอเพื่อนมนุษยและสรรพสิ่ง นั่นคือเขาบรรลุธรรมจากการเขาถึงความเปนองครวมของโลกหนึ่ง เดียวกัน (Oneness, One wholeness) ฉะนั้น เมื่อประเทศไทยเปนองครวม จะมีผูคนบรรลุธรรมมากมายนับไมถวน เรียกวา ทวินนิพพาน หรือนิพพานฝาแฝด คือ บุคคลนิพพาน - สังคมนิพพาน ไปดวยกัน คุณสมบัติใหมอันมหัศจรรยบรรยายไมหวาดไหว ชวยกันทำใหเกิด และชวยกันนิยามก็แลวกัน โดยสรุป คนไทยสามารถรวมกันสรางประเทศไทยที่นาอยูที่สุดในโลก มนุษยสามารถทนทุกขรวมกันได ประเทศไทยจะเปนตัวอยางแกโลกโลกจะเปลี่ยนใหญกลายเปนองครวมเดียวกันดังNewVisionของมนุษยอวกาศ กิจที่พึงทำ ทำเสร็จแลว กิจอื่น เพื่อความเปนอยางนี้ มิไดมี------------------------------------------------------------
  • 21. ๒๑ เมื่อมีการออกแบบระบบและโครงสราง ทุกคนและทุกองคกรก็รวมสรางแผนดินศานติสุข ไดโดยงายดวยความรื่นรมย อำเภอศานติสุข อำเภอสุขภาวะ คุณภาพชีวิตระดับอำเภอ คือ สิ่งเดียวกัน ไดแก การที่คนทั้งอำเภออยูดีมีสุข มีความปลอดภัย มีภูมิคุมกัน มีปญญา มีศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยอยางเทาเทียมกัน มีสวนรวมในการพัฒนาอำเภอ และไดรับผลของการพัฒนาอยางเปนธรรม เกิดจาก คนทั้งอำเภอ รวมตัวรวมคิดรวมทำ เปนภูมิพลัง หรือพลังแผนดิน มีความมุงมั่นรวมกัน และมีการจัดการพัฒนาอยางบูรณาการสูองครวมที่สมดุล นอภ. = นักอำนวยภูมิพลัง
  • 22. ๒๒ การพัฒนา คือ การเชื่อมโยง การแยกเปนสวน ๆ หรือการชำแหละใหขาดจากกัน เชน ชำแหละโค ชำแหละสุกร ทำใหสิ้นชีวิต ชีวิตคือการเชื่อมโยง การเชื่อมโยงทำใหมีชีวิต ทุกเซลลและทุกอวัยวะในรางกายของเราเชื่อมโยงหรือบูรณาการเปนองครวม คือ ความเปนมนุษย ของเรา องครวมเกิดคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย ปญหาที่ผานมา คือ การพัฒนาแบบแยกสวน แยกจากกันเปนเรื่อง ๆ การพัฒนาใหม คือ การ พัฒนาอยางบูรณาการ ถาทรัพยากรทั้งหมดบนพื้นที่อำเภอเชื่อมโยงกัน บูรณาการเปนองครวมอำเภอ อำเภอจะมี คุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย
  • 23. ๒๓ ๑. ทรัพยากรมหาศาลในพื้นที่อำเภอ เพียงพอที่ทุกคนจะอยูดีมีสุข พื้นที่อำเภอกวางขวางพอสมควร ประกอบดวยประมาณ ๑๐ ตำบล และ ๑๐๐ หมูบานหรือชุมชน ประกอบดวยทรัพยากรมากมายหลายชนิด คือ ทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก ที่ดิน ปาไม แหลงน้ำ ถาจัดการใชอยางเปนธรรม ก็เพียงพอที่คนทุก คนจะมีปจจัย ๔ ในการดำรงชีวิตขั้นพื้นฐาน ทรัพยากรคน แตละหมูบาน มีประชากรประมาณ ๕๐๐-๑,๐๐๐ คน แตละตำบล มีประชากรประมาณ ๕,๐๐๐-๑๐,๐๐๐ คน แตละอำเภอ มีประชากรประมาณ ๕๐,๐๐๐-๑๐๐,๐๐๐ คน มีผูนำตามธรรมชาติ ประมาณหมูบานละ ๕๐ คน ตำบลละ ๕๐๐ คน อำเภอละ ๕,๐๐๐ คน ทรัพยากรทางสังคม สังคมคือการอยูรวมกัน เปนครอบครัว เปนชุมชน เปนทองถิ่น เปนเมือง หากมีความเปนธรรม มีความอบอุน มีความพอเพียง มีปญญา มีความ สมดุล ยอมเปนทั้งปจจัยและผลของอำเภอศานติสุข ทรัพยากรทางวัฒนธรรม วัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวิตรวมกันของกลุมชนที่สอดคลองกับสิ่งแวดลอม หนึ่ง ๆ ประกอบดวยความเชื่อรวมกัน คุณคารวมกัน การทำมาหากินที่ คุนเคยและถายทอดกันมา ภาษา อาหาร เครื่องแตงตัว ที่อยูอาศัย ขนบธรรมเนียมประเพณี การดูแลรักษาสิ่งแวดลอม และการจัดการใช ทรัพยากรธรรมชาติรวมกัน การดูแลรักษาสุขภาพ การจัดการความขัดแยง สุนทรียกรรมตาง ๆ ศาสนาที่เปนความเชื่อรวมกันก็เปนวัฒนธรรมดวย เนื่องจากสิ่งแวดลอมในแตละแหงไมเหมือนกัน วัฒนธรรมจึงมีความ หลากหลายไปตามถิ่นตาง ๆ ไมถือวาวัฒนธรรมใครดีกวาใคร ตางมีความ เหมาะสมกับสิ่งแวดลอมหนึ่ง ๆ การเรียนรูในฐานวัฒนธรรมจึงงาย เพราะใคร ๆ ก็ปฏิบัติกัน เชน ภาษาเด็ก ๆ ก็เรียนรูอยางงายดาย แตผูใหญเรียนภาษาตางประเทศได ยากเย็นแสนเข็ญและเจ็บปวด
  • 24. ๒๔ จึงมีคำกลาววา “การเรียนรูในฐานวัฒนธรรมนั้นงายและรื่นรมย” การศึกษาและภูมิปญญาที่คัดสรรและถายทอดกันมาเปนสวนสำคัญของ วัฒนธรรม จนคำวา “ภูมิปญญา” หรือปญญาที่ติดแผนดิน หมายถึงวัฒนธรรม ทรัพยากรทางศาสนา โดยเฉลี่ยอำเภอหนึ่ง ๆ มีวัดประมาณ ๕๐ วัด ในครั้งโบราณวัดเปนศูนยกลาง ของชุมชน การพัฒนาปจจุบันทำอยางแยกสวน วัดจึงหมดบทบาทในการพัฒนา แตในการพัฒนาอยางบูรณาการตองเชื่อมโยงวัดเขากับชุมชน มัสยิด และโบสถในศาสนาอิสลามและคริสตก็เชนเดียวกัน ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ ในพื้นที่อำเภอมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการเงินมากมาย ทรัพยากรภาครัฐ ทั้งของทองถิ่น ทองที่ และของกระทรวงตาง ๆ มากมาย ทรัพยากรทางพลังงาน ทั้งที่มาจากที่อื่น เชน ไฟฟา น้ำมันเบนซิน และพลังงานชุมชน ทรัพยากรทางการสื่อสาร เกา ๆ เชน โทรศัพท วิทยุ โทรทัศน ใหม ๆ เชน ระบบดิจิทัล ทรัพยากรทางการศึกษา แตละอำเภอมีโรงเรียนโดยเฉลี่ยประมาณ ๕๐ โรง มีระบบการศึกษา นอกโรงเรียน อาจมีวิทยาลัยบางชนิดตั้งอยูในพื้นที่อำเภอ แตควรมองระบบการศึกษาใหมวา คือ การเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติ (Interactive learning through action) ในสถานการณจริงของคนทั้งอำเภอ ในการเรียนรูรวมกันในการปฏิบัติของคนทั้งอำเภอ ทรัพยากรทุกประเภทที่กลาวมาขางตนจะเปนประโยชนตอการเรียนรูของคนทั้งมวล (All For Education/Education For All/Education For All Purposes) อำเภอทั้งอำเภอจะเปนสังคมแหงการเรียนรู อำเภอเปนสังคมอุดมปญญา อำเภอจึงเปนสังคมอุดมสุข ทรัพยากรจากภายนอกอำเภอ ในประเทศยังมีทรัพยากรอื่น ๆ อีกมากมายที่อำเภอสามารถดึงมาใชใหเปนประโยชน โดยเฉพาะ กระทรวงตาง ๆ เปนทรัพยากรทางนโยบาย ถาอำเภอมีความสามารถจะดึงมาใชใหเปนประโยชนในการ พัฒนาอำเภอไดอยางมหาศาล ฉะนั้นในแตละอำเภอควรมีการจัดตั้งกลุมพัฒนานโยบายของอำเภอ ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไป ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาอำเภอยังมีอื่น ๆ อีก ควรมีการสำรวจทำแผนที่ (Mapping) ทรัพยากรเพื่ออำเภอโดยละเอียดวามีอะไรบาง ขอมูลมี ความสำคัญมากตอการคิดและการวางแผนพัฒนาอำเภอ ฉะนั้น ควรมีการจัดตั้ง ศูนยวิจัยและขอมูลอำเภอ เพื่อทำหนาที่สรางความรูและรวบรวมขอมูล เพื่อใชในการพัฒนาอำเภอ ในการนี้ความรวมมือกับมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหนึ่งในพื้นที่จะมีประโยชนมาก
  • 25. ๒๕ ๒. ความสำคัญของการออกแบบระบบและโครงสราง เรามีทรัพยากรเพื่อการพัฒนามาก แตขาดความคิดเชิงระบบและการจัดการ ทรัพยากรและ เครื่องมือตาง ๆ จึงกระจัดกระจายอยูอยางเปะปะ โดยไมมีระบบและโครงสราง จึงไมสำเร็จประโยชน ถาเราตองการอะไรที่วิ่งไปบนถนนได ก็ตองออกแบบ รถยนต ถาเราตองการอะไรที่ลอยน้ำได ก็ตองออกแบบ เรือ ถาเราตองการอะไรที่บินได ก็ตองออกแบบ เครื่องบิน ถามีแตวัตถุปจจัยและเครื่องมือ แตไมมีการออกแบบ เราก็ไมมีวันมีรถยนต หรือเรือ หรือเครื่องบิน รูปที่ ๑ การออกแบบรถยนตหรือเครื่องบิน ถามีแตวัตถุปจจัยหรือชิ้นสวน แตไมมีการออกแบบระบบและโครงสราง ก็ไมมีทางจะสำเร็จ ประโยชน ระบบและโครงสรางกำหนดคุณสมบัติ ถาระบบและโครงสรางเปนรถยนต มันก็วิ่งไปบนถนนได ถาระบบและโครงสรางเปนเครื่องบิน มันก็บินสูทองฟาได รถยนตและเครื่องบินเปนองครวม ของสวนประกอบทั้งหมด เมื่อเปนองครวม มันเกิดคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย คือวิ่งไปบนถนนได หรือบินได โดยชิ้นสวนแตละชิ้นไมมีอะไรบินไดเลย แตพอประกอบกันเปนองค รวม คุณสมบัติใหมก็ผุดบังเกิดขึ้น (Emerge)
  • 26. ๒๖ ปญหาในการพัฒนาที่ไมไดผล เพราะการคิดแบบแยกสวน ทำแบบแยกสวน สวนตาง ๆ ก็ตางคน ตางทำ ไมบูรณาการกันเขามาเปนองครวมประเทศไทย ฉะนั้น คนไทยจึงไดแตลิ้มรสของชิ้นสวนเทานั้น ไมเคยมีประสบการณองครวมประเทศไทยที่บินได เลย เปนเหมือนประเทศตาบอดคลำชาง คือ ไมเห็นชางทั้งตัวแลวเลยทะเลาะกันใหญระหวางผูที่รูเปน สวน ๆ การทะเลาะเอาเปนเอาตายถึงเขนฆากันระหวางฝายซายกับฝายขวา ก็เพราะคิดแบบแยกสวน นั่นเอง แตถามีทัศนะแบบองครวม เหมือนความเปนมนุษยที่สมบูรณก็ตองมีทั้งแขนซายและแขนขวา เครื่องบินที่เปนองครวมก็ตองมีทั้งปกซายและปกขวา มีปกใดปกเดียวมันก็เปนไปไมได ฉะนั้น ถาเราออกแบบระบบและโครงสรางประเทศไทยและประกอบชิ้นสวนใหครบเปนองครวม0 * บานเมืองก็จะลงตัว เกิดประเทศไทยที่มีคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย ประดุจประเทศไทยที่บินได ไมมี ปญหาความขัดแยงระหวางฝายซายกับฝายขวา หรือระหวางฝายใด ๆ อีกตอไป เพราะพนสภาพตาบอด คลำชาง สวนตางลวนเปนของชางตัวเดียวกัน * หนังสือยุทธศาสตรประกอบเครื่องประเทศไทย สูการสรางสังคมศานติสุขและสันติภาพโลก : ศาสตราจารยนายแพทยประเวศ วะสี
  • 27. ๒๗ ๓. การออกแบบระบบและโครงสรางประเทศไทย ใหเปนแผนดินศานติสุข วัตถุประสงคกำหนดระบบและโครงสราง ดังตัวอยางที่กลาวมาในตอนที่ ๒ ถาวัตถุประสงคเปนอะไรที่บินได ระบบและโครงสรางของมันก็ ตองเปนแบบเครื่องบิน ไมใชระบบรถยนตหรือระบบเรือ ซึ่งมีวัตถุประสงคตางกัน วัตถุประสงคประเทศไทย คือ เปนแผนดินศานติสุข ซึ่งมีการอยูรวมกันอยางสมดุล ระหวางคนกับคน และระหวางคนกับธรรมชาติแวดลอม ความสมดุล ทำใหเกิดความสงบ ความปรกติ ความปรกติสุข และความยั่งยืน ความไมสมดุล ทำใหเกิดความปนปวน วุนวาย รุนแรง และวิกฤตการณ วิกฤตการณ คือ การไมมีศานติสุข ความสมดุลเกิดจากบูรณาการ การเสียสมดุลเกิดจากการแยกสวน ดูตัวอยางรางกายของเรา ที่ประกอบดวยเซลลเปนลาน ๆ เซลล และอวัยวะตาง ๆ อีกจำนวนมาก และหลากหลาย แตทั้งหมดบูรณาการเปนองครวมหนึ่งเดียวกัน รางกายของเราจึงมีความสมดุล สุขภาพดี และอายุยืน เซลลมะเร็ง เปนตัวอยางของเซลลที่สูญสำนึกแหงองครวม มันทำตัวแยกสวนเปนเอกเทศ ทำให ระบบเสียสมดุล ปวย และตาย การพัฒนาแบบแยกสวนจึงเปนการพัฒนาแบบมะเร็ง อะไร ๆ ก็ทำแบบแยกสวน เศรษฐกิจก็ทำ แบบแยกสวน การศึกษาก็ทำแบบแยกสวน คือเอาวิชาเปนตัวตั้ง แมแตธรรมะก็ทำแบบแยกสวน คือเอา หลักธรรมเปนตัวตั้ง แตแทที่จริงธรรมะบูรณาการอยูในทุกสวน เมื่อพัฒนาแบบแยกสวน ประเทศจึงเสียสมดุล ปนปวน วุนวาย รุนแรง วิกฤต เหมือนคนเปน มะเร็ง ฉะนั้น ประเทศไทยที่จะเปนแผนดินศานติสุขตองพัฒนาอยางบูรณาการ ที่ทั้ง ๘ มิติ บูรณาการ อยูในกันและกัน นั่นคือ เศรษฐกิจ – จิตใจ – สังคม – สิ่งแวดลอม – วัฒนธรรม – - สุขภาพ – การศึกษา – ประชาธิปไตย ที่ผานมามีความพยายามพัฒนาทั้ง ๘ เรื่อง แตทำแบบแยกสวนเปนเรื่อง ๆ จึงไมไดผล หรือไดผล นอย อยางเชน การศึกษา ใคร ๆ ก็รูวาสำคัญยิ่ง มีความพยายามปฏิรูปการศึกษาหลายครั้งหลายคราดวย ความเจ็บปวด แตไมไดผล เพราะยังเปนการมองการศึกษาแบบแยกสวน ระบบการศึกษาบูรณาการ คือคำตอบ
  • 28. ๒๘ การศึกษาตองบูรณาการอยูกับอีก ๗ เรื่อง ทำเรื่องการศึกษาก็ไดผลอีก ๗ เรื่อง ทำ ๗ เรื่องก็ไดผล การศึกษา เพราะทั้ง ๘ เรื่องบูรณาการอยูในกันและกัน ประชาธิปไตยก็เชนเดียวกัน ทำมาเกือบ ๑๐๐ ปก็ไมไดผล เพราะมองประชาธิปไตยแบบแยกสวน เลยกลายเปนเพียงกลไกเทานั้น ไมใชระบบ ระบบประชาธิปไตยตองบูรณาการอยูกับอีก ๗ เรื่อง ที่ผานมา ทั้งโลกลวนพัฒนาแบบแยกสวน คือ ทั้ง ๘ เรื่องแยกจากกันเปนเรื่อง ๆ คือ เศรษฐกิจ ก็เอาจีดีพีเปนตัวตั้ง ไมไดเอาการอยูรวมกันอยางสมดุลเปนตัวตั้ง จึงเกิดความ เหลื่อมล้ำสุด ๆ จิตใจ พระก็สอนธรรมะแบบแยกสวน คือเอาธรรมะเปนตัวตั้ง ไมไดเอาการอยูรวมกัน อยางสมดุลเปนตัวตั้ง เมื่อเสียสมดุลก็ปนปวน วุนวาย รุนแรง ทะเลาะกันมาก ขัดแยงกันมาก จิตใจก็ไมสงบและพัฒนาไมขึ้น สังคม พัฒนาไมสำเร็จ ถาขาดการพัฒนาอยางบูรณาการ สิ่งแวดลอม ถาแกความยากจนและความเหลื่อมล้ำไมได ก็ไมมีทางรักษาสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม ก็มองแบบแยกสวน เห็นแตเรื่องรองรำทำเพลงและศิลปวัตถุเทานั้น แตวัฒนธรรม องครวม คือวิถีชีวิตรวมกันของกลุมชนที่สอดคลองกับสิ่งแวดลอมหนึ่ง ๆ ซึ่งที่แทก็ คือ การอยูรวมกันอยางสมดุลนั่นเอง การพัฒนาจึงตองเอาวัฒนธรรมเปนตัวตั้ง สุขภาพ ก็มองแบบแยกสวน เปนเรื่องมดหมอหยูกยา โรงพยาบาลเทานั้น แตที่จริงสุขภาพ เกิดจากบูรณาการของทั้งหมด เชน ถายากจนและเหลื่อมล้ำสุด ๆ จะมีสุขภาพดีได อยางไร การศึกษา ก็แยกสวนไปเอาวิชาเปนตัวตั้ง ไมไดเอาชีวิตเปนตัวตั้ง คุณภาพชีวิต คือทั้งหมด ประชาธิปไตย ก็มองแตวาคือการเลือกตั้ง แทที่จริงเปนกระบวนการของการพัฒนาอยางบูรณา การ ดังจะไดเห็นตอไป ฉะนั้น การพัฒนาอำเภอใหเปนแผนดินศานติสุข ตองไมพัฒนาแบบแยกสวน แตพัฒนา ๘ มิติ ใหบูรณาการ ทั้ง ๘ เรื่องที่บูรณาการกันมีจุดคานงัดหรือแกนอยูที่การมีสัมมาชีพเต็มพื้นที่ การมีสัมมาชีพเต็มพื้นที่ เปนปจจัยใหบานเมืองลงตัว ดังจะไดกลาวตอไป รูปที่ ๒ แสดงธรรมจักรแหงการพัฒนาอยางบูรณาการ
  • 29. ๒๙ รูปที่ ๒ ธรรมจักรแหงการพัฒนาอยางบูรณาการ มีการสรางสัมมาชีพเต็มพื้นที่เปนแกน ระบบและโครงสรางของอำเภอเปนแผนดินศานติสุข คือ ๑. ทุกหมูบานประมาณ ๑๐๐ หมูบาน สามารถจัดการพัฒนาอยางบูรณาการ ๒. ทุกตำบลประมาณ ๑๐ ตำบล สามารถจัดการพัฒนาอยางบูรณาการ ๓. อำเภอมีความสามารถในการจัดการพัฒนาอยางบูรณาการเต็มพื้นที่ พื้นที่อำเภอทั้งอำเภอมีการพัฒนาอยางบูรณาการที่เศรษฐกิจดี จิตใจดี สังคมดี สิ่งแวดลอมดี วัฒนธรรม ดี สุขภาพดี การศึกษาดี ประชาธิปไตยดี มีสัมมาชีพเต็มพื้นที่ เกิดความรมเย็นเปนสุข (ประดุจสวรรคบนดิน) เมื่อเราออกแบบระบบและโครงสรางของการพัฒนาอยางบูรณาการและประกอบเครื่องไดแลว ระบบ เทคโนโลยี นวัตกรรมตาง ๆ ก็เขามาเสริมแตงใหโครงสรางแข็งแรงขึ้น คุณภาพดีขึ้น สวยงามมากขึ้น เหมือนเมื่อขึ้นโครงสรางรถยนตหรือเครื่องบินไดแลว เรื่องอื่น ๆ ก็เขามาตกแตงใหมันมีคุณภาพดี ขึ้น สวยงามมากขึ้น โดยไมทำลายความเปนรถยนตหรือความเปนเครื่องบิน แต ถาเราทำแตสวนที่ตกแตง เชน เทคโนโลยี และนวัตกรรมตางๆ โดยปราศจากโครงสรางที่บูรณาการ การตกแตงตาง ๆ ก็ไมเปนรูปเปนราง หรือวุนวายมากขึ้น หรือทำลายของเกาจนแตกกระจายอยางที่เรียกวา disruption และนิยมกันวาดี แตที่จริงมันเหมือนลูกระเบิดลงที่ทำใหของเกาพังพินาศและปนปวนวุนวาย แตถาระบบและโครงสรางมันเปนองครวมแลวเชน รถยนตหรือเครื่องบินที่ประกอบเครื่องสมบูรณ ทุก ชิ้นสวนก็จะอยูในที่ของมัน ทำหนาที่เชื่อมโยงและกำกับซึ่งกันและกัน ไมมีสวนไหนแตกแถวเปนเอกเทศ การระเบิด น้ำมันในเครื่องยนตของรถยนตหรือเครื่องบิน ซึ่งรุนแรงยิ่งก็ไมเปนอันตรายกับผูใดแตเปนพลังขับเคลื่อนระบบ แตถาการระเบิดน้ำมันนั้นเปนเอกเทศ ไมอยูในระบบ มันคือลูกระเบิด ฉะนั้น ประเทศไทยเมื่อประกอบเครื่องตามระบบและโครงสรางไดแลว ทุกอยางก็จะเขาที่ ความ รุนแรงก็กลายเปนพลังขับเคลื่อนระบบ ประเทศไทยที่เปนองครวมก็จะมีคุณสมบัติใหมอันมหัศจรรย ทั้ง นาอยูและสวยงาม สังคม จิตใจ สิ�งแวดล้อม ประชาธิปไตย สุขภาพ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การศึกษา สัมมาชีพ เต็มพื�นที�
  • 30. ๓๐ ๔. การมีสัมมาชีพเต็มพื้นที่ ทำใหเกิดความรมเย็นเปนสุข และศีลธรรม ที่ตำบลยกกระบัตร อำเภอบานแพว จังหวัดสมุทรสาคร เมื่อ ๕๐ - ๖๐ ปที่แลว เต็มไปดวยสิ่งที่ไม ดีงาม คือ การลักขโมย การพนัน และยาเสพติด พระจะสอนเทาใด ๆ ก็แกปญหาไมได ตอมามีเจาอาวาสองคใหมเปนพระหนุมชื่อ ชุบ กลอมจิตร ซึ่งตอมาเปนพระครูสาครสังวรกิจ สังเกตวาชาวบานยากจนมาก จึงศึกษาเรื่องการสรางอาชีพและสงเสริมใหคนทั้งตำบลปลูกมะพราว และ ทำน้ำตาลมะพราวขาย ปรากฏวาขายดีมาก ทุกคนในตำบลมีรายไดวันละ ๒๐๐ - ๕๐๐ บาท (สมัยนั้น) เมื่อมีสัมมาชีพเต็มพื้นที่ ทุกคนมีความเปนอยูที่ดี มีเงินสดในมือ สุขกาย สุขใจ ไมมีใครอยากมีพฤติกรรม ไมดี การลักขโมย การพนัน ยาเสพติด หายไปหมด ในขณะที่การสอนศีลธรรมไดผลนอยมาก การมีสัมมาชีพเต็มพื้นที่เปนบอเกิดของศีลธรรม สุข ภาวะ และความรมเย็นเปนสุข มีเรื่องเลาทำนองเดียวกันในพระไตรปฎก ในกูฏทันตสูตร พระพุทธเจาเลาถึงเรื่องพระราชาองคหนึ่ง ชื่อ พระมหาวิชิตราช มีโจรเกิดขึ้นในแผนดินก็จะทรงสงกองทัพไปปราบ ปุโรหิตกราบทูลวาเมื่อกองทัพยกไป โจรก็หลบไป เมื่อกองทัพกลับโจรก็กลับมาใหม วิธีแกไขที่จะไดผลถาวร คือ พระองคควรบำรุงอาชีพกสิกรรม และโครักขกรรม พานิชกรรม และรับราชการ สมัยนั้นมีอาชีพเพียง ๓ ชนิด เมื่อบำรุงอาชีพเต็มพื้นที่ • บานเมืองของพระองคจะรมเย็นเปนสุข • โภคทรัพยจะเกิดขึ้นในทองพระคลัง = เศรษฐกิจดี • ราษฎรจะไมตองปดประตูเรือนอยู = ไมมีการลักขโมย • จะยังบุตรใหฟอนอยูบนอก = ครอบครัวอบอุน ขอสังเกต : ๑. การพัฒนาเศรษฐกิจขจัดความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำไมได แตการสรางสัมมาชีพเต็ม พื้นที่ทำได และทำใหเศรษฐกิจโดยรวมดีขึ้นดวย เพราะมีอำนาจซื้อและการบริโภคเพิ่มขึ้น ถา นักเศรษฐศาสตรและนักธุรกิจสงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ และการสรางสัมมาชีพเต็มพื้นที่ ก็ จะสามารถขจัดความยากจนและลดความเหลื่อมล้ำได
  • 31. ๓๑ ๒. เรื่องพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ซึ่งเปนเรื่องสำคัญยิ่ง แตจะสำเร็จไดอยางไร ถาพอแมยากจน เกินไป หาเชาไมพอกินค่ำ ตองไปรับจางไกลบาน พอแมลูกตองพลัดพรากจากกัน แตถามี สัมมาชีพในพื้นที่ เต็มพื้นที่ ครอบครัวก็จะอบอุน พัฒนาการของเด็กปฐมวัยก็จะเปนไปได ๓. ทางการสาธารณสุขไมตองการเห็นเด็กแรกคลอดน้ำหนักต่ำกวาเกณฑ เพราะมันบงวาเด็ดขาด อาหารตั้งแตอยูในครรภมารดา ทารกเชนนี้เมื่อเติบโตเปนผูใหญ อายุประมาณ ๔๐ - ๕๐ ป มี ความเสี่ยงที่จะเปนเบาหวาน เปนมะเร็ง เปนโรคหัวใจ ขณะนี้ยังมีอัตราทารกแรกคลอดน้ำหนัก ต่ำกวาเกณฑถึงรอยละ ๑๐ การสาธารณสุขแบบแยกสวนไมมีทางจะทำได ถาประชาชนยัง ยากจนเกินไป เรื่องสุขภาพจึงตองบูรณาการกับการสรางสัมมาชีพเต็มพื้นที่ ๔. การศึกษาแบบแยกสวนที่เอาวิชาเปนตัวตั้ง เกิดปญหาสารพัด รวมทั้งความยากจนของครู ของ นักเรียน และผูปกครอง แตถาการศึกษาบูรณาการกับทั้งหมด โดยมีการสรางสัมมาชีพเต็มพื้นที่ ครูก็หายจน นักเรียนก็หายจน ผูปกครองก็หายจน เชนนี้เปนตน เพราะฉะนั้น การสรางสัมมาชีพเต็มพื้นที่ ตองเปนเปาหมายรวมของทุกคน ทุกฝายในพื้นที่และ นอกพื้นที่ ถากำลังทุกฝายทุมไปสรางสัมมาชีพเต็มพื้นที่ ก็ไมมีทางที่จะไมสำเร็จ
  • 32. ๓๒ ๕. การสื่อสารใหเกิดความมุงมั่นรวมกัน หรือเปาหมายและวิสัยทัศนรวมกัน ถาคนทั้งอำเภอมีความมุงมั่นรวมกัน หรือมีเปาหมายและวิสัยทัศนรวม ก็เสมือนจูนคลื่นแสง รวมกันเปนแสงเลเซอร ซึ่งมีพลังทะลุทะลวงสูงยิ่ง ทำใหสิ่งที่เปนไปไมไดเปนไปได นั่นคือ อำเภอเปน แผนดินศานติสุข (ประดุจสวรรคบนดิน) การสื่อสารใหเกิดเปาหมายและวิสัยทัศนรวมเปนหนาที่ของผูนำ ดังมีคำพูดวา “Great leader is great communication” นายอำเภอเปน Great leader ไดทุกคน การมีนายอำเภอดี ๆ ๘๐๐ กวาคน ทั่วประเทศไมใชเรื่องยาก นอกจากผูนำที่เปนปจเจกแลวควรมีการนำรวม (Collective leadership) ผูนำตามธรรมชาติใน พื้นที่มีจำนวนมากและคุณภาพสูง • ในแตละหมูบาน มีผูนำตามธรรมชาติประมาณ ๕๐ คน • ในแตละตำบล มีผูนำตามธรรมชาติประมาณ ๕๐๐ คน • ในแตละอำเภอ มีผูนำตามธรรมชาติประมาณ ๕,๐๐๐ คน ผูนำตามธรรมชาติเหลานี้ประกอบดวยผูนำกลุมอาชีพ ผูนำสตรี ผูนำเยาวชน ผูนำกลุมผูสูงอายุ ผูนำกองทุน ครู พระ ศิลปน ปราชญชาวบาน หรืออื่น ๆ เรียกวา ผูนำตามธรรมชาติมีในทุกภาคสวนทางสังคม โดยเปนคนที่เห็นแกสวนรวม สุจริต รอบรู ชางคิด สื่อสารเกง เปนที่ยอมรับของคนทั่วไป ผูนำตาม ธรรมชาติจึงมีคุณสมบัติสูงกวาผูนำที่เปนทางการโดยทั่ว ๆ ไป และกระจายกันในทุกภาคสวนของสังคม มากกวานักเลือกตั้งซึ่งมาจากกลุมคนคลาย ๆ กัน ควรมีสภาผูนำตามธรรมชาติ ๓ ระดับ คือ ๑. สภาผูนำชุมชน ในระดับหมูบานทุกหมูบาน ๒. สภาผูนำตำบล ๓. สภาผูนำอำเภอ สภาผูนำทั้ง ๓ ระดับเชื่อมโยงรูถึงกัน โดยการสื่อสาร ๒ ทาง การสื่อสารผานสภาผูนำอำเภอ จะ ไปสูตำบลและหมูบานโดยทั่วถึง และกลับกัน นายอำเภออยูในฐานะที่ดี ที่จะสงเสริมใหเกิดสภาผูนำทั้ง ๓ ระดับ และเกิดเครือขายทางสังคม เพื่ออำเภอ เชน
  • 33. ๓๓ ๑. เครือขายพระสงฆ เพื่ออำเภอ... ๒. เครือขายครู เพื่ออำเภอ... ๓. เครือขายศิลปน เพื่ออำเภอ... ๔. เครือขายศิลปน เพื่ออำเภอ... ๕.เครือขายนักธุรกิจ เพื่ออำเภอ... ซึ่งอาจรวมกันตั้งมูลนิธิ ๖. เครือขายอาชีพตางๆ เพื่ออำเภอ... ๗. เครือขายสื่อมวลชน เพื่ออำเภอ... ๘. เครือขายอื่นๆ เพื่ออำเภอ... ทั้งสภาผูนำ ทั้งเครือขายเพื่ออำเภอตาง ๆ เมื่อเกิดขึ้นเต็มอำเภอ จึงเปนภูมิพลัง หรือ พลังแผนดินอำเภอ นอภ. จึงเปน นักอำนวยภูมิพลัง โดยแท และภูมิพลังนี้แหละจะสรางอำเภอใหเปนแผนดินศานติสุข (ประดุจสวรรคบนดิน) ไดโดยมิยาก เมื่อคนทั้งอำเภอมีความมุงมั่นรวมกันแลวก็ไมมีอะไรยากอีกตอไป เปาหมายและวิสัยทัศนรวม คือ • ทุกคนมีจิตสำนึกองครวมของอำเภอ • พัฒนาอยางบูรณาการใหทุกอยางเชื่อมโยงไปสูการอยูดีมีสุขของคนทุกคนในอำเภอ
  • 34. ๓๔ ๖. การบริหารจัดการพื้นที่อำเภอ ๓ ระดับ ๑๑๑ หนวยจัดการ การบริหารจัดการพื้นที่ ๑ อำเภอ มี ๓ ระดับ คือ (๑) ระดับชุมชน หรือหมูบาน มี ๑๐๐ หนวยจัดการ (๒) ระดับตำบล มี ๑๐ หนวยจัดการ (๓) ระดับอำเภอ มี ๑ หนวยจัดการ รวม ๑๑๑ หนวยจัดการ ระดับหมูบานหรือชุมชนเปนเรื่องของประชาชนลวน ๆ ไมมีองคกรของรัฐ แตระดับตำบลและ อำเภอมีองคกรของรัฐ การบริหารจัดการจึงแตกตางกันในแตละระดับ การบริหารจัดการทั้ง ๓ ระดับ เชื่อมโยงหนุนซึ่งกันและกัน หรือบูรณาการกัน (๑) การบริหารจัดการในระดับชุมชน ในหมูบานหรือชุมชนมีประชากรเพียง ๕๐๐ - ๑,๐๐๐ คน ทุกคนจึงมีสวนรวมไดโดยตรง ไมตอง อาศัยการเลือกตั้ง เปนประชาธิปไตยทางตรง (Direct democracy) เมื่อไมมีการซื้อเสียงขายเสียง ประชาธิปไตยชุมชนจึงเปนประชาธิปไตยที่มีคุณภาพสูงกวาประชาธิปไตยระดับบน และเปนฐานของ ประชาธิปไตยระดับชาติ กระบวนการชุมชนเขมแข็ง เปนหัวใจของการพัฒนา ถาชวยกันทำความเขาใจ ชาติจะหลุดออกจากสภาวะวิกฤต กระบวนการชุมชนประกอบดวย (๑) สภาผูนำชุมชน ผูนำตามธรรมชาติในชุมชน ซึ่งมีประมาณ ๔๐ - ๕๐ คน ดังกลาวในตอนที่ ๕ กอตัวกันเปนสภาผูนำชุมชน โดยไมตองมีใครแตงตั้ง เปนการกอตัวเอง (Self-organized) ซึ่ง มีคุณภาพสูงกวาการแตงตั้งหรือเลือกตั้ง เพราะเปนของจริงแท (๒) สำรวจขอมูลชุมชน สภาผูนำชุมชนจัดใหมีการสำรวจขอมูลชุมชน ขั้นตอนนี้ขามไมได เพราะ ขอมูลทำใหเกิดความคิด ถามานั่งพูดกันเฉย ๆ โดยไมมีขอมูล จะไมกาวหนา (๓) ทำแผนชุมชน จากขอมูล สภาผูนำชุมชนทำแผนชุมชน ตามลำดับความสำคัญที่ชุมชนคิด กันเอง ที่ดีคือ เปนแผนพัฒนาอยางบูรณาการที่ ๘ มิติ เชื่อมโยงกัน ดังกลาวในตอนที่ ๓ อัน ไดแก