SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 20
Baixar para ler offline
ความหมายของระบบสื่อสารข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูล หมายถึง การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง
อุปกรณ์โดยผ่านสื่อหรือตัวกลาง โดยอุปกรณ์ที่แลกเปลี่ยนข้อมูลจะมี
การทางานร่วมกันของส่วนที่เป็น ฮาร์ดแวร์(อุปกรณ์คอมพิวเตอร์)
และซอฟต์แวร์(ชุดคาสั่ง)
องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
1. ข่าวสาร เป็นข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการส่งเพื่อสื่อสาร ซึ่งจะ
อยู่ในรูปของข้อความ ตัวเลข รูปภาพ เสียง หรือวีดิทัศน์
2. ผู้ส่ง เป็นอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการส่งข้อมูลข่าวสาร
3. ผู้รับ เป็นอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการรับข้อมูลข่าวสาร
จากผู้ส่ง
4. สื่อ เป็นสื่อกลางที่ทาหน้าที่ให้ข้อมูลและข่าวสารเดินทางจาก
ผู้ส่งไปยังผู้รับ เช่น ขดลวด สายเคเบิล สายไฟเบอร์ออพติก
หรือ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นดาวเทียม หรือคลื่นวิทยุ เป็นต้น
5. โพรโทคอล คือ กฎระเบียบ หรือวิธีการใช้เป็นข้อกาหนด
สาหรับการสื่อสาร เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจกันได้ ซึ่งมีหลาย
ชนิดให้เลือกใช้ เช่น TCP/IP, X.25, SDLC เป็นต้น
ลักษณะข้อมูลที่ใช้สื่อสารในคอมพิวเตอร์
● ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่างๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่างๆ เช่น รหัสแอสกี
เป็นต้น
● ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่างๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะ
ถูกแปลงเป็นเลขฐานสองโดยตรง
● รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาดของ
รูปภาพ
● เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพ เพราะข้อมูล
เสียงจะเป็นสัญญาณต่อเนื่องกันไป
● วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย รูป
ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล
1. การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว
(Simplex Transmission) เป็นการติดต่อสื่อสาร
เพียงทิศทางเดียว คือผู้ส่งจะส่งข้อมูลเพียงฝั่งเดียวและโดย
ฝั่งรับไม่มีการตอบกลับ เช่น การกระจายเสียงของสถานี
วิทยุ การส่ง e-mail เป็นต้น
2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน
(Half Duplex Transmission)
สามารถส่งข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ไปในทิศทางเดียว
เท่านั้น ทั้งฝ่ายส่งและฝ่ายรับ หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ผู้ส่ง
สามารถส่งข้อมูลไปให้แก่ผู้รับ ส่วนผู้รับก็สามารถโต้ตอบ
กลับได้ แต่ไม่สามารถส่งสวนทางกันได้ในเวลาเดียวกัน เช่น
การส่งวิทยุของตารวจ
2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน
(Full Duplex Transmission)
สามารถส่งข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ได้ทั้ง2ทิศทาง ทั้งฝ่ายส่งและฝ่ายรับ
หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ผู้ส่งและผู้รับ สามารถโต้ตอบสวนทางกันได้ในเวลา
เดียวกัน เช่น การส่งสัญญาณโทรศัพท์ สนทนา msn , facebook
โพรโทคอล
โพรโทคอล เป็นข้อตกลงร่วมกันเพื่อใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย เสมือนใช้ภาษา
เดียวกันในการสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน โดยมีข้อตกลงเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้
1. โครงสร้างของข้อมูล (Syntex) ใช้สาหรับการส่งและรับข้อมูล เช่น การกาหนดให้ข้อมูลที่
ส่งมา 8 บิตแรกนั้น ต้องเป็นเลขข้อมูลที่อยู่ (Address) ของอุปกรณ์ที่ใช้ส่ง และ 8 บิตถัดไปจะต้อง
เป็นเลขที่อยู่ (Address) ของเป้ าหมาย และหลังจากนั้นจึงกาหนดให้เป็นบิตที่เป็นข้อมูลข่าวสารที่ใช้
ส่ง
2. การแปลความหมาย (Semantics) เป็นการกาหนดความหมายของข้อมูล ว่าส่วนใดที่ใช้
ระบุเส้นทางในการสื่อสาร และจะเหลือกลุ่มบิตที่จะเป็นข้อมูลที่ต้องการส่งจริง
3. เวลา (Time) เป็นการกาหนดความเร็วในการรับส่งข้อมูลของอุปกรณ์ที่ทางานแตกต่างกัน
ให้สามารถทางานและข้อมูลไม่เสียหายขณะรับ-ส่ง เช่น หากอุปกรณ์หนึ่งส่งข้อมูลได้ 100 เมกะบิต/1
วินาที(Mbps) แต่อุปกรณ์ที่รับข้อมูลรับได้เพียง 1เมกะบิต/1วินาที(Mbps) เท่านั้น ซึ่งการส่งข้อมูล
จะมีจานวนมาก อาจทาให้ข้อมูลที่ส่งมาอาจสูญหายไปได้
มาตรฐานของโพรโทคอล
โพรโทคอลมาตรฐานกลางเพื่อใช้ในการส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย
คือ มาตรฐาน OSI (Open System Interconnection Moderl) ซึ่งทาให้ทั้ง
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่างๆ สามารถเชื่อมโยงและใช้งานในเครือข่ายได้ โดยรูปแบบ OSI
สามารถแบ่งออกเป็น 7 ชั้น ดังนี้
1.ชั้นการประยุกต์ (Application layer) เป็นชั้นที่ใช้ติดต่อกันระหว่างผู้ใช้โดยตรง ได้แก่ โฮสคอมพิวเตอร์ เทอร์มินัลหรือ
ไมโครคอมพิวเตอร์ การใช้งานในชั้นนี้สามารถนาเข้า หรือออกจากระบบเครือข่ายได้โดยผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องรู้ว่าจะมีขั้นตอนการ
ทางานอย่างไร
2.ชั้นการนาเสนอ (Presentation Layer) ทาหน้าที่คอยรวบรวมข้อความ (Text) และแปลงรหัสหรือแปลงรูปข้อมูล เช่น
วิธีการเข้ารหัสไปกับข้อมูลด้วย
3.ชั้นส่วนงาน (Session Layer) ทาหน้าที่เปิดการเชื่อมต่อโดยจะทาหน้าที่ในการกาหนดขอบเขตของข้อมูล การเริ่มต้น และ
การสิ้นสุดของข้อมูล และระบุส่วนหัว (Header)
4.ชั้นขนส่ง (Transport Layer) เป็นการสื่อสารระหว่างต้นทางและปลายทาง โดยจะทาหน้าที่ตรวจสอบว่าข้อมูลที่ส่งมา
จากชั้นส่วนงานนั้นไปถึงปลายทางจริงๆหรือไม่
5.ชั้นเครือข่าย (Network Layer) เป็นชั้นที่กาหนดเส้นทางการเดินทางของข้อมูลที่ส่ง-รับ
6.ชั้นเชื่อมโยงข้อมูล (Data Link Layer) เป็นชั้นสาหรับการตรวจสอบโดยจะตรวจสอบค่าของข้อมูลที่ใช้ตรวจสอบความ
ถูกต้องของข้อมูลที่ถูกส่งมาจากชั้นขนส่ง ถ้าอุปกรณ์ที่รับข้อมูลได้รับข้อมูลที่ถูกต้องแล้ว จะส่งสัญญาณยืนยันกลับมาว่าได้รับข้อมูล
แล้ว เรียกว่า สัญญาณ ACK
7.ชั้นกายภาพ (Physical Layer) ทาหน้าที่ส่ง-รับข้อมูลจริงจากช่องทางการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งกับเครื่อง
อื่นๆ และทาหน้าที่โค้ดสัญญาณให้เหมาะสมกับสื่อที่ขนส่งข้อมูล
โครงสร้างของเครือข่าย
1.โครงสร้างเครือข่ายแบบเมช (Mesh Topology) ได้รับความนิยมมากและมีประสิทธิภาพสูง
เพราะเมื่อเส้นทางของการเชื่อมต่อข้อมูลคู่ใดคู่หนึ่งเกิดมีปัญหาหรือขาดจากกัน ยังสามารถติดต่อสื่อสารกัน
ได้ด้วยอุปกรณ์จัดเส้นทาง (Router) ซึ่งจะเชื่อมต่อเส้นทางใหม่ไปยังจุดหมายปลายทางอัตโนมัติ โดย
เครือข่ายนี้มักจะเป็นเครือข่ายแบบไร้สาย
2. โครงสร้างเครือข่ายแบบดาว (Star Topology) เป็นโครงสร้างเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้า
กับอุปกรณ์ที่เป็นจุดศูนย์กลางของเครือข่าย โดยการนาสถานีต่างๆมาต่อรวมกัน โดยอุปกรณ์ที่เรียกว่า ฮับ
(Hub) หรือ สวิตช์ (Switch) เป็นศูนย์กลางของการติดต่อเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่างๆ
3. โครงสร้างเครือข่ายแบบบัส (Bus Topology) เป็นโครงสร้างเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และ
อุปกรณ์ต่างๆ ด้วยสายเคเบิลยาวต่อเนื่องไปเรื่อยๆ
Star Topology
Bus Topology
4. โครงสร้างแบบเครือข่ายวงแหวน
(Ring Topology) เป็นเครือข่ายที่
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ด้วยสายเคเบิลยาวเส้น
เดียวในลักษณะวงแหวน การรับ-ส่งข้อมูลใน
เครือข่ายวงแหวนจะใช้ในทิศทางเดียว ข้อดี
ของโครงสร้างนี้คือ ใช้สายเคเบิลน้อย ถ้าตัด
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เสียออกจากระบบจะไม่
ส่งผลต่อการทางานของระบบ และจะไม่มีการ
ชนกันของข้อมูลที่แต่ละเครื่องส่ง
5. โครงสร้างแบบผสม
(Hybrid Topology) เป็นโครงสร้าง
เครือข่ายที่ผสมผสานกันทั้งแบบดาว วงแหวน
และบัส เช่น องค์กรหรือบริษัทขนาดเล็กที่มี
หลายอาคาร
ประเภทของระบบเครือข่าย
1. เครือข่ายส่วนบุคคล หรือ แพน (Personal Area Network : PAN) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อแบบไร้สาย
และใช้งานได้ในระยะใกล้ เช่น คอมพิวเตอร์กับโทรศัพท์เคลื่อนที่
2. เครือข่ายเฉพาะที่ หรือ แลน (Local Area Network : LAN) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยง
คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องถิ่น เช่น ภายในอาคาร หรือ ภายในองค์กรที่ระยะทางไม่ไกลมากนัก มีอัตรา
การถูกรบกวนของสัญญาณน้อย สามารถสื่อสารได้ดีกว่าระบบสื่อสารที่กว้างและไกล โดยสามารถสื่อสารข้อมูลได้อย่าง
รวดเร็วและเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด
3. เครือข่ายนครหลวง หรือ แมน (Metropolitan Area Network : MAN) เป็นเครือข่ายระดับเมืองที่มี
ขนาดใหญ่กว่าเครือข่ายท้องถิ่น อาจเชื่อมต่อกันหลายๆแห่งที่อยู่ภายในเมืองเดียวกันหรือหลายเขตเมืองที่อยู่ใกล้กัน เช่น
บริการระบบโทรทัศน์ทางสายเคเบิล
4. เครือข่ายวงกว้าง หรือ แวน (Wide Area Network : WAN) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ใน
ระยะห่างไกล เช่น เชื่อมโยงเครือข่ายแลนในตาแหน่งต่างๆ ให้สามารถทางานเป็นเครือข่ายที่ขนาดใหญ่และทางานได้ใน
ระยะที่ไกลมากยิ่งขึ้น
วิธีการส่งข้อมูลในระบบสื่อสารข้อมูล
1. การส่งข้อมูลแบบอนุกรม (serial transmission)
จะใช้วิธีการส่งทีละ 1 บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา ทาให้ดู
เหมือนว่าบิตต่าง ๆ เรียงต่อเนื่องกันไป จากอุปกรณ์หนึ่งไปยัง
อีกอุปกรณ์หนึ่ง ดังรูป
2. การส่งแบบขนาน (parallel transmission)
คือการส่งข้อมูลพร้อมกันทีละหลาย ๆ บิตในหนึ่งรอบ
สัญญาณนาฬิกา โดยการส่งจะรวมบิต 0 และ 1 หลาย ๆ บิต
เข้าเป็นกลุ่มจานวน n บิต ผู้ส่งส่งครั้งละ n บิต ผู้รับจะรับ
ครั้งละ n บิตเช่นกัน ซึ่งจะคล้ายกับเวลาที่เราพูดคุยเราจะพูด
เป็นคา ๆ ไม่พูดทีละตัวอักษร
กลไกการส่งข้อมูลแบบขนานใช้หลักการง่าย ๆ เมื่อส่ง
ครั้งละ n บิต ต้องใช้สาย n เส้น แต่ละบิตมีสายของตนเอง
ในการส่งแต่ละครั้งทุกเส้นต้องใช้สัญญาณนาฬิกาอันเดียวกัน
ทาให้สามารถส่งออกไปยังอุปกรณ์อื่นพร้อมกันได้
แบบอนุกรม
แบบขนาน
รูปแบบการสื่อสารข้อมูล
1. การส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ
(asynchronous transmission)
เป็นวิธีการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูล โดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มีจังหวะการ
ส่งข้อมูล แต่จะส่งเป็นชุด ๆ มีช่องว่าง (gap) อยู่ระหว่างข้อมูล แต่ละชุดเพื่อใช้
แบ่งข้อมูลออกเป็นชุด ๆ
2. การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ (synchronous transmission)
เป็นการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกลุ่มของข้อมูลที่
ต่อเนื่องกันอย่างเป็นจังหวะ โดยใช้สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวบอกจังหวะ
สื่อกลางนาเข้าข้อมูล
สื่อกลางนาเข้าข้อมูล หมายถึงสื่อหรือตัวกลางของการส่งผ่านข้อมูล
ตัวกลางแต่ละชนิดจะสามารถส่งข้อมูลได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิด
ของวัสดุและเทคโนโลยีที่ใช้ในการส่งข้อมูล มี 2 ประเภท ได้แก่
1. สื่อกลางกาหนดเส้นทางได้
1.1 สายโคแอ็กเซียล (Coaxial Cable) มี 2 แบบ
ได้แก่ แบบหนา และแบบบาง แบบหนาจะแข็ง การเดินสายทาได้
ค่อนข้างยาก แต่สามารถส่งสัญญาณได้ไกลกว่าแบบบาง
1.2 สายคู่บิดเกลียว (Twisted-Pair) มี 2 ชนิด ได้แก่
สายยูทีพี (UTP:Unshielded Twisted-Pair)หรือ สาย
CAT (Category) และสายเอสทีพี (STP:Shielded
Twisted-Pair) หรือสายคู่ตีเกลียวหุ้มฉนวน
Coaxial Cable
Twisted-Pair
1.3 สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic) การส่งข้อมูลด้วย
สายใยแก้วนาแสง ส่งสัญญาณด้วยแสง มีความเร็วในการส่ง
ข้อมูลสูง สามารถส่งข้อมูลได้รวดเร็วเท่ากับแสง ไม่มี
สัญญาณรบกวนจากภายนอก
2. สื่อกลางที่กาหนดเส้นทางไม่ได้
2.1 คลื่นวิทยุ (Radio Frequency)
2.2 ดาวเทียม
2.3 คลื่นไมโครเวฟ
2.4 อินฟราเรด
Fiber Optic
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์
1. โมเด็ม (Modem) ทาหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็น
สัญญาณแอนะล็อก
2. การ์ดเชื่อมต่อเครือข่ายหรือแลนการ์ด (Network
Interface Card : NIC) การ์ดนี้ช่วยควบคุมการรับ-ส่ง
ข้อมูล และตรวจสอบข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น
3. ฮับ (Hub) เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
4. สวิตช์ (Switch) เป็นอุปกรณ์รวมสัญญาณเช่นเดียวกับฮับ
แต่สวิตช์จะรับกลุ่มข้อมูลมาตรวจสอบก่อนว่าเป็นของ
คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครื่องใด จึงจะส่งต่อไปยังเป้ าหมาย
อัตโนมัติ ซึ่งช่วยลดปัญหาการชนกันของข้อมูล
5. รีพีตเตอร์ (Repeater) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการ
แลกเปลี่ยนตัวกลางนาสัญญณจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลาง
หนึ่ง
Modem
Hub
6. บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายแลนเข้าด้วยกัน ทาให้สามารถขยายขอบเขตของ
เครือข่ายแลนออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบไม่ลดลง
7. อุปกรณ์จัดเส้นทางหรือเราเตอร์ (Router) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน
คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการทางานที่ซับซ้อนกว่ามาก
8. เกตเวย์ (Gateway) เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถสูงสุดในการเชื่อมต่อเครือข่ายต่างๆเข้าด้วยกันโดยไม่มีขีดจากัดทั้ง
ระหว่างเครือข่ายต่างระบบ หรือแม้กระทั่งโพรโทคอลที่แตกต่างกัน
9. จุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย (Wireless Access Point) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่คล้ายฮับของเครือข่ายแบบใช้สาย แต่
ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์แบบไร้สายส่งข้อมูลผ่านคลื่นวิทยุความถี่สูง เช่น คอมพิวเตอร์ เมาส์ และคีย์บอร์ด
10. แอร์การ์ด (Aircard)
1.แอร์การ์ดแบบยูเอสบี (USB)
2.แอร์การ์ดแบบมิฟิ (Mifi : Mobile Wifi)
11. สมาร์ตโฟน (Smart Phone)
จัดทาโดย
นางสาวปนัสยา ศิริปรีชาวุฒิ ม.5/4 เลขที่ 2
นางสาววานิสสา เยาวมาลี ม.5/4 เลขที่ 7
นางสาวกานต์พิชชา พันธุ์บัวหลวง ม.5/4 เลขที่ 8

Mais conteúdo relacionado

Destaque

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...DevGAMM Conference
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationErica Santiago
 

Destaque (20)

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 1.
  • 2. ความหมายของระบบสื่อสารข้อมูล ระบบสื่อสารข้อมูล หมายถึง การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง อุปกรณ์โดยผ่านสื่อหรือตัวกลาง โดยอุปกรณ์ที่แลกเปลี่ยนข้อมูลจะมี การทางานร่วมกันของส่วนที่เป็น ฮาร์ดแวร์(อุปกรณ์คอมพิวเตอร์) และซอฟต์แวร์(ชุดคาสั่ง)
  • 3. องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล 1. ข่าวสาร เป็นข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการส่งเพื่อสื่อสาร ซึ่งจะ อยู่ในรูปของข้อความ ตัวเลข รูปภาพ เสียง หรือวีดิทัศน์ 2. ผู้ส่ง เป็นอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการส่งข้อมูลข่าวสาร 3. ผู้รับ เป็นอุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการรับข้อมูลข่าวสาร จากผู้ส่ง 4. สื่อ เป็นสื่อกลางที่ทาหน้าที่ให้ข้อมูลและข่าวสารเดินทางจาก ผู้ส่งไปยังผู้รับ เช่น ขดลวด สายเคเบิล สายไฟเบอร์ออพติก หรือ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นดาวเทียม หรือคลื่นวิทยุ เป็นต้น 5. โพรโทคอล คือ กฎระเบียบ หรือวิธีการใช้เป็นข้อกาหนด สาหรับการสื่อสาร เพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจกันได้ ซึ่งมีหลาย ชนิดให้เลือกใช้ เช่น TCP/IP, X.25, SDLC เป็นต้น
  • 4. ลักษณะข้อมูลที่ใช้สื่อสารในคอมพิวเตอร์ ● ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่างๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่างๆ เช่น รหัสแอสกี เป็นต้น ● ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่างๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะ ถูกแปลงเป็นเลขฐานสองโดยตรง ● รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาดของ รูปภาพ ● เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพ เพราะข้อมูล เสียงจะเป็นสัญญาณต่อเนื่องกันไป ● วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย รูป
  • 5. ทิศทางของการสื่อสารข้อมูล 1. การสื่อสารข้อมูลทิศทางเดียว (Simplex Transmission) เป็นการติดต่อสื่อสาร เพียงทิศทางเดียว คือผู้ส่งจะส่งข้อมูลเพียงฝั่งเดียวและโดย ฝั่งรับไม่มีการตอบกลับ เช่น การกระจายเสียงของสถานี วิทยุ การส่ง e-mail เป็นต้น 2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางสลับกัน (Half Duplex Transmission) สามารถส่งข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ไปในทิศทางเดียว เท่านั้น ทั้งฝ่ายส่งและฝ่ายรับ หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ผู้ส่ง สามารถส่งข้อมูลไปให้แก่ผู้รับ ส่วนผู้รับก็สามารถโต้ตอบ กลับได้ แต่ไม่สามารถส่งสวนทางกันได้ในเวลาเดียวกัน เช่น การส่งวิทยุของตารวจ
  • 6. 2. การสื่อสารข้อมูลสองทิศทางพร้อมกัน (Full Duplex Transmission) สามารถส่งข้อมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ได้ทั้ง2ทิศทาง ทั้งฝ่ายส่งและฝ่ายรับ หรือพูดอีกนัยหนึ่งคือ ผู้ส่งและผู้รับ สามารถโต้ตอบสวนทางกันได้ในเวลา เดียวกัน เช่น การส่งสัญญาณโทรศัพท์ สนทนา msn , facebook
  • 7. โพรโทคอล โพรโทคอล เป็นข้อตกลงร่วมกันเพื่อใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย เสมือนใช้ภาษา เดียวกันในการสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน โดยมีข้อตกลงเกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้ 1. โครงสร้างของข้อมูล (Syntex) ใช้สาหรับการส่งและรับข้อมูล เช่น การกาหนดให้ข้อมูลที่ ส่งมา 8 บิตแรกนั้น ต้องเป็นเลขข้อมูลที่อยู่ (Address) ของอุปกรณ์ที่ใช้ส่ง และ 8 บิตถัดไปจะต้อง เป็นเลขที่อยู่ (Address) ของเป้ าหมาย และหลังจากนั้นจึงกาหนดให้เป็นบิตที่เป็นข้อมูลข่าวสารที่ใช้ ส่ง 2. การแปลความหมาย (Semantics) เป็นการกาหนดความหมายของข้อมูล ว่าส่วนใดที่ใช้ ระบุเส้นทางในการสื่อสาร และจะเหลือกลุ่มบิตที่จะเป็นข้อมูลที่ต้องการส่งจริง 3. เวลา (Time) เป็นการกาหนดความเร็วในการรับส่งข้อมูลของอุปกรณ์ที่ทางานแตกต่างกัน ให้สามารถทางานและข้อมูลไม่เสียหายขณะรับ-ส่ง เช่น หากอุปกรณ์หนึ่งส่งข้อมูลได้ 100 เมกะบิต/1 วินาที(Mbps) แต่อุปกรณ์ที่รับข้อมูลรับได้เพียง 1เมกะบิต/1วินาที(Mbps) เท่านั้น ซึ่งการส่งข้อมูล จะมีจานวนมาก อาจทาให้ข้อมูลที่ส่งมาอาจสูญหายไปได้
  • 8. มาตรฐานของโพรโทคอล โพรโทคอลมาตรฐานกลางเพื่อใช้ในการส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย คือ มาตรฐาน OSI (Open System Interconnection Moderl) ซึ่งทาให้ทั้ง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่างๆ สามารถเชื่อมโยงและใช้งานในเครือข่ายได้ โดยรูปแบบ OSI สามารถแบ่งออกเป็น 7 ชั้น ดังนี้
  • 9. 1.ชั้นการประยุกต์ (Application layer) เป็นชั้นที่ใช้ติดต่อกันระหว่างผู้ใช้โดยตรง ได้แก่ โฮสคอมพิวเตอร์ เทอร์มินัลหรือ ไมโครคอมพิวเตอร์ การใช้งานในชั้นนี้สามารถนาเข้า หรือออกจากระบบเครือข่ายได้โดยผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องรู้ว่าจะมีขั้นตอนการ ทางานอย่างไร 2.ชั้นการนาเสนอ (Presentation Layer) ทาหน้าที่คอยรวบรวมข้อความ (Text) และแปลงรหัสหรือแปลงรูปข้อมูล เช่น วิธีการเข้ารหัสไปกับข้อมูลด้วย 3.ชั้นส่วนงาน (Session Layer) ทาหน้าที่เปิดการเชื่อมต่อโดยจะทาหน้าที่ในการกาหนดขอบเขตของข้อมูล การเริ่มต้น และ การสิ้นสุดของข้อมูล และระบุส่วนหัว (Header) 4.ชั้นขนส่ง (Transport Layer) เป็นการสื่อสารระหว่างต้นทางและปลายทาง โดยจะทาหน้าที่ตรวจสอบว่าข้อมูลที่ส่งมา จากชั้นส่วนงานนั้นไปถึงปลายทางจริงๆหรือไม่ 5.ชั้นเครือข่าย (Network Layer) เป็นชั้นที่กาหนดเส้นทางการเดินทางของข้อมูลที่ส่ง-รับ 6.ชั้นเชื่อมโยงข้อมูล (Data Link Layer) เป็นชั้นสาหรับการตรวจสอบโดยจะตรวจสอบค่าของข้อมูลที่ใช้ตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมูลที่ถูกส่งมาจากชั้นขนส่ง ถ้าอุปกรณ์ที่รับข้อมูลได้รับข้อมูลที่ถูกต้องแล้ว จะส่งสัญญาณยืนยันกลับมาว่าได้รับข้อมูล แล้ว เรียกว่า สัญญาณ ACK 7.ชั้นกายภาพ (Physical Layer) ทาหน้าที่ส่ง-รับข้อมูลจริงจากช่องทางการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งกับเครื่อง อื่นๆ และทาหน้าที่โค้ดสัญญาณให้เหมาะสมกับสื่อที่ขนส่งข้อมูล
  • 10. โครงสร้างของเครือข่าย 1.โครงสร้างเครือข่ายแบบเมช (Mesh Topology) ได้รับความนิยมมากและมีประสิทธิภาพสูง เพราะเมื่อเส้นทางของการเชื่อมต่อข้อมูลคู่ใดคู่หนึ่งเกิดมีปัญหาหรือขาดจากกัน ยังสามารถติดต่อสื่อสารกัน ได้ด้วยอุปกรณ์จัดเส้นทาง (Router) ซึ่งจะเชื่อมต่อเส้นทางใหม่ไปยังจุดหมายปลายทางอัตโนมัติ โดย เครือข่ายนี้มักจะเป็นเครือข่ายแบบไร้สาย
  • 11. 2. โครงสร้างเครือข่ายแบบดาว (Star Topology) เป็นโครงสร้างเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้า กับอุปกรณ์ที่เป็นจุดศูนย์กลางของเครือข่าย โดยการนาสถานีต่างๆมาต่อรวมกัน โดยอุปกรณ์ที่เรียกว่า ฮับ (Hub) หรือ สวิตช์ (Switch) เป็นศูนย์กลางของการติดต่อเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่างๆ 3. โครงสร้างเครือข่ายแบบบัส (Bus Topology) เป็นโครงสร้างเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์ต่างๆ ด้วยสายเคเบิลยาวต่อเนื่องไปเรื่อยๆ Star Topology Bus Topology
  • 12. 4. โครงสร้างแบบเครือข่ายวงแหวน (Ring Topology) เป็นเครือข่ายที่ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ด้วยสายเคเบิลยาวเส้น เดียวในลักษณะวงแหวน การรับ-ส่งข้อมูลใน เครือข่ายวงแหวนจะใช้ในทิศทางเดียว ข้อดี ของโครงสร้างนี้คือ ใช้สายเคเบิลน้อย ถ้าตัด เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เสียออกจากระบบจะไม่ ส่งผลต่อการทางานของระบบ และจะไม่มีการ ชนกันของข้อมูลที่แต่ละเครื่องส่ง 5. โครงสร้างแบบผสม (Hybrid Topology) เป็นโครงสร้าง เครือข่ายที่ผสมผสานกันทั้งแบบดาว วงแหวน และบัส เช่น องค์กรหรือบริษัทขนาดเล็กที่มี หลายอาคาร
  • 13. ประเภทของระบบเครือข่าย 1. เครือข่ายส่วนบุคคล หรือ แพน (Personal Area Network : PAN) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อแบบไร้สาย และใช้งานได้ในระยะใกล้ เช่น คอมพิวเตอร์กับโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2. เครือข่ายเฉพาะที่ หรือ แลน (Local Area Network : LAN) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องถิ่น เช่น ภายในอาคาร หรือ ภายในองค์กรที่ระยะทางไม่ไกลมากนัก มีอัตรา การถูกรบกวนของสัญญาณน้อย สามารถสื่อสารได้ดีกว่าระบบสื่อสารที่กว้างและไกล โดยสามารถสื่อสารข้อมูลได้อย่าง รวดเร็วและเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด 3. เครือข่ายนครหลวง หรือ แมน (Metropolitan Area Network : MAN) เป็นเครือข่ายระดับเมืองที่มี ขนาดใหญ่กว่าเครือข่ายท้องถิ่น อาจเชื่อมต่อกันหลายๆแห่งที่อยู่ภายในเมืองเดียวกันหรือหลายเขตเมืองที่อยู่ใกล้กัน เช่น บริการระบบโทรทัศน์ทางสายเคเบิล 4. เครือข่ายวงกว้าง หรือ แวน (Wide Area Network : WAN) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ใน ระยะห่างไกล เช่น เชื่อมโยงเครือข่ายแลนในตาแหน่งต่างๆ ให้สามารถทางานเป็นเครือข่ายที่ขนาดใหญ่และทางานได้ใน ระยะที่ไกลมากยิ่งขึ้น
  • 14. วิธีการส่งข้อมูลในระบบสื่อสารข้อมูล 1. การส่งข้อมูลแบบอนุกรม (serial transmission) จะใช้วิธีการส่งทีละ 1 บิตในหนึ่งรอบสัญญาณนาฬิกา ทาให้ดู เหมือนว่าบิตต่าง ๆ เรียงต่อเนื่องกันไป จากอุปกรณ์หนึ่งไปยัง อีกอุปกรณ์หนึ่ง ดังรูป 2. การส่งแบบขนาน (parallel transmission) คือการส่งข้อมูลพร้อมกันทีละหลาย ๆ บิตในหนึ่งรอบ สัญญาณนาฬิกา โดยการส่งจะรวมบิต 0 และ 1 หลาย ๆ บิต เข้าเป็นกลุ่มจานวน n บิต ผู้ส่งส่งครั้งละ n บิต ผู้รับจะรับ ครั้งละ n บิตเช่นกัน ซึ่งจะคล้ายกับเวลาที่เราพูดคุยเราจะพูด เป็นคา ๆ ไม่พูดทีละตัวอักษร กลไกการส่งข้อมูลแบบขนานใช้หลักการง่าย ๆ เมื่อส่ง ครั้งละ n บิต ต้องใช้สาย n เส้น แต่ละบิตมีสายของตนเอง ในการส่งแต่ละครั้งทุกเส้นต้องใช้สัญญาณนาฬิกาอันเดียวกัน ทาให้สามารถส่งออกไปยังอุปกรณ์อื่นพร้อมกันได้ แบบอนุกรม แบบขนาน
  • 15. รูปแบบการสื่อสารข้อมูล 1. การส่งข้อมูลแบบไม่ประสานจังหวะ (asynchronous transmission) เป็นวิธีการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูล โดยข้อมูลที่ส่งไปนั้นไม่มีจังหวะการ ส่งข้อมูล แต่จะส่งเป็นชุด ๆ มีช่องว่าง (gap) อยู่ระหว่างข้อมูล แต่ละชุดเพื่อใช้ แบ่งข้อมูลออกเป็นชุด ๆ 2. การส่งข้อมูลแบบประสานจังหวะ (synchronous transmission) เป็นการส่งข้อมูลไปบนสื่อนาข้อมูลที่มีลักษณะเป็นกลุ่มของข้อมูลที่ ต่อเนื่องกันอย่างเป็นจังหวะ โดยใช้สัญญาณนาฬิกาเป็นตัวบอกจังหวะ
  • 16. สื่อกลางนาเข้าข้อมูล สื่อกลางนาเข้าข้อมูล หมายถึงสื่อหรือตัวกลางของการส่งผ่านข้อมูล ตัวกลางแต่ละชนิดจะสามารถส่งข้อมูลได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิด ของวัสดุและเทคโนโลยีที่ใช้ในการส่งข้อมูล มี 2 ประเภท ได้แก่ 1. สื่อกลางกาหนดเส้นทางได้ 1.1 สายโคแอ็กเซียล (Coaxial Cable) มี 2 แบบ ได้แก่ แบบหนา และแบบบาง แบบหนาจะแข็ง การเดินสายทาได้ ค่อนข้างยาก แต่สามารถส่งสัญญาณได้ไกลกว่าแบบบาง 1.2 สายคู่บิดเกลียว (Twisted-Pair) มี 2 ชนิด ได้แก่ สายยูทีพี (UTP:Unshielded Twisted-Pair)หรือ สาย CAT (Category) และสายเอสทีพี (STP:Shielded Twisted-Pair) หรือสายคู่ตีเกลียวหุ้มฉนวน Coaxial Cable Twisted-Pair
  • 17. 1.3 สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic) การส่งข้อมูลด้วย สายใยแก้วนาแสง ส่งสัญญาณด้วยแสง มีความเร็วในการส่ง ข้อมูลสูง สามารถส่งข้อมูลได้รวดเร็วเท่ากับแสง ไม่มี สัญญาณรบกวนจากภายนอก 2. สื่อกลางที่กาหนดเส้นทางไม่ได้ 2.1 คลื่นวิทยุ (Radio Frequency) 2.2 ดาวเทียม 2.3 คลื่นไมโครเวฟ 2.4 อินฟราเรด Fiber Optic
  • 18. อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์ 1. โมเด็ม (Modem) ทาหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็น สัญญาณแอนะล็อก 2. การ์ดเชื่อมต่อเครือข่ายหรือแลนการ์ด (Network Interface Card : NIC) การ์ดนี้ช่วยควบคุมการรับ-ส่ง ข้อมูล และตรวจสอบข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น 3. ฮับ (Hub) เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน 4. สวิตช์ (Switch) เป็นอุปกรณ์รวมสัญญาณเช่นเดียวกับฮับ แต่สวิตช์จะรับกลุ่มข้อมูลมาตรวจสอบก่อนว่าเป็นของ คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครื่องใด จึงจะส่งต่อไปยังเป้ าหมาย อัตโนมัติ ซึ่งช่วยลดปัญหาการชนกันของข้อมูล 5. รีพีตเตอร์ (Repeater) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการ แลกเปลี่ยนตัวกลางนาสัญญณจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลาง หนึ่ง Modem Hub
  • 19. 6. บริดจ์ (Bridge) เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายแลนเข้าด้วยกัน ทาให้สามารถขยายขอบเขตของ เครือข่ายแลนออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบไม่ลดลง 7. อุปกรณ์จัดเส้นทางหรือเราเตอร์ (Router) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการทางานที่ซับซ้อนกว่ามาก 8. เกตเวย์ (Gateway) เป็นอุปกรณ์ที่มีความสามารถสูงสุดในการเชื่อมต่อเครือข่ายต่างๆเข้าด้วยกันโดยไม่มีขีดจากัดทั้ง ระหว่างเครือข่ายต่างระบบ หรือแม้กระทั่งโพรโทคอลที่แตกต่างกัน 9. จุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย (Wireless Access Point) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่คล้ายฮับของเครือข่ายแบบใช้สาย แต่ ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์แบบไร้สายส่งข้อมูลผ่านคลื่นวิทยุความถี่สูง เช่น คอมพิวเตอร์ เมาส์ และคีย์บอร์ด 10. แอร์การ์ด (Aircard) 1.แอร์การ์ดแบบยูเอสบี (USB) 2.แอร์การ์ดแบบมิฟิ (Mifi : Mobile Wifi) 11. สมาร์ตโฟน (Smart Phone)
  • 20. จัดทาโดย นางสาวปนัสยา ศิริปรีชาวุฒิ ม.5/4 เลขที่ 2 นางสาววานิสสา เยาวมาลี ม.5/4 เลขที่ 7 นางสาวกานต์พิชชา พันธุ์บัวหลวง ม.5/4 เลขที่ 8