SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 42
 ความหมายแห่งสัทธรรมปุณฑริกสูตร
 ประวัติความเป็นมา
 วัตถุประสงค์ของคัมภีร์
 โครงสร้างและเนื้อหาโดยย่อของพระสูตร
 หลักธรรมที่สาคัญ
 นิกายต่างๆ ที่นับถือคัมภีร์สัทธรรมปุณฑริกสูตร
 อิทธิพลของสัทธรรมปุณฑริกสูตรที่มีต่อสังคม
 ดอกบัว ถูกนับถือเป็นดอกไม้ศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนามาแต่ก่อนแล้ว
กิริยาที่บานหมายถึงการมีอะไรเกิดขึ้นในลักษณะที่เป็นพิเศษ ซึ่งในที่นี้
หมายถึงการทีพระพุทธเจ้าเสด็จอุบัติขึ้นในโลก และการที่ได้บรรลุอนุตตร
สัมโพธิญาณเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
 อนึ่งเมื่อพระพุทธเจ้าทางแสดงพระธรรมเพื่อการบรรลุพุทธภาวะ
ของทุกคนอย่างเสมอภาคกันนั้น พระองค์ก็ทรงใช้ดอกบัวมาเป็นชื่อพระ
ธรรมนั้นว่า ธรรมเทศนาว่าด้วยดอกบัวขาวแห่งพระธรรมมหัศจรรย์ หรือ
สัทธรรมปุณฑริกสูตร
 สัทธรรมปุณฑริกสูตรในประเทศอินเดีย
 สัทธรรมปุณฑริกสูตรจะต้องมีต้นกาเนิดในประเทศอินเดีย เพราะ
เป็นคาสอนของพระศากยมุนีพุทธเจ้า
 สัทธรรมปุณฑริกสูตรนี้แต่งขึ้นที่ไหน เมื่อใดและด้วยภาษาอะไรยัง
ไม่เป็นที่แน่ชัด
 ดร. เอดเวิด คอนซ์ กล่าวว่าสัทธรรมปุณฑริกสูตรได้ถูกรวบรวม
ออกเป็นพระสูตรราว ๘๐ ปีก่อนคริสตกาลหรือพุทธศตวรรษที่ ๕
 แต่อย่างไรก็ตามสัทธรรมปุณฑริกสูตรฉบับภาษาสันสกฤตได้หายสาปสูญ
จากอินเดียไปนานแล้ว
 ในประเทศจีนสัทธรรมปุณฑริกสูตร ได้ถูกแปลจากภาษาสันสกฤต
เป็นภาษาจีน ๖ ครั้ง ในปี พ.ศ. ๗๙๘, ๘๒๙, ๘๓๓, ๘๗๘, ๙๔๙ และ ๑๑๔๔
แต่เวลานี้มีอยู่เพียงสามฉบับเท่านั้นคือ
• ๑.ฉบับแปลของท่านธรรมรักษ์ในปี พ.ศ. ๘๒๙
• ๒.ฉบับแปลของท่านกุมารชีวะในปี พ.ศ. ๙๔๙
• ๓.ฉบับแปลของท่านญานคุปต์และท่านธรรมคุปต์ในปี พ.ศ. ๑๑๔๔
 เวลานี้ต้นฉบับภาษาสันสกฤตของทั้งสามฉบับสูญหายไปหมดแล้ว
สาหรับสัทธรรมปุณฑริกสูตรฉบับแปลของพระกุมารชีพเป็นฉบับที่ได้รับ
ความนิยมและยอมรับของชาวพุทธมหายานทั่วไปมากที่สุด
 ท่านเป็นชาวเมืองแคว้นกุฉาในเอเชีย
กลางมีชีวิตอยู่ระหว่าง พ.ศ. ๘๘๗-๙๕๗
 มารดาของท่านเป็นพระขนิษฐาของ
ประมุขแห่งแคว้นกุฉา ส่วนบิดาของท่านชื่อ
กุมารยาน เป็นชาวอินเดีย
 ท่านกุมารชีวะได้ออกบวชตั้งแต่อายุ ๗
ขวบพร้อมกับมารดาของท่าน
 ท่านได้เผยแผ่พระพุทธศาสนามหายาน
ทาให้ชื่อเสียงของท่านเลื่องลือไปไกลถึง
ประเทศจีน จนเป็นที่ต้องการของจักรพรรดิจีน
และในที่สุดโดยการเชิญของจักรพรรดิเหยาชิง
แห่งราชวงศ์จิ้นหลัง พระกุมารชีพได้มาถึงเมือง
เชียงอานในปี พ.ศ. ๙๔๔
 ท่านได้รับตาแหน่งพระอาจารย์แห่งชาติและเริ่มงานแปลคัมภีร์พุทธ
ศาสนาในทันทีโดยการสนับสนุนของปราชญ์จีนอีกหลายร้อยคน ท่านดับ
ขันธ์ในปี พ.ศ. ๙๕๗ ในชั่วเวลากว่าสิบปีท่านได้สร้างงานแปลชั้นเยี่ยม
๓๕ เรื่อง เป็นหนังสือ ๒๙๔ เล่ม และเรื่องที่ยอดเยียมสร้างชื่อเสียงโด่งดัง
ให้แก่ท่านมากที่สุดคือ สัทธรรมปุณฑริกสูตร
 พระพุทธศาสนาได้ถูกนาเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่นในปี พ.ศ. ๑๐๙๕ โดย
กษัตริย์แห่งแคว้นปักเชในคาบสมุทรเกาหลี
 เจ้าชายโชโทกุมีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนามาก เป็นที่ยอมรับ
กันว่าพระองค์เป็นผผู้วางรากฐานที่มั่นคงให้แก่พระพุทธศาสนาของ
ประเทศญี่ปุ่น จนได้ชื่อว่าเป็น พระเจ้าอโศกแห่งประเทศญี่ปุ่น พระองค์ได้
เผยแพร่สัทธรรมปุณฑริกสูตร ในชื่อเมียวโฮเร็งเงเคียว ฉบับภาษาจีนของ
พระกุมารชีวะ
 ภิกษุนิชิเร็น เป็นผู้พัฒนาและเผยแผ่สัทธรรมปุณฑริกสูตรใน
ลักษณะใหม่
 “คาสอนในพระสูตรต่างๆ ที่สอนมาก่อนสัทธรรมปุณฑริกสูตรไม่มี
คาสอนในพระสูตรใดได้เปิ ดเผยการตรัสรู้อันสมบูรณ์สูงสุดของ
พระพุทธเจ้าเลย เพราะฉะนั้นนิกายทั้งหลายที่ยึดถือพระสูตรเหล่านั้นล้วน
เป็นการสอนที่ผิด มีสัทธรรมปุณฑริกสูตรเพียงสูตรเดียวเท่านั้นที่สูงสุด
และ นัมเมียวโฮเร็งเงเคียว คือสารัตถธรรมของสัทธรรมปุณฑริกสูตรอัน
เป็นคาสอนหนึ่งเดียวเท่านั้นทีสามารถนาประชาชนแห่งสมัยปัจฉิมธรรม
ไปสู่การตรัสรู้ได้”
(เซโชโบ เร็นโช อาจารย์ของท่านนิชิเร็น)
 สัทธรรมปุณฑริกสูตร มี ๒๘ บท
 คัมภีร์สัทธรรมปุณฑริกสูตรแบ่ง
ออกเป็นครึ่งแรกและครึ่งหลัง
 ๑๔ บทแรก เรียกว่า ภาคทฤกษฎี
ซึ่งหัวใจสาคัญของภาคทฤษฎีนี้
คือ บทที่ ๒ บทกุศโลบาย
 ๑๔ บทหลัง เรียกว่าภาคความ
เป็นจริง ซึ่งหัวใจสาคัญของภาค
ความเป็นจริงคือ บทที่ ๑๖ บท
พระชนมายุกาลของพระตถาคต
เจ้า
 บทที่ ๑ บทนา
 เป็นบทความนาเรื่องพระสูตร บทนี้บอกว่าพระสูตรนี้พระพุทธเจ้า
ทรงเทศนาเมื่อใด ณ สถานที่แห่งใดและให้แก่ใคร บทนี้ได้บรรจุข้อความ
พฤติการณ์มหัศจรรย์ที่บังเกิดขึ้นก่อนหน้าที่พระพุทธเจ้าทรงเทศนา เช่น
มีดอกไม้โปรยลงมาจากสรวงสวรรค์ พื้นปฐพีหวั่นไหว เป็นต้น พระมัญชุ
ศรีโพธิสัตว์ ชี้แจงความข้องใสสงสัยของพระศรีอายเมตไตรยโพธิสัตว์ว่า
พฤติการณ์เหล่านี้เป็นนิมิตบอกว่าพระพุทธเจ้าจะทรงเทศนาพระสูตรที่
สาคัญที่สุดชื่อพระสัทธรรมปุณฑริกสูตร ในขณะนั้นพระพุทธเจ้าทรง
ประทับสมาธิสงบอยู่
 ๑ .พระพุทธเจ้าได้เทศนา อมิตอรรถสูตร อันเป็นพระสูตรที่ใช้สอนพระ
โพธิ์สัตว์
 ๒. เมื่อเทศนาจบพระองค์เสด็จเข้าสู่สมาธิชื่อ อมิตอรรถประดิษฐานสมาธิ
 ๓. ดอกไม้สวรรค์ ๔ ชนิด มีมณฑารพ เป็นต้น โปรยปรายจากท้องฟ้ าลงมา
ประพรมพระพุทธเจ้าและที่ประชุม
 ๔.โลกธาตุสั่นไหวใน ๖ วิถี
 ๕. เมื่อได้เห็นนิมิตอัศจรรย์นี้ ทุกคนในที่ประชุมต่างมีความปีติยินดียก
สองมือขึ้นประนมเพ่งมองที่พระพุทธเจ้าด้วยใจเดียว
 ๖. พระพุทธเจ้าได้เปล่งลาแสงออกจากพระอุณาโลมส่องไปทางทิศ
ตะวันออกยัง ๑๘,๐๐๐ โลกธาตุทางทิศนั้นให้สว่างไปทั่วทุกที่
 กล่าวถึงพระพุทธเจ้าเมื่อทรงออกจากสมาธิแล้ว ทรงอธิบายถึงกุศ
โลบายต่าง ๆ ที่ใช้ในการแสดงธรรม และได้แสดงปรัชญาธรรมที่เรียกว่า
การแทนที่ตรียานด้วยเอกยาน พระพุทธเจ้าทรงเผยความจริงว่าพระ
พุทธะทุกองค์ปรากฏในโลกนี้ก็ด้วยวัตถุประสงค์เดียวเท่านั้นคือ จะ
อานวยให้ประชาชนทั้งมวลบรรลุความสุขอันเยี่ยมยอดคือ บรรลุพุทธ
ภาวะและยังกล่าวถึงเรื่องการลุกออกจากสถานที่เทศนาธรรมของผู้ทะนง
ตัวอวดดี ๕,๐๐๐ คน
 ในบทที่ ๒ พระพุทธเจ้าได้เปิดเผยว่า ทั้งสาวกยานและ
ปัจเจกพุทธยานแห่งหินยาน และโพธิสัตว์ยานแห่งมหายาน
ชั่วคราว ไม่ใช้เป้ าหมายสุดท้ายในตัวเอง จุดมุ่งหมายสุดท้ายของ
พระพุทธเจ้า คือ
 การที่จะสัตว์ทั้งหลายไปสู่ความเป็นพระพุทธะอย่างเท่า
เทียมกันด้วยเอกยาน
 “สารีบุตร ในโลกทั้งหลายแห่งสิบทิศไม่มีแม้สองยาน แล้ว
สามยานจะมีได้อย่างไร”
 “เราในฐานะที่เป็นพระราชาแห่งคาสอน ขอประกาศเรื่องนี้
แก่ที่ประชุมใหญ่ทั้งหมดว่า เราใช้เพียงเอกยานเท่านั้นในการ
สอนและการเปลี่ยนแปลงพระโพธิสัตว์เราไม่มีศิษย์เป็นพระ
สาวกเลย”
 “ปลุกพุทธปัญญาในสรรพสัตว์ให้ตื่น”
 แสดงว่าคนทุกคนมีพุทธปัญญาอยู่ใน
ตัวและสามารถที่จะเป็นพุทธะได้
 บทนี้ที่เป็นหัวใจของสัทธรรมปุณฑริกสูตร และเป็นจุดมุ่งหมายของ
การเกิดมาในชาตินี้ของพระศากยมุนีพุทธะ แสดงธรรมที่ถูกถ้วนแท้จริง
ของมรรคที่จะนาผู้คนทั้งหลายไปสู่การบรรลุพุทธภาวะ
 และเปิ ดเผยถึงพลังอิทธิฤทธิ์ของพระองค์ ซึ่งทาให้ข้อสงสัยหมดไป
และเกิดความเชื่อ ข้อความส่วนนี้ได้แบ่งออกเป็น ๓ ตอนได้แก่
• ๑. การกล่าวธรรม
• ๒. การกล่าวนิทานเปรียบเทียบ และ
• ๓. การกล่าวเป็นคาถา
 “ถ้าหากไม่มีบทที่ ๑๖ ว่าด้วยความยาวแห่งอายุของพระตถาคต ใน
หมู่คาสอนทั้งหมดของพระศากยมุนีพุทธเจ้าแล้ว คาสอนเหล่านั้นก็จะเป็น
เหมือนดังว่า ท้องฟ้ าไร้ด้วงอาทิตย์และดวงจันทร์ ราชอาณาจักรไร้
พระมหากษัตริย์ ภูเขาและทะเลไม่มีสมบัติมีค่า หรือบุคคลไม่มีวิญญาณ นี่
ก็เช่นเดียวกัน หากไม่มีบทที่ ๑๖ พระสูตรทั้งหลายก็จะไร้ความหมายไป
หมด”
 ในส่วนที่เป็นการกล่าวธรรมได้สอนถึงเรื่องพระพุทธะดารง
อยู่ตลอด ๓ ชาติเพื่อให้คุณประโยชน์แก่สรรพสัตว์เป็นหลัก และ
เปิ ดเผยพื้นฐานดั้งเดิมของพระพุทธะโดยกล่าวว่า “ตั้งแต่เราได้
บรรลุพุทธภาวะมาแล้วนั้น เป็นเวลานานมากหลายร้อยพันหมื่น
ล้านนยุตะกัป ไม่อาจนับได้ ไม่มีขอบเขตสิ้นสุด”
(สัทธรรมปุณฑริกสูตร, ๒๕๓๗ : ๒๔๒)
 ได้กล่าวถึงนิทานเปรียบเทียบเรื่องแพทย์ผู้เชี่ยวชาญว่า ผู้ที่
ป่วย แต่ไม่ได้สูญเสียสติไปได้รับประทานยาที่ดีที่แพทย์
ผู้เชี่ยวชาญได้ปรุงไว้ให้ มีสีสวย รสชาติดี ทั้งหมดจึงสามารถ
รักษาหายจากโรคได้ แต่สาหรับผู้ป่วยที่สูญเสียสติ (สูญเสียจิตใจ
ที่แท้จริง) แพทย์ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่า ยานี้ดีจะทิ้งไว้ให้ที่นี่ เมื่อพูด
แล้วก็จากไป ต่อมาเพื่อประโยชน์ในอนาคตจึงส่งคนมาบอก
สาทับอีกครั้งหนึ่ง
หน้า ๑๖๕
 พุทธองค์ตรัสเป็นคาถาว่า
“ตั้งแต่เราได้บรรลุพุทธภาวะ
จานวนกัปที่ผ่านไปแล้ว
มากมายหลายร้อยหลายพันหลายหมื่น
หลายล้านหลายล้านๆอสงไขย
ตลอดเวลาเราได้เทศนาธรรม สั่งสอนและเปลี่ยนแปลง
สรรพสัตว์มากมายหลายล้านนับไม่ถ้วน...”
 ถึง “ชีวิต” แห่งความเป็นพุทธะของพระองค์จะเป็นอมตะ แต่
พระองค์ประกาศว่าพระองค์จะเสด็จเข้าสู่นิพพาน อันเป็นการใช้การตาย
ของพระองค์ ปลุกเร้าจิตแสวงหาของประชาชนแสวงหาธรรม
 “เพื่อที่จะช่วยสรรพสัตว์ โดยกุศโลบายเราแสดงให้เห็นการเข้าสู่
นิพพาน แต่แท้จริงเรามิได้ผ่านเข้าสู่ความดับ เราอยู่ที่นี่ตลอดเวลา ทา
การเทศนาธรรม”
 เอกยาน (พุทธยาน)
เอกยาน หมายถึงวิถีชีวิตไม่ว่าจะมีสภาพใด ก็สามารถจะตรัสรู้ได้
โดยไม่มีความแตกต่างระหว่างสิ่งที่มีชีวิต เอกยานมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือ
พุทธภาวะอันเที่ยงแท้ แต่พุทธภาวะนี้อยู่เหนือกาละ และเทศะ เพราะเป็น
ธรรมหรือกฎนิรันดรมีอยู่ในตัวเองไม่มีการเปลี่ยนแปลง ไม่เกิดและไม่
ตาย และเป็นจุดประสงค์สุดท้ายของมนุษย์ที่แสวงหาทางการปฏิบัติ
เพื่อให้บรรลุถึง
 “จุดประสงค์ทั้งมวลที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายอุบัติขึ้นในโลกนั้นคือ
อะไร เพื่อแสดงให้สรรพสัตว์ทั้งหลายได้เห็นในพุทธธรรมแห่งองค์พระ
ตถาคตจ้า นั่นคือ ได้ทรงแสดงพระธรรมแก่สรรพสัตว์โดยยานเดียว คือ
พุทธยาน ซึ่งนาไปสู่การตรัสรู้”
 ๑.เปิ ด คือ เปิ ดเผยและทาให้พุทธภาวะที่มีอยู่แต่เดิมปรากฏออกมา
 ๒.แสดง คือ การแสดงออกมาในพฤติกรรมหรือการดาเนินชีวิตที่เข้าใจได้
ว่ามีพุทธภาวะอยู่ภายใน
 ๓.รู้แจ้ง คือสอนให้มนุษย์เข้าใจในพุทธภาวะ
 ๔.ให้บรรลุ คือชี้นาให้มนุษย์สามารถบรรลุพุทธภาวะได้
 ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงสอนว่า ทุกคนสามารถบรรลุพุทธภาวะได้
เพราะทุกคนมีพุทธภาวะอยู่ในชีวิต การบรรลุพุทธภาวะจึงมิได้จากัดว่า
บรรลุได้แต่บางบุคคลแต่ทุกคนสามารถหรือมีโอกาสที่จะบรรลุพุทธภาวะ
ได้โดยเท่าเทียมกัน
 นิทานเปรียบเทียบเรื่องบ้านไฟไหม้กับรถสามชนิด
 บ้านของเศรษฐีซึ่งเก่าและทรุดโทรมถูกไฟไหม้
ลูกๆ หลายคนเพลิดเพลินกับของเล่นจึงติดอยู่ในบ้าน
 เศรษฐีจึงคิดอุบายช่วยลูกๆ ทั้งหมด
 เขาจึงใช้อุบายของเล่นมาล่อให้ลูกๆ ออกจากบ้านไฟไหม้
 โดยบอกลูกๆ ว่าข้างนอกมีของเล่นเป็นรถสามชนิด ได้แก่
 รถเทียมแพะ รถเทียมม้า และรถเทียมโค
 เมื่อลูกๆ ออกมาปลอดภัยแล้ว เศรษฐีกับให้รถชนิดเดียวกันทุกคน คือ
รถเทียมโคขาว ประดับเพชร
หน้า ๒๗
 บ้านที่ทรุดโทรม หมายถึงโลกของเรานี้
 ไฟ หมายถึง ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย
 เศรษฐี หมายถึง พระพุทธเจ้าที่อุบัติขึ้นเพื่อช่วยปวงชนให้พ้นทุกข์
 ลูกๆ หมายถึง สรรพสัตว์ทั้งหลาย
 ของเล่นต่างๆ ทีเขาชอบ หมายถึง กามคุณ ๕
 รถเทียมแพะ หมายถึง สาวกยาน
 รถเทียมกวาง หมายถึง ปัจเจกยาน
 รถเทียมโค หมายถึง โพธิสัตวยาน
 รถเทียมโคขาว ฝั่งเพชร หมายถึง เอกยาน
หน้า ๒๗
ปรากฏในสัทธรรมปุณฑริกสูตรบทที่ ๑๕
 ๑. การรักษาไว้ซึ่งตัวตนชีวิตที่เข้มแข็ง ไม่หวั่นไหวต่อสิ่งใด การ
ดาเนินชีวิตด้วยความเป็นอิสรเสรี
 ๒. ความเป็นนิรันดร์ คือ การรู้แจ้งในชีวิตนิรันดร์ ซึ่งอยู่ภายในส่วน
ลึกของปรากกฎการณ์ที่ไม่เที่ยงแท้
 ๓. ความบริสุทธิ์ คือความสามารถในการกระทาและมีพลังที่จะชาระ
มลทินในชีวิตให้บริสุทธิ์ทางด้านกาย วาจา และใจ
 ๔. ความสุข คือ การเปลี่ยนแปลงความทุกข์ทรมานโดยสามารถที่จะ
รู้สึกได้อย่างแท้จริงถึงความสุขที่แท้จริงอันเปี่ยมไปด้วยคุณค่าควรแก่การ
มีชีวิตอยู่และเพียงพร้อมสมบูรณ์
 สี่ขั้นแห่งศรัทธาใช้กับพวกที่ยึดถือสัทธรรมปุณฑริกสูตรในสมัยที่
พระพุทธเจ้ายังดารงพระชนม์อยู่ ได้แก่
 ๑. การเกิดความศรัทธาในพระสูตรนี้แม้เพียงชั่วขณะหนึ่ง
 ๒. การเข้าใจคาสอนของพระพุทธเจ้าในพระสูตรนี้
 ๓. การเผยแผ่คาสอนของพระพุทธเจ้าในพระสูตรนี้
 ๔. การตระหนักในความจริงทีได้แสดงโดยพระพุทธเจ้าด้วย
ความศรัทธาลึกซึ้ง
 ส่วนห้าขั้นแห่งการปฏิบัติ ใช้กับพวกที่ยึดถือสัทธรรมปุณฑริกสูตร
ภายหลังพระพุทธเจ้าเข้าสู่นิพพานแล้ว ได้แก่
 ๑. มีความปีติยินดีเมื่อได้สดับปุณฑริกสูตร
 ๒. อ่านและท่องพระสูตรนี้
 ๓. เผยแผ่พระสูตรนี้แก่ผู้อื่น
 ๔. การปฏิบัติบารมี ๖ ไปในขณะที่ยึดถือพระสูตรนี้
 ๕. การทาบารมี ๖ ให้สมบูรณ์
 คาว่า “ศรัทธา” ในวลี “หนึ่งขณะแห่งความศรัทธาและความเข้าใจ”
เป็นเมล็ดมูลเหตุเพื่อการได้รับปัญญาทุกชนิด
.....มันเป็นดาบคมที่สามารถตัดความหลงผิดขั้นสุดท้ายให้ขาดได้
......ในความศรัทธาก็มีความเข้าใจอยู่ด้วย และในความเข้าใจก็มี
ความศรัทธาอยู่ด้วย แต่ความศรัทธาเป็นสิ่งที่กาหนดพุทธภาวะ (ความเป็น
พุทธะ) ของตัวเรา
 ผลบุญของคนที่ได้สดับพระสัทธรรมนี้ เมื่อเขาเกิดชาติใหม่จะได้
เพลิดเพลินกับราชรถบนสวรรค์
 เชิญชวนให้คนอื่นฟังธรรม ผลบุญที่ได้คือ จะได้ไปเกิดบนบัลลังก์
ของพระอินทร์
 ผู้ถูกชวนได้รับฟังพระสูตรนี้เพียงชั่วขณะจิต ผลบุญของผู้ชักชวน
คือ ได้เกิดใหม่ร่วมสถานที่กับพระโพธิสัตว์ มีสติปัญญาเฉียบแหลม
สุขภาพดี รูปร่างสวยงาม และไม่ว่าเกิดชาติไหนๆ เขาจะได้พบ
พระพุทธเจ้า
 นิกายสัทธรรมปุณฑริกสูตร หรือนิกายเทียนไท้(天台宗) ก่อตั้งโดยจืออี้
ในประเทศจีน นิกายนี้ถือสัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็นคัมภีร์หลัก
นิกายนี้จัดแบ่งคาสอนของพระพุทธเจ้าเป็นห้าช่วงคือ
 แสดงอวตังสกสูตร มีใจความว่าจักรวาลทั้งหมดเป็นเพียงการปรากฏของ
จิตที่ยิ่งใหญ่ที่สุด
 แสดงธรรมแบบหินยานประกอบด้วยอริยสัจสี่และมรรคแปด
 แสดงวิมลเกียรตินิทเทศสูตรซึ่งให้ความสาคัญแก่อุดมคติของพระ
โพธิสัตว์
 แสดงปรัชญาปารมิตาสูตร มีใจความว่าสิ่งสูงสุดเป็นสุญตาคือความว่าง
 แสดงสัทธรรมปุณฑริกสูตร มีใจความว่าสรรพสัตว์ทั้งหลายมีความเป็น
พุทธะอยู่ในตัว เมื่อกาจัดอวิชชาได้สิ้นเชิง พุทธภาวะจะแสดงออกมา
 วิธีการสอน 4 อย่าง
• วิธีฉับพลัน ใช้กับผู้มีปัญญาและความสามารถสูง
• วิธีค่อยเป็นค่อยไป ใช้กับบุคคลทั่วไป
• วิธีลับเฉพาะตน ใช้กับคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะ
• วิธีอันไม่เจาะจง ใช้กับคนหมู่มาก
 ลักษณะคาสอน 4 อย่าง
• คาสอนในพระไตรปิ ฎก แสดงแก่พระสาวกและพระปัจเจกพุทธเจ้า
• คาสอนสามัญ เป็นลักษณะร่วมของหินยานและมหายาน แสดงแก่พระ
สาวก พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระโพธิสัตว์
• คาสอนพิเศษ แสดงแก่พระโพธิสัตว์โดยเฉพาะ
• คาสอนสมบูรณ์ แสดงหลักทางสายกลางและความเป็นอันหนึ่งอัน
เดียวกันของคัมภีร์ทั้งหลาย
 พุทธศาสนานิชิเรน (ญี่ปุ่น: นิชิเรน-เคอิ โช ชู
ฮะ) เป็นหนึ่งในนิกายทางมหายานที่ยึดตามคา
สอนของ พระสงฆ์ชาวญี่ปุ่นชื่อ พระนิชิเรน
(รูปแบบของศาสนาพุทธนิกายนี้มีอิทธิพลอย่าง
มากต่อสังคมญี่ปุ่นหลายช่วงเวลาในประวัติ
ศาสตร์) นิชิเรนโชชูจะเชื่อใน คัมภีร์ สัทธรรม
ปุณฑริกสูตร และเชื่อว่ามนุษย์ทุกคนๆที่
ธรรมชาติพุทธะอยู่ในร่างกาย จึงทาให้มนุษย์ทุกๆ
คนสามารถบรรลุพุทธภาวะได้ในช่วงชีวิตนี้ ผู้นับ
ถือนิกายนิชิเรนจะเชื่อว่าการปฏิบัติธรรมจะ
สามารถนาพาความสุข และสันติสุขมาอยู่โลก
 ก่อตั้งโดยไซโช ซึ่งเป็นที่รู้จักหลังมรณภาพว่าเดนเกียว ไดชิ ได้รับอิทธิพล
จากนิกายเทียนไท้ของจีน โดยนับถือสัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็นคัมภีร์หลัก
แนวความคิดพื้นฐานของนิกายนี้คือ “อิชิจิสุ” สัจจะมีเพียงหนึ่ง เน้นการปฏิบัติ
ทางสมาธิภาวนา ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นหลักปฏิบัติของนิกายเซนด้วย
 ก่อให้เกิดความความเสมอภาคเท่าเทียมกันในสังคม
 ทุกคนสามารถบรรลุพุทธภาวะได้ เพราะทุกคนมีพุทธภาวะอยู่ในชีวิต
 ทั้งนี้เนื่องจากมีเพียงสัทธรรมปุณฑริกสูตรเท่านั้นที่กล่าวอย่าง
ชัดเจนว่าผู้หญิงสามารถบรรลุพุทธภาวะได้
 ความหมาย ธรรมเทศนาว่าด้วยดอกบัวขาวแห่งพระธรรมมหัศจรรย์
 กาเนิดที่ อินเดีย สัทธรรมปุณฑริกสูตรได้ถูกรวบรวมออกเป็นพระสูตรราว
พุทธศตวรรษที่ ๕
 ผู้แปลมี ท่านธรรมรักษ์ ท่านกุมารชีวะในปี และท่านญานคุปต์กับท่านธรรม
คุปต์ ฉบับของท่านกุมารชีวะได้รับความนิยมที่สุด
 โครงสร้างคัมภีร์ มี ๒๘ บท แบ่งออกเป็น ๒ ภาคคือ ๑-๑๔ ภาคทฤษฎี และ
๑๕-๒๘ ภาคความจริง
 จุดประสงค์ คาสอนหนึ่งเดียวเท่านั้นทีสามารถนาประชาชนแห่งสมัยปัจฉิม
ธรรมไปสู่การตรัสรู้ได้
 หลักธรรมสาคัญ คือ เอกยาน คือ พุทธภาวะอันเที่ยงแท้ สรรพสิ่งคือพุทธะ
จบการนาเสนอ
ขอบคุณครับ/ค่ะ
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 

Mais procurados (20)

บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 

Destaque

พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานPadvee Academy
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 

Destaque (7)

พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 

Semelhante a สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)

ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกPanda Jing
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณีsawinee37
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารJack Like
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา solarcell2
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลาEbook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลาPanda Jing
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้Theeraphisith Candasaro
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 

Semelhante a สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law) (20)

590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณี
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลาEbook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 

Mais de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 

Mais de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)

  • 1.
  • 2.  ความหมายแห่งสัทธรรมปุณฑริกสูตร  ประวัติความเป็นมา  วัตถุประสงค์ของคัมภีร์  โครงสร้างและเนื้อหาโดยย่อของพระสูตร  หลักธรรมที่สาคัญ  นิกายต่างๆ ที่นับถือคัมภีร์สัทธรรมปุณฑริกสูตร  อิทธิพลของสัทธรรมปุณฑริกสูตรที่มีต่อสังคม
  • 3.  ดอกบัว ถูกนับถือเป็นดอกไม้ศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนามาแต่ก่อนแล้ว กิริยาที่บานหมายถึงการมีอะไรเกิดขึ้นในลักษณะที่เป็นพิเศษ ซึ่งในที่นี้ หมายถึงการทีพระพุทธเจ้าเสด็จอุบัติขึ้นในโลก และการที่ได้บรรลุอนุตตร สัมโพธิญาณเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า  อนึ่งเมื่อพระพุทธเจ้าทางแสดงพระธรรมเพื่อการบรรลุพุทธภาวะ ของทุกคนอย่างเสมอภาคกันนั้น พระองค์ก็ทรงใช้ดอกบัวมาเป็นชื่อพระ ธรรมนั้นว่า ธรรมเทศนาว่าด้วยดอกบัวขาวแห่งพระธรรมมหัศจรรย์ หรือ สัทธรรมปุณฑริกสูตร
  • 4.  สัทธรรมปุณฑริกสูตรในประเทศอินเดีย  สัทธรรมปุณฑริกสูตรจะต้องมีต้นกาเนิดในประเทศอินเดีย เพราะ เป็นคาสอนของพระศากยมุนีพุทธเจ้า  สัทธรรมปุณฑริกสูตรนี้แต่งขึ้นที่ไหน เมื่อใดและด้วยภาษาอะไรยัง ไม่เป็นที่แน่ชัด  ดร. เอดเวิด คอนซ์ กล่าวว่าสัทธรรมปุณฑริกสูตรได้ถูกรวบรวม ออกเป็นพระสูตรราว ๘๐ ปีก่อนคริสตกาลหรือพุทธศตวรรษที่ ๕  แต่อย่างไรก็ตามสัทธรรมปุณฑริกสูตรฉบับภาษาสันสกฤตได้หายสาปสูญ จากอินเดียไปนานแล้ว
  • 5.  ในประเทศจีนสัทธรรมปุณฑริกสูตร ได้ถูกแปลจากภาษาสันสกฤต เป็นภาษาจีน ๖ ครั้ง ในปี พ.ศ. ๗๙๘, ๘๒๙, ๘๓๓, ๘๗๘, ๙๔๙ และ ๑๑๔๔ แต่เวลานี้มีอยู่เพียงสามฉบับเท่านั้นคือ • ๑.ฉบับแปลของท่านธรรมรักษ์ในปี พ.ศ. ๘๒๙ • ๒.ฉบับแปลของท่านกุมารชีวะในปี พ.ศ. ๙๔๙ • ๓.ฉบับแปลของท่านญานคุปต์และท่านธรรมคุปต์ในปี พ.ศ. ๑๑๔๔  เวลานี้ต้นฉบับภาษาสันสกฤตของทั้งสามฉบับสูญหายไปหมดแล้ว สาหรับสัทธรรมปุณฑริกสูตรฉบับแปลของพระกุมารชีพเป็นฉบับที่ได้รับ ความนิยมและยอมรับของชาวพุทธมหายานทั่วไปมากที่สุด
  • 6.  ท่านเป็นชาวเมืองแคว้นกุฉาในเอเชีย กลางมีชีวิตอยู่ระหว่าง พ.ศ. ๘๘๗-๙๕๗  มารดาของท่านเป็นพระขนิษฐาของ ประมุขแห่งแคว้นกุฉา ส่วนบิดาของท่านชื่อ กุมารยาน เป็นชาวอินเดีย  ท่านกุมารชีวะได้ออกบวชตั้งแต่อายุ ๗ ขวบพร้อมกับมารดาของท่าน  ท่านได้เผยแผ่พระพุทธศาสนามหายาน ทาให้ชื่อเสียงของท่านเลื่องลือไปไกลถึง ประเทศจีน จนเป็นที่ต้องการของจักรพรรดิจีน และในที่สุดโดยการเชิญของจักรพรรดิเหยาชิง แห่งราชวงศ์จิ้นหลัง พระกุมารชีพได้มาถึงเมือง เชียงอานในปี พ.ศ. ๙๔๔
  • 7.  ท่านได้รับตาแหน่งพระอาจารย์แห่งชาติและเริ่มงานแปลคัมภีร์พุทธ ศาสนาในทันทีโดยการสนับสนุนของปราชญ์จีนอีกหลายร้อยคน ท่านดับ ขันธ์ในปี พ.ศ. ๙๕๗ ในชั่วเวลากว่าสิบปีท่านได้สร้างงานแปลชั้นเยี่ยม ๓๕ เรื่อง เป็นหนังสือ ๒๙๔ เล่ม และเรื่องที่ยอดเยียมสร้างชื่อเสียงโด่งดัง ให้แก่ท่านมากที่สุดคือ สัทธรรมปุณฑริกสูตร
  • 8.  พระพุทธศาสนาได้ถูกนาเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่นในปี พ.ศ. ๑๐๙๕ โดย กษัตริย์แห่งแคว้นปักเชในคาบสมุทรเกาหลี  เจ้าชายโชโทกุมีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนามาก เป็นที่ยอมรับ กันว่าพระองค์เป็นผผู้วางรากฐานที่มั่นคงให้แก่พระพุทธศาสนาของ ประเทศญี่ปุ่น จนได้ชื่อว่าเป็น พระเจ้าอโศกแห่งประเทศญี่ปุ่น พระองค์ได้ เผยแพร่สัทธรรมปุณฑริกสูตร ในชื่อเมียวโฮเร็งเงเคียว ฉบับภาษาจีนของ พระกุมารชีวะ  ภิกษุนิชิเร็น เป็นผู้พัฒนาและเผยแผ่สัทธรรมปุณฑริกสูตรใน ลักษณะใหม่
  • 9.  “คาสอนในพระสูตรต่างๆ ที่สอนมาก่อนสัทธรรมปุณฑริกสูตรไม่มี คาสอนในพระสูตรใดได้เปิ ดเผยการตรัสรู้อันสมบูรณ์สูงสุดของ พระพุทธเจ้าเลย เพราะฉะนั้นนิกายทั้งหลายที่ยึดถือพระสูตรเหล่านั้นล้วน เป็นการสอนที่ผิด มีสัทธรรมปุณฑริกสูตรเพียงสูตรเดียวเท่านั้นที่สูงสุด และ นัมเมียวโฮเร็งเงเคียว คือสารัตถธรรมของสัทธรรมปุณฑริกสูตรอัน เป็นคาสอนหนึ่งเดียวเท่านั้นทีสามารถนาประชาชนแห่งสมัยปัจฉิมธรรม ไปสู่การตรัสรู้ได้” (เซโชโบ เร็นโช อาจารย์ของท่านนิชิเร็น)
  • 10.  สัทธรรมปุณฑริกสูตร มี ๒๘ บท  คัมภีร์สัทธรรมปุณฑริกสูตรแบ่ง ออกเป็นครึ่งแรกและครึ่งหลัง  ๑๔ บทแรก เรียกว่า ภาคทฤกษฎี ซึ่งหัวใจสาคัญของภาคทฤษฎีนี้ คือ บทที่ ๒ บทกุศโลบาย  ๑๔ บทหลัง เรียกว่าภาคความ เป็นจริง ซึ่งหัวใจสาคัญของภาค ความเป็นจริงคือ บทที่ ๑๖ บท พระชนมายุกาลของพระตถาคต เจ้า
  • 11.  บทที่ ๑ บทนา  เป็นบทความนาเรื่องพระสูตร บทนี้บอกว่าพระสูตรนี้พระพุทธเจ้า ทรงเทศนาเมื่อใด ณ สถานที่แห่งใดและให้แก่ใคร บทนี้ได้บรรจุข้อความ พฤติการณ์มหัศจรรย์ที่บังเกิดขึ้นก่อนหน้าที่พระพุทธเจ้าทรงเทศนา เช่น มีดอกไม้โปรยลงมาจากสรวงสวรรค์ พื้นปฐพีหวั่นไหว เป็นต้น พระมัญชุ ศรีโพธิสัตว์ ชี้แจงความข้องใสสงสัยของพระศรีอายเมตไตรยโพธิสัตว์ว่า พฤติการณ์เหล่านี้เป็นนิมิตบอกว่าพระพุทธเจ้าจะทรงเทศนาพระสูตรที่ สาคัญที่สุดชื่อพระสัทธรรมปุณฑริกสูตร ในขณะนั้นพระพุทธเจ้าทรง ประทับสมาธิสงบอยู่
  • 12.  ๑ .พระพุทธเจ้าได้เทศนา อมิตอรรถสูตร อันเป็นพระสูตรที่ใช้สอนพระ โพธิ์สัตว์  ๒. เมื่อเทศนาจบพระองค์เสด็จเข้าสู่สมาธิชื่อ อมิตอรรถประดิษฐานสมาธิ  ๓. ดอกไม้สวรรค์ ๔ ชนิด มีมณฑารพ เป็นต้น โปรยปรายจากท้องฟ้ าลงมา ประพรมพระพุทธเจ้าและที่ประชุม  ๔.โลกธาตุสั่นไหวใน ๖ วิถี  ๕. เมื่อได้เห็นนิมิตอัศจรรย์นี้ ทุกคนในที่ประชุมต่างมีความปีติยินดียก สองมือขึ้นประนมเพ่งมองที่พระพุทธเจ้าด้วยใจเดียว  ๖. พระพุทธเจ้าได้เปล่งลาแสงออกจากพระอุณาโลมส่องไปทางทิศ ตะวันออกยัง ๑๘,๐๐๐ โลกธาตุทางทิศนั้นให้สว่างไปทั่วทุกที่
  • 13.  กล่าวถึงพระพุทธเจ้าเมื่อทรงออกจากสมาธิแล้ว ทรงอธิบายถึงกุศ โลบายต่าง ๆ ที่ใช้ในการแสดงธรรม และได้แสดงปรัชญาธรรมที่เรียกว่า การแทนที่ตรียานด้วยเอกยาน พระพุทธเจ้าทรงเผยความจริงว่าพระ พุทธะทุกองค์ปรากฏในโลกนี้ก็ด้วยวัตถุประสงค์เดียวเท่านั้นคือ จะ อานวยให้ประชาชนทั้งมวลบรรลุความสุขอันเยี่ยมยอดคือ บรรลุพุทธ ภาวะและยังกล่าวถึงเรื่องการลุกออกจากสถานที่เทศนาธรรมของผู้ทะนง ตัวอวดดี ๕,๐๐๐ คน
  • 14.  ในบทที่ ๒ พระพุทธเจ้าได้เปิดเผยว่า ทั้งสาวกยานและ ปัจเจกพุทธยานแห่งหินยาน และโพธิสัตว์ยานแห่งมหายาน ชั่วคราว ไม่ใช้เป้ าหมายสุดท้ายในตัวเอง จุดมุ่งหมายสุดท้ายของ พระพุทธเจ้า คือ  การที่จะสัตว์ทั้งหลายไปสู่ความเป็นพระพุทธะอย่างเท่า เทียมกันด้วยเอกยาน
  • 15.  “สารีบุตร ในโลกทั้งหลายแห่งสิบทิศไม่มีแม้สองยาน แล้ว สามยานจะมีได้อย่างไร”  “เราในฐานะที่เป็นพระราชาแห่งคาสอน ขอประกาศเรื่องนี้ แก่ที่ประชุมใหญ่ทั้งหมดว่า เราใช้เพียงเอกยานเท่านั้นในการ สอนและการเปลี่ยนแปลงพระโพธิสัตว์เราไม่มีศิษย์เป็นพระ สาวกเลย”
  • 17.  บทนี้ที่เป็นหัวใจของสัทธรรมปุณฑริกสูตร และเป็นจุดมุ่งหมายของ การเกิดมาในชาตินี้ของพระศากยมุนีพุทธะ แสดงธรรมที่ถูกถ้วนแท้จริง ของมรรคที่จะนาผู้คนทั้งหลายไปสู่การบรรลุพุทธภาวะ  และเปิ ดเผยถึงพลังอิทธิฤทธิ์ของพระองค์ ซึ่งทาให้ข้อสงสัยหมดไป และเกิดความเชื่อ ข้อความส่วนนี้ได้แบ่งออกเป็น ๓ ตอนได้แก่ • ๑. การกล่าวธรรม • ๒. การกล่าวนิทานเปรียบเทียบ และ • ๓. การกล่าวเป็นคาถา
  • 18.  “ถ้าหากไม่มีบทที่ ๑๖ ว่าด้วยความยาวแห่งอายุของพระตถาคต ใน หมู่คาสอนทั้งหมดของพระศากยมุนีพุทธเจ้าแล้ว คาสอนเหล่านั้นก็จะเป็น เหมือนดังว่า ท้องฟ้ าไร้ด้วงอาทิตย์และดวงจันทร์ ราชอาณาจักรไร้ พระมหากษัตริย์ ภูเขาและทะเลไม่มีสมบัติมีค่า หรือบุคคลไม่มีวิญญาณ นี่ ก็เช่นเดียวกัน หากไม่มีบทที่ ๑๖ พระสูตรทั้งหลายก็จะไร้ความหมายไป หมด”
  • 19.  ในส่วนที่เป็นการกล่าวธรรมได้สอนถึงเรื่องพระพุทธะดารง อยู่ตลอด ๓ ชาติเพื่อให้คุณประโยชน์แก่สรรพสัตว์เป็นหลัก และ เปิ ดเผยพื้นฐานดั้งเดิมของพระพุทธะโดยกล่าวว่า “ตั้งแต่เราได้ บรรลุพุทธภาวะมาแล้วนั้น เป็นเวลานานมากหลายร้อยพันหมื่น ล้านนยุตะกัป ไม่อาจนับได้ ไม่มีขอบเขตสิ้นสุด” (สัทธรรมปุณฑริกสูตร, ๒๕๓๗ : ๒๔๒)
  • 20.  ได้กล่าวถึงนิทานเปรียบเทียบเรื่องแพทย์ผู้เชี่ยวชาญว่า ผู้ที่ ป่วย แต่ไม่ได้สูญเสียสติไปได้รับประทานยาที่ดีที่แพทย์ ผู้เชี่ยวชาญได้ปรุงไว้ให้ มีสีสวย รสชาติดี ทั้งหมดจึงสามารถ รักษาหายจากโรคได้ แต่สาหรับผู้ป่วยที่สูญเสียสติ (สูญเสียจิตใจ ที่แท้จริง) แพทย์ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่า ยานี้ดีจะทิ้งไว้ให้ที่นี่ เมื่อพูด แล้วก็จากไป ต่อมาเพื่อประโยชน์ในอนาคตจึงส่งคนมาบอก สาทับอีกครั้งหนึ่ง หน้า ๑๖๕
  • 22.  ถึง “ชีวิต” แห่งความเป็นพุทธะของพระองค์จะเป็นอมตะ แต่ พระองค์ประกาศว่าพระองค์จะเสด็จเข้าสู่นิพพาน อันเป็นการใช้การตาย ของพระองค์ ปลุกเร้าจิตแสวงหาของประชาชนแสวงหาธรรม  “เพื่อที่จะช่วยสรรพสัตว์ โดยกุศโลบายเราแสดงให้เห็นการเข้าสู่ นิพพาน แต่แท้จริงเรามิได้ผ่านเข้าสู่ความดับ เราอยู่ที่นี่ตลอดเวลา ทา การเทศนาธรรม”
  • 23.  เอกยาน (พุทธยาน) เอกยาน หมายถึงวิถีชีวิตไม่ว่าจะมีสภาพใด ก็สามารถจะตรัสรู้ได้ โดยไม่มีความแตกต่างระหว่างสิ่งที่มีชีวิต เอกยานมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือ พุทธภาวะอันเที่ยงแท้ แต่พุทธภาวะนี้อยู่เหนือกาละ และเทศะ เพราะเป็น ธรรมหรือกฎนิรันดรมีอยู่ในตัวเองไม่มีการเปลี่ยนแปลง ไม่เกิดและไม่ ตาย และเป็นจุดประสงค์สุดท้ายของมนุษย์ที่แสวงหาทางการปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุถึง
  • 25.  ๑.เปิ ด คือ เปิ ดเผยและทาให้พุทธภาวะที่มีอยู่แต่เดิมปรากฏออกมา  ๒.แสดง คือ การแสดงออกมาในพฤติกรรมหรือการดาเนินชีวิตที่เข้าใจได้ ว่ามีพุทธภาวะอยู่ภายใน  ๓.รู้แจ้ง คือสอนให้มนุษย์เข้าใจในพุทธภาวะ  ๔.ให้บรรลุ คือชี้นาให้มนุษย์สามารถบรรลุพุทธภาวะได้  ดังนั้น พระพุทธเจ้าทรงสอนว่า ทุกคนสามารถบรรลุพุทธภาวะได้ เพราะทุกคนมีพุทธภาวะอยู่ในชีวิต การบรรลุพุทธภาวะจึงมิได้จากัดว่า บรรลุได้แต่บางบุคคลแต่ทุกคนสามารถหรือมีโอกาสที่จะบรรลุพุทธภาวะ ได้โดยเท่าเทียมกัน
  • 26.  นิทานเปรียบเทียบเรื่องบ้านไฟไหม้กับรถสามชนิด  บ้านของเศรษฐีซึ่งเก่าและทรุดโทรมถูกไฟไหม้ ลูกๆ หลายคนเพลิดเพลินกับของเล่นจึงติดอยู่ในบ้าน  เศรษฐีจึงคิดอุบายช่วยลูกๆ ทั้งหมด  เขาจึงใช้อุบายของเล่นมาล่อให้ลูกๆ ออกจากบ้านไฟไหม้  โดยบอกลูกๆ ว่าข้างนอกมีของเล่นเป็นรถสามชนิด ได้แก่  รถเทียมแพะ รถเทียมม้า และรถเทียมโค  เมื่อลูกๆ ออกมาปลอดภัยแล้ว เศรษฐีกับให้รถชนิดเดียวกันทุกคน คือ รถเทียมโคขาว ประดับเพชร หน้า ๒๗
  • 27.  บ้านที่ทรุดโทรม หมายถึงโลกของเรานี้  ไฟ หมายถึง ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย  เศรษฐี หมายถึง พระพุทธเจ้าที่อุบัติขึ้นเพื่อช่วยปวงชนให้พ้นทุกข์  ลูกๆ หมายถึง สรรพสัตว์ทั้งหลาย  ของเล่นต่างๆ ทีเขาชอบ หมายถึง กามคุณ ๕  รถเทียมแพะ หมายถึง สาวกยาน  รถเทียมกวาง หมายถึง ปัจเจกยาน  รถเทียมโค หมายถึง โพธิสัตวยาน  รถเทียมโคขาว ฝั่งเพชร หมายถึง เอกยาน หน้า ๒๗
  • 28. ปรากฏในสัทธรรมปุณฑริกสูตรบทที่ ๑๕  ๑. การรักษาไว้ซึ่งตัวตนชีวิตที่เข้มแข็ง ไม่หวั่นไหวต่อสิ่งใด การ ดาเนินชีวิตด้วยความเป็นอิสรเสรี  ๒. ความเป็นนิรันดร์ คือ การรู้แจ้งในชีวิตนิรันดร์ ซึ่งอยู่ภายในส่วน ลึกของปรากกฎการณ์ที่ไม่เที่ยงแท้  ๓. ความบริสุทธิ์ คือความสามารถในการกระทาและมีพลังที่จะชาระ มลทินในชีวิตให้บริสุทธิ์ทางด้านกาย วาจา และใจ  ๔. ความสุข คือ การเปลี่ยนแปลงความทุกข์ทรมานโดยสามารถที่จะ รู้สึกได้อย่างแท้จริงถึงความสุขที่แท้จริงอันเปี่ยมไปด้วยคุณค่าควรแก่การ มีชีวิตอยู่และเพียงพร้อมสมบูรณ์
  • 29.  สี่ขั้นแห่งศรัทธาใช้กับพวกที่ยึดถือสัทธรรมปุณฑริกสูตรในสมัยที่ พระพุทธเจ้ายังดารงพระชนม์อยู่ ได้แก่  ๑. การเกิดความศรัทธาในพระสูตรนี้แม้เพียงชั่วขณะหนึ่ง  ๒. การเข้าใจคาสอนของพระพุทธเจ้าในพระสูตรนี้  ๓. การเผยแผ่คาสอนของพระพุทธเจ้าในพระสูตรนี้  ๔. การตระหนักในความจริงทีได้แสดงโดยพระพุทธเจ้าด้วย ความศรัทธาลึกซึ้ง
  • 30.  ส่วนห้าขั้นแห่งการปฏิบัติ ใช้กับพวกที่ยึดถือสัทธรรมปุณฑริกสูตร ภายหลังพระพุทธเจ้าเข้าสู่นิพพานแล้ว ได้แก่  ๑. มีความปีติยินดีเมื่อได้สดับปุณฑริกสูตร  ๒. อ่านและท่องพระสูตรนี้  ๓. เผยแผ่พระสูตรนี้แก่ผู้อื่น  ๔. การปฏิบัติบารมี ๖ ไปในขณะที่ยึดถือพระสูตรนี้  ๕. การทาบารมี ๖ ให้สมบูรณ์
  • 31.  คาว่า “ศรัทธา” ในวลี “หนึ่งขณะแห่งความศรัทธาและความเข้าใจ” เป็นเมล็ดมูลเหตุเพื่อการได้รับปัญญาทุกชนิด .....มันเป็นดาบคมที่สามารถตัดความหลงผิดขั้นสุดท้ายให้ขาดได้ ......ในความศรัทธาก็มีความเข้าใจอยู่ด้วย และในความเข้าใจก็มี ความศรัทธาอยู่ด้วย แต่ความศรัทธาเป็นสิ่งที่กาหนดพุทธภาวะ (ความเป็น พุทธะ) ของตัวเรา
  • 32.  ผลบุญของคนที่ได้สดับพระสัทธรรมนี้ เมื่อเขาเกิดชาติใหม่จะได้ เพลิดเพลินกับราชรถบนสวรรค์  เชิญชวนให้คนอื่นฟังธรรม ผลบุญที่ได้คือ จะได้ไปเกิดบนบัลลังก์ ของพระอินทร์  ผู้ถูกชวนได้รับฟังพระสูตรนี้เพียงชั่วขณะจิต ผลบุญของผู้ชักชวน คือ ได้เกิดใหม่ร่วมสถานที่กับพระโพธิสัตว์ มีสติปัญญาเฉียบแหลม สุขภาพดี รูปร่างสวยงาม และไม่ว่าเกิดชาติไหนๆ เขาจะได้พบ พระพุทธเจ้า
  • 33.  นิกายสัทธรรมปุณฑริกสูตร หรือนิกายเทียนไท้(天台宗) ก่อตั้งโดยจืออี้ ในประเทศจีน นิกายนี้ถือสัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็นคัมภีร์หลัก
  • 34. นิกายนี้จัดแบ่งคาสอนของพระพุทธเจ้าเป็นห้าช่วงคือ  แสดงอวตังสกสูตร มีใจความว่าจักรวาลทั้งหมดเป็นเพียงการปรากฏของ จิตที่ยิ่งใหญ่ที่สุด  แสดงธรรมแบบหินยานประกอบด้วยอริยสัจสี่และมรรคแปด  แสดงวิมลเกียรตินิทเทศสูตรซึ่งให้ความสาคัญแก่อุดมคติของพระ โพธิสัตว์  แสดงปรัชญาปารมิตาสูตร มีใจความว่าสิ่งสูงสุดเป็นสุญตาคือความว่าง  แสดงสัทธรรมปุณฑริกสูตร มีใจความว่าสรรพสัตว์ทั้งหลายมีความเป็น พุทธะอยู่ในตัว เมื่อกาจัดอวิชชาได้สิ้นเชิง พุทธภาวะจะแสดงออกมา
  • 35.  วิธีการสอน 4 อย่าง • วิธีฉับพลัน ใช้กับผู้มีปัญญาและความสามารถสูง • วิธีค่อยเป็นค่อยไป ใช้กับบุคคลทั่วไป • วิธีลับเฉพาะตน ใช้กับคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะ • วิธีอันไม่เจาะจง ใช้กับคนหมู่มาก  ลักษณะคาสอน 4 อย่าง • คาสอนในพระไตรปิ ฎก แสดงแก่พระสาวกและพระปัจเจกพุทธเจ้า • คาสอนสามัญ เป็นลักษณะร่วมของหินยานและมหายาน แสดงแก่พระ สาวก พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระโพธิสัตว์ • คาสอนพิเศษ แสดงแก่พระโพธิสัตว์โดยเฉพาะ • คาสอนสมบูรณ์ แสดงหลักทางสายกลางและความเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกันของคัมภีร์ทั้งหลาย
  • 36.  พุทธศาสนานิชิเรน (ญี่ปุ่น: นิชิเรน-เคอิ โช ชู ฮะ) เป็นหนึ่งในนิกายทางมหายานที่ยึดตามคา สอนของ พระสงฆ์ชาวญี่ปุ่นชื่อ พระนิชิเรน (รูปแบบของศาสนาพุทธนิกายนี้มีอิทธิพลอย่าง มากต่อสังคมญี่ปุ่นหลายช่วงเวลาในประวัติ ศาสตร์) นิชิเรนโชชูจะเชื่อใน คัมภีร์ สัทธรรม ปุณฑริกสูตร และเชื่อว่ามนุษย์ทุกคนๆที่ ธรรมชาติพุทธะอยู่ในร่างกาย จึงทาให้มนุษย์ทุกๆ คนสามารถบรรลุพุทธภาวะได้ในช่วงชีวิตนี้ ผู้นับ ถือนิกายนิชิเรนจะเชื่อว่าการปฏิบัติธรรมจะ สามารถนาพาความสุข และสันติสุขมาอยู่โลก
  • 37.  ก่อตั้งโดยไซโช ซึ่งเป็นที่รู้จักหลังมรณภาพว่าเดนเกียว ไดชิ ได้รับอิทธิพล จากนิกายเทียนไท้ของจีน โดยนับถือสัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็นคัมภีร์หลัก แนวความคิดพื้นฐานของนิกายนี้คือ “อิชิจิสุ” สัจจะมีเพียงหนึ่ง เน้นการปฏิบัติ ทางสมาธิภาวนา ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นหลักปฏิบัติของนิกายเซนด้วย
  • 38.  ก่อให้เกิดความความเสมอภาคเท่าเทียมกันในสังคม  ทุกคนสามารถบรรลุพุทธภาวะได้ เพราะทุกคนมีพุทธภาวะอยู่ในชีวิต  ทั้งนี้เนื่องจากมีเพียงสัทธรรมปุณฑริกสูตรเท่านั้นที่กล่าวอย่าง ชัดเจนว่าผู้หญิงสามารถบรรลุพุทธภาวะได้
  • 39.  ความหมาย ธรรมเทศนาว่าด้วยดอกบัวขาวแห่งพระธรรมมหัศจรรย์  กาเนิดที่ อินเดีย สัทธรรมปุณฑริกสูตรได้ถูกรวบรวมออกเป็นพระสูตรราว พุทธศตวรรษที่ ๕  ผู้แปลมี ท่านธรรมรักษ์ ท่านกุมารชีวะในปี และท่านญานคุปต์กับท่านธรรม คุปต์ ฉบับของท่านกุมารชีวะได้รับความนิยมที่สุด  โครงสร้างคัมภีร์ มี ๒๘ บท แบ่งออกเป็น ๒ ภาคคือ ๑-๑๔ ภาคทฤษฎี และ ๑๕-๒๘ ภาคความจริง  จุดประสงค์ คาสอนหนึ่งเดียวเท่านั้นทีสามารถนาประชาชนแห่งสมัยปัจฉิม ธรรมไปสู่การตรัสรู้ได้  หลักธรรมสาคัญ คือ เอกยาน คือ พุทธภาวะอันเที่ยงแท้ สรรพสิ่งคือพุทธะ
  • 41.

Notas do Editor

  1. เรื่องประหลาด ๖ อย่างก่อนเกิดสัทธรรมปุณฑริกสูตร
  2. อ่านเรื่องนิทานเปรียบเทียบหน้า ๑๖๕
  3. มีคำอธิบายอยู่หน้า ๒๗ ว่าสิ่งที่เศรษฐีทำผิดหรือถูก
  4. อธิบายไสด์นี้หน้า ๒๗ ตรงเครื่องหมาย **