SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 82
 ๑) ชีวประวัติของพระสุมังคลาจารย์
 ๒) ผลงานต่าง ๆ ของพระสุมังคลาจารย์
 ๓) บทความเบื้องต้นเกี่ยวกับพระอภิธรรม
 ๔) พระอภิธรรม ๔ สมัย
 ๕) อธิบายความ ปริเฉทที่ ๕
สถานภาพแห่งภูมิกาเนิด
 ๖) ประเภทแห่งกรรมต่างๆ
 พระสุมังคลาจารย์ เป็นนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาฝ่ายบาลีในสาย
พระอภิธรรมท่านเป็นพระภิกษุที่เป็นนักปราชญ์พุทธชั้นพระฎีกาจารย์ เป็นศิษย์
ของท่านพระสารีบุตรพระภิกษุที่เป็นนักปราชญ์พุทธชั้นพระฎีกาจารย์ผู้มี
ชื่อเสียงอยู่ในช่าวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ โดยเฉพาะในรัชสมัยของพระเจ้าปรักกม
พาหุที่ ๑ (ซึ่งปกครองประเทศลังกาอยู่ในช่วงระหว่าง พ.ศ. ๑๖๙๖-๑๗๙๒
 ๑. ชาติภูมิ
ไม่มีหลักฐานใดว่าพระสุมังคละเกิดในวรรณะใด ที่ไหน และมีบิดามารดา
ชื่อว่าอะไรเรารู้แต่เพียงว่า ท่านเป็นชาวลังกาโดยกาเนิด และมีชีวิตอยู่ในช่วงรัช
สมัยการปกครองของพระเจ้าปรักกมพาหุที่ ๑ แห่งลังกาประเทศ ผู้ปกครอง
ลังกาอยู่ระหว่างปี พ.ศ. ๑๖๙๖-๑๗๒๙
 ๒. การศึกษาและการบวช
 ไม่มีหลักฐานใดพูดถึงการศึกษาใน
วัยเด็ก และวัยรุ่นของพระสุมังคละว่า
ท่านได้รับการศึกษาอะไรหรือไม่
ก่อนเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา
ชีวประวัติด้านการศึกษาของท่านรู้
แต่เพียงว่า ท่านเป็นลูกศิษย์ของพระ
สารีบุตรผู้เป็นสังฆนายกอยู่ที่วิหาร
(วัด) ที่พระเจ้าปรักกมพาหุที่ ๑ ทรง
อุปถัมภ์การสร้างในเมืองปุลัตถินคร
โดยสังกัดอยู่ในคณะสงฆ์ฝ่ายเชตวัน
วิหาร
 พระสุมังคละได้อยู่ศึกษาพระไตรปิ ฎก โดยเฉพาะพระอภิธรรมปิ ฎกเป็น
พิเศษกับพระสารีบุตรที่เมืองปุลัตถิปุระ จนมีความรู้และความสามารถทาง
ศาสนา และ ทางอภิธรรมแตกฉานประกอบกับที่ท่านได้รับอิทธิพลผ่านทาง
การศึกษาและความคิดจากพระสารีบุตร ผู้เป็นอาจารย์ที่เป็นนักปราชญ์พุทธชั้น
พระฎีกาจารย์ ท่านจึงได้แต่งคัมภีร์ฎีกาแก้คัมภีร์ชั้นนาที่พระเถระผู้มีชื่อเสียงใน
อดีตได้แต่งเข้าไว้หลายคัมภีร์และคัมภีร์ที่นับว่าสาคัญ และ มีชื่อเสียงที่สุดใน
บรรดางานอธิบายความคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะเท่าที่มีอยู่ในคัมภีร์ประเภทนี้
ด้วยกัน ก็คือคัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา
 พระสุมังคลาจารย์ได้แต่งคัมภีร์ประเภทฎีกาทิ้งไว้เป็นมรดกตกทอดแก่
ชาวพุทธและผู้ที่สนใจศึกษาพระอภิธรรมทั่วโลก ๓ คัมภีร์ คือ
 ๑. คัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินี
 ๒. คัมภีร์อภิธัมมัตวิกาสินี
 ๓. คัมภีร์สารัตถสาลินี
 คัมภีร์นี้ถือว่าเป็นผลงานประเภทฎีกาที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดของพระ
สุมังคลาจารย์ ชาวไทยพุทธนิยมเรียกคัมภีร์นี้สั้น ๆ ว่า “ฎีกาสังคหะ” คัมภีร์นี้
นักศึกษาพระอภิธรรมและนักศึกษาจิตวิทยาพุทธศาสนาไม่พลาดที่จะนามา
ประกอบการศึกษาของพวกเขา ในประเทศไทยคณะสงฆ์ไทยได้กาหนดให้คัมภีร์
อภิธัมมัตตวิภาวินีนี้เป็นตาราศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประโยค ป.ธ.๙ คู่
กับคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ ของท่านพระอนุรุทธาจารย์
 เนื้อหาออกเป็น ๓ ส่วนหลัก ๆ คือ
 ๑. ปณามคาถา ส่วนนี้เป็นส่วนที่พระสุมังคละใช้เป็นบทไหว้ครู คือ
บูชาสักการะ พระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ และกราบ
บูชาคุณของอาจารย์คือ พระสารีบุตรให้เกิดกาลังใจกล้าหาญแก่ตน
 ๒. เนื้อหาของคัมภีร์ฎีกา ส่วนนี้นับเป็นส่วนใจความสาคัญของคัมภีร์
อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกาพระสุมังคละแบ่งเนื้อหาสาคัญของคัมภีร์ออกเป็น ๙
ปริเฉทตามคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะของพระอนุรุทธะ คือ
 ปริจเฉทที่ ๑ ปริจเฉทนี้เริ่มต้นด้วยการอธิบายปณามคาถาที่พระอนุรุทธะแต่ง
ขึ้นเพื่อบูชาพระรัตนตรัย ต่อด้วยการอธิบายสัมปทา ๓ พระธรรม พระสงฆ์ พระ
อภิธรรมและอรรถในอภิธรรม ลักษณะจิตและเจตสิก ลักษณะรูปและนิพพาน
อธิบายกามาวจรจิต เป็นต้น
 ปริจเฉทที่ ๒ ปริจเฉทนี้กล่าวถึงลักษณะของเจตสิก อธิบายของความหมาย
ของอัญญสมานาเจตสิก อกุศลเจตสิก และโสภณเจตสิกตามหัวข้าเจตสิก ๕๒
ดวง อธิบายเจตสิกประกอบกับจิตและเจตสิกสัมประโยคกับจิต
 ปริจเฉทที่ ๓ ปริจเฉทนี้กล่าวถึงการประกอบกับของจิตกับเจตสิก อธิบายกิน
และฐานของจิต แสดงจานวนของจิต อธิบายอารมณ์ ๖ มี รูป เป็นต้น อารมณ์
ของจิตที่ไปทางมโนทวารจิตต่างภูมิมีอารมณ์ต่างกัน และจบปริเฉทนี้ลงด้วย
การอธิบายวัตถุสังคหะ
 ปริจเฉทที่ ๔ ปริเฉทนี้กล่าวถึงความต่างแห่งอารมณ์ อธิบายขณะ ๓ ขณะของจิต
(เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป) อายุของรูปธรรมและนามธรรม อธิบายเปรียบเทียบ
ความไหวแห่งภวังคจิต วิถีจิต และอธิบายเปรียบเทียบวิถีจิต เป็นต้น
 ปริจเฉทที่ ๕ ปริจเฉทนี้กล่าวอธิบายความหมายของคาว่า อบาย นรก มนุษย์
เทวดา และพรหม เป็นต้น อธิบายพรหมสุทธาวาส ๕ ชั้น อธิบายกรรม ๔ มี ชนก
กรรม เป็นต้น กรรม ๔ อย่างให้ผลตามคราว อธิบายกายกรรม วจีกรรม และ
มโนกรรม
 ปริจเฉทที่ ๖ ปริจเฉทนี้กล่าวอธิบายความหมายของมหาภูตรูป เป็นต้น อธิบาย
ธาตุ ๔ ประสาทรูป อุปาทายรูป มี โคจรรูปเป็นต้น ภาวรูป และหทยรูป อธิบาย
ชีวิตรูป เป็นต้น และจบปริจเฉทนี้ลงด้วยการอธิบายพระนิพพาน
 ปริจเฉทที่ ๗ ปริจเฉทนี้กล่าวอธิบายอาสวกิเลสเครื่องดอง โอฆะกิเลสดุจห้วงน้า
โยคะ คันถะ อุปาทาน นิวรณ์ อนุสัย สังโยชน์ องค์ฌาน องค์มรรค อินทรีย์และ
พละ อาหาร โพธิปักขิยธรรม มีสติปัฏฐาน เป็นต้น สัมมัปปธาน อิทธิบาท
โพชฌงค์ ๗ ขันธ์ ๕ อุปานขันธ์ อายตนะ ธาตุ ๑๘ อริยสัจ ๔
 ปริจเฉทที่ ๘ ปริจเฉทนี้กล่าวอธิบายปฏิจจสมุปบาท และอธิบายว่าปฏิจจสมุป
บาท เป็นปัจจัยกันและกัน อธิบายอัทธา เป็นต้น อาการ ๒๐ สนธิ ๓ และสังเขป
๔ สังคหกถา ปัจจัย ๒๔ มี เหตุปัจจัย เป็นต้น
 ปริจเฉทที่ ๙ ปริจเฉทนี้กล่าวอธิบายจริต มีราคจริต เป็นต้น อธิบายความหมาย
ของภาวนา เป็นต้น อธิบายกสิณ (๑๐) อสุภะ ๑๐ อนุสสติ ๑๐ อัปปมัญญา ๔
กรรมฐานที่เหมาะแก่จิต อัปปนามีและไม่มีในกรรมฐานบางอย่าง ความต่างกัน
แห่งนิมิต ความต่างกันแห่งสีทั้ง ๕ รูปฌาน อรูปฌาน เป็นต้น
 เนื้อหาส่วนที่ ๓. นิคมคาถา ส่วนนี้เป็นคาถาสรุปท้ายคัมภีร์ที่แต่งขึ้น ด้วย
ประสงค์จะบอกให้ผู้อ่านรู้ว่า
 ๑) ท่านแต่งคัมภีร์ที่วัดเชตวันวิหาร
 ๒) ท่านเป็นคณาจารย์รูปหนึ่งในวัดเชตะวันวิหาร ผู้มีศีลาจารวัตรงดงาม
และมีความรู้ความสามารถในสาขาวิชาพุทธศาสตร์และในคัมภีร์ต่างๆ
 ๓) ท่านอุทิศผลงานการแต่งคัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกานี้ให้แก่อาจารย์
ของท่าน คือ พระสารีบุตร
 ๔) ด้วยอานุภาพแห่งผลบุญที่เกิดจากการแต่งคัมภีร์นี้ ท่านอธิษฐานขอให้
เกิดเป็น “ศาสนทายาท” ของพระศรีอารยเมตไตยในอนาคตกาล
 ๕) คัมภีร์อภิธัมมัตวิภาวินีฎีกานี้ท่านใช้เวลาแต่ง ๒๔ วัน
 ๖) ท่านขออานวยพรให้เหล่าสัตว์ประสบความสาเร็จตามที่ตนมุ่งหวังใน
สิ่งที่ดีงามทุกประการ
 คัมภีร์อภิธัมมัตถวิกาสินี เป็นฎีกาที่พระสุมังคลาจารย์แต่ง
ขึ้น เพื่อแก้คาและความของคัมภีร์อภิธัมมาวตาของท่านพระ
พุทธทัตตะ
 คัมภีร์สารัตถสาลินี เป็นฎีกาที่พระสุมังคลาจารย์แต่งขึ้น
เพื่อแก้คาและความของคัมภีร์สัจจสังเขปะ ซึ่งแต่งโดยท่านพระ
จุลลธัมมปาละศิษย์อาวุโสของท่านพระอานันทะ
 ๑. พระสุมังคลาจารย์เป็นชาวลังกาโดยกาเนิด
 ๒. พระสุมังคลาจารย์เป็นนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาฝ่ายบาลีที่สังกัดใน
คณะสงฆ์ฝ่ายเชตะวันวิหาร
 ๓. พระสุมังคลาจารย์เป็นนักปรารชญ์พุทธสายพระอภิธรรม คัมภีร์อภิธัมมัตถ
วิภาวินีฎีกาที่ท่านแต่งแก้คัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะของพระอนุรุทธะ ได้สร้าง
ชื่อเสียงท่านให้เป็นที่รู้จักกันของนักอภิธรรมทั้งหลาย
 พระอภิธรรมจะเกิดขึ้นในโลกได้นั้น จะต้องอาศัยพระสัพพัญญุตญาณของ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้น ดังมีสาธกบาลีที่ได้แสดงไว้ในปิ ฎกปริวารพระบาลีว่า
พุทฺธจนฺเท อนุปฺปนฺเน พุทฺธาทิจฺเจ อนุคฺคเต
เตสํ สภาวธมฺมานํ นามมตฺตํ น นายติ
 แปลว่า พระจันทร์ คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ถ้าไม่อุบัติขึ้น พระอาทิตย์คือ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ถ้าไม่ปรากฏขึ้น ใครๆ ก็ไม่สามารถที่จะรู้ แม้เพียงแต่ชื่อ
ของสภาวธรรมเหล่านั้นได้เลย
 ๑. ปริยัติศาสนา ได้แก่การศึกษาคาสอนให้เกิดความเข้าใจ เพื่อนาไปใช้
ในการปฏิบัติ
 ๒. ปฏิบัติศาสนา ได้แก่การปฏิบัติธรรม มีอยู่ ๓ อย่าง คือ ปฏิบัติด้วย ศีล
สมาธิ ปัญญา
 ๓. ปฏิเวธศาสนา ได้แก่ผลที่เกิดขึ้นจากปริยัติและปฏิบัติที่ถูกต้อง คือ
นวโลกกุตรธรรม ๙
ตลอดเวลา ๔๕ พรรษา นับตั้งแต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสรู้อนุตร
สัมมาสัมโพธิญาณ ก็ได้แสดงธรรมคาสั่งสอนโปรดแก่เวไนยสัตว์เพื่อให้พ้นจาก
ทุกข์ด้วยความหมดจดจากกิเลส ซึ่งเมื่อรวมทั้งสิ้นแล้ว ก็ได้ ๘๔,๐๐๐ พระ
ธรรมขันธ์ เมื่อรวบรวมสงเคราะห์ไว้เป็นปิ ฎก แบ่งออกมาเป็น ๓ ปิ ฎกด้วยกัน
เรียกว่า พระไตรปิ ฎก ได้แก่
 ๑. พระวินัยปิ ฎก
 ๒. พระสุตตันตปิ ฎก
 ๓. พระอภิธรรมปิ ฎก
 พระวินัยปิ ฎก เป็นธรรมที่แสดงถึงเรื่องระเบียบ หรือข้อบังคับวางหลักให้
ประพฤติปฏิบัติเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงาม แยกออกเป็น ๕ คัมภีร์
ด้วยกัน คือ
 ๑) คัมภีร์อาทิกัมมิกะ ๒) คัมภีร์ปาจิตติยะ
 ๓) คัมภีร์มหาวรรค ๔) คัมภีร์จุลวรรค
 ๕) คัมภีร์ปริวาร
 คัมภีร์ทั้ง ๕ นี้ มีชื่อย่อว่า
อา ปา มะ จุ ปะ
พระสุตตันตปิ ฎก เป็นธรรมที่แสดงถึงเรื่องที่เกี่ยวกับสมมุตสัจจะ อันเป็น
ความจริงส่วนหนึ่งสาหรับชาวโลก เป็นธรรมที่ยกสัตว์ยกบุคคลขึ้นมาตั้ง เพื่อ
สรรสร้างให้บังเกิดความประพฤติดีงาม บางทีก็เรียกสั้นๆ ว่า พระสูตร ซึ่ง
จาแนกออกเป็น ๕ นิกายด้วยกัน คือ
 ๑) ทีฆนิกาย ๒) มัชฌิมนิกาย
 ๓) สังยุตตนิกาย ๔) อังคุตตรนิกาย
 ๕) ขุททกนิกาย
 นิกายทั้ง ๕ นี้ มีชื่อย่อว่า
ที มะ สัง อัง ขุ
พระอภิธรรมปิ ฎก เป็นธรรมที่แสดงปรมัตถสัจจะ ปฏิเสธสัตว์บุคคลตัวตน
เรา เขา เป็นเนื้อความที่จริงแท้แน่นอน เมื่อรู้แล้ว ทาให้เกิดปัญญา สามารถละ
กิเลสนาตนให้พ้นทุกข์ได้ พระอภิธรรมปิ ฎก แยกออกเป็น ๗ คัมภีร์ คือ
 ๑) ธัมมสังคนี ๒) วิภังค์
 ๓) ธาตุกถา ๔) บุคคลบัญญัติ
 ๕) กถาวัตถุ ๖) ยมก
 ๗) มหาปัฏฐาน
 คัมภีร์ทั้ง ๗ นี้ มีชื่อย่อว่า
สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ
 พระบาลี คืออะไร
บาลี หมายถึงถ้อยคาที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเทศนาโปรดแก่เวไนย
สัตว์ ซึ่งได้แก่พุทธพจน์โดยตรง
 อรรถกถา ได้แก่อะไร
อัตถะ = เนื้อความ กถา = กล่าวหรือถ้อยคา รวมกันเข้าแล้วก็แปลว่า
กล่าวเนื้อความนั้น ก็คือ กล่าวเนื้อความตามบาลีนั้นอีกทีหนึ่ง ผู้ขยายความ
ตามบาลี นั้นเรียกว่า ท่านอรรถกถาจารย์ท่านได้ขยายความจากบาลี ออกมา
เพื่อจะให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ให้แจ่มแจ้งขึ้น เพื่อสะดวกแก่การศึกษาเล่าเรียน
 ฎีกา ได้แก่อะไร
เมื่ออรรถกถาอธิบายขยายความออกมาแล้วผู้ศึกษาก็ยังเข้าใจไม่ได้อยู่
อีก ท่านฎีกาจารย์จึงเป็นผู้ขยายความอรรถกถานั้นอีกชั้นหนึ่ง
 เป็นธรรมที่แสดงถึงความจริง ๒ ประเภท คือ
 ๑) ปรมัตถธรรม คือ ธรรมชาติอันประเสริฐที่เป็นความจริงซึ่งปฏิเสธสัตว์
และชีวิต ได้แก่ธรรมชาติที่เป็นความจริง ทีไม่มีการแปรปรวน หรือไม่มีความ
วิปริตด้วยประการใดๆ มีอยู่ ๔ ประการ ได้แก่ จิต เจตสิก รูป นิพพาน
 ๒) บัญญัติธรรม หรือสมมุติสัจจะ เป็นสิ่งทีบัญญัติแต่งตั้งขึ้น แล้วเป็นที่
ยอมรับของหมู่ชน จึงได้เป็นสิ่งสมมุติขึ้นว่า เป็นความจริง เพื่อจะได้เรียกชื่อได้
ถูกต้องตามความนิยมของคนหมู่หนึ่ง หรือ ประเทศหนึ่ง
ปรมัตถธรรม มีลักษณะปฏิเสธสัตว์และชีวิต เป็นสภาวธรรมที่มีจริงเป็น
จริง มีลักษณะประจาอยู่ ๒ ลักษณะ คือ
 ๑) สามัญลักษณะ เป็นธรรมชาติที่มีลักษณะประจาตัวแบบสามัญทั่วๆ ไป ซึ่ง
เป็นไปใน ๓ ลักษณะเหล่านี้ คือ
 ก. อนิจลักษณะ เป็นลักษณะที่ไม่มีความเที่ยงแท้แน่นอน ต้องเปลี่ยนแปลง
ไปมาอยู่เสมอ
 ข. ทุกขลักษณะ เป็นลักษณะที่ทนไม่ได้ หรืออยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ต้องเสื่อม
สลายไป
 ค. อนัตตลักษณะ เป็นลักษณะที่ว่างเปล่าจากตัวตน คือ ไม่ใช่คน ไม่ใช่สัตว์
ไม่ใช้สิ่งของ ทั้งไม่อยู่ในอานาจบังคับบัญชาของใคร
ปรมัตถธรรมโดยย่อนั้น มีอยู่ ๔ ประการ คือ จิต เจตสิก รูป และ นิพพาน
จิต เจตสิก รูป ทั้ง ๓ นี้ เป็นสามัญลักษณะ เพราะประกอบไปด้วยอนิจลักษณะ
ทุกขลักขณะ อนัตตลักษณะ ที่เรียกว่าไตรลักษณ์
 พระนิพพานนั้น มีสามัญลักษณะเพียงประการเดียว คือ อนัตตลักษณะ เท่านั้น
 สาหรับบัญญัติธรรม ไม่ประกอบด้วยไตรลักษณ์ หรือสามัญลักษณะทั้ง ๓ เพราะ
เป็นแต่เพียงบัญญัติหรือสมมุติขึ้น เพื่อให้เข้าใจกันเท่านั้น หาได้มีจริงๆ ไม่
 ๒. วิเสสลักษณะ เป็นธรรมชาติพิเศษที่มีประจาตัว ปรมัตถธรรมแต่ละอย่างก็มี
ลักษณะพิเศษเฉพาะๆ ของตน ไม่มีเหมือนกันเลย วิเสสลักษณะมี ๔ ประการ คือ
 ก. ลักษณะ - ได้แก่เครื่องแสดง หรือคุณภาพ ที่มีประจาตัวโดยเฉพาะ
 ข. รสะ - ได้แก่หน้าที่การงานที่กระทา ของปรมัตถธรรมทั้งหลาย รสะนี้ จึง
แบ่งออกเป็น ๒ อย่าง คือ
 ๑) กิจรสะ ได้แก่หน้าที่การงานของปรมัตถธรรม เช่น จิต มีหน้าที่
การงานที่เป็นกิจรสะ ก็คือ เป็นประธานในสัมปยุตธรรมทั้งปวง
 ๒) สัมปัตติรสะ ได้แก่คุณสมบัติของปรมัตถธรรม เช่น จิต มี
คุณสมบัติอยู่ประจา เป็นสัมปัตติรสะ ก็คือ มีเจตสิกประกอบเป็นสัมปยุตธรรมด้วย
 ค. ปัจจุปัฏฐาน – ได้แก่ผลที่เกิดจากรสะนั่นเอง
 ง. ปทัฏฐาน - ได้แก่เหตุใกล้ที่เป็นเหตุให้ธรรมนั้นๆ ปรากฏขึ้นมา
 จิต เจตสิก รูป มีวิเสสลักษณะทั้ง ๔ ประการ ครบบริบูรณ์
 นิพพาน มีวิเสสลักษณะ ๓ ประการเท่านั้น คือ มีลักษณะ รสะ ปัจจุปัฏฐาน ไม่มี
ปทัฏฐาน คือเหตุใกล้ให้เกิด ด้วยเหตุว่า พระนิพพานนั้น เป็นธรรมที่พ้นไปจาก
เหตุปัจจัย
 สาหรับบัญญัติธรรมนั้น ไม่มีวิเสสลักษณะเลย.
 สมัยที่ ๑ คือ สมัยรวมอยู่ในพระสูตร มิได้แยกตัวออกเป็นเอกเทศ เช่น มหาสติ
ปัฏฐานสูตร ในอัตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน จาแนกจิตไว้ถึง ๑๖ อย่าง เช่น สราค-
จิต วีตราจิต เป็นต้น
 สมัยที่ ๒ คือ สมัยที่เป็นนิทเทสของพระสูตร คือ มีคาว่า อภิธมฺ อภิวนเย ซึ่งเป็น
บทอุทเทส และขยายออกไปเป็นนิทเทส เช่น จูฬนิเทส มหานิเทส เป็นต้น
 สมัยที่ ๓ คือ สมัยแยกตัวจากพระสูตรอย่างชัดแจ้ง เป็นปิ ฏกหนึ่งต่างหาก
เกิดขึ้นประมาณพุทธศตวรรษที่ ๓
 สมัยที่ ๔ คือ สมัยรวบรวมสารัตถะของพระอภิธรรมไว้ย่อๆ เพื่อสะดวกแก่การ
จดจา เช่น อภิธัมมัตถสังคหะ ของพระอนุรุทธาจารย์ ต่อมามีนักปราชญ์เห็นว่า
ย่อความเกินไป จึงแต่งขยายอีก เช่น อภิธัมมัตถวิภาวินี ขยายความอภิธัมมัตถ-
สังคหะ เป็นต้น
 อภิธัมมัตถสังคหฎีกา แยกออกเป็น อภิ + ธรรมะ + อรรถะ + สัง + คหะ + ฎีกา
 อภิ - อันประเสริฐยิ่ง
 ธรรมะ - ธรรมชาติที่ไม่ใช้สัตว์ ไม่ใช่ชีวิต หรือธรรมชาติที่ทรง
สภาพไว้ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
 อัตถะ - เนื้อความ
 สัง - โดยย่อ
 คหะ - รวบรวม
 ฎีกา - คาอธิบายขยายความ
 (วิภาวินี - ทาให้แจ้ง)
 อภิธัมมัตถสังคหฎีกา หรือ พระอภิธัมมัตถวิภาวินี (ของพระสุมังคลาจารย์)
หมายถึงคัมภีร์ที่อธิบายขยายความแห่งคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ นั่นเอง
 ความเบื้องต้น
 คัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินี เป็นคัมภีร์ฎีกาที่พระสุมังคลาจารย์แต่งขึ้นเพื่อ
แก้คัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะของพระอนุรุทธะ ที่ท่านแต่งสรุปย่อเนื้อหาของ
อภิธรรมปิ ฎกทั้ง ๗ คัมภีร์ไว้ ซึ่งในปริเฉทที่ ๕ แห่งคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ ว่า
ด้วยเรื่อง วิถีมุตตสังคหะวิภาค เป็นการแสดงจิตที่พ้นวิถี
 วิถีมุตต แปลว่า พ้นวิถี หรือ นอกวิถี คือไม่ได้อยู่ในวิถีนั่นเอง
 สังคหะ แปลว่า สงเคราะห์หรือรวบรวม
 วิภาค แปลว่า ส่วน
 ฉะนั้น วิถีวิตตสังคหวิภาค จึงแปลว่าส่วนที่รวบรวมการแสดงจิตที่พ้นวิถี
ซึ่งเป็นการแสดงวิถีจิตในปฏิสนธิกาลนั่นเอง
 จิตในวิถี หมายถึง จิตที่ทากิจตั้งแต่ อาวัชชนกิจ จนถึง ตทาลัมพนกิจ คือ จิตที่ทา
กิจเหล่านี้ นับว่าอยู่ในวิถี มีจานวน ๘๐ ดวง (เว้นมหัคคตวิบากจิต ๙ ดวง)
 ยังแบ่งออกเป็นอีก ๒ พวก คือ
 ก. เอกันตะ
คือ จิตในวิถีแน่นอน มี ๗๐ ดวง
 อกุศลจิต ๑๒ ดวง
 อเหตุกจิต ๑๖ ดวง
 มหากุศลจิต ๘ ดวง
 มหากิริยาจิต ๘ ดวง
 มหัคคตกุศลจิต ๙ ดวง
 มหัคคตกิริยาจิต ๙ ดวง
 โลกุตตรจิต ๘ ดวง
 รวม ๗๐ ดวง
 ข. อเนกันตะ
คือ จิตในวิถีไม่แน่นอน มี ๑๐ ดวง
 อุเบกขาสันตีรณจิต ๒ ดวง
 มหาวิบากจิต ๘ ดวง
 รวม ๑๐ ดวง
 จิตที่พ้นวิถี หมายถึง จิตที่มิได้ทากิจเพื่อรับอารมณ์ใหม่ในภพปัจจุบัน
คงทากิจเพียง ๓ กิจ คือ ปฏิสนธิกิจ, ภวังคกิจ, และจุติกิจ
 จิตพ้นวิถีนี้มี ๒ จาพวกเช่นกัน
 ข. อเนกันตะ
คือ จิตที่พ้นวิถีไม่แน่นอน มี ๑๐ ดวง
 อุเบกขาสันตีรณจิต ๒ ดวง
 มหาวิบากจิต ๘ ดวง
 ก. เอกันตะ
คือ จิตที่พ้นวิถีแน่นอน มี ๙ ดวง
 มหัคคตวิบากจิต ๙ ดวง
 วิถีมุตตสังคหวิภาค นั้นแสดงธรรมที่พ้นวิถีว่ามีอยู่ ๔ หมวด ดังนี้
 หมวดที่ ๑ ภูมิจตุกะ
จาแนกภูมิ เป็น ๔ ภูมิ
 ๑) อบายภูมิ ๒) กามสุคติภูมิ
 ๓) รูปาวจรภูมิ ๔) อรูปาวจรภูมิ
 หมวดที่ ๒ ปฏิสนธิจตุกะ
จาแนกการปฏิสนธิ เป็น ๔ พวก
 ๑) อบายปฏิสนธิ ๒) กามสุคติปฏิสนธิ
 ๓) รูปาวจรปฏิสนธิ ๔) อรูปาวจรปฏิสนธิ
 หมวดที่ ๓ กรรมจตุกะ
จาแนกกรรมเป็น ๔ พวก
 ๑) กิจจตุกะ หน้าที่การงานของกรรม
 ๒) ปากทานจตุกะ ลาดับการได้ผลของกรรม
 ๓) ปากกาลจตุกะ เวลาแห่งการให้ผลกรรม
 ๔) ปากฐานจตุกะ ฐานที่ตั้งแห่งผลของกรรม
 หมวดที่ ๔ มรณุปติจตุกะ
จาแนกการตาย ๔ พวก
 ๑) อายุกขยมรณะ ตายโดยสิ้นอายุขัย
 ๒) กัมมักขยมรณะ ตายโดยสิ้นกรรม
 ๓) อุภยักขยมมรณะ ตายโดยสิ้นทั้งอายุและสิ้นกรรม
 ๔) อุปัจเฉทกมรณะ ตายโดยอุบัติเหตุ
 ภูมิชื่อว่าอบาย เพราะเป็นมิติปราศจากความเจริญที่เกิดจากบุญ อบาย
นั้นชื่อว่าภูมิ เพราะเป็นที่อยู่ของพวกสัตว์ จึงชื่อว่าอบายภูมิ
 ภูมิที่ชื่อว่าสุคติ เพราะเป็นมิติที่สัตว์พึงเกิด สุคติเป็นไปกับกามตัณหา ชื่อ
ว่ากามสุคติ กามสุคตินั้นชื่อว่าภูมิ จึงชื่อว่ากามสุคติภูมิ
ติรัจฉานภูมิ หรืออบายภูมิ เป็นภูมิที่อยู่อาศัยของสัตว์เดรัจฉานทั้งหลาย
ได้แก่ สัตว์ต่างๆ เช่น ช้าง ม้า วัว ความ เป็นต้น
 สัตว์เดรัจฉานมีมากมายนับไม่ถ้วน แต่เมื่อแบ่งแล้วก็มี ๔ ประเภท คือ
 ๑. ทวิปทติรัจฉาน คือ สัตว์เดรัจฉานที่มี ๒ เท้า เช่น นก ไก่ เป็ด เป็นต้น
 ๒. จตุปทติรัจฉาน คือ สัตว์เดรัจฉานที่มี ๔ เท้า ได้แก่ สุนัข โค เป็นต้น
 ๓. พหุปทติรัจฉาน คือ สัตว์เดรัจฉานที่มีมากกว่า ๔ เท้า เช่น ปู กิ้งกือ ตะขาบ
 ๔. อปทติรัจฉาน คือสัตว์เดรัจฉานที่ไม่มีเท้า เช่น งู ปลา ไส้เดือน เป็นต้น
 นัยที่ ๑ หมายถึง สัตว์ที่เกิดในภูมินี้ ไม่ได้มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ แต่ยังมี
ความสุขด้วยกล่าวคือ สัตว์เดรัจฉานยังมีความสุขจากเหตุ ๓ ประการ คือ
 ๑. ความสุขจากการกิน ๒. ความสุขจากการนอน ๓. ความสุขจากการสืบพันธ์
 นัยที่ ๒ หมายถึง ขวาง คือขวางทั้งทางกายและทางใจ ที่ว่าขวางทางกายก็
หมายความว่าสัตว์เดรัจฉานจะมีร่างกายเจริญเติบโตไปในทางขวาง ตลอดทั้งจะ
ไปไหนก็ไปทางขวาง คือในทางแนวนอนหรือขนานกับโลก ส่วนที่ขวางทางใจ
นั้น ก็หมายถึงว่าสัตว์เดรัจฉานทุกประเภท มีใจขวางต่อ โลกกุตตรธรรม คือ ไม่
อาจบรรลุมรรคผลได้
 สัตว์เดรัจฉานต่างๆ ถึงแม้จะมีความสุขบ้างด้วยเหตุดังกล่าว แต่โดย
สภาวะทั่วไป สัตว์เดรัจฉานมีความทุกข์มากกว่าความสุข เพราะต้องคอยดิ้นรน
แสวงหาอาหาร หากินไปตลอดวัน ได้กินบ้าง ไม่ได้กินบ้าง ทั้งนี้ เพราะสัตว์
เดรัจฉานไม่รู้จักประกอบอาชีพ และสะสมเสบียงกรังอย่างมนุษย์หาได้มากก็กิน
อิ่ม ได้น้อยก็ไม่อิ่ม ไม่ได้เลยก็อด และยังมีความทุกข์อีกอย่างหนึ่งซึ่งเป็นทุกข์
เด่นที่สุดของสัตว์เดรัจฉาน นั่นก็คือความกลัว ความหวาดระแวงอันตรายที่จะ
มาถึงตัว
 อสุรกายภูมิ หรือทุคติภูมิ เป็นภูมิที่มีแต่ความทุกข์ทรมาน ทุกข์ที่เด่นมาก
ก็คือความกระหาย อสุรกายมีความทุกข์ด้วยความกระหาย ก็เพราะอสุรกาย
ไม่ได้ดื่มน้ามาตลอดกาลนาน บางทีเห็นบ่อน้า สระน้า หรือหนองน้าก็วิ่งไปหา
ทันที แต่พอไปถึงแหล่งน้าต่างๆ ก็อันตรธานหายไป กลายไปไฟลุกโชติช่วง หรือ
มีแต่ก้อนกรวด หิน ดิน ทรายเท่านั้น
 เปตติวสัยภูมิ หรือวินิบาตภูมิ
ได้แก่พวกเปรตต่างๆ เป็นภูมิที่อยู่
ห่างไกลจากความสุข เพราะพวกที่
เกิดในภูมินี้ มีแต่ความหิว ทนทุกข์
ทรมานด้วยความอดอยาก เปรตบาง
ตนไม่ได้กินอาหารเป็นเวลาหลาย
พุทธันดรก็มี ทั้งร่างกายก็ผ่ายผอม
นักหนา มีแต่หนังหุ้มกระดูก ดวงตา
โบ๋ลึกกลวงผมยาวรุงรัง กลิ่ น
เหม็นสาบนักหนา
 นิรยภูมิหรือนรกภูมิ เป็นภูมิที่มีแต่ความทุกข์ทรมานล้วนๆ มิได้มี
ความสุขความสบายเลย นรกภูมิ มีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาล โดยแบ่งเป็น
ขุมๆ ขุมใหญ่เป็นมหานรก ซึ่งมีอยู่ ๘ ขุม
 นรก เป็นภพภูมิแห่งความทุกข์ทรมาน แสนสาหัส พระพุทธเจ้าก็ตรัส
เปรียบเทียบไว้ว่า “... โจรผู้ถูกแทงด้วยหอก ๓๐๐ เล่มถึงแม้จะมีความทุกข์
ทรมานแสนสาหัสเพียงไร ก็ไม่อาจเปรียบเทียบกับความทุกข์ทรมานในนรกได้
เลย...”
 สัตว์นรกย่อมเสวยทุกข์แรงกล้า และเจ็บแสบอยู่ในนรกนั้น โดยจะยังไม่
ตายตราบเท่าที่บาปกรรมยังไม่สิ้นสุด ด้วยการลงทัณฑ์ประการต่างๆ
 สุคติภูมิ คือภูมิที่มีความสุข ความเจริญต่างๆ อย่างตรงกันข้ามกับทุคติ
ภูมิ สุคติภูมิอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ ๓ ชั้น โดยเรียงลาดับจากระดับต่าไป
หาระดับสูง หรือจากชั้นที่มีความสุขน้อย ความสุขหยาบ ไปหาชั้นที่มีความสุข
มาก ประณีตมากตามลาดับ มีดังนี้ ๑ มนุสภูมิ ๒ เทวภูมิ ๓ พรหมภูมิ ซึ่งแต่ละ
ภูมิมีความเป็นไปดังต่อไปนี้
 มนุสภูมิ คือภูมิของมนุษย์ คาว่า มนุสหรือมนุษย์ จึงมีความหมาย ๒ นัย
คือ ผู้มีใจสูง และอีกความหมายหนึ่งก็คือ ผู้มีใจกล้าหาญ
 ผู้มีใจสูง ก็หมายถึงผู้มีใจสูงด้วยคุณธรรม ในทางพระพุทธศาสนาได้แสดง
ไว้ว่า คุณธรรมที่จะทาให้เกิดมาเป็นมนุษย์และเป็นมนุษย์แท้ได้ก็เพราะเบญจศีล
เบญจธรรม คือ ศีล ๕ ธรรม ๕
 ผู้มีความกล้าหาญ มนุษย์ในความหมายทั่วไป มีความกล้าหาญยิ่งนัก
สามารถทาอะไรได้ทุกอย่างไม่ว่าในทางบุญหรือในทางบาป
เป็นมนุษย์ได้เพราะใจสูง เหมือนนกยูงมีดีที่แววขน
หากใจตํ่าเป็นได้เพียงแค่คน ย่อมเสียดายที่ตนได้เกิดมา
 สมัยปัจจุบันมีปัญหาเรื่องประชากรล้นโลก เพราะมีคนมากเกินไป แต่โลก
ทุกยุคสมัยไม่เคยมีปัญหาเรื่องมนุษย์ล้นเลย มีแต่ปัญหาขาดแคลนมนุษย์ และ
ขาดแคลนอยู่เสมอทุกวงการ
 มนุสภูมิ ถึงแม้จะมีทั้งสุขทั้งทุกข์ไม่ดีเด่นเท่าสวรรค์ แต่ถึงกระนั้นก็เป็นที่
ปรารถนาของเทวดาที่จะมาเกิดในมนุสภูมิ เพื่อสร้างบารมี ดังที่พระพุทธเจ้า
ตรัสไว้ว่า
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความเป็นมนุษย์นี้แล เป็นทางไปสู่คติของเทพทั้งหลาย”
 เทวภูมิ คือภูมิที่อยู่ของเทวดา หรือที่เรียกว่า สวรรค์ แต่เทวดาก็มีมาก
และหลายระดับเพราะสวรรค์มีหลายชั้น กล่าวคือสวรรค์มี ๖ ชั้นเรียงจากต่าไป
หาสูง หรือจากชั้นที่มีความสุขประณีตน้อย ไปหาชั้นที่มีความสุขประณีตมาก
ตามลาดับ ดังนี้ ๑. จาตุมหาราชิกะ ๒. ดาวดึงส์ ๓. ยามา ๔. ดุสิต ๕. นิมมานรดี
๖. ปรนิมมิตวสวัตดี
 จาตุมหาราชิกะ เป็นสวรรค์ชั้นแรก การที่สวรรค์ชั้นนี้มีชื่อว่า จาตุมหา
ราชิกะก็เพราะมีจอมเทวดาอยู่ ๔ องค์ คือ
 ๑. ท้าวกุเวรหรือเวสสุวัณ เป็นจอมแห่งเทวดาและยักษ์ ทรงปกครองสวรรค์
ทางด้านทิศเหนือ
 ๒. ท้าวธตรฐ (ทะ-ตะ-รด) จอมแห่งเทวดาและคนธรรพ์ทรงปกครองสวรรค์
ทางด้านทิศตะวันออก
 ๓. ท้าววิรุฬหก จอมแห่งเทวดาและกุมภัณฑ์ ทรงปกครองสวรรค์ทางด้านทิศใต้
 ๔. ท้าววิรุปักษ์ จอมแห่งเทวดาและนาค ทรงปกครองสวรรค์ทางด้านทิศ
ตะวันตก
 ดาวดึงส์ เป็นสวรรค์ชั้นที่ ๒
ดาวดึงส์หรือตาวตึส แปลว่า ๓๓
หมายถึงมาณพ ๓๓ คน มีมฆมาณพ
เป็นหัวหน้า ได้มาเกิดในสวรรค์ชั้นนี้
ประวัติย่อของมฆมาณพมีว่า สมัยที่
ยังเป็นมนุษย์ ชื่อว่า มฆะ มีจิตใจสูง
มุ่งมั่นทาบุญกุศล ต่อมาได้เพื่อนมี
จิตใจแบบเดียวกัน ๓๒ คน ร่วมกัน
บาเพ็ญกุศลต่างๆ เป็นการใหญ่
โดยเฉพาะข้อวัตบท ๗ ประการ
 ๑. บารุงเลี้ยงมารดาบิดา ตลอดชีวิต
 ๒. นอบน้อมต่อผู้ใหญ่ในตระกูล
ตลอดชีวิต
 ๓. พูดแต่คาอ่อนหวานตลอดชีวิต
 ๔. ไม่พูดคาส่อเสียดตลอดชีวิต
 ๕. กาจัดความตระหนี่ได้ตลอดชีวิต
 ๖. พูดแต่คาสัตย์จริงตลอดชีวิต
 ๗. ไม่โกรธตลอดชีวิต
 ยามาเป็นสวรรค์ชั้นที่ ๓ การที่
ชื่อยามา ก็เพราะเรียกตามพระนาม
ของท้าวสุยามเทวราช ผู้ทรงเป็น
ประมุขของสวรรค์ชั้นนี้ ในสวรรค์ชั้น
ยามามีปราสาทเงิน ปราสาททาง ซึ่ง
วิจิตรตระการตา ยิ่งกว่าปราสาทใน
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เป็นสวรรค์ที่พรั่ง
พร้อมด้วยความสุขที่เป็นทิพย์
ปราศจากความยากลาบากใด ๆ
 ดุสิต เป็นสวรรค์ชั้นที่ ๔ การที่ชื่อว่าดุสิต ก็เพราะมาจาก ๒ นัยด้วยกันคือ
ตั้งตามนามของท้าวสันดุสิตเทวราช ผู้ทรงเป็นจอมเทวดาของสวรรค์ชั้นนี้ และ
อีกความหมายหนึ่ง คือตั้งตามความเป็นไปของเทวดาในชั้นนี้ ซึ่งมีแต่ความ
ยินดีและความแช่มชื่นอยู่เป็นนิตย์
 อนึ่ง เทวดาในชั้นดุสิตนี้ ชอบฟังธรรมกันมาก เมื่อถึงวันพระ พวกเทวดา
จะมาประชุมกันฟังธรรม และผู้แสดงธรรมส่วนมาก มักจะเป็นพระโพธิสัตว์ ด้วย
เหตุนี้สวรรค์ชั้นนี้ จึงเป็นที่สถิตของเทพบุตร ผู้เป็นพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย
 นิมมานรดี เป็นสวรรค์ชั้นที่ ๕
โดยมีท้าวสุนิมมิตเทวราชเป็นจอม
เทพ ดังนั้นสวรรค์ชั้นนี้มีความ
เพลิดเพลินยินดียิ่งนัก เพราะเทวดา
แต่ละองค์ สามารถเนรมิตอะไรได้
ทุกอย่างตามความปรารถนา
เพราะฉะนั้น เทวดาแต่ละองค์จึง
สวยงามมาก ทั้งมีรัศมีเรืองรอง เต็ม
ไปด้วยของทิพย์ที่สดสวยงดงาม
เทวดาแต่ละองค์จะพากันเสวยทิพย
สุขบนสิ่งต่าง ๆ ที่เนรมิตได้มา จะ
ปรารถนาอะไรก็ได้ปรารถนา
 ปรนิมมิตวสวัตตี เป็นสวรรค์ชั้นที่ ๖
มีท้าวปรนิมมิตวสวัตตี เป็นจอมเทพ
ดังนั้นสวรรค์ชั้นนี้จึงมีชื่อตามจอม
เทพ ผู้เป็นประมุขของเทวดาชั้นนี้ ปร
นิมมิตวสวัตตี เป็นสวรรค์ชั้นสูงสุด
เทวดาชั้นนี้สุขสบายยิ่งกว่าเทวดาใน
ชั้นนิมมานรดีเสียอีก แม้จะเนรมิต
อะไรก็ไม่ต้องทา เพราะมีเทวดาอื่นรู้
ใจคอยเนรมิตให้อยู่แล้ว
 พรหมภูมิ คือ ภูมิที่อยู่ของพรหม พรหมภูมิแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ รูป
พรหมภูมิ ๑๖ ชั้น และอรูปพรหมภูมิ ๔ ชั้น ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
 รูปพรหมภูมิ คือ ภูมิที่อยู่ของพระพรหมที่ยังมีรูปร่าง แต่ละเอียดประณีตยิ่งนัก รูป
พรหมทั้งหมดมี ๑๖ ชั้น ดังนี้
 ๑. ปาริสัชชาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ปฐมฌานระดับอ่อน
 ๒. ปุโรหิตาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ปฐมฌานระดับกลาง
 ๓. มหาพรหมภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ปฐมฌานระดับประณีต
 ๔. ปริตตาภาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ทุติยฌานระดับอ่อน
 ๕. อัปปมาณาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ทุติยฌานระดับกลาง
 ๖. อาภัสราภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ทุติยฌานระดับประณีต
 ๗. ปริตตสุภาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ตติยฌานระดับอ่อน
 ๘. อัปปมาณสุภาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ตติยฌานระดับกลาง
 ๙. สุภกิณหาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ตติยฌานระดับประณีต
 ๑๐. เวหัปผลาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้จตุตถฌานระดับอ่อน
 ๑๑. อสัญญีสัตตาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้จตุตถฌานระดับกลาง
 ๑๒. อวิหาสุทธาวาสภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้จตุตถฌานระดับประณีต
 ๑๓. อตัปปาสุทธาวาสภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้จตุตถฌานระดับประณีต
 ๑๔. สุทัสสาสุทธาวาสภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้จตุตถฌานระดับประณีต
 ๑๕. สุทัสสีสุทธาวาสภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้จตุตถฌานระดับประณีต
 ๑๖. อกนิฏฐสุทธาวาสภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้จตุตถฌานระดับประณีต
 ภูมิที่ชื่อสุทธาวาส เพราะเป็นที่อยู่แห่งพระอนาคามี และพระอรหันผู้
บริสุทธิ์ อีกนัยหนึ่ง ภูมิที่อยู่ของพรหมเหล่านี้ บริสุทธิ์เพราะไม่มีสิ่งพอใจ และขัด
ใจ จึงชื่อว่าสุทธาวาส
 ชั้นที่ ๑ ชื่อว่า อวิหา เพราะไม่ละที่อยู่ของตนเพียงเล็กน้อย
 ชั้นที่ ๒ ชื่อว่า อตัปปา เพราะไม่สะดุ้งกลัวอะไร
 ชั้นที่ ๓ ชื่อว่า สุทัสสา เพราะปรากฏได้ง่าย มีรูปงามอย่างยิ่ง
 ชั้นที่ ๔ ชื่อว่า สุทัสสี เพราะเห็นได้ง่าย เป็นผู้มีการเห็นบริสุทธิ์
 ชั้นที่ ๕ ชื่อว่า อกนิฏฐา เพราะไม่มีความต่าต้อย
อรูปพรหมภูมิ คือ ภูมิที่อยู่ของพรหมที่ละเอียดประณีตสูงสุดไม่มีรูปร่าง มีก็
แต่จิตและเจตสิกเท่านั้น ผู้ที่จะไปเกิดในอรูปพรหมภูมิได้ จะต้องได้บรรลุฌาน ๔
อรูปพรหมภูมิ ๔ ชั้น คือ
 ๑. กาสานัญจายตนภูมิ คือ ภูมิของพระพรหมจาพวกอาศัยอากาศบัญญัติ
 ๒. วิญญานัญจายตนภูมิ คือ ภูมิของพระพรหมจาพวกอาศัยวิญญาณบัญญัติ
 ๓. อากิญจัญญายตนภูมิ คือ ภูมิของพระพรหมจาพวกอาศัยนัตถิภาวบัญญัติ
 ๔. เนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ คือ ภูมิของพระพรหมจาพวกอาศัยความประณีต
 จากเรื่องต่าง ๆ ดังกล่าว แสดงว่า ภพภูมิเป็นที่อาศัยของจิต เกิดขึ้นมา
เพื่อเป็นที่รองรับจิต ตามสภาพของจิต กล่าวคือสภาพจิตที่ดี-ชั่ว สูง-ต่า จะนาไป
เกิดในภพภูมิต่าง ๆ ที่เหมาะสมกัน
 วิถีจิตตามภูมิ
 วิถีจิตแห่งสัตว์ทั้งหลาย ย่อมบังเกิดขึ้นได้ตามสมควรแก่สัตว์ในภูมิ
หนึ่งๆ ภูมิในที่นี้หมายถึง ฐานภูมิ อันเป็นที่อยู่ของหมู่สัตว์ จาแนก
ไว้ ๓ ภูมิ คือ กามภูมิ, รูปภูมิ, และอรูปภูมิ ซึ่งเมื่อสงเคราะห์ภูมิตามประเภท
แห่งสัตว์ ๓๑ ภูมิ ได้แก่ กามภูมิ ๑๑, รูปภูมิ ๑๖, และอรูปภูมิ ๔
มีวิถีจิตเกิดได้ ๘๐ ดวง คือ มีวิถีจิตเกิดไม่ได้ ๙ ดวง คือ
อกุศลจิต ๑๒ ดวง
อเหตุกจิต ๑๘ ดวง
กามาวจรโสภณจิต ๒๔ ดวง
มหัคคตกุศลจิต ๙ ดวง
มหัคคตกิริยาจิต ๙ ดวง
โลกุตตรจิต ๘ ดวง
มหัคคตวิบากจิต ๙ ดวง
มีวิถีจิตเกิดได้ ๖๔ ดวง คือ มีวิถีจิตเกิดไม่ได้ ๒๕ ดวง คือ
โลภมูลจิต ๘ ดวง
โมหมูลจิต ๒ ดวง
อเหตุกจิต ๑๒ ดวง
มหากุศลจิต ๘ ดวง
มหากิริยาจิต ๘ ดวง
มหัคคตกุศลจิต ๙ ดวง
มหัคคตกิริยาจิต ๙ ดวง
โลกุตตรจิต ๘ ดวง
โทสมูลจิต ๒ ดวง
ฆาน, ชิวหา, กายวิญญาณ ๖ ดวง
มหาวิบากจิต ๘ ดวง
มหัคคตวิบากจิต ๙ ดวง
***ในอสัญญสัตตภูมิ ไม่มีวิถีเลย เพราะในภูมินั้นมีแต่รูปธรรมอย่างเดียว
มีวิถีจิตเกิดได้ ๔๒ ดวง คือ มีวิถีจิตเกิดไม่ได้ ๔๗ ดวง คือ
โลภมูลจิต ๘ ดวง
โมหมูลจิต ๒ ดวง
มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง
มหากุศลจิต ๘ ดวง
มหากิริยาจิต ๘ ดวง
อรูปาวจรกุศลจิต ๔ ดวง
อรูปาวจรกิริยาจิต ๔ ดวง
โลกุตตรจิต ๗ ดวง
โทสมูลจิต ๒ ดวง
อเหตุกจิต ๑๗ ดวง
มหาวิบากจิต ๘ ดวง
รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง
อรูปาวจรวิบากจิต ๔ ดวง
โสดาปัตติมรรคจิต ๑ ดวง
 พุทธศาสนา เป็นศาสนาแห่งกรรมนิยม
คือ ถือเรื่องกรรมว่ามีบทบาทสาคัญ
ที่สุด กรรมคืออะไร กรรมคือการ
กระทา ดังนั้นกรรมจึงเป็นคากลาง ๆ
ไม่ดีไม่ชั่ว ส่วนจะดีหรือชั่วขึ้นอยู่กับ
การกระทานั้น ๆ กล่าวคือ ถ้าทาชั่วก็
เรียกอกุศลกรรม หรือบาปกรรม หรือ
ทุจริตกรรม แต่ถ้าทาดี ก็เรียกว่า กุศล
กรรม หรือบุญกรรม หรือสุจริตกรรม
 การกระทาชั่วทางกาย เรียกว่า กายทุจริต มี ๓ อย่างคือ ๑. ฆ่าสัตว์ ๒. ลัก
ทรัพย์๓. ประพฤติผิดในกาม
 การกระทาชั่วทางวาจา เรียกว่า วจีทุจริต มี ๔ อย่างคือ ๑. พูดเท็จ ๒. พูด
ส่อเสียด ๓. พูดคาหยาบ ๔. พูดเพ้อเจ้อ
 การกระทาชั่วทางใจ เรียกว่า มโนทุจริต มี ๓ อย่างคือ ๑. โลภอยากได้ของ
เขา ๒. พยาบาท คิดปองร้ายเขา ๓. มิจฉาทิฐิ เห็นผิดเป็นชอบ ผิดจากคลอง
ธรรม
 ทาความดีทางกาย เรียกว่า กายสุจริต
มี ๓ อย่างคือ ๑. ไม่ฆ่าสัตว์ ๒. ไม่ลักทรัพย์
๓. ไม่ประพฤติประเวณี
 ทาความดีทางวาจา เรียกว่า วจีสุจริต
มี ๔ อย่างคือ ๑. ไม่พูดเท็จ ๒. ไม่พูดส่อเสียด
๓. ไม่พูดคาหยาบ ๔. ไม่พูดเพ้อเจ้อ
 ทาความดีทางใจ เรียกว่า มโนสุจริต
มี ๓ อย่างคือ ๑. ไม่โลภอยากได้ของเข้า
๒. ไม่พยาบาทคิดปองร้ายเขา ๓. สัมมาทิฐิ
มีความเห็นถูกต้องตามครรลองคลองธรรม
 กรรมประเภทให้ผลตามกาลเวลา
๑. ทิฏฐิธีมมเวทียกรรม คือ กรรมที่ให้ผลในชาตินี้
๒. อุปปัชชเวทนียกรรม คือ กรรมที่ให้ผลในชาติหน้า
๓. อปราปรเวทนียกรรม คือ กรรมที่ให้ผลในชาติต่อ ๆ ไป
๔. อโหสิกรรม คือ กรรมที่หมดโอกาสให้ผลแล้ว
 ๑. ชนกกรรม คือ กรรมที่ทาหน้าที่คล้ายมารดาบิดา กล่าวคือ แต่งให้มา
เกิดดีหรือชั่ว
 ๒. อุปัตถัมภกกรรม คือ กรรมที่ทาหน้าที่คอยอุปถัมภ์หรือสนับสนุน
ส่งเสริมชนกกรรมให้แรง เด่นชัดยิ่งขึ้น
 ๓. อุปปีฬกกรรม คือ กรรมที่ทาหน้าที่คอยขัดขวาง บีบค้น หรือบั่นทอน
ชนกกรรม
 ๔. อุปฆาตกรรม หรือ อุปัจเฉทกรรม คือ กรรมที่ตัดรอน หรือห้าหั่นชนก
กรรมให้ออกผลตรงกันข้ากันเลย อย่างหน้ามือเป็นหลังมือ กล่าวคือ ถ้าชน
กรรมแต่งให้มาดี กรรมนี้ก็จะเข้าตัดรอน ห้าหั่น ให้ผลออกมาเป็นชั่ว เช่นเศรษฐี
เกิดล้มละลายกลายเป็นยาจก
 ๑. ครุกรรม คือ กรรมหนัก กล่าวคือกรรมหนักย่อมจะให้ผลก่อนกรรม ครุกรรม
มีทั้งฝ่ายดีและฝ่ายชั่ว ฝ่ายดีก็ได้แก่การบรรลุฌานสมาบัติ ส่วนฝ่ายชั่ว ก็ไดแก่
การทาอนันตริกรรม
 ๒. อาจิณกรรม หรือ พหุลกรรม คือ กรรมสั่งสม กล่าวคือ กรรมที่ได้สั่งสมทีละ
น้อย ๆ นานเข้ารวมกันกลายเป็นกรรมมาก กรรมหนา ถ้าครุกรรมไม่มี อาจิณ
กรรมก็จะให้ผลทันที
 ๓. อาสันกรรม คือ กรรมใกล้ตาย กล่าวคือ กรรมไม่ว่าดี หรือชั่วที่ทาเมื่อใกล้
ตายจะให้ผลก่อน
 ๔. กตัตากรรม คือ กรรมที่สักว่าทา กล่าวคือ กรรมที่ไม่เจตนา หรือความจงใจ
ทาไปอย่างขอไปที หรือทาไปอย่างไม่มีจุดหมาย
 กรรมเป็นเรื่องสลับซับซ้อน สับสนปนเปกันยิ่งนัก กรรมไม่อาจแยกจาก
กันได้เด็ดขาด ทั้งไม่มีใครสามารถรู้กรรมได้ ก็มีแต่พระพุทธเจ้าเท่านั้น ที่ทรง
ทราบเรื่องกรรม ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงอจินไตย ๔ คือ พุทธวิสัย ฌานวิสัย
กรรมวิสัย โลกอจิณไตย ว่า
 เป็นเรื่องสลับซับซ้อนลุ่มลึกยิ่งนัก บุคคลไม่ควรคิด เพราะถึงจะคิด
อย่างไรก็รู้ไม่หมด ขืนคิดไปก็เป็นบ้า ทั้งนี้ ก็เพราะเรื่องดังกล่าวอยู่เหนือวิสัย
ปุถุชนและคนทั่วไป
 กรรมทุกอย่างที่บุคคลทาแล้วต้องให้ผล แต่การให้ผลกรรม ก็
สลับซับซ้อนมาก คนทาบุญหรือทาบาปอย่างเดียวกัน แต่อาจได้รับผล ไม่
เท่ากันก็ได้ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับตัวแปรนั่นก็คือเจตนา และอดีตกรรมของผู้ทาเข้า
ประกอบด้วย
 ๑. บางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักทากรรมชั่ว เมื่อเขาตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงอบายภูมิ
ก็มี ทั้งนี้ก็เพราะเขาเคยทากรรมชั่วไว้ในกาลก่อน หรือต่อมาหรือเวลาใกล้ตาย...
 ๒. บางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักทากรรมชั่ว เมื่อเขาตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงโลก
สวรรค์ ก็มี ทั้งนี้ก็เพราะเขาเคยทากรรมดีไว้ในกาลก่อน หรือต่อมาหรือเวลา
ใกล้ตาย..
 ๓. บางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักทากรรมดี เมื่อเขาตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงโลก
สวรรค์ ก็มี ทั้งนี้ก็เพราะเขาเคยทากรรมดีไว้ในกาลก่อน หรือต่อมาหรือเวลา
ใกล้ตาย..
 ๔. บางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักทากรรมดี เมื่อเขาตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงอบายภูมิ
ก็มี ทั้งนี้ก็เพราะเขาเคยทากรรมชั่วไว้ในกาลก่อน หรือต่อมาหรือเวลาใกล้ตาย..
 ๑. พระสุมังคลาจารย์เป็นชาวลังกา เป็นนักปรารชญ์สายพระอภิธรรม คัมภีร์
อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกาที่ท่านแต่งแก้คัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะได้สร้างชื่อเสียง
ท่านให้เป็นที่รู้จักกัน
 ๒. พระอภิธรรม นั้นแสดงถึงความจริงขั้นปรมัตถ์ประกอบ ด้วย จิต เจตสิก รูป
นิพพาน
 ๓. ปริเฉทที่ ๕ แห่งคัมภีร์ อภิธัมมัตถวิภาวินี อธิบายถึง สภาพแห่งภูมิ
กาเนิดต่างๆ ซึ่งเป็นเรื่องจิตที่พ้นวิถี
 ๔. จากบทความทั้งหมดนี้แสดงว่า จิตไม่ได้สูญสลาย ทั้งมีธรรมชาติคอย
บันทึกกรรมที่ทาไว้ กรรมจึงไม่สูญสลายตามจิตไปด้วย ทั้งมีอานาจชัก
นาพาจิตไปสู่ภพภูมิต่าง ๆ ตามกรรมที่ทาไว้ได้อีก และแสดงให้เห็นว่าโลก
นี้ เป็นเวทีแห่งกรรม ทั้งกรรมในอดีตชาติ ปัจจุบันชาติ และอนาคตชาติ
“กมฺมุนา วตฺตตี โลโก
สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม”
จบการนาเสนอ
หากผิดพลาดประการใดขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย
สวัสดีครับ / ค่ะ
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
Kiat Chaloemkiat
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
Padvee Academy
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
Anchalee BuddhaBucha
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
Padvee Academy
 

Mais procurados (20)

ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdfประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
บทสวดแปล+ทิพย์มนต์
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 

Destaque

วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
Padvee Academy
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
Padvee Academy
 
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสาการบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
Padvee Academy
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
Padvee Academy
 
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
Padvee Academy
 

Destaque (20)

วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยมทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
ทัศนะต่อบุคคลอื่นของปรัชญาอัตถิภาวนิยม
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดียอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออินเดีย
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิตLife compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
 
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสาการบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญาขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
พระไพศาล วิสาโล
พระไพศาล   วิสาโลพระไพศาล   วิสาโล
พระไพศาล วิสาโล
 
ความเรียบง่ายไร้กาลเวลา
ความเรียบง่ายไร้กาลเวลาความเรียบง่ายไร้กาลเวลา
ความเรียบง่ายไร้กาลเวลา
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
 

Semelhante a ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์

เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
Tongsamut vorasan
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
Yota Bhikkhu
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ampy48
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
Tongsamut vorasan
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘
Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘
Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘
Tongsamut vorasan
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
Tongsamut vorasan
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
Dream'Es W.c.
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
Yota Bhikkhu
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
Tongsamut vorasan
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
Panda Jing
 

Semelhante a ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ (20)

เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
คู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัทคู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัท
 
Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘
Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘
Tri91 10+ปริวาร+เล่ม+๘
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
 
๑๙ มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
๑๙  มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf๑๙  มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
๑๙ มหาสติปัฏฐานสูตร มจร.pdf
 

Mais de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
Padvee Academy
 

Mais de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 

ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์

  • 1.
  • 2.  ๑) ชีวประวัติของพระสุมังคลาจารย์  ๒) ผลงานต่าง ๆ ของพระสุมังคลาจารย์  ๓) บทความเบื้องต้นเกี่ยวกับพระอภิธรรม  ๔) พระอภิธรรม ๔ สมัย  ๕) อธิบายความ ปริเฉทที่ ๕ สถานภาพแห่งภูมิกาเนิด  ๖) ประเภทแห่งกรรมต่างๆ
  • 3.  พระสุมังคลาจารย์ เป็นนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาฝ่ายบาลีในสาย พระอภิธรรมท่านเป็นพระภิกษุที่เป็นนักปราชญ์พุทธชั้นพระฎีกาจารย์ เป็นศิษย์ ของท่านพระสารีบุตรพระภิกษุที่เป็นนักปราชญ์พุทธชั้นพระฎีกาจารย์ผู้มี ชื่อเสียงอยู่ในช่าวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ โดยเฉพาะในรัชสมัยของพระเจ้าปรักกม พาหุที่ ๑ (ซึ่งปกครองประเทศลังกาอยู่ในช่วงระหว่าง พ.ศ. ๑๖๙๖-๑๗๙๒
  • 4.  ๑. ชาติภูมิ ไม่มีหลักฐานใดว่าพระสุมังคละเกิดในวรรณะใด ที่ไหน และมีบิดามารดา ชื่อว่าอะไรเรารู้แต่เพียงว่า ท่านเป็นชาวลังกาโดยกาเนิด และมีชีวิตอยู่ในช่วงรัช สมัยการปกครองของพระเจ้าปรักกมพาหุที่ ๑ แห่งลังกาประเทศ ผู้ปกครอง ลังกาอยู่ระหว่างปี พ.ศ. ๑๖๙๖-๑๗๒๙
  • 5.  ๒. การศึกษาและการบวช  ไม่มีหลักฐานใดพูดถึงการศึกษาใน วัยเด็ก และวัยรุ่นของพระสุมังคละว่า ท่านได้รับการศึกษาอะไรหรือไม่ ก่อนเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา ชีวประวัติด้านการศึกษาของท่านรู้ แต่เพียงว่า ท่านเป็นลูกศิษย์ของพระ สารีบุตรผู้เป็นสังฆนายกอยู่ที่วิหาร (วัด) ที่พระเจ้าปรักกมพาหุที่ ๑ ทรง อุปถัมภ์การสร้างในเมืองปุลัตถินคร โดยสังกัดอยู่ในคณะสงฆ์ฝ่ายเชตวัน วิหาร
  • 6.  พระสุมังคละได้อยู่ศึกษาพระไตรปิ ฎก โดยเฉพาะพระอภิธรรมปิ ฎกเป็น พิเศษกับพระสารีบุตรที่เมืองปุลัตถิปุระ จนมีความรู้และความสามารถทาง ศาสนา และ ทางอภิธรรมแตกฉานประกอบกับที่ท่านได้รับอิทธิพลผ่านทาง การศึกษาและความคิดจากพระสารีบุตร ผู้เป็นอาจารย์ที่เป็นนักปราชญ์พุทธชั้น พระฎีกาจารย์ ท่านจึงได้แต่งคัมภีร์ฎีกาแก้คัมภีร์ชั้นนาที่พระเถระผู้มีชื่อเสียงใน อดีตได้แต่งเข้าไว้หลายคัมภีร์และคัมภีร์ที่นับว่าสาคัญ และ มีชื่อเสียงที่สุดใน บรรดางานอธิบายความคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะเท่าที่มีอยู่ในคัมภีร์ประเภทนี้ ด้วยกัน ก็คือคัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกา
  • 7.  พระสุมังคลาจารย์ได้แต่งคัมภีร์ประเภทฎีกาทิ้งไว้เป็นมรดกตกทอดแก่ ชาวพุทธและผู้ที่สนใจศึกษาพระอภิธรรมทั่วโลก ๓ คัมภีร์ คือ  ๑. คัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินี  ๒. คัมภีร์อภิธัมมัตวิกาสินี  ๓. คัมภีร์สารัตถสาลินี
  • 8.  คัมภีร์นี้ถือว่าเป็นผลงานประเภทฎีกาที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดของพระ สุมังคลาจารย์ ชาวไทยพุทธนิยมเรียกคัมภีร์นี้สั้น ๆ ว่า “ฎีกาสังคหะ” คัมภีร์นี้ นักศึกษาพระอภิธรรมและนักศึกษาจิตวิทยาพุทธศาสนาไม่พลาดที่จะนามา ประกอบการศึกษาของพวกเขา ในประเทศไทยคณะสงฆ์ไทยได้กาหนดให้คัมภีร์ อภิธัมมัตตวิภาวินีนี้เป็นตาราศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีประโยค ป.ธ.๙ คู่ กับคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ ของท่านพระอนุรุทธาจารย์
  • 9.  เนื้อหาออกเป็น ๓ ส่วนหลัก ๆ คือ  ๑. ปณามคาถา ส่วนนี้เป็นส่วนที่พระสุมังคละใช้เป็นบทไหว้ครู คือ บูชาสักการะ พระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ และกราบ บูชาคุณของอาจารย์คือ พระสารีบุตรให้เกิดกาลังใจกล้าหาญแก่ตน  ๒. เนื้อหาของคัมภีร์ฎีกา ส่วนนี้นับเป็นส่วนใจความสาคัญของคัมภีร์ อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกาพระสุมังคละแบ่งเนื้อหาสาคัญของคัมภีร์ออกเป็น ๙ ปริเฉทตามคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะของพระอนุรุทธะ คือ
  • 10.  ปริจเฉทที่ ๑ ปริจเฉทนี้เริ่มต้นด้วยการอธิบายปณามคาถาที่พระอนุรุทธะแต่ง ขึ้นเพื่อบูชาพระรัตนตรัย ต่อด้วยการอธิบายสัมปทา ๓ พระธรรม พระสงฆ์ พระ อภิธรรมและอรรถในอภิธรรม ลักษณะจิตและเจตสิก ลักษณะรูปและนิพพาน อธิบายกามาวจรจิต เป็นต้น  ปริจเฉทที่ ๒ ปริจเฉทนี้กล่าวถึงลักษณะของเจตสิก อธิบายของความหมาย ของอัญญสมานาเจตสิก อกุศลเจตสิก และโสภณเจตสิกตามหัวข้าเจตสิก ๕๒ ดวง อธิบายเจตสิกประกอบกับจิตและเจตสิกสัมประโยคกับจิต  ปริจเฉทที่ ๓ ปริจเฉทนี้กล่าวถึงการประกอบกับของจิตกับเจตสิก อธิบายกิน และฐานของจิต แสดงจานวนของจิต อธิบายอารมณ์ ๖ มี รูป เป็นต้น อารมณ์ ของจิตที่ไปทางมโนทวารจิตต่างภูมิมีอารมณ์ต่างกัน และจบปริเฉทนี้ลงด้วย การอธิบายวัตถุสังคหะ
  • 11.  ปริจเฉทที่ ๔ ปริเฉทนี้กล่าวถึงความต่างแห่งอารมณ์ อธิบายขณะ ๓ ขณะของจิต (เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป) อายุของรูปธรรมและนามธรรม อธิบายเปรียบเทียบ ความไหวแห่งภวังคจิต วิถีจิต และอธิบายเปรียบเทียบวิถีจิต เป็นต้น  ปริจเฉทที่ ๕ ปริจเฉทนี้กล่าวอธิบายความหมายของคาว่า อบาย นรก มนุษย์ เทวดา และพรหม เป็นต้น อธิบายพรหมสุทธาวาส ๕ ชั้น อธิบายกรรม ๔ มี ชนก กรรม เป็นต้น กรรม ๔ อย่างให้ผลตามคราว อธิบายกายกรรม วจีกรรม และ มโนกรรม  ปริจเฉทที่ ๖ ปริจเฉทนี้กล่าวอธิบายความหมายของมหาภูตรูป เป็นต้น อธิบาย ธาตุ ๔ ประสาทรูป อุปาทายรูป มี โคจรรูปเป็นต้น ภาวรูป และหทยรูป อธิบาย ชีวิตรูป เป็นต้น และจบปริจเฉทนี้ลงด้วยการอธิบายพระนิพพาน
  • 12.  ปริจเฉทที่ ๗ ปริจเฉทนี้กล่าวอธิบายอาสวกิเลสเครื่องดอง โอฆะกิเลสดุจห้วงน้า โยคะ คันถะ อุปาทาน นิวรณ์ อนุสัย สังโยชน์ องค์ฌาน องค์มรรค อินทรีย์และ พละ อาหาร โพธิปักขิยธรรม มีสติปัฏฐาน เป็นต้น สัมมัปปธาน อิทธิบาท โพชฌงค์ ๗ ขันธ์ ๕ อุปานขันธ์ อายตนะ ธาตุ ๑๘ อริยสัจ ๔  ปริจเฉทที่ ๘ ปริจเฉทนี้กล่าวอธิบายปฏิจจสมุปบาท และอธิบายว่าปฏิจจสมุป บาท เป็นปัจจัยกันและกัน อธิบายอัทธา เป็นต้น อาการ ๒๐ สนธิ ๓ และสังเขป ๔ สังคหกถา ปัจจัย ๒๔ มี เหตุปัจจัย เป็นต้น  ปริจเฉทที่ ๙ ปริจเฉทนี้กล่าวอธิบายจริต มีราคจริต เป็นต้น อธิบายความหมาย ของภาวนา เป็นต้น อธิบายกสิณ (๑๐) อสุภะ ๑๐ อนุสสติ ๑๐ อัปปมัญญา ๔ กรรมฐานที่เหมาะแก่จิต อัปปนามีและไม่มีในกรรมฐานบางอย่าง ความต่างกัน แห่งนิมิต ความต่างกันแห่งสีทั้ง ๕ รูปฌาน อรูปฌาน เป็นต้น
  • 13.  เนื้อหาส่วนที่ ๓. นิคมคาถา ส่วนนี้เป็นคาถาสรุปท้ายคัมภีร์ที่แต่งขึ้น ด้วย ประสงค์จะบอกให้ผู้อ่านรู้ว่า  ๑) ท่านแต่งคัมภีร์ที่วัดเชตวันวิหาร  ๒) ท่านเป็นคณาจารย์รูปหนึ่งในวัดเชตะวันวิหาร ผู้มีศีลาจารวัตรงดงาม และมีความรู้ความสามารถในสาขาวิชาพุทธศาสตร์และในคัมภีร์ต่างๆ  ๓) ท่านอุทิศผลงานการแต่งคัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกานี้ให้แก่อาจารย์ ของท่าน คือ พระสารีบุตร  ๔) ด้วยอานุภาพแห่งผลบุญที่เกิดจากการแต่งคัมภีร์นี้ ท่านอธิษฐานขอให้ เกิดเป็น “ศาสนทายาท” ของพระศรีอารยเมตไตยในอนาคตกาล  ๕) คัมภีร์อภิธัมมัตวิภาวินีฎีกานี้ท่านใช้เวลาแต่ง ๒๔ วัน  ๖) ท่านขออานวยพรให้เหล่าสัตว์ประสบความสาเร็จตามที่ตนมุ่งหวังใน สิ่งที่ดีงามทุกประการ
  • 14.  คัมภีร์อภิธัมมัตถวิกาสินี เป็นฎีกาที่พระสุมังคลาจารย์แต่ง ขึ้น เพื่อแก้คาและความของคัมภีร์อภิธัมมาวตาของท่านพระ พุทธทัตตะ
  • 16.  ๑. พระสุมังคลาจารย์เป็นชาวลังกาโดยกาเนิด  ๒. พระสุมังคลาจารย์เป็นนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาฝ่ายบาลีที่สังกัดใน คณะสงฆ์ฝ่ายเชตะวันวิหาร  ๓. พระสุมังคลาจารย์เป็นนักปรารชญ์พุทธสายพระอภิธรรม คัมภีร์อภิธัมมัตถ วิภาวินีฎีกาที่ท่านแต่งแก้คัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะของพระอนุรุทธะ ได้สร้าง ชื่อเสียงท่านให้เป็นที่รู้จักกันของนักอภิธรรมทั้งหลาย
  • 17.  พระอภิธรรมจะเกิดขึ้นในโลกได้นั้น จะต้องอาศัยพระสัพพัญญุตญาณของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้น ดังมีสาธกบาลีที่ได้แสดงไว้ในปิ ฎกปริวารพระบาลีว่า พุทฺธจนฺเท อนุปฺปนฺเน พุทฺธาทิจฺเจ อนุคฺคเต เตสํ สภาวธมฺมานํ นามมตฺตํ น นายติ  แปลว่า พระจันทร์ คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ถ้าไม่อุบัติขึ้น พระอาทิตย์คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ถ้าไม่ปรากฏขึ้น ใครๆ ก็ไม่สามารถที่จะรู้ แม้เพียงแต่ชื่อ ของสภาวธรรมเหล่านั้นได้เลย
  • 18.  ๑. ปริยัติศาสนา ได้แก่การศึกษาคาสอนให้เกิดความเข้าใจ เพื่อนาไปใช้ ในการปฏิบัติ  ๒. ปฏิบัติศาสนา ได้แก่การปฏิบัติธรรม มีอยู่ ๓ อย่าง คือ ปฏิบัติด้วย ศีล สมาธิ ปัญญา  ๓. ปฏิเวธศาสนา ได้แก่ผลที่เกิดขึ้นจากปริยัติและปฏิบัติที่ถูกต้อง คือ นวโลกกุตรธรรม ๙
  • 19. ตลอดเวลา ๔๕ พรรษา นับตั้งแต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสรู้อนุตร สัมมาสัมโพธิญาณ ก็ได้แสดงธรรมคาสั่งสอนโปรดแก่เวไนยสัตว์เพื่อให้พ้นจาก ทุกข์ด้วยความหมดจดจากกิเลส ซึ่งเมื่อรวมทั้งสิ้นแล้ว ก็ได้ ๘๔,๐๐๐ พระ ธรรมขันธ์ เมื่อรวบรวมสงเคราะห์ไว้เป็นปิ ฎก แบ่งออกมาเป็น ๓ ปิ ฎกด้วยกัน เรียกว่า พระไตรปิ ฎก ได้แก่  ๑. พระวินัยปิ ฎก  ๒. พระสุตตันตปิ ฎก  ๓. พระอภิธรรมปิ ฎก
  • 20.  พระวินัยปิ ฎก เป็นธรรมที่แสดงถึงเรื่องระเบียบ หรือข้อบังคับวางหลักให้ ประพฤติปฏิบัติเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงาม แยกออกเป็น ๕ คัมภีร์ ด้วยกัน คือ  ๑) คัมภีร์อาทิกัมมิกะ ๒) คัมภีร์ปาจิตติยะ  ๓) คัมภีร์มหาวรรค ๔) คัมภีร์จุลวรรค  ๕) คัมภีร์ปริวาร  คัมภีร์ทั้ง ๕ นี้ มีชื่อย่อว่า อา ปา มะ จุ ปะ
  • 21. พระสุตตันตปิ ฎก เป็นธรรมที่แสดงถึงเรื่องที่เกี่ยวกับสมมุตสัจจะ อันเป็น ความจริงส่วนหนึ่งสาหรับชาวโลก เป็นธรรมที่ยกสัตว์ยกบุคคลขึ้นมาตั้ง เพื่อ สรรสร้างให้บังเกิดความประพฤติดีงาม บางทีก็เรียกสั้นๆ ว่า พระสูตร ซึ่ง จาแนกออกเป็น ๕ นิกายด้วยกัน คือ  ๑) ทีฆนิกาย ๒) มัชฌิมนิกาย  ๓) สังยุตตนิกาย ๔) อังคุตตรนิกาย  ๕) ขุททกนิกาย  นิกายทั้ง ๕ นี้ มีชื่อย่อว่า ที มะ สัง อัง ขุ
  • 22. พระอภิธรรมปิ ฎก เป็นธรรมที่แสดงปรมัตถสัจจะ ปฏิเสธสัตว์บุคคลตัวตน เรา เขา เป็นเนื้อความที่จริงแท้แน่นอน เมื่อรู้แล้ว ทาให้เกิดปัญญา สามารถละ กิเลสนาตนให้พ้นทุกข์ได้ พระอภิธรรมปิ ฎก แยกออกเป็น ๗ คัมภีร์ คือ  ๑) ธัมมสังคนี ๒) วิภังค์  ๓) ธาตุกถา ๔) บุคคลบัญญัติ  ๕) กถาวัตถุ ๖) ยมก  ๗) มหาปัฏฐาน  คัมภีร์ทั้ง ๗ นี้ มีชื่อย่อว่า สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ
  • 23.  พระบาลี คืออะไร บาลี หมายถึงถ้อยคาที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเทศนาโปรดแก่เวไนย สัตว์ ซึ่งได้แก่พุทธพจน์โดยตรง  อรรถกถา ได้แก่อะไร อัตถะ = เนื้อความ กถา = กล่าวหรือถ้อยคา รวมกันเข้าแล้วก็แปลว่า กล่าวเนื้อความนั้น ก็คือ กล่าวเนื้อความตามบาลีนั้นอีกทีหนึ่ง ผู้ขยายความ ตามบาลี นั้นเรียกว่า ท่านอรรถกถาจารย์ท่านได้ขยายความจากบาลี ออกมา เพื่อจะให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ให้แจ่มแจ้งขึ้น เพื่อสะดวกแก่การศึกษาเล่าเรียน  ฎีกา ได้แก่อะไร เมื่ออรรถกถาอธิบายขยายความออกมาแล้วผู้ศึกษาก็ยังเข้าใจไม่ได้อยู่ อีก ท่านฎีกาจารย์จึงเป็นผู้ขยายความอรรถกถานั้นอีกชั้นหนึ่ง
  • 24.  เป็นธรรมที่แสดงถึงความจริง ๒ ประเภท คือ  ๑) ปรมัตถธรรม คือ ธรรมชาติอันประเสริฐที่เป็นความจริงซึ่งปฏิเสธสัตว์ และชีวิต ได้แก่ธรรมชาติที่เป็นความจริง ทีไม่มีการแปรปรวน หรือไม่มีความ วิปริตด้วยประการใดๆ มีอยู่ ๔ ประการ ได้แก่ จิต เจตสิก รูป นิพพาน  ๒) บัญญัติธรรม หรือสมมุติสัจจะ เป็นสิ่งทีบัญญัติแต่งตั้งขึ้น แล้วเป็นที่ ยอมรับของหมู่ชน จึงได้เป็นสิ่งสมมุติขึ้นว่า เป็นความจริง เพื่อจะได้เรียกชื่อได้ ถูกต้องตามความนิยมของคนหมู่หนึ่ง หรือ ประเทศหนึ่ง
  • 25. ปรมัตถธรรม มีลักษณะปฏิเสธสัตว์และชีวิต เป็นสภาวธรรมที่มีจริงเป็น จริง มีลักษณะประจาอยู่ ๒ ลักษณะ คือ  ๑) สามัญลักษณะ เป็นธรรมชาติที่มีลักษณะประจาตัวแบบสามัญทั่วๆ ไป ซึ่ง เป็นไปใน ๓ ลักษณะเหล่านี้ คือ  ก. อนิจลักษณะ เป็นลักษณะที่ไม่มีความเที่ยงแท้แน่นอน ต้องเปลี่ยนแปลง ไปมาอยู่เสมอ  ข. ทุกขลักษณะ เป็นลักษณะที่ทนไม่ได้ หรืออยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ต้องเสื่อม สลายไป  ค. อนัตตลักษณะ เป็นลักษณะที่ว่างเปล่าจากตัวตน คือ ไม่ใช่คน ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช้สิ่งของ ทั้งไม่อยู่ในอานาจบังคับบัญชาของใคร
  • 26. ปรมัตถธรรมโดยย่อนั้น มีอยู่ ๔ ประการ คือ จิต เจตสิก รูป และ นิพพาน จิต เจตสิก รูป ทั้ง ๓ นี้ เป็นสามัญลักษณะ เพราะประกอบไปด้วยอนิจลักษณะ ทุกขลักขณะ อนัตตลักษณะ ที่เรียกว่าไตรลักษณ์  พระนิพพานนั้น มีสามัญลักษณะเพียงประการเดียว คือ อนัตตลักษณะ เท่านั้น  สาหรับบัญญัติธรรม ไม่ประกอบด้วยไตรลักษณ์ หรือสามัญลักษณะทั้ง ๓ เพราะ เป็นแต่เพียงบัญญัติหรือสมมุติขึ้น เพื่อให้เข้าใจกันเท่านั้น หาได้มีจริงๆ ไม่
  • 27.  ๒. วิเสสลักษณะ เป็นธรรมชาติพิเศษที่มีประจาตัว ปรมัตถธรรมแต่ละอย่างก็มี ลักษณะพิเศษเฉพาะๆ ของตน ไม่มีเหมือนกันเลย วิเสสลักษณะมี ๔ ประการ คือ  ก. ลักษณะ - ได้แก่เครื่องแสดง หรือคุณภาพ ที่มีประจาตัวโดยเฉพาะ  ข. รสะ - ได้แก่หน้าที่การงานที่กระทา ของปรมัตถธรรมทั้งหลาย รสะนี้ จึง แบ่งออกเป็น ๒ อย่าง คือ  ๑) กิจรสะ ได้แก่หน้าที่การงานของปรมัตถธรรม เช่น จิต มีหน้าที่ การงานที่เป็นกิจรสะ ก็คือ เป็นประธานในสัมปยุตธรรมทั้งปวง  ๒) สัมปัตติรสะ ได้แก่คุณสมบัติของปรมัตถธรรม เช่น จิต มี คุณสมบัติอยู่ประจา เป็นสัมปัตติรสะ ก็คือ มีเจตสิกประกอบเป็นสัมปยุตธรรมด้วย  ค. ปัจจุปัฏฐาน – ได้แก่ผลที่เกิดจากรสะนั่นเอง  ง. ปทัฏฐาน - ได้แก่เหตุใกล้ที่เป็นเหตุให้ธรรมนั้นๆ ปรากฏขึ้นมา
  • 28.  จิต เจตสิก รูป มีวิเสสลักษณะทั้ง ๔ ประการ ครบบริบูรณ์  นิพพาน มีวิเสสลักษณะ ๓ ประการเท่านั้น คือ มีลักษณะ รสะ ปัจจุปัฏฐาน ไม่มี ปทัฏฐาน คือเหตุใกล้ให้เกิด ด้วยเหตุว่า พระนิพพานนั้น เป็นธรรมที่พ้นไปจาก เหตุปัจจัย  สาหรับบัญญัติธรรมนั้น ไม่มีวิเสสลักษณะเลย.
  • 29.  สมัยที่ ๑ คือ สมัยรวมอยู่ในพระสูตร มิได้แยกตัวออกเป็นเอกเทศ เช่น มหาสติ ปัฏฐานสูตร ในอัตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน จาแนกจิตไว้ถึง ๑๖ อย่าง เช่น สราค- จิต วีตราจิต เป็นต้น  สมัยที่ ๒ คือ สมัยที่เป็นนิทเทสของพระสูตร คือ มีคาว่า อภิธมฺ อภิวนเย ซึ่งเป็น บทอุทเทส และขยายออกไปเป็นนิทเทส เช่น จูฬนิเทส มหานิเทส เป็นต้น  สมัยที่ ๓ คือ สมัยแยกตัวจากพระสูตรอย่างชัดแจ้ง เป็นปิ ฏกหนึ่งต่างหาก เกิดขึ้นประมาณพุทธศตวรรษที่ ๓  สมัยที่ ๔ คือ สมัยรวบรวมสารัตถะของพระอภิธรรมไว้ย่อๆ เพื่อสะดวกแก่การ จดจา เช่น อภิธัมมัตถสังคหะ ของพระอนุรุทธาจารย์ ต่อมามีนักปราชญ์เห็นว่า ย่อความเกินไป จึงแต่งขยายอีก เช่น อภิธัมมัตถวิภาวินี ขยายความอภิธัมมัตถ- สังคหะ เป็นต้น
  • 30.  อภิธัมมัตถสังคหฎีกา แยกออกเป็น อภิ + ธรรมะ + อรรถะ + สัง + คหะ + ฎีกา  อภิ - อันประเสริฐยิ่ง  ธรรมะ - ธรรมชาติที่ไม่ใช้สัตว์ ไม่ใช่ชีวิต หรือธรรมชาติที่ทรง สภาพไว้ไม่มีการเปลี่ยนแปลง  อัตถะ - เนื้อความ  สัง - โดยย่อ  คหะ - รวบรวม  ฎีกา - คาอธิบายขยายความ  (วิภาวินี - ทาให้แจ้ง)  อภิธัมมัตถสังคหฎีกา หรือ พระอภิธัมมัตถวิภาวินี (ของพระสุมังคลาจารย์) หมายถึงคัมภีร์ที่อธิบายขยายความแห่งคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ นั่นเอง
  • 31.  ความเบื้องต้น  คัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินี เป็นคัมภีร์ฎีกาที่พระสุมังคลาจารย์แต่งขึ้นเพื่อ แก้คัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะของพระอนุรุทธะ ที่ท่านแต่งสรุปย่อเนื้อหาของ อภิธรรมปิ ฎกทั้ง ๗ คัมภีร์ไว้ ซึ่งในปริเฉทที่ ๕ แห่งคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ ว่า ด้วยเรื่อง วิถีมุตตสังคหะวิภาค เป็นการแสดงจิตที่พ้นวิถี  วิถีมุตต แปลว่า พ้นวิถี หรือ นอกวิถี คือไม่ได้อยู่ในวิถีนั่นเอง  สังคหะ แปลว่า สงเคราะห์หรือรวบรวม  วิภาค แปลว่า ส่วน  ฉะนั้น วิถีวิตตสังคหวิภาค จึงแปลว่าส่วนที่รวบรวมการแสดงจิตที่พ้นวิถี ซึ่งเป็นการแสดงวิถีจิตในปฏิสนธิกาลนั่นเอง
  • 32.  จิตในวิถี หมายถึง จิตที่ทากิจตั้งแต่ อาวัชชนกิจ จนถึง ตทาลัมพนกิจ คือ จิตที่ทา กิจเหล่านี้ นับว่าอยู่ในวิถี มีจานวน ๘๐ ดวง (เว้นมหัคคตวิบากจิต ๙ ดวง)  ยังแบ่งออกเป็นอีก ๒ พวก คือ  ก. เอกันตะ คือ จิตในวิถีแน่นอน มี ๗๐ ดวง  อกุศลจิต ๑๒ ดวง  อเหตุกจิต ๑๖ ดวง  มหากุศลจิต ๘ ดวง  มหากิริยาจิต ๘ ดวง  มหัคคตกุศลจิต ๙ ดวง  มหัคคตกิริยาจิต ๙ ดวง  โลกุตตรจิต ๘ ดวง  รวม ๗๐ ดวง  ข. อเนกันตะ คือ จิตในวิถีไม่แน่นอน มี ๑๐ ดวง  อุเบกขาสันตีรณจิต ๒ ดวง  มหาวิบากจิต ๘ ดวง  รวม ๑๐ ดวง
  • 33.  จิตที่พ้นวิถี หมายถึง จิตที่มิได้ทากิจเพื่อรับอารมณ์ใหม่ในภพปัจจุบัน คงทากิจเพียง ๓ กิจ คือ ปฏิสนธิกิจ, ภวังคกิจ, และจุติกิจ  จิตพ้นวิถีนี้มี ๒ จาพวกเช่นกัน  ข. อเนกันตะ คือ จิตที่พ้นวิถีไม่แน่นอน มี ๑๐ ดวง  อุเบกขาสันตีรณจิต ๒ ดวง  มหาวิบากจิต ๘ ดวง  ก. เอกันตะ คือ จิตที่พ้นวิถีแน่นอน มี ๙ ดวง  มหัคคตวิบากจิต ๙ ดวง
  • 34.  วิถีมุตตสังคหวิภาค นั้นแสดงธรรมที่พ้นวิถีว่ามีอยู่ ๔ หมวด ดังนี้  หมวดที่ ๑ ภูมิจตุกะ จาแนกภูมิ เป็น ๔ ภูมิ  ๑) อบายภูมิ ๒) กามสุคติภูมิ  ๓) รูปาวจรภูมิ ๔) อรูปาวจรภูมิ  หมวดที่ ๒ ปฏิสนธิจตุกะ จาแนกการปฏิสนธิ เป็น ๔ พวก  ๑) อบายปฏิสนธิ ๒) กามสุคติปฏิสนธิ  ๓) รูปาวจรปฏิสนธิ ๔) อรูปาวจรปฏิสนธิ  หมวดที่ ๓ กรรมจตุกะ จาแนกกรรมเป็น ๔ พวก  ๑) กิจจตุกะ หน้าที่การงานของกรรม  ๒) ปากทานจตุกะ ลาดับการได้ผลของกรรม  ๓) ปากกาลจตุกะ เวลาแห่งการให้ผลกรรม  ๔) ปากฐานจตุกะ ฐานที่ตั้งแห่งผลของกรรม  หมวดที่ ๔ มรณุปติจตุกะ จาแนกการตาย ๔ พวก  ๑) อายุกขยมรณะ ตายโดยสิ้นอายุขัย  ๒) กัมมักขยมรณะ ตายโดยสิ้นกรรม  ๓) อุภยักขยมมรณะ ตายโดยสิ้นทั้งอายุและสิ้นกรรม  ๔) อุปัจเฉทกมรณะ ตายโดยอุบัติเหตุ
  • 35.  ภูมิชื่อว่าอบาย เพราะเป็นมิติปราศจากความเจริญที่เกิดจากบุญ อบาย นั้นชื่อว่าภูมิ เพราะเป็นที่อยู่ของพวกสัตว์ จึงชื่อว่าอบายภูมิ  ภูมิที่ชื่อว่าสุคติ เพราะเป็นมิติที่สัตว์พึงเกิด สุคติเป็นไปกับกามตัณหา ชื่อ ว่ากามสุคติ กามสุคตินั้นชื่อว่าภูมิ จึงชื่อว่ากามสุคติภูมิ
  • 36. ติรัจฉานภูมิ หรืออบายภูมิ เป็นภูมิที่อยู่อาศัยของสัตว์เดรัจฉานทั้งหลาย ได้แก่ สัตว์ต่างๆ เช่น ช้าง ม้า วัว ความ เป็นต้น  สัตว์เดรัจฉานมีมากมายนับไม่ถ้วน แต่เมื่อแบ่งแล้วก็มี ๔ ประเภท คือ  ๑. ทวิปทติรัจฉาน คือ สัตว์เดรัจฉานที่มี ๒ เท้า เช่น นก ไก่ เป็ด เป็นต้น  ๒. จตุปทติรัจฉาน คือ สัตว์เดรัจฉานที่มี ๔ เท้า ได้แก่ สุนัข โค เป็นต้น  ๓. พหุปทติรัจฉาน คือ สัตว์เดรัจฉานที่มีมากกว่า ๔ เท้า เช่น ปู กิ้งกือ ตะขาบ  ๔. อปทติรัจฉาน คือสัตว์เดรัจฉานที่ไม่มีเท้า เช่น งู ปลา ไส้เดือน เป็นต้น
  • 37.  นัยที่ ๑ หมายถึง สัตว์ที่เกิดในภูมินี้ ไม่ได้มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ แต่ยังมี ความสุขด้วยกล่าวคือ สัตว์เดรัจฉานยังมีความสุขจากเหตุ ๓ ประการ คือ  ๑. ความสุขจากการกิน ๒. ความสุขจากการนอน ๓. ความสุขจากการสืบพันธ์  นัยที่ ๒ หมายถึง ขวาง คือขวางทั้งทางกายและทางใจ ที่ว่าขวางทางกายก็ หมายความว่าสัตว์เดรัจฉานจะมีร่างกายเจริญเติบโตไปในทางขวาง ตลอดทั้งจะ ไปไหนก็ไปทางขวาง คือในทางแนวนอนหรือขนานกับโลก ส่วนที่ขวางทางใจ นั้น ก็หมายถึงว่าสัตว์เดรัจฉานทุกประเภท มีใจขวางต่อ โลกกุตตรธรรม คือ ไม่ อาจบรรลุมรรคผลได้
  • 38.  สัตว์เดรัจฉานต่างๆ ถึงแม้จะมีความสุขบ้างด้วยเหตุดังกล่าว แต่โดย สภาวะทั่วไป สัตว์เดรัจฉานมีความทุกข์มากกว่าความสุข เพราะต้องคอยดิ้นรน แสวงหาอาหาร หากินไปตลอดวัน ได้กินบ้าง ไม่ได้กินบ้าง ทั้งนี้ เพราะสัตว์ เดรัจฉานไม่รู้จักประกอบอาชีพ และสะสมเสบียงกรังอย่างมนุษย์หาได้มากก็กิน อิ่ม ได้น้อยก็ไม่อิ่ม ไม่ได้เลยก็อด และยังมีความทุกข์อีกอย่างหนึ่งซึ่งเป็นทุกข์ เด่นที่สุดของสัตว์เดรัจฉาน นั่นก็คือความกลัว ความหวาดระแวงอันตรายที่จะ มาถึงตัว
  • 39.  อสุรกายภูมิ หรือทุคติภูมิ เป็นภูมิที่มีแต่ความทุกข์ทรมาน ทุกข์ที่เด่นมาก ก็คือความกระหาย อสุรกายมีความทุกข์ด้วยความกระหาย ก็เพราะอสุรกาย ไม่ได้ดื่มน้ามาตลอดกาลนาน บางทีเห็นบ่อน้า สระน้า หรือหนองน้าก็วิ่งไปหา ทันที แต่พอไปถึงแหล่งน้าต่างๆ ก็อันตรธานหายไป กลายไปไฟลุกโชติช่วง หรือ มีแต่ก้อนกรวด หิน ดิน ทรายเท่านั้น
  • 40.  เปตติวสัยภูมิ หรือวินิบาตภูมิ ได้แก่พวกเปรตต่างๆ เป็นภูมิที่อยู่ ห่างไกลจากความสุข เพราะพวกที่ เกิดในภูมินี้ มีแต่ความหิว ทนทุกข์ ทรมานด้วยความอดอยาก เปรตบาง ตนไม่ได้กินอาหารเป็นเวลาหลาย พุทธันดรก็มี ทั้งร่างกายก็ผ่ายผอม นักหนา มีแต่หนังหุ้มกระดูก ดวงตา โบ๋ลึกกลวงผมยาวรุงรัง กลิ่ น เหม็นสาบนักหนา
  • 41.  นิรยภูมิหรือนรกภูมิ เป็นภูมิที่มีแต่ความทุกข์ทรมานล้วนๆ มิได้มี ความสุขความสบายเลย นรกภูมิ มีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาล โดยแบ่งเป็น ขุมๆ ขุมใหญ่เป็นมหานรก ซึ่งมีอยู่ ๘ ขุม
  • 42.  นรก เป็นภพภูมิแห่งความทุกข์ทรมาน แสนสาหัส พระพุทธเจ้าก็ตรัส เปรียบเทียบไว้ว่า “... โจรผู้ถูกแทงด้วยหอก ๓๐๐ เล่มถึงแม้จะมีความทุกข์ ทรมานแสนสาหัสเพียงไร ก็ไม่อาจเปรียบเทียบกับความทุกข์ทรมานในนรกได้ เลย...”  สัตว์นรกย่อมเสวยทุกข์แรงกล้า และเจ็บแสบอยู่ในนรกนั้น โดยจะยังไม่ ตายตราบเท่าที่บาปกรรมยังไม่สิ้นสุด ด้วยการลงทัณฑ์ประการต่างๆ
  • 43.
  • 44.
  • 45.  สุคติภูมิ คือภูมิที่มีความสุข ความเจริญต่างๆ อย่างตรงกันข้ามกับทุคติ ภูมิ สุคติภูมิอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ ๓ ชั้น โดยเรียงลาดับจากระดับต่าไป หาระดับสูง หรือจากชั้นที่มีความสุขน้อย ความสุขหยาบ ไปหาชั้นที่มีความสุข มาก ประณีตมากตามลาดับ มีดังนี้ ๑ มนุสภูมิ ๒ เทวภูมิ ๓ พรหมภูมิ ซึ่งแต่ละ ภูมิมีความเป็นไปดังต่อไปนี้
  • 46.  มนุสภูมิ คือภูมิของมนุษย์ คาว่า มนุสหรือมนุษย์ จึงมีความหมาย ๒ นัย คือ ผู้มีใจสูง และอีกความหมายหนึ่งก็คือ ผู้มีใจกล้าหาญ  ผู้มีใจสูง ก็หมายถึงผู้มีใจสูงด้วยคุณธรรม ในทางพระพุทธศาสนาได้แสดง ไว้ว่า คุณธรรมที่จะทาให้เกิดมาเป็นมนุษย์และเป็นมนุษย์แท้ได้ก็เพราะเบญจศีล เบญจธรรม คือ ศีล ๕ ธรรม ๕  ผู้มีความกล้าหาญ มนุษย์ในความหมายทั่วไป มีความกล้าหาญยิ่งนัก สามารถทาอะไรได้ทุกอย่างไม่ว่าในทางบุญหรือในทางบาป
  • 47. เป็นมนุษย์ได้เพราะใจสูง เหมือนนกยูงมีดีที่แววขน หากใจตํ่าเป็นได้เพียงแค่คน ย่อมเสียดายที่ตนได้เกิดมา  สมัยปัจจุบันมีปัญหาเรื่องประชากรล้นโลก เพราะมีคนมากเกินไป แต่โลก ทุกยุคสมัยไม่เคยมีปัญหาเรื่องมนุษย์ล้นเลย มีแต่ปัญหาขาดแคลนมนุษย์ และ ขาดแคลนอยู่เสมอทุกวงการ
  • 48.  มนุสภูมิ ถึงแม้จะมีทั้งสุขทั้งทุกข์ไม่ดีเด่นเท่าสวรรค์ แต่ถึงกระนั้นก็เป็นที่ ปรารถนาของเทวดาที่จะมาเกิดในมนุสภูมิ เพื่อสร้างบารมี ดังที่พระพุทธเจ้า ตรัสไว้ว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความเป็นมนุษย์นี้แล เป็นทางไปสู่คติของเทพทั้งหลาย”
  • 49.
  • 50.  เทวภูมิ คือภูมิที่อยู่ของเทวดา หรือที่เรียกว่า สวรรค์ แต่เทวดาก็มีมาก และหลายระดับเพราะสวรรค์มีหลายชั้น กล่าวคือสวรรค์มี ๖ ชั้นเรียงจากต่าไป หาสูง หรือจากชั้นที่มีความสุขประณีตน้อย ไปหาชั้นที่มีความสุขประณีตมาก ตามลาดับ ดังนี้ ๑. จาตุมหาราชิกะ ๒. ดาวดึงส์ ๓. ยามา ๔. ดุสิต ๕. นิมมานรดี ๖. ปรนิมมิตวสวัตดี
  • 51.  จาตุมหาราชิกะ เป็นสวรรค์ชั้นแรก การที่สวรรค์ชั้นนี้มีชื่อว่า จาตุมหา ราชิกะก็เพราะมีจอมเทวดาอยู่ ๔ องค์ คือ  ๑. ท้าวกุเวรหรือเวสสุวัณ เป็นจอมแห่งเทวดาและยักษ์ ทรงปกครองสวรรค์ ทางด้านทิศเหนือ  ๒. ท้าวธตรฐ (ทะ-ตะ-รด) จอมแห่งเทวดาและคนธรรพ์ทรงปกครองสวรรค์ ทางด้านทิศตะวันออก  ๓. ท้าววิรุฬหก จอมแห่งเทวดาและกุมภัณฑ์ ทรงปกครองสวรรค์ทางด้านทิศใต้  ๔. ท้าววิรุปักษ์ จอมแห่งเทวดาและนาค ทรงปกครองสวรรค์ทางด้านทิศ ตะวันตก
  • 52.  ดาวดึงส์ เป็นสวรรค์ชั้นที่ ๒ ดาวดึงส์หรือตาวตึส แปลว่า ๓๓ หมายถึงมาณพ ๓๓ คน มีมฆมาณพ เป็นหัวหน้า ได้มาเกิดในสวรรค์ชั้นนี้ ประวัติย่อของมฆมาณพมีว่า สมัยที่ ยังเป็นมนุษย์ ชื่อว่า มฆะ มีจิตใจสูง มุ่งมั่นทาบุญกุศล ต่อมาได้เพื่อนมี จิตใจแบบเดียวกัน ๓๒ คน ร่วมกัน บาเพ็ญกุศลต่างๆ เป็นการใหญ่ โดยเฉพาะข้อวัตบท ๗ ประการ
  • 53.  ๑. บารุงเลี้ยงมารดาบิดา ตลอดชีวิต  ๒. นอบน้อมต่อผู้ใหญ่ในตระกูล ตลอดชีวิต  ๓. พูดแต่คาอ่อนหวานตลอดชีวิต  ๔. ไม่พูดคาส่อเสียดตลอดชีวิต  ๕. กาจัดความตระหนี่ได้ตลอดชีวิต  ๖. พูดแต่คาสัตย์จริงตลอดชีวิต  ๗. ไม่โกรธตลอดชีวิต
  • 54.  ยามาเป็นสวรรค์ชั้นที่ ๓ การที่ ชื่อยามา ก็เพราะเรียกตามพระนาม ของท้าวสุยามเทวราช ผู้ทรงเป็น ประมุขของสวรรค์ชั้นนี้ ในสวรรค์ชั้น ยามามีปราสาทเงิน ปราสาททาง ซึ่ง วิจิตรตระการตา ยิ่งกว่าปราสาทใน สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เป็นสวรรค์ที่พรั่ง พร้อมด้วยความสุขที่เป็นทิพย์ ปราศจากความยากลาบากใด ๆ
  • 55.  ดุสิต เป็นสวรรค์ชั้นที่ ๔ การที่ชื่อว่าดุสิต ก็เพราะมาจาก ๒ นัยด้วยกันคือ ตั้งตามนามของท้าวสันดุสิตเทวราช ผู้ทรงเป็นจอมเทวดาของสวรรค์ชั้นนี้ และ อีกความหมายหนึ่ง คือตั้งตามความเป็นไปของเทวดาในชั้นนี้ ซึ่งมีแต่ความ ยินดีและความแช่มชื่นอยู่เป็นนิตย์  อนึ่ง เทวดาในชั้นดุสิตนี้ ชอบฟังธรรมกันมาก เมื่อถึงวันพระ พวกเทวดา จะมาประชุมกันฟังธรรม และผู้แสดงธรรมส่วนมาก มักจะเป็นพระโพธิสัตว์ ด้วย เหตุนี้สวรรค์ชั้นนี้ จึงเป็นที่สถิตของเทพบุตร ผู้เป็นพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย
  • 56.
  • 57.  นิมมานรดี เป็นสวรรค์ชั้นที่ ๕ โดยมีท้าวสุนิมมิตเทวราชเป็นจอม เทพ ดังนั้นสวรรค์ชั้นนี้มีความ เพลิดเพลินยินดียิ่งนัก เพราะเทวดา แต่ละองค์ สามารถเนรมิตอะไรได้ ทุกอย่างตามความปรารถนา เพราะฉะนั้น เทวดาแต่ละองค์จึง สวยงามมาก ทั้งมีรัศมีเรืองรอง เต็ม ไปด้วยของทิพย์ที่สดสวยงดงาม เทวดาแต่ละองค์จะพากันเสวยทิพย สุขบนสิ่งต่าง ๆ ที่เนรมิตได้มา จะ ปรารถนาอะไรก็ได้ปรารถนา
  • 58.  ปรนิมมิตวสวัตตี เป็นสวรรค์ชั้นที่ ๖ มีท้าวปรนิมมิตวสวัตตี เป็นจอมเทพ ดังนั้นสวรรค์ชั้นนี้จึงมีชื่อตามจอม เทพ ผู้เป็นประมุขของเทวดาชั้นนี้ ปร นิมมิตวสวัตตี เป็นสวรรค์ชั้นสูงสุด เทวดาชั้นนี้สุขสบายยิ่งกว่าเทวดาใน ชั้นนิมมานรดีเสียอีก แม้จะเนรมิต อะไรก็ไม่ต้องทา เพราะมีเทวดาอื่นรู้ ใจคอยเนรมิตให้อยู่แล้ว
  • 59.  พรหมภูมิ คือ ภูมิที่อยู่ของพรหม พรหมภูมิแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ รูป พรหมภูมิ ๑๖ ชั้น และอรูปพรหมภูมิ ๔ ชั้น ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
  • 60.  รูปพรหมภูมิ คือ ภูมิที่อยู่ของพระพรหมที่ยังมีรูปร่าง แต่ละเอียดประณีตยิ่งนัก รูป พรหมทั้งหมดมี ๑๖ ชั้น ดังนี้  ๑. ปาริสัชชาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ปฐมฌานระดับอ่อน  ๒. ปุโรหิตาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ปฐมฌานระดับกลาง  ๓. มหาพรหมภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ปฐมฌานระดับประณีต  ๔. ปริตตาภาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ทุติยฌานระดับอ่อน  ๕. อัปปมาณาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ทุติยฌานระดับกลาง  ๖. อาภัสราภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ทุติยฌานระดับประณีต  ๗. ปริตตสุภาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ตติยฌานระดับอ่อน  ๘. อัปปมาณสุภาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ตติยฌานระดับกลาง
  • 61.  ๙. สุภกิณหาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้ตติยฌานระดับประณีต  ๑๐. เวหัปผลาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้จตุตถฌานระดับอ่อน  ๑๑. อสัญญีสัตตาภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้จตุตถฌานระดับกลาง  ๑๒. อวิหาสุทธาวาสภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้จตุตถฌานระดับประณีต  ๑๓. อตัปปาสุทธาวาสภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้จตุตถฌานระดับประณีต  ๑๔. สุทัสสาสุทธาวาสภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้จตุตถฌานระดับประณีต  ๑๕. สุทัสสีสุทธาวาสภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้จตุตถฌานระดับประณีต  ๑๖. อกนิฏฐสุทธาวาสภูมิ ผู้ที่จะไปเกิดในภูมินี้จะต้องได้จตุตถฌานระดับประณีต
  • 62.  ภูมิที่ชื่อสุทธาวาส เพราะเป็นที่อยู่แห่งพระอนาคามี และพระอรหันผู้ บริสุทธิ์ อีกนัยหนึ่ง ภูมิที่อยู่ของพรหมเหล่านี้ บริสุทธิ์เพราะไม่มีสิ่งพอใจ และขัด ใจ จึงชื่อว่าสุทธาวาส  ชั้นที่ ๑ ชื่อว่า อวิหา เพราะไม่ละที่อยู่ของตนเพียงเล็กน้อย  ชั้นที่ ๒ ชื่อว่า อตัปปา เพราะไม่สะดุ้งกลัวอะไร  ชั้นที่ ๓ ชื่อว่า สุทัสสา เพราะปรากฏได้ง่าย มีรูปงามอย่างยิ่ง  ชั้นที่ ๔ ชื่อว่า สุทัสสี เพราะเห็นได้ง่าย เป็นผู้มีการเห็นบริสุทธิ์  ชั้นที่ ๕ ชื่อว่า อกนิฏฐา เพราะไม่มีความต่าต้อย
  • 63.
  • 64. อรูปพรหมภูมิ คือ ภูมิที่อยู่ของพรหมที่ละเอียดประณีตสูงสุดไม่มีรูปร่าง มีก็ แต่จิตและเจตสิกเท่านั้น ผู้ที่จะไปเกิดในอรูปพรหมภูมิได้ จะต้องได้บรรลุฌาน ๔ อรูปพรหมภูมิ ๔ ชั้น คือ  ๑. กาสานัญจายตนภูมิ คือ ภูมิของพระพรหมจาพวกอาศัยอากาศบัญญัติ  ๒. วิญญานัญจายตนภูมิ คือ ภูมิของพระพรหมจาพวกอาศัยวิญญาณบัญญัติ  ๓. อากิญจัญญายตนภูมิ คือ ภูมิของพระพรหมจาพวกอาศัยนัตถิภาวบัญญัติ  ๔. เนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ คือ ภูมิของพระพรหมจาพวกอาศัยความประณีต
  • 65.
  • 66.  จากเรื่องต่าง ๆ ดังกล่าว แสดงว่า ภพภูมิเป็นที่อาศัยของจิต เกิดขึ้นมา เพื่อเป็นที่รองรับจิต ตามสภาพของจิต กล่าวคือสภาพจิตที่ดี-ชั่ว สูง-ต่า จะนาไป เกิดในภพภูมิต่าง ๆ ที่เหมาะสมกัน  วิถีจิตตามภูมิ  วิถีจิตแห่งสัตว์ทั้งหลาย ย่อมบังเกิดขึ้นได้ตามสมควรแก่สัตว์ในภูมิ หนึ่งๆ ภูมิในที่นี้หมายถึง ฐานภูมิ อันเป็นที่อยู่ของหมู่สัตว์ จาแนก ไว้ ๓ ภูมิ คือ กามภูมิ, รูปภูมิ, และอรูปภูมิ ซึ่งเมื่อสงเคราะห์ภูมิตามประเภท แห่งสัตว์ ๓๑ ภูมิ ได้แก่ กามภูมิ ๑๑, รูปภูมิ ๑๖, และอรูปภูมิ ๔
  • 67. มีวิถีจิตเกิดได้ ๘๐ ดวง คือ มีวิถีจิตเกิดไม่ได้ ๙ ดวง คือ อกุศลจิต ๑๒ ดวง อเหตุกจิต ๑๘ ดวง กามาวจรโสภณจิต ๒๔ ดวง มหัคคตกุศลจิต ๙ ดวง มหัคคตกิริยาจิต ๙ ดวง โลกุตตรจิต ๘ ดวง มหัคคตวิบากจิต ๙ ดวง
  • 68. มีวิถีจิตเกิดได้ ๖๔ ดวง คือ มีวิถีจิตเกิดไม่ได้ ๒๕ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ ดวง โมหมูลจิต ๒ ดวง อเหตุกจิต ๑๒ ดวง มหากุศลจิต ๘ ดวง มหากิริยาจิต ๘ ดวง มหัคคตกุศลจิต ๙ ดวง มหัคคตกิริยาจิต ๙ ดวง โลกุตตรจิต ๘ ดวง โทสมูลจิต ๒ ดวง ฆาน, ชิวหา, กายวิญญาณ ๖ ดวง มหาวิบากจิต ๘ ดวง มหัคคตวิบากจิต ๙ ดวง ***ในอสัญญสัตตภูมิ ไม่มีวิถีเลย เพราะในภูมินั้นมีแต่รูปธรรมอย่างเดียว
  • 69. มีวิถีจิตเกิดได้ ๔๒ ดวง คือ มีวิถีจิตเกิดไม่ได้ ๔๗ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ ดวง โมหมูลจิต ๒ ดวง มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง มหากุศลจิต ๘ ดวง มหากิริยาจิต ๘ ดวง อรูปาวจรกุศลจิต ๔ ดวง อรูปาวจรกิริยาจิต ๔ ดวง โลกุตตรจิต ๗ ดวง โทสมูลจิต ๒ ดวง อเหตุกจิต ๑๗ ดวง มหาวิบากจิต ๘ ดวง รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง อรูปาวจรวิบากจิต ๔ ดวง โสดาปัตติมรรคจิต ๑ ดวง
  • 70.  พุทธศาสนา เป็นศาสนาแห่งกรรมนิยม คือ ถือเรื่องกรรมว่ามีบทบาทสาคัญ ที่สุด กรรมคืออะไร กรรมคือการ กระทา ดังนั้นกรรมจึงเป็นคากลาง ๆ ไม่ดีไม่ชั่ว ส่วนจะดีหรือชั่วขึ้นอยู่กับ การกระทานั้น ๆ กล่าวคือ ถ้าทาชั่วก็ เรียกอกุศลกรรม หรือบาปกรรม หรือ ทุจริตกรรม แต่ถ้าทาดี ก็เรียกว่า กุศล กรรม หรือบุญกรรม หรือสุจริตกรรม
  • 71.  การกระทาชั่วทางกาย เรียกว่า กายทุจริต มี ๓ อย่างคือ ๑. ฆ่าสัตว์ ๒. ลัก ทรัพย์๓. ประพฤติผิดในกาม  การกระทาชั่วทางวาจา เรียกว่า วจีทุจริต มี ๔ อย่างคือ ๑. พูดเท็จ ๒. พูด ส่อเสียด ๓. พูดคาหยาบ ๔. พูดเพ้อเจ้อ  การกระทาชั่วทางใจ เรียกว่า มโนทุจริต มี ๓ อย่างคือ ๑. โลภอยากได้ของ เขา ๒. พยาบาท คิดปองร้ายเขา ๓. มิจฉาทิฐิ เห็นผิดเป็นชอบ ผิดจากคลอง ธรรม
  • 72.  ทาความดีทางกาย เรียกว่า กายสุจริต มี ๓ อย่างคือ ๑. ไม่ฆ่าสัตว์ ๒. ไม่ลักทรัพย์ ๓. ไม่ประพฤติประเวณี  ทาความดีทางวาจา เรียกว่า วจีสุจริต มี ๔ อย่างคือ ๑. ไม่พูดเท็จ ๒. ไม่พูดส่อเสียด ๓. ไม่พูดคาหยาบ ๔. ไม่พูดเพ้อเจ้อ  ทาความดีทางใจ เรียกว่า มโนสุจริต มี ๓ อย่างคือ ๑. ไม่โลภอยากได้ของเข้า ๒. ไม่พยาบาทคิดปองร้ายเขา ๓. สัมมาทิฐิ มีความเห็นถูกต้องตามครรลองคลองธรรม
  • 73.  กรรมประเภทให้ผลตามกาลเวลา ๑. ทิฏฐิธีมมเวทียกรรม คือ กรรมที่ให้ผลในชาตินี้ ๒. อุปปัชชเวทนียกรรม คือ กรรมที่ให้ผลในชาติหน้า ๓. อปราปรเวทนียกรรม คือ กรรมที่ให้ผลในชาติต่อ ๆ ไป ๔. อโหสิกรรม คือ กรรมที่หมดโอกาสให้ผลแล้ว
  • 74.  ๑. ชนกกรรม คือ กรรมที่ทาหน้าที่คล้ายมารดาบิดา กล่าวคือ แต่งให้มา เกิดดีหรือชั่ว  ๒. อุปัตถัมภกกรรม คือ กรรมที่ทาหน้าที่คอยอุปถัมภ์หรือสนับสนุน ส่งเสริมชนกกรรมให้แรง เด่นชัดยิ่งขึ้น  ๓. อุปปีฬกกรรม คือ กรรมที่ทาหน้าที่คอยขัดขวาง บีบค้น หรือบั่นทอน ชนกกรรม  ๔. อุปฆาตกรรม หรือ อุปัจเฉทกรรม คือ กรรมที่ตัดรอน หรือห้าหั่นชนก กรรมให้ออกผลตรงกันข้ากันเลย อย่างหน้ามือเป็นหลังมือ กล่าวคือ ถ้าชน กรรมแต่งให้มาดี กรรมนี้ก็จะเข้าตัดรอน ห้าหั่น ให้ผลออกมาเป็นชั่ว เช่นเศรษฐี เกิดล้มละลายกลายเป็นยาจก
  • 75.  ๑. ครุกรรม คือ กรรมหนัก กล่าวคือกรรมหนักย่อมจะให้ผลก่อนกรรม ครุกรรม มีทั้งฝ่ายดีและฝ่ายชั่ว ฝ่ายดีก็ได้แก่การบรรลุฌานสมาบัติ ส่วนฝ่ายชั่ว ก็ไดแก่ การทาอนันตริกรรม  ๒. อาจิณกรรม หรือ พหุลกรรม คือ กรรมสั่งสม กล่าวคือ กรรมที่ได้สั่งสมทีละ น้อย ๆ นานเข้ารวมกันกลายเป็นกรรมมาก กรรมหนา ถ้าครุกรรมไม่มี อาจิณ กรรมก็จะให้ผลทันที  ๓. อาสันกรรม คือ กรรมใกล้ตาย กล่าวคือ กรรมไม่ว่าดี หรือชั่วที่ทาเมื่อใกล้ ตายจะให้ผลก่อน  ๔. กตัตากรรม คือ กรรมที่สักว่าทา กล่าวคือ กรรมที่ไม่เจตนา หรือความจงใจ ทาไปอย่างขอไปที หรือทาไปอย่างไม่มีจุดหมาย
  • 76.  กรรมเป็นเรื่องสลับซับซ้อน สับสนปนเปกันยิ่งนัก กรรมไม่อาจแยกจาก กันได้เด็ดขาด ทั้งไม่มีใครสามารถรู้กรรมได้ ก็มีแต่พระพุทธเจ้าเท่านั้น ที่ทรง ทราบเรื่องกรรม ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงอจินไตย ๔ คือ พุทธวิสัย ฌานวิสัย กรรมวิสัย โลกอจิณไตย ว่า  เป็นเรื่องสลับซับซ้อนลุ่มลึกยิ่งนัก บุคคลไม่ควรคิด เพราะถึงจะคิด อย่างไรก็รู้ไม่หมด ขืนคิดไปก็เป็นบ้า ทั้งนี้ ก็เพราะเรื่องดังกล่าวอยู่เหนือวิสัย ปุถุชนและคนทั่วไป  กรรมทุกอย่างที่บุคคลทาแล้วต้องให้ผล แต่การให้ผลกรรม ก็ สลับซับซ้อนมาก คนทาบุญหรือทาบาปอย่างเดียวกัน แต่อาจได้รับผล ไม่ เท่ากันก็ได้ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับตัวแปรนั่นก็คือเจตนา และอดีตกรรมของผู้ทาเข้า ประกอบด้วย
  • 77.  ๑. บางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักทากรรมชั่ว เมื่อเขาตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงอบายภูมิ ก็มี ทั้งนี้ก็เพราะเขาเคยทากรรมชั่วไว้ในกาลก่อน หรือต่อมาหรือเวลาใกล้ตาย...  ๒. บางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักทากรรมชั่ว เมื่อเขาตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงโลก สวรรค์ ก็มี ทั้งนี้ก็เพราะเขาเคยทากรรมดีไว้ในกาลก่อน หรือต่อมาหรือเวลา ใกล้ตาย..  ๓. บางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักทากรรมดี เมื่อเขาตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงโลก สวรรค์ ก็มี ทั้งนี้ก็เพราะเขาเคยทากรรมดีไว้ในกาลก่อน หรือต่อมาหรือเวลา ใกล้ตาย..  ๔. บางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักทากรรมดี เมื่อเขาตายไปแล้ว ย่อมเข้าถึงอบายภูมิ ก็มี ทั้งนี้ก็เพราะเขาเคยทากรรมชั่วไว้ในกาลก่อน หรือต่อมาหรือเวลาใกล้ตาย..
  • 78.  ๑. พระสุมังคลาจารย์เป็นชาวลังกา เป็นนักปรารชญ์สายพระอภิธรรม คัมภีร์ อภิธัมมัตถวิภาวินีฎีกาที่ท่านแต่งแก้คัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะได้สร้างชื่อเสียง ท่านให้เป็นที่รู้จักกัน  ๒. พระอภิธรรม นั้นแสดงถึงความจริงขั้นปรมัตถ์ประกอบ ด้วย จิต เจตสิก รูป นิพพาน  ๓. ปริเฉทที่ ๕ แห่งคัมภีร์ อภิธัมมัตถวิภาวินี อธิบายถึง สภาพแห่งภูมิ กาเนิดต่างๆ ซึ่งเป็นเรื่องจิตที่พ้นวิถี  ๔. จากบทความทั้งหมดนี้แสดงว่า จิตไม่ได้สูญสลาย ทั้งมีธรรมชาติคอย บันทึกกรรมที่ทาไว้ กรรมจึงไม่สูญสลายตามจิตไปด้วย ทั้งมีอานาจชัก นาพาจิตไปสู่ภพภูมิต่าง ๆ ตามกรรมที่ทาไว้ได้อีก และแสดงให้เห็นว่าโลก นี้ เป็นเวทีแห่งกรรม ทั้งกรรมในอดีตชาติ ปัจจุบันชาติ และอนาคตชาติ
  • 81.

Notas do Editor

  1. พระอรหันต์ ก็คือ อนาคามีที่บำเพ็ญเพียรจนได้บรรลุอรหันต์นั่นเอง
  2. อสัญญสัตตาภูมิ อสญฺญา ( ไม่มีสัญญา ) + สตฺตา ( สัตว์ ) + ภูมิ ( ที่อยู่ ) ที่อยู่ของสัตว์ที่ไม่มีสัญญา  หมายถึง สถานที่เกิดของบุคคลที่อบรมสมถภาวนาจนได้ ปัญจมฌาน  แต่เป็นผู้ที่ปรารถนาที่จะไม่มีนามธรรมเพราะเห็นโทษว่า  ความคิด  ความ วุ่นวาย      ความเดือดเนื้อร้อนใจเกิดขึ้นได้เพราะมีนามธรรม     จึงอบรมจิตให้สงบโดย เบื่อหน่ายต่อนามธรรม ( สัญญาวิราคะ )  เมื่อฌานไม่เสื่อมหลังจากที่ตายแล้ว  ทำให้มี รูปปฏิสนธิใน  อสัญญสัตตาภูมิ     ซึ่งเป็นรูปพรหมภูมิที่มีแต่รูปล้วนๆ โดยที่ปราศจาก นามธรรม  เป็นภูมิที่มีขันธ์เดียวคือรูปขันธ์เท่านั้น   ผู้ที่อยู่นอกพระพุทธศาสนาเท่านั้น ที่อบรมฌานที่เป็นสัญญาวิราคะเพราะยัง มีความเห็นผิด    และเห็นโทษของนามเท่านั้น    ยังไม่เห็นโทษของรูป  จึงยังมี ความติดข้องในรูปอยู่  ไม่สามารถพ้นไปจากวัฏฏะได้