SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 35
นิกายโยคาจาร (MIND-ONLY SCHOOL)
โดย อ. สรณีย์ สายศร วิชาพระพุทธศาสนามหายานเทอม 1/2557
เกริ่นนา
 โยคาจาร เป็นชื่อของพุทธศาสนาฝ่ายอาจริยวาท หรือ
มหายาน มุ่งศึกษาให้รู้แจ้งสัจธรรม โดยวิธีปฎิบัติโยคะ
สัจธรรมที่เป็นเป้ าหมายดังกล่าว ได้แก่ การรู้แจ้งว่า
สากลจักรวาลหาใช่อะไรอื่น ที่แยกออกไปต่างหากจาก
จิตไม่ ในสัจธรรมขั้นสูงสุดไม่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น
การเกิด การตาย
 ถือว่าสิ่งที่มีอยู่จริงคือ จิต สิ่งภายนอกจิตไม่ได้มีอยู่จริง
จึงมีชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า วิชญานวาท หรือ วิญญาณ
วาท ตรงกับปรัชญาตะวันตกคือ จิตนิยม
ความหมาย
 โยคาจาร หมายถึง การมุ่งศึกษาให้รู้แจ้งสัจธรรมขั้นสูงสุดโดยวิธี
ปฏิบัติโยคะ
 ยังมีอีกชื่อหนึ่งเรียกว่า
 วิชญานวาท หมายถึง จิตเท่านั้นที่เป็นจริงเพียงสิ่งเดียว
ความหมายและแนวคิดสาคัญ
 โยคาจาระ (Yogacara) มาจากคาว่า
 โยคะ >> แปลว่า มีลักษณะกระตือรือร้นที่จะไต่สวน
 อาจาระ >> แปลว่า ความประพฤติที่ดีงาม
 โยคาจาระ หมายถึง ความกระตือรือร้นที่จะประพฤติข้อปฏิบัติที่ดีงาม
 เรียก “โยคาจาระ” เพราะว่า >> สอนให้บาเพ็ญโยคะ หรือฝึกจิตเพื่อบรรลุ
ความหลุดพ้น และให้มีความประพฤติที่ดี คือ เข้าสู่ภูมิธรรมทั้ง ๑๐ ของพระ
โพธิสัตว์ จนหยั่งถึงพุทธจิต
 อีกชื่อหนึ่ง คือ “วิชญาณวาท” >> เพราะเน้นสอนว่าจิตเท่านั้นที่เป็นจริง
เพียงส่วนเดียว
ประวัติการก่อตั้งนิกาย
 นิกายโยคาจารเป็นนิกายสาคัญที่
เป็นคู่ปรับของนิกายมาธยมิกะ
 ท่านไมเตรยนาถ (เกิดหลังท่าน
นาคารชุน 100 ปี) เป็นผู้ก่อตั้งสานัก
โยคาจาร ในปลายพุทธศตวรรษที่ ๘
 นิกายโยคาจารเจริญที่สุดในสมัย
ของท่านอสังคะ และท่านวสุพันธุ
 อสังคะเรียกชื่อนิกายฝ่ายตนว่า
นิกายโยคาจาร
 วสุพันธุเรียกชื่อนิกายฝ่ายตนว่า
นิกายวิชญาณวาท
แนวคิดที่สาคัญของนิกายโยคาจาร
 “จิตเท่านั้นที่เป็นจริง สิ่งอื่นนอกเหนือจาก
จิตเป็นเพียงมายา ไม่ใช่สิ่งจริงแท้ เป็น
เพียงภาพสะท้อนหรืออาการ กิริยาของจิต
เท่านั้น วัตถุภายนอกไม่อาจจะพิสูจน์ได้
เพราะวัตถุภายนอกเป็นเพียงมายาจาก
ดวงจิต มีอยู่เป็นอยู่เพราะการคิดของจิต
เท่านั้น >> จิตจึงเป็นสารัตถะของสรรพสิ่ง”
 Yogācāra discourse
explains how our human
experience is constructed
by mind.
 พวกโยคาจารเป็นพวกกลุ่มผู้ใช้สมาธิ (ฌายิน) หรือโยคี การทา
สมาธิคือการจากัดแดนแห่งความใส่ใจให้แคบลงในลักษณะหนึ่ง
และช่วงเวลาหนึ่ง โดยอาศัยเจตนารมณ์เป็นเครื่องมือ เพื่อการ
หยั่งรู้ตนเอง โยคาจารถือว่า “ ปรมัตถ์คือจิตเท่านั้น” ความคิด
และสิ่งทั้งมวลคือจิต “จิตภายในสร้างโลกภายนอก”
 คล้ายกับ จิตนิยมของตะวันตก (Idealism) “ To be is to be
percieved” (ยอร์ช เบร์คเลย์ 1685 – 1753 ) >> โลกภายนอกเป็น
โลกที่เรารับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสนั้น ไม่ได้มีอยู่ด้วยตัวมันเอง
แต่มีอยู่ในฐานะที่เป็นความคิด ความมีอยู่ของวัตถุหรือสสาร
ขึ้นอยู่กับการถูกรับรู้ หรือ ถูกรับรู้โดยจิต
 โยคาจาร บางครั้งก็เรียกว่า วิญญาณวาท / วิชญาณวาท >> จิต
เท่านั้นเป็นจริง สิ่งอื่นนอกเหนือจากจิตเป็นเพียงมายา หรือภาพ
สะท้อนของจิต
 หรือ เรียกว่า “จิตนิยม แบบอัตวิสัย” >> วัตถุภายนอกเป็นเพียง
การรับรู้ของจิต ไม่มีจิต วัตถุภายนอกก็ไม่มี วัตถุภายนอกมีได้ก็
เพราะจิตมี
 หรือ เรียกว่า “อัสตวาทิน” >> เพราะถือว่า สิ่งทั้งปวงมีจิตเป็นแก่น
สาร ตรงข้ามกับนิกายมาธยมิกะ หรือ ศูนยตวาทิน ที่ถือว่า >> สิ่ง
ทั้งปวงเป็นของว่างเปล่า*****
ทะเลสวยๆๆนี้มีอยู่จริงรึเปล่า^__^
ข้อปฏิบัติทางจิต
 คือการฝึกฝนจิตเพื่อให้รู้แจ้งแห่งสัจธรรมขั้นสูงสุดแล้วจะพบว่า
 (1) สากลจักรวาลหาใช่อื่นที่แยกออกไปจากจิตไม่
 (2) ในสัจธรรมไม่มีการเปลี่ยนแปลง เช่นการเกิดและการตาย
 (3) ไม่มีสิ่งหรือวัตถุภายนอกจิตที่มีอยู่จริง ๆ
จุดยืนของนิกายโยคาจาร
 ปฏิเสธลักษณะภาพทางวัตถุวิสัยของ
โลกภายนอก ยอมรับว่ามีวิญญาณ
จานวนนับไม่ถ้วน แต่ละดวงเป็น
ขณิกะ มีปัจจัยปรุงแต่ง (เจตสิก)
ของตนเอง และแสวงหาความรู้เพื่อ
อธิบายถึงปรากฏการณ์ที่ประสบ
หลักคาสอนสาคัญ - ทัศนะเรื่องจิต
 ๑. ทัศนะเรื่องจิตเท่านั้น เป็นความจริงแท้ (จิตตมาตร >> จิตหนึ่ง
หรือ จิตเดียว)
 จิตเท่านั้นที่เป็นความจริงเพียงหนึ่งเดียว และเป็นสิ่งเดียวที่มีอยู่
จริง
 หลักการสาคัญ >> ยอมรับว่าทุกสิ่งทุกอย่างล้วนเกิดมาจากจิต
จิตเป็นตัวสร้างปรากฏการณ์ทั้งหลาย >> ความรู้ ความจริง ความ
หลุดพ้น ล้วนเกิดขึ้น ดาเนินไป และจบสิ้นที่กระบวนการการ
ทางานของจิต
 ไม่อาจยืนยันได้ว่าสิ่งที่ปรากฏภายนอกมีอยู่ หรือไม่มีอยู่ เพราะ
สิ่งนั้นๆ ไม่ได้มีตัวตนอยู่ต่างหากจากจิต จิตคือผู้สร้างสรรพสิ่ง
 โยคาจาร เชื่อว่า >> โลกภายนอกที่เราสัมผัสได้อยู่ทุกวันนี้มีได้
เพราะมีจิต หากไม่มีจิต สิ่งเหล่านี้ย่อมไม่มี >> เพราะสิ่งที่มีอยู่
จริง คือ กระบวนการรับรู้ของจิต
 จักรวาลมีเพียงจิต และผลผลิตของจิตเท่านั้น
 การที่นิกายโยคาจารปฏิเสธว่า สรรพสิ่งไม่ได้มีอยู่จริง หมายถึง >>
สรรพสิ่งไม่ได้ปรากฏแก่การรับรู้ของจิต
หลักคาสอนสาคัญ - ทัศนะเรื่องวิญญาณ
 ๒. ทัศนะเรื่องวิญญาณ
 วิญญาณ หมายถึง หน่วยของ
ความรู้สึก มีหน้าที่รับรู้ แยกแยะ
ความแตกต่าง ไตร่ตรอง และตัดสิน
 จิต คือ ระบบของความรู้สานึก
ทั้งหมด >> เป็นระบบการทางาน
ของวิญญาณ
 นิกายโยคาจาร แบ่งวิญญาณ
ออกเป็น ๓ กลุ่ม มีจานวนวิญญาณ
๘ ดวง
 ประเภทของวิญญาณ
 ๑. ประพฤติวิญญาณ >> ทาหน้าที่
ในการรับรู้โลกภายนอก (๖ ดวง)
 ๒. กลิษฏมโนวิญญาณ >> ทา
หน้าที่ในการรับรู้โลกภายใน (๑
ดวง)
 ๓. อาลยวิญญาณ >> วิญญาณที่
เป็นจุดรวมของทุกวิญญาณ (๑
ดวง)
หน้าที่ของวิญญาณ
 ๑. ประพฤติวิญญาณ >> มี ๖ ดวง คือ จักขุวิญญาณ / โสตวิญญาณ
/ ฆานวิญญาณ / ชิวหาวิญญาณ / กายวิญญาณ (ทั้ง ๕ วิญญาณนี้
เรียกว่า “ปัญจวิญญาณ”) / และ มโนวิญญาณ >> การรับรู้ทางตา หู
จมูก ลิ้น กาย และใจ
 เมื่อเกิด “ปัญจวิญญาณ” แล้ว มโนวิญญาณ จะทาหน้าที่คิด และ
สร้างความรู้ ความเข้าใจ ต่อสิ่งที่รับรู้ หรือโลกภายนอก
หน้าที่ของวิญญาณ
 ๒. กลิษฏมโนวิญญาณ >> หรือ “มนัส”
 อยู่เหนือระดับความคิด ไม่รับรู้อารมณ์ >> ทาหน้าที่เชื่อมต่อระหว่าง
“มโนวิญญาณ” กับ “อาลยวิญญาณ”
 จะรับรู้และพิจารณาเฉพาะอารมณ์ภายในเท่านั้น >> ยึดเฉพาะ
อายลวิญญาณ ทาให้เกิดความคิดเรื่องตัวตน
 มนัส เกิดจาก “ความไม่รู้ในความเป็นธรรมชาติอันเดียวกันของจิต”
จึงแยกตัวออกมาจาก “อาลยวิญญาณ” และสะท้อนอาลยวิญญาณว่า
เป็นตัวตน
 เพราะมีการยึดถือว่าเป็นตัวตน จึงเกิดความรู้สึกยึดถือว่าสิ่งต่างๆ
เป็นของๆตน
หน้าที่ของวิญญาณ
 มนัส หรือ กลิษฏมโนวิญญาณ >> สร้างตัวตน หรือ ตัวฉัน (ME) ขึ้น
มโนวิญญาณ และปัญจวิญญาณ ก็สร้างสิ่งที่เข้าใจว่าเป็นของของตนขึ้น
(MINE)
หน้าที่ของวิญญาณ
 ๓. อาลยวิญญาณ >> หมายถึง >> ธาตุรู้ / ความรู้สึกสานึกที่เป็นแหล่ง
รวบรวมเมล็ดพันธุ์แห่งกรรม มีฐานะเป็นจิตไร้สานึก เป็นรากฐานของ
วิญญาณอื่นๆ มีหน้าที่ คือ
 ๑) หน้าที่เก็บ เก็บรอยประทับต่างๆ ของกรรม (พีชะ – กุศลพีชะ / อกุศลพี
ชะ / อัพยากตพีชะ)
 ๒) หน้าที่ก่อ (ความยึดถือว่าเป็นตัวตน) >> จิตจะคิดสร้างอารมณ์ต่างๆ
ขึ้นมา เกิดการยึดถือ เกิดเป็นผู้รับรู้ และสิ่งที่ถูกรับรู้
 ๓) หน้าที่ปรุงแต่ง >> เกิดการปรุงแต่งอารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และ
ใจ ตามพีชะ ซึ่งเป็นวิญญาณที่ทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ต่างๆ ทาหน้าที่สร้างโลก
และความรู้ต่างๆ >> จิตจะเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏจนกว่าจะสิ้นอาสวะ
 การที่จิตทาหน้าที่ ๓ ประการ คือ รู้เก็บ รู้ก่อ และรู้ปรุง >> จิตจึง
เป็นใหญ่ และเป็นสารัตถะของสรรพสิ่ง >> โลกวัตถุจึงเป็นเพียง
มโนภาพ หรือ มายา ที่ปรุงแต่งออกไปจากพีชะในจิต >> เมื่อไม่
มีจิต สิ่งทั้งปวงก็ไม่มี / สิ่งทั้งปวงมีได้ ก็เพราะมีจิต
หลักคาสอนสาคัญ - ทัศนะเรื่องความจริง
 โยคาจาร อธิบายว่า ความจริง มี ๒ อย่าง คือ
 ๑) ความจริงสมมติ >> สมมติสัจจะ เป็นสิ่งที่ปรากฏในฐานะสิ่งที่
เป็นความสัมพันธ์ระหว่างผู้รู้ และสิ่งที่ถูกรู้ (ทวิภาวะ) ไม่มีความ
เป็นจริง >> เป็นมายา
 ๒) ความจริงสูงสุด >> จิตที่ไม่มีทวิภาวะ ความจริงสูงสุดจะถูก
ปกปิดโดยสิ่งที่ปรากฏ
ความจริง ๓ ระดับ ของโยคาจาร
 ๑. ปริกัลปิตะ >> สิ่งที่เกิดจาก
จินตนาการ ไม่มีอยู่จริง เป็นเพียงมายา
หรือ ภาพลวงตา
 ปริกัลปิตัชญาณ คือ ความรู้ที่ไม่ตรงกับ
ความเป็นจริง เช่น กรณีการจุ่มท่อนไม้ลงใน
น้า เพราะความหักเหของแสงทาให้เห็นไม้คด
ข้อเท็จจริงมีเพียงท่อนไม้ น้าและภาพไม้คดที่
ปรากฏต่อหน้าเรา ปริกัลปิตัชญาณเป็น
จิตนาการบริสุทธิ์ (Pure Imagination)
ความจริง ๓ ระดับ ของโยคาจาร
 ๒. ปรตันตระ >> สิ่งที่ปรากฏในฐานะความสัมพันธ์ (ทวิภาวะ)
ระหว่างผู้รู้ และสิ่งที่ถูกรู้ >> หมายถึง จิตที่ปรุงแต่ง (ผู้รู้)
(constructive consciousness) เป็นความจริงที่เกิดจากเหตุ ปัจจัย
 ปรตันตรัชญาณ คือความรู้ที่เกิดจากการคิดปรุงแต่งเกี่ยวกับสิ่งที่ไม่มี
อยู่จริงว่ามีอยู่จริง เป็นเรื่องของจิตและกับวัตถุ หรืออีกแง่หนึ่งก็คือ
ความรู้แบบวิทยาศาสตร์ เกิดจากการที่ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ กระทบกับ
อารมณ์ภายนอก
ความจริง ๓ ระดับ ของโยคาจาร
 ๓. ปรินิษปันนะ >> ความจริงสูงสุด มีฐานะเท่ากับสิ่งสัมบูรณ์ เป็น
สภาวะที่ไม่มีทวิภาวะ เป็นจิตที่ไม่แปดเปื้อนด้วยสิ่งที่ถูกรู้ทุกอย่าง
 ปรินิษปันนัชญาณ หมายถึงความรู้แท้ที่เป็นองค์รวมหรือเป็น
ฐานแห่งโลกและชีวิต >> เป็นความหายไปแห่งลักษณะที่
จินตนาการล้วนๆ ในปรตันตรลักษณะ >> ปราศจากความคิด
แบ่งแยก >> อยู่ในจุดที่ทวิภาวะถูกกาจัดทิ้งไป
 ฝ่ายเทวนิยมเรียกว่า พระเจ้า (God) เป็นที่รวมของผู้รู้และสิ่งที่ถูกรู้
 เมื่อ “ปรตันตระ” (ผู้รู้) บริสุทธิ์จากความเป็นทวิภาวะ ซึ่งถูกกาหนด
โดย “ปริกัลปิตะ” (สิ่งที่ถูกรู้) หรือ การจินตนาการ >> จิตที่ถูกทาให้
หลงผิดก็จะมีสภาวะบริสุทธิ์ซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้จริง หรือ
“ปรินิษปันนะ” >> ไม่ตกอยู่ใต้อานาจการเปลี่ยนแปลงของ
จินตนาการ เป็นสภาวะที่ทุกสิ่งเป็นเช่นเดียวกัน
 สภาวะปรินิษปันนะของจิต คือ การรู้แจ้งความเป็นสิ่งสัมบูรณ์ของจิต
ความจริงแท้ คือ ภาวะการรู้แจ้งความเป็นสิ่งสัมบูรณ์ของจิต
แนวความคิดหลักมาจากลังกาวตารสูตร
 เนื้ อหาสาคัญ 2 เรื่องในพระสูตร
 1.ทรงแสดงว่าสรรพสิ่งในจักรวาลนี้ ที่เราสัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัส
เป็นสิ่งที่เราไม่สามรถสรุปได้ว่ามีอยู่หรือไม่มีอยู่
-สิ่งทั้งปวงมี (อัตถิกะ) เป็นทัศนะที่ผิด
-สิ่งทั้งปวงไม่มีอยู่(นัตถิกะ) เป็นทัศนะที่ผิด
 2.ทรงแสดงว่าเหตุที่เราไม่สามารถสรุปได้เช่นนั้นเพราะ สรรพสิ่งที่เรา
สัมผัสอยู่ในชีวิตประจาวันนี้ มิได้มีตัวตนอยู่ต่างหากจากจิต จิตคือผู้สร้าง
สิ่งเหล่านี้ (ประเด็นนี้ เองที่เกิดของโยคาจาร)
สรรพสิ่งคือจิต
ความขัดแย้งทางความคิดระหว่างมาธยมิกะ กับโยคาจาร
 ประเด็นขัดแย้ง >> ลักษณะของสรรพสิ่ง (สวลักษณะ / สวภาวะ)
 มาธยมิกะ >> สมมติสัจจะ ไม่มีอยู่จริง เป็นมายา / ปรมัตถ
สัจจะ สิ่งทั้งหลายเป็นสุญญตา
 โยคาจาร >> สมมติสัจจะ ไม่ได้เป็นมายาทั้งหมด >> พีชะที่มา
จากอาลยวิญญาณที่เป็นบ่อเกิดของสมมติสัจจะ มีสวลักษณะอยู่
ด้วย
ความขัดแย้งทางความคิดระหว่างมาธยมิกะ กับโยคาจาร
 โยคาจาร >> มีจิตอยู่จริง และเป็นความ
จริงเพียงหนึ่งเดียว >> นาพาตนเองให้
หลุดพ้นโดยการดูที่จิตของตนและบังคับ
ควบคุม
 มาธยมิกะ >> ที่สุดแล้วไม่มีอะไรดารง
อยู่เป็นแก่นสารเลย สรรพสิ่งล้วนว่าง
เปล่า เป็นสุญญตา >> นาพาตนเองให้
หลุดพ้นโดยการละความยึดมั่นถือมั่น
คุณสมบัติพระโพธิสัตว์ของโยคาจาร
 1.จะตระหนักรู้ว่า สรรพสิ่งเป็นเพียงปรากฏการณ์ของความสานึกรู้(จิต)อัน
บริสุทธิ์ สิ่งทั้งหลายเกิดขึ้นดาเนินไปเพราะจิต (จิตเดิมแท้)
 2.จะเป็นอิสระเหนือมโนทัศน์ผิด ๆ ที่เห็นว่าวัตถุภายนอกมีอยู่จริง ไม่ยึดติด
จิตอยู่เหนือการแบ่งแยก (อทวิภาวะ)
 3.จะเข้าใจว่าทุกอย่างภายนอกไม่มีอยู่จริง ความรู้ทั้งหมดอยู่ในสภาพที่
เรียกว่า ตถตา มีอยู่เป็นเช่นนั้นเอง (ศูนยตา)
 4.จะมีความรู้ชัดว่า ปัญญาและการรู้แจ้งจะเป็นไปได้ภายในจิตที่บริสุทธิ์
เรียกว่าธรรมกายหรือพุทธภาวะ
สรุป จุดยืนแห่งโยคาจาร
 นิกายโยคาจาร เห็นด้วยกับมาธยมิกะ เฉพาะเรื่องความไม่มีอยู่
จริงของวัตถุ หรือ อารมณ์ภายนอก // แต่เรื่องที่เห็นว่าจิตไม่มีอยู่
จริง โยคาจารไม่เห็นด้วย
 โยคาจาร เชื่อว่า อย่างน้อยที่สุด >> เราต้องยอมรับว่า จิตเป็นสิ่ง
ที่มีอยู่ ทั้งนี้เพื่อให้ความคิดที่ถูกต้องเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ >> จิต
ซึ่งประกอบด้วยกระแสแห่งความคิดต่างๆ เป็นสิ่งแท้จริงเพียง
ประการเดียว
 หลักการเรื่องจิต ของโยคาจาร ใกล้เคียงกับคาสอนของเถรวาท
ที่ว่า
 “โลกอันจิตนำไป โลกอันจิตย่อมเสือกไสไป โลกทั้งหมด
เป็นไปตำมอำนำจธรรมอย่ำงเดียว คือ จิต”
(สังยุตตนิกาย สคาถวรรค อันธวรรคที่ ๗ จิตตสูตรที่ ๒)
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 

Mais procurados (20)

ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
มงคล38
มงคล38มงคล38
มงคล38
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 

Semelhante a วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร

กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59Pramook Boothsamarn
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นGawewat Dechaapinun
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงChinnakorn Pawannay
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
Luangpoo taste
Luangpoo tasteLuangpoo taste
Luangpoo tasteMI
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1freelance
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52juriporn chuchanakij
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิOnpa Akaradech
 

Semelhante a วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร (20)

กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
F7
F7F7
F7
 
Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59
 
Dharma Framework For Geek
Dharma Framework For GeekDharma Framework For Geek
Dharma Framework For Geek
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
Luangpoo taste
Luangpoo tasteLuangpoo taste
Luangpoo taste
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1กลุ่ม  Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
กลุ่ม Mix --มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน 1
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
10
1010
10
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
 

Mais de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 

Mais de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร

  • 1. นิกายโยคาจาร (MIND-ONLY SCHOOL) โดย อ. สรณีย์ สายศร วิชาพระพุทธศาสนามหายานเทอม 1/2557
  • 2.
  • 3. เกริ่นนา  โยคาจาร เป็นชื่อของพุทธศาสนาฝ่ายอาจริยวาท หรือ มหายาน มุ่งศึกษาให้รู้แจ้งสัจธรรม โดยวิธีปฎิบัติโยคะ สัจธรรมที่เป็นเป้ าหมายดังกล่าว ได้แก่ การรู้แจ้งว่า สากลจักรวาลหาใช่อะไรอื่น ที่แยกออกไปต่างหากจาก จิตไม่ ในสัจธรรมขั้นสูงสุดไม่มีการเปลี่ยนแปลง เช่น การเกิด การตาย  ถือว่าสิ่งที่มีอยู่จริงคือ จิต สิ่งภายนอกจิตไม่ได้มีอยู่จริง จึงมีชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า วิชญานวาท หรือ วิญญาณ วาท ตรงกับปรัชญาตะวันตกคือ จิตนิยม
  • 4. ความหมาย  โยคาจาร หมายถึง การมุ่งศึกษาให้รู้แจ้งสัจธรรมขั้นสูงสุดโดยวิธี ปฏิบัติโยคะ  ยังมีอีกชื่อหนึ่งเรียกว่า  วิชญานวาท หมายถึง จิตเท่านั้นที่เป็นจริงเพียงสิ่งเดียว
  • 5. ความหมายและแนวคิดสาคัญ  โยคาจาระ (Yogacara) มาจากคาว่า  โยคะ >> แปลว่า มีลักษณะกระตือรือร้นที่จะไต่สวน  อาจาระ >> แปลว่า ความประพฤติที่ดีงาม  โยคาจาระ หมายถึง ความกระตือรือร้นที่จะประพฤติข้อปฏิบัติที่ดีงาม  เรียก “โยคาจาระ” เพราะว่า >> สอนให้บาเพ็ญโยคะ หรือฝึกจิตเพื่อบรรลุ ความหลุดพ้น และให้มีความประพฤติที่ดี คือ เข้าสู่ภูมิธรรมทั้ง ๑๐ ของพระ โพธิสัตว์ จนหยั่งถึงพุทธจิต  อีกชื่อหนึ่ง คือ “วิชญาณวาท” >> เพราะเน้นสอนว่าจิตเท่านั้นที่เป็นจริง เพียงส่วนเดียว
  • 6. ประวัติการก่อตั้งนิกาย  นิกายโยคาจารเป็นนิกายสาคัญที่ เป็นคู่ปรับของนิกายมาธยมิกะ  ท่านไมเตรยนาถ (เกิดหลังท่าน นาคารชุน 100 ปี) เป็นผู้ก่อตั้งสานัก โยคาจาร ในปลายพุทธศตวรรษที่ ๘  นิกายโยคาจารเจริญที่สุดในสมัย ของท่านอสังคะ และท่านวสุพันธุ  อสังคะเรียกชื่อนิกายฝ่ายตนว่า นิกายโยคาจาร  วสุพันธุเรียกชื่อนิกายฝ่ายตนว่า นิกายวิชญาณวาท
  • 7.
  • 8. แนวคิดที่สาคัญของนิกายโยคาจาร  “จิตเท่านั้นที่เป็นจริง สิ่งอื่นนอกเหนือจาก จิตเป็นเพียงมายา ไม่ใช่สิ่งจริงแท้ เป็น เพียงภาพสะท้อนหรืออาการ กิริยาของจิต เท่านั้น วัตถุภายนอกไม่อาจจะพิสูจน์ได้ เพราะวัตถุภายนอกเป็นเพียงมายาจาก ดวงจิต มีอยู่เป็นอยู่เพราะการคิดของจิต เท่านั้น >> จิตจึงเป็นสารัตถะของสรรพสิ่ง”  Yogācāra discourse explains how our human experience is constructed by mind.
  • 9.  พวกโยคาจารเป็นพวกกลุ่มผู้ใช้สมาธิ (ฌายิน) หรือโยคี การทา สมาธิคือการจากัดแดนแห่งความใส่ใจให้แคบลงในลักษณะหนึ่ง และช่วงเวลาหนึ่ง โดยอาศัยเจตนารมณ์เป็นเครื่องมือ เพื่อการ หยั่งรู้ตนเอง โยคาจารถือว่า “ ปรมัตถ์คือจิตเท่านั้น” ความคิด และสิ่งทั้งมวลคือจิต “จิตภายในสร้างโลกภายนอก”  คล้ายกับ จิตนิยมของตะวันตก (Idealism) “ To be is to be percieved” (ยอร์ช เบร์คเลย์ 1685 – 1753 ) >> โลกภายนอกเป็น โลกที่เรารับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสนั้น ไม่ได้มีอยู่ด้วยตัวมันเอง แต่มีอยู่ในฐานะที่เป็นความคิด ความมีอยู่ของวัตถุหรือสสาร ขึ้นอยู่กับการถูกรับรู้ หรือ ถูกรับรู้โดยจิต
  • 10.  โยคาจาร บางครั้งก็เรียกว่า วิญญาณวาท / วิชญาณวาท >> จิต เท่านั้นเป็นจริง สิ่งอื่นนอกเหนือจากจิตเป็นเพียงมายา หรือภาพ สะท้อนของจิต  หรือ เรียกว่า “จิตนิยม แบบอัตวิสัย” >> วัตถุภายนอกเป็นเพียง การรับรู้ของจิต ไม่มีจิต วัตถุภายนอกก็ไม่มี วัตถุภายนอกมีได้ก็ เพราะจิตมี  หรือ เรียกว่า “อัสตวาทิน” >> เพราะถือว่า สิ่งทั้งปวงมีจิตเป็นแก่น สาร ตรงข้ามกับนิกายมาธยมิกะ หรือ ศูนยตวาทิน ที่ถือว่า >> สิ่ง ทั้งปวงเป็นของว่างเปล่า*****
  • 12.
  • 13. ข้อปฏิบัติทางจิต  คือการฝึกฝนจิตเพื่อให้รู้แจ้งแห่งสัจธรรมขั้นสูงสุดแล้วจะพบว่า  (1) สากลจักรวาลหาใช่อื่นที่แยกออกไปจากจิตไม่  (2) ในสัจธรรมไม่มีการเปลี่ยนแปลง เช่นการเกิดและการตาย  (3) ไม่มีสิ่งหรือวัตถุภายนอกจิตที่มีอยู่จริง ๆ
  • 14. จุดยืนของนิกายโยคาจาร  ปฏิเสธลักษณะภาพทางวัตถุวิสัยของ โลกภายนอก ยอมรับว่ามีวิญญาณ จานวนนับไม่ถ้วน แต่ละดวงเป็น ขณิกะ มีปัจจัยปรุงแต่ง (เจตสิก) ของตนเอง และแสวงหาความรู้เพื่อ อธิบายถึงปรากฏการณ์ที่ประสบ
  • 15. หลักคาสอนสาคัญ - ทัศนะเรื่องจิต  ๑. ทัศนะเรื่องจิตเท่านั้น เป็นความจริงแท้ (จิตตมาตร >> จิตหนึ่ง หรือ จิตเดียว)  จิตเท่านั้นที่เป็นความจริงเพียงหนึ่งเดียว และเป็นสิ่งเดียวที่มีอยู่ จริง  หลักการสาคัญ >> ยอมรับว่าทุกสิ่งทุกอย่างล้วนเกิดมาจากจิต จิตเป็นตัวสร้างปรากฏการณ์ทั้งหลาย >> ความรู้ ความจริง ความ หลุดพ้น ล้วนเกิดขึ้น ดาเนินไป และจบสิ้นที่กระบวนการการ ทางานของจิต  ไม่อาจยืนยันได้ว่าสิ่งที่ปรากฏภายนอกมีอยู่ หรือไม่มีอยู่ เพราะ สิ่งนั้นๆ ไม่ได้มีตัวตนอยู่ต่างหากจากจิต จิตคือผู้สร้างสรรพสิ่ง
  • 16.  โยคาจาร เชื่อว่า >> โลกภายนอกที่เราสัมผัสได้อยู่ทุกวันนี้มีได้ เพราะมีจิต หากไม่มีจิต สิ่งเหล่านี้ย่อมไม่มี >> เพราะสิ่งที่มีอยู่ จริง คือ กระบวนการรับรู้ของจิต  จักรวาลมีเพียงจิต และผลผลิตของจิตเท่านั้น  การที่นิกายโยคาจารปฏิเสธว่า สรรพสิ่งไม่ได้มีอยู่จริง หมายถึง >> สรรพสิ่งไม่ได้ปรากฏแก่การรับรู้ของจิต
  • 17. หลักคาสอนสาคัญ - ทัศนะเรื่องวิญญาณ  ๒. ทัศนะเรื่องวิญญาณ  วิญญาณ หมายถึง หน่วยของ ความรู้สึก มีหน้าที่รับรู้ แยกแยะ ความแตกต่าง ไตร่ตรอง และตัดสิน  จิต คือ ระบบของความรู้สานึก ทั้งหมด >> เป็นระบบการทางาน ของวิญญาณ  นิกายโยคาจาร แบ่งวิญญาณ ออกเป็น ๓ กลุ่ม มีจานวนวิญญาณ ๘ ดวง  ประเภทของวิญญาณ  ๑. ประพฤติวิญญาณ >> ทาหน้าที่ ในการรับรู้โลกภายนอก (๖ ดวง)  ๒. กลิษฏมโนวิญญาณ >> ทา หน้าที่ในการรับรู้โลกภายใน (๑ ดวง)  ๓. อาลยวิญญาณ >> วิญญาณที่ เป็นจุดรวมของทุกวิญญาณ (๑ ดวง)
  • 18. หน้าที่ของวิญญาณ  ๑. ประพฤติวิญญาณ >> มี ๖ ดวง คือ จักขุวิญญาณ / โสตวิญญาณ / ฆานวิญญาณ / ชิวหาวิญญาณ / กายวิญญาณ (ทั้ง ๕ วิญญาณนี้ เรียกว่า “ปัญจวิญญาณ”) / และ มโนวิญญาณ >> การรับรู้ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ  เมื่อเกิด “ปัญจวิญญาณ” แล้ว มโนวิญญาณ จะทาหน้าที่คิด และ สร้างความรู้ ความเข้าใจ ต่อสิ่งที่รับรู้ หรือโลกภายนอก
  • 19. หน้าที่ของวิญญาณ  ๒. กลิษฏมโนวิญญาณ >> หรือ “มนัส”  อยู่เหนือระดับความคิด ไม่รับรู้อารมณ์ >> ทาหน้าที่เชื่อมต่อระหว่าง “มโนวิญญาณ” กับ “อาลยวิญญาณ”  จะรับรู้และพิจารณาเฉพาะอารมณ์ภายในเท่านั้น >> ยึดเฉพาะ อายลวิญญาณ ทาให้เกิดความคิดเรื่องตัวตน  มนัส เกิดจาก “ความไม่รู้ในความเป็นธรรมชาติอันเดียวกันของจิต” จึงแยกตัวออกมาจาก “อาลยวิญญาณ” และสะท้อนอาลยวิญญาณว่า เป็นตัวตน  เพราะมีการยึดถือว่าเป็นตัวตน จึงเกิดความรู้สึกยึดถือว่าสิ่งต่างๆ เป็นของๆตน
  • 20. หน้าที่ของวิญญาณ  มนัส หรือ กลิษฏมโนวิญญาณ >> สร้างตัวตน หรือ ตัวฉัน (ME) ขึ้น มโนวิญญาณ และปัญจวิญญาณ ก็สร้างสิ่งที่เข้าใจว่าเป็นของของตนขึ้น (MINE)
  • 21. หน้าที่ของวิญญาณ  ๓. อาลยวิญญาณ >> หมายถึง >> ธาตุรู้ / ความรู้สึกสานึกที่เป็นแหล่ง รวบรวมเมล็ดพันธุ์แห่งกรรม มีฐานะเป็นจิตไร้สานึก เป็นรากฐานของ วิญญาณอื่นๆ มีหน้าที่ คือ  ๑) หน้าที่เก็บ เก็บรอยประทับต่างๆ ของกรรม (พีชะ – กุศลพีชะ / อกุศลพี ชะ / อัพยากตพีชะ)  ๒) หน้าที่ก่อ (ความยึดถือว่าเป็นตัวตน) >> จิตจะคิดสร้างอารมณ์ต่างๆ ขึ้นมา เกิดการยึดถือ เกิดเป็นผู้รับรู้ และสิ่งที่ถูกรับรู้  ๓) หน้าที่ปรุงแต่ง >> เกิดการปรุงแต่งอารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และ ใจ ตามพีชะ ซึ่งเป็นวิญญาณที่ทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ต่างๆ ทาหน้าที่สร้างโลก และความรู้ต่างๆ >> จิตจะเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏจนกว่าจะสิ้นอาสวะ
  • 22.  การที่จิตทาหน้าที่ ๓ ประการ คือ รู้เก็บ รู้ก่อ และรู้ปรุง >> จิตจึง เป็นใหญ่ และเป็นสารัตถะของสรรพสิ่ง >> โลกวัตถุจึงเป็นเพียง มโนภาพ หรือ มายา ที่ปรุงแต่งออกไปจากพีชะในจิต >> เมื่อไม่ มีจิต สิ่งทั้งปวงก็ไม่มี / สิ่งทั้งปวงมีได้ ก็เพราะมีจิต
  • 23. หลักคาสอนสาคัญ - ทัศนะเรื่องความจริง  โยคาจาร อธิบายว่า ความจริง มี ๒ อย่าง คือ  ๑) ความจริงสมมติ >> สมมติสัจจะ เป็นสิ่งที่ปรากฏในฐานะสิ่งที่ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างผู้รู้ และสิ่งที่ถูกรู้ (ทวิภาวะ) ไม่มีความ เป็นจริง >> เป็นมายา  ๒) ความจริงสูงสุด >> จิตที่ไม่มีทวิภาวะ ความจริงสูงสุดจะถูก ปกปิดโดยสิ่งที่ปรากฏ
  • 24. ความจริง ๓ ระดับ ของโยคาจาร  ๑. ปริกัลปิตะ >> สิ่งที่เกิดจาก จินตนาการ ไม่มีอยู่จริง เป็นเพียงมายา หรือ ภาพลวงตา  ปริกัลปิตัชญาณ คือ ความรู้ที่ไม่ตรงกับ ความเป็นจริง เช่น กรณีการจุ่มท่อนไม้ลงใน น้า เพราะความหักเหของแสงทาให้เห็นไม้คด ข้อเท็จจริงมีเพียงท่อนไม้ น้าและภาพไม้คดที่ ปรากฏต่อหน้าเรา ปริกัลปิตัชญาณเป็น จิตนาการบริสุทธิ์ (Pure Imagination)
  • 25. ความจริง ๓ ระดับ ของโยคาจาร  ๒. ปรตันตระ >> สิ่งที่ปรากฏในฐานะความสัมพันธ์ (ทวิภาวะ) ระหว่างผู้รู้ และสิ่งที่ถูกรู้ >> หมายถึง จิตที่ปรุงแต่ง (ผู้รู้) (constructive consciousness) เป็นความจริงที่เกิดจากเหตุ ปัจจัย  ปรตันตรัชญาณ คือความรู้ที่เกิดจากการคิดปรุงแต่งเกี่ยวกับสิ่งที่ไม่มี อยู่จริงว่ามีอยู่จริง เป็นเรื่องของจิตและกับวัตถุ หรืออีกแง่หนึ่งก็คือ ความรู้แบบวิทยาศาสตร์ เกิดจากการที่ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ กระทบกับ อารมณ์ภายนอก
  • 26. ความจริง ๓ ระดับ ของโยคาจาร  ๓. ปรินิษปันนะ >> ความจริงสูงสุด มีฐานะเท่ากับสิ่งสัมบูรณ์ เป็น สภาวะที่ไม่มีทวิภาวะ เป็นจิตที่ไม่แปดเปื้อนด้วยสิ่งที่ถูกรู้ทุกอย่าง  ปรินิษปันนัชญาณ หมายถึงความรู้แท้ที่เป็นองค์รวมหรือเป็น ฐานแห่งโลกและชีวิต >> เป็นความหายไปแห่งลักษณะที่ จินตนาการล้วนๆ ในปรตันตรลักษณะ >> ปราศจากความคิด แบ่งแยก >> อยู่ในจุดที่ทวิภาวะถูกกาจัดทิ้งไป  ฝ่ายเทวนิยมเรียกว่า พระเจ้า (God) เป็นที่รวมของผู้รู้และสิ่งที่ถูกรู้
  • 27.  เมื่อ “ปรตันตระ” (ผู้รู้) บริสุทธิ์จากความเป็นทวิภาวะ ซึ่งถูกกาหนด โดย “ปริกัลปิตะ” (สิ่งที่ถูกรู้) หรือ การจินตนาการ >> จิตที่ถูกทาให้ หลงผิดก็จะมีสภาวะบริสุทธิ์ซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้จริง หรือ “ปรินิษปันนะ” >> ไม่ตกอยู่ใต้อานาจการเปลี่ยนแปลงของ จินตนาการ เป็นสภาวะที่ทุกสิ่งเป็นเช่นเดียวกัน  สภาวะปรินิษปันนะของจิต คือ การรู้แจ้งความเป็นสิ่งสัมบูรณ์ของจิต ความจริงแท้ คือ ภาวะการรู้แจ้งความเป็นสิ่งสัมบูรณ์ของจิต
  • 28. แนวความคิดหลักมาจากลังกาวตารสูตร  เนื้ อหาสาคัญ 2 เรื่องในพระสูตร  1.ทรงแสดงว่าสรรพสิ่งในจักรวาลนี้ ที่เราสัมผัสได้ด้วยประสาทสัมผัส เป็นสิ่งที่เราไม่สามรถสรุปได้ว่ามีอยู่หรือไม่มีอยู่ -สิ่งทั้งปวงมี (อัตถิกะ) เป็นทัศนะที่ผิด -สิ่งทั้งปวงไม่มีอยู่(นัตถิกะ) เป็นทัศนะที่ผิด  2.ทรงแสดงว่าเหตุที่เราไม่สามารถสรุปได้เช่นนั้นเพราะ สรรพสิ่งที่เรา สัมผัสอยู่ในชีวิตประจาวันนี้ มิได้มีตัวตนอยู่ต่างหากจากจิต จิตคือผู้สร้าง สิ่งเหล่านี้ (ประเด็นนี้ เองที่เกิดของโยคาจาร) สรรพสิ่งคือจิต
  • 29. ความขัดแย้งทางความคิดระหว่างมาธยมิกะ กับโยคาจาร  ประเด็นขัดแย้ง >> ลักษณะของสรรพสิ่ง (สวลักษณะ / สวภาวะ)  มาธยมิกะ >> สมมติสัจจะ ไม่มีอยู่จริง เป็นมายา / ปรมัตถ สัจจะ สิ่งทั้งหลายเป็นสุญญตา  โยคาจาร >> สมมติสัจจะ ไม่ได้เป็นมายาทั้งหมด >> พีชะที่มา จากอาลยวิญญาณที่เป็นบ่อเกิดของสมมติสัจจะ มีสวลักษณะอยู่ ด้วย
  • 30. ความขัดแย้งทางความคิดระหว่างมาธยมิกะ กับโยคาจาร  โยคาจาร >> มีจิตอยู่จริง และเป็นความ จริงเพียงหนึ่งเดียว >> นาพาตนเองให้ หลุดพ้นโดยการดูที่จิตของตนและบังคับ ควบคุม  มาธยมิกะ >> ที่สุดแล้วไม่มีอะไรดารง อยู่เป็นแก่นสารเลย สรรพสิ่งล้วนว่าง เปล่า เป็นสุญญตา >> นาพาตนเองให้ หลุดพ้นโดยการละความยึดมั่นถือมั่น
  • 31. คุณสมบัติพระโพธิสัตว์ของโยคาจาร  1.จะตระหนักรู้ว่า สรรพสิ่งเป็นเพียงปรากฏการณ์ของความสานึกรู้(จิต)อัน บริสุทธิ์ สิ่งทั้งหลายเกิดขึ้นดาเนินไปเพราะจิต (จิตเดิมแท้)  2.จะเป็นอิสระเหนือมโนทัศน์ผิด ๆ ที่เห็นว่าวัตถุภายนอกมีอยู่จริง ไม่ยึดติด จิตอยู่เหนือการแบ่งแยก (อทวิภาวะ)  3.จะเข้าใจว่าทุกอย่างภายนอกไม่มีอยู่จริง ความรู้ทั้งหมดอยู่ในสภาพที่ เรียกว่า ตถตา มีอยู่เป็นเช่นนั้นเอง (ศูนยตา)  4.จะมีความรู้ชัดว่า ปัญญาและการรู้แจ้งจะเป็นไปได้ภายในจิตที่บริสุทธิ์ เรียกว่าธรรมกายหรือพุทธภาวะ
  • 32. สรุป จุดยืนแห่งโยคาจาร  นิกายโยคาจาร เห็นด้วยกับมาธยมิกะ เฉพาะเรื่องความไม่มีอยู่ จริงของวัตถุ หรือ อารมณ์ภายนอก // แต่เรื่องที่เห็นว่าจิตไม่มีอยู่ จริง โยคาจารไม่เห็นด้วย  โยคาจาร เชื่อว่า อย่างน้อยที่สุด >> เราต้องยอมรับว่า จิตเป็นสิ่ง ที่มีอยู่ ทั้งนี้เพื่อให้ความคิดที่ถูกต้องเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ >> จิต ซึ่งประกอบด้วยกระแสแห่งความคิดต่างๆ เป็นสิ่งแท้จริงเพียง ประการเดียว
  • 33.  หลักการเรื่องจิต ของโยคาจาร ใกล้เคียงกับคาสอนของเถรวาท ที่ว่า  “โลกอันจิตนำไป โลกอันจิตย่อมเสือกไสไป โลกทั้งหมด เป็นไปตำมอำนำจธรรมอย่ำงเดียว คือ จิต” (สังยุตตนิกาย สคาถวรรค อันธวรรคที่ ๗ จิตตสูตรที่ ๒)
  • 34.

Notas do Editor

  1. ทศกัณฐ์สรุปว่า “นี่คือธรรมชาติของสิ่งทั้งปวง สรรพสิ่งมีอยู่ในอาณาเขตของจิต ความจริงข้อนี้คนเขลามิอาจหยั่งเห็นได้เลย คนเขลาเหล่านี้คิดฝันไปต่าง ๆ นานา จึงสับสนไม่รู้ซึ้งถึงสัจธรรมดังกล่าวนี้ แท้ที่จริง ไม่มีผู้เห็น ไม่มีสิ่งที่ถูกเห็น ไม่มีผู้พูด ไม่มีสิ่งที่ถูกพูด พระพุทธเจ้าและพระธรรมก็หาใช่อะไรไม่ หากคือมายาภาพที่เกิดจากความเข้าใจผิดนั้นเอง บุคคลใดมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ตามปกติ บุคคลนั้นย่อมไม่เห็นพระพุทธเจ้า แต่เมื่อความเข้าใจผิดถูกขจัดออกไป บุคคลย่อมมองไม่เห็นพระพุทธเจ้าเช่นกัน บุคคลจะเห็นพระพุทธเจ้าได้ก็ต่อเมื่อ เขาเข้าถึงสถานที่ที่โลกดับแล้วอย่างสิ้นเชิง”...แท้จริงโลกหาใช่อะไรไม่ หากแต่คือใจของท้าวเธอเอง
  2. สิ่งที่เรียกว่าจิตหนึ่งมีอยู่แล้ว มีตั้งแต่ยังไม่มีใครทราบ เป็นจิตใหญ่หรือจิตสากล ส่วนจิตที่มีอยู่ในมนุษย์และสรรพสัตว์คือจิตย่อย จิตสากลมีคุณสมบัติ บริสุทธิ์ ผ่องใส เจิดจ้าอย่างไร จิตย่อยก็มีคุณสมบัติอย่างนั้น คัมภีร์คำสอนของฮวงโป(หน้า 22-25)กล่าวว่า “พระพุทธเจ้าทั้งปวงและสัตว์โลกทั้งสิ้นไม่ได้เป็นอะไรเลย นอกจากเป็นเพียงจิตหนึ่ง (One Mind) นอกจากจิตหนึ่งนี้แล้ว มิได้มีอะไรตั้งอยู่เลย จิตหนึ่งซึ่งเป็นสิ่งที่ปราศจากการตั้งต้นนี้เป็นสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้น และไม่อาจจะถูกทำลายได้เลย มันไม่ใช่ของมีสีเขียวหรือสีเหลือง และไม่มีทั้งรูปไม่มีทั้งการปรากฏ มันไม่ถูกนับรวมอยู่ในสิ่งทั้งที่มีการตั้งอยู่และไม่มการตั้งอยู่ มันไม่อาจถูกลงความเห็นว่าเป็นของใหม่หรือเป็นของเก่า มันไม่ใช่ของยาว ของสั้น ของใหญ่ ของเล็ก ทั้งนี้เพราะมันอยู่เหนือขอบเขต เหนือการวัด เหนือการตั้งชื่อ เหนือการทิ้งร่องรอยไว้ และเหนือการเปรียบเทียบทั้งหมดทั้งสิ้น จิตหนึ่งนั้นแหละคือพุทธะ ไม่มีพุทธะอื่นใดที่ไหนอีก ไม่มีจิตอื่นใดที่ไหนอีก มันแจ่มจ้าและไร้ตำหนิเช่นเดียวกับความว่าง คือมันไม่มีรูปร่างหรือปรากฏการณ์ใด ๆเลย การใช้จิตของเธอให้ปรุงความคิดมันไปต่าง ๆนั้นเท่ากับเธอละทิ้งเนื้อหาอันเป็นสาระเสียแล้ว ไปผูกพันตัวเองกับรูปธรรมซึ่งเป็นเหมือนกับเปลือ