SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 19
อัคคิวัจฉโคตตสูตร
ในฐานะบริบทที่เป็นบ่อเกิดให้กับแนวคาสอนของมหายาน
พระอรหันต์ตายแล้วเกิด หรือไม่เกิด ?
เถรวาทตอบอย่างไร?
มหายานตอบอย่างไร?
อัคคิวัจฉโคตตสูตร*
 พระสูตรที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงเรื่องไฟแก่ปริพาชกชื่อวัจฉโคตร
 ความเป็ นมา
ที่วัดเชตะวัน เมืองสาวัตถี ปริพาชกวัจฉโคตรเข้าเฝ้ าพระศาสดาทูล
ถามเรื่องความเห็นเกี่ยวกับเรื่องโลกและชีวิต รวมทั้งเรื่องหลักจากตายแล้ว
ว่าเป็ นอย่างไร ๑๐ ข้อด้วยกัน รวมเรียกว่า อันตคาหกทิฏฐิ แปลว่า
ความเห็นหรือทฤษฎีอันถือเอาที่สุด หรือความเห็นสุดโต่ง (The ten
erroneous extremist views)
*ม.ม. (ไทย) ๑๓/๑๘๗-๑๙๒/๒๑๙-๒๒๗
ความเห็นสุดโต่ง ๑๐ ประการมีดังนี้
 ๑. โลกเที่ยง ๒. โลกไม่เที่ยง
 ๓. โลกมีที่สุด ๔. โลกไม่มีที่สุด
 ๕. ชีวะ (จิต) กับสรีระ (ร่างกาย) เป็ นอย่างเดียวกัน (แยกกันไม่ได้)
 ๖. ชีวะกับสรีระเป็ นคนละอย่าง (แยกกันได้)
 ๗. สัตว์ตายแล้วย่อมมีอีกเป็ นอีก
 ๘. สัตว์ตายแล้วย่อมไม่มีอีกไม่เป็ นอีก
 ๙. สัตว์ตายแล้วย่อมเป็ นอีกด้วย ไม่เป็ นอีกด้วย คือ
เป็ นอีกก็ใช่ ไม่เป็ นอีกก็ใช่
 ๑๐. สัตว์ตายแล้วย่อมเป็ นอีกก็ไม่ใช่ ไม่เป็ นอีกก็ไม่ใช่
อัคคิวัจฉโคตตสูตร (เนื้อหาโดยย่อ)
 พระพุทธองค์ตรัสว่า พระองค์ไม่ทรงเห็นอย่างนั้นเลยแม้สักอย่างเดียว
ปริพาชกทูลถามว่า ทรงเห็นโทษอย่างไร จึงทรงปฏิเสธความเห็นอย่างนั้น
ตรัสตอบว่า ความเห็นอย่างนั้นเป็ นสิ่งรกชัฏ กันดาร เป็ นเสี้ยนหนามกวัด
แกว่ง เป็ นเครื่องผูกสัตว์ไว้ เป็ นไปเพื่อทุกข์ ไม่เป็ นไปเพื่อหน่าย เพื่อ
นิพพาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร (เนื้อหาโดยย่อ)
 ปริพาชกทูลถามว่า ทรงเห็นอย่างไร หรือทรงมีความเห็นอะไรบ้าง
พระองค์ตรัสตอบว่า “ความเห็น (ทิฏฐิคตํ)” พระองค์นําออกเสียแล้ว
กําจัดเสียแล้ว พระองค์ทรงเห็นแล้วว่า “รูป เวทนา สัญญา สังขาร
วิญญาณ เป็ นอย่างนี้ มีเหตุเกิดอย่างนี้ ดับไปอย่างนี้ เราจึงพ้นแล้ว
โดยสิ้นเชิง ปล่อยวาง ไม่ถือมั่น ไม่สําคัญมั่นหมายว่าเรา ว่าของ
เรา”
อัคคิวัจฉโคตตสูตร (เนื้อหาโดยย่อ)
 ปริพาชกทูลถามว่า ผู้พ้นแล้วเช่นนี้จะไปเกิดที่ไหน
 พระองค์ตรัสตอบว่า ไม่ควรใช้คําว่าเกิด หรือไม่เกิด เกิดด้วยไม่เกิดด้วย
เกิดก็ไม่ใช่ ไม่เกิดก็ไม่ใช่ ไม่ควรใช้คําเหล่านี้ทั้งสิ้น
 ปริพาชกทูลว่า พูดอย่างนี้ฟังไม่รู้เรื่อง เคยเลื่อมใสอยู่ก่อน ตอนนี้หมด
ความเลื่อมใสในพระโคดมเสียแล้ว
อัคคิวัจฉโคตตสูตร (เนื้อหาโดยย่อ)
 พระศาสดาตรัสว่า ก็ควรที่ปริพาชกจะไม่รู้ ควรที่จะหลง (ประเด็น) หรือ
เข้าใจผิด เพราะธรรมนี้ (เรื่องนี้) สุขุมลุ่มลึกยากที่จะรู้เห็น เป็ นธรรมที่
สงบประณีต ไม่เป็ นวิสัยของตรรกะ (คือ หยั่งรู้ได้ด้วยการคิดหาเหตุผล)
แต่บัณฑิตพอรู้ได้ ธรรมนี้รู้ได้ยากสําหรับผู้ที่มีความเห็นเป็ นอื่น พอใจ
อย่างอื่น อยู่ในสํานักของอาจารย์อื่น (ไม่ใช่พุทธศาสนิกชน)
อัคคิวัจฉโคตตสูตร (เนื้อหาโดยย่อ)
 พระพุทธเจ้าทรงอุปมาให้ปริพาชกฟังว่า “ไฟที่ลุกอยู่ต่อหน้าท่าน อาศัยอะไรจึงลุก
อยู่ ถ้ามีคนถามอย่างนี้ ท่านจะตอบอย่างไร”
 ปริพาชก : ตอบว่าอาศัยเชื้อ คือหญ้าหรือไม้จึงลุกอยู่
 พระพุทธเจ้า : ถ้าไฟดับไป ท่านก็รู้ว่าไฟดับไป มีผู้ถามว่าไฟดับไปเพราะอะไร และ
ไฟที่ดับแล้วไปทางทิศไหน
 ปริพาชก : ตอบว่าไฟอาศัยเชื้อเกิดขึ้น เมื่อสิ้นเชื้อก็ดับไป (รู้ไม่ได้ว่าไปทางทิศใด)
 พระพุทธเจ้า : บุคคลได้รับสมมติบัญญัติว่าเป็ นสัตว์ เพราะรูป เวทนา สัญญา
สังขาร และวิญญาณอันใด สิ่งนั้นตถาคตละได้แล้ว ตัดให้ขาดแล้ว พ้นแล้วจาก
สมมติบัญญัติใดๆ จึงไม่ควรกล่าวว่าเกิด หรือไม่เกิด
 ปริพาชกทูลสรรเสริญพระดํารัสของพระศาสดาว่า เป็ นแก่นสารดีแท้ แสดงตนเป็ น
อุบาสก นับถือพระรัตนตรัยตลอดชีวิต
พระอรหันต์ตายแล้วเกิด หรือไม่เกิด ?
พระอรหันต์ตายแล้วไปไหน ?
อัคคิวัจฉโคตตสูตร ให้แนวคิดว่า
พระพุทธศาสนาอยู่กึ่งกลางระหว่าง สัสสตทิฐิ
กับอุจเฉททิฐิอย่างไร ถ้ามีคนถามว่า
พระอรหันต์ตายแล้วเกิด หรือไม่เกิด พระองค์
ไม่ตอบตรงๆ เพราะถ้าตอบว่า "เกิด" คนฟังก็
จะคิดว่าอาตมันยั่งยืน นิรันดร ไม่ตาย ถ้าตอบ
ว่า "ไม่เกิด" คนฟังก็จะคิดว่าอาตมันดับสูญ
ไม่นิรันดร พระองค์จึงตรัสตอบด้วยอุปมาว่า"
ถ้ามีเชื้อไฟอยู่ ไฟก็ลุกไหม้ เมื่อเชื้อหมดไป
ไฟก็ดับ พระอรหันต์ท่าน "ดับสนิท" เหมือน
ไฟดับ"
ปัญหาสาคัญที่นาไปสู่แนวคิดของมหายาน
ไฟที่ดับไปแล้วยังคงอยู่ (Exist) หรือไม่ ?
 "ถ้ามีเชื้อไฟอยู่ ไฟก็ลุกไหม้ เมื่อเชื้อหมดไป ไฟก็ดับ พระอรหันต์ท่าน
"ดับสนิท" เหมือนไฟดับ"
 จากอุปมานี้เอง พวกมหายานนําเอามาคิดในแง่อภิปรัชญา จนได้คําตอบ
ว่า ไฟที่ดับไปแล้วยังคงอยู่ (Exist) ฉันใด พระอรหันต์ดับไปแล้วก็ตอบได้
เหมือนกันว่า คงอยู่ เพราะเหตุนี้ ฝ่ายมหายานจึงบัญญัติความคิดเรื่อง
ตรีกาย เชื่อว่าพระพุทธเจ้านิรันดร ขึ้น เป็ นการพัฒนาการเลยเส้นเดิม
ของเถรวาท
เมื่อนิพพานมี ที่ตั้งของนิพพานก็น่าจะมี ?
 พระพุทธศาสนามหายานจะอธิบายเรื่องนิพพานอย่างชัดเจนโดยเฉพาะ
ชีวิตหลังความตาย คือนิพพานของมหายานมาเกี่ยวพันกับสถานที่ที่เรา
นั่งแห่งนี้ด้วย เขาเรียกว่า พุทธเกษตร แปลว่า ที่อยู่ของพระพุทธเจ้า
หมายความว่า พระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลายเมื่อเสด็จปรินิพพาน
ก็จะไม่สูญ แต่จะมารวมตัวกันที่พุทธเกษตร สถิตอยู่ในบรมพิมานแดน
นิพพานนั้นอย่างเป็ นสุขชั่วนิรันดร์
 สุขาวดีพุทธเกษตร คือดินแดนหนึ่ง ที่มีความสําคัญมากต่อความเชื่อ
มหายาน เป็ นดินแดนที่เกิดขึ้นด้วยอํานาจบารมีของพระอมิตาภพุทธเจ้า
 เป็ นดินแดนที่เอื้อต่อการบรรลุนิพพานมากที่สุด
ทาไมต้องให้พระพุทธเจ้าคงอยู่ ?
ทาไมนิพพานต้องมีที่ตั้ง ?
 ก็เพื่อให้ปวงชนมีสิ่งที่สามารถยึดมั่นในศาสนาพุทธได้ หากใช้หลักธรรม
เป็ นคําสั่งสอนแต่อย่างเดียว ก็จะทําให้ปวงชนปราศจากสิ่งยึดเหนี่ยวใน
สิ่งที่มีตัวตน เพราะปวงชนทั่วๆ ไป ยังข้องอยู่ด้วยกิเสสตัณหา
 พระพุทธศาสนามหายานเห็นว่าความมีอยู่ของพระพุทธองค์ ไม่ควร
สิ้นสุดหลังจากปรินิพพาน เพราะจะทําให้ชาวพุทธขาดที่พึ่ง จึงพยายาม
ทําให้รู้สึกว่าพระพุทธเจ้ายังอยู่ โดยการใช้หลักปรัชญาที่ลึกซึ้งเข้ามา
อภิปรายกับหลักศาสนา เพื่อต่อกรกับแนวความคิด อาตมันวาท ของ
พวกพราหมณ์
สุขาวดีดินแดนที่เที่ยงต่อพระนิพพาน
 ท่านวสุพันธุแห่งนิกายโยคาจารได้กล่าวสรุปจริยาวัตรของผู้ประสงค์จะ
ไปเกิดในดินแดนสุขาวดี ๕ ประการดังนี้
 ๑. บูชาพระอมิตาภพุทธเจ้าเป็ นนิตย์ จัดเป็ นกายกรรม
๒. สรรเสริญพระอมิตาภพุทธคุณและเอ่ยนามของพระองค์ เช่นการสวด
จัดเป็ นวจีกรรม
 ๓. ตั้งปณิธานไปเกิดในพุทธเกษตรนั้น
 ๔. จิตตรึกตรอง ภาวนาถึงพระอมิตาภพุทธเจ้าและคุณาลังการต่างๆ
ของพระองค์พร้อมด้วยพระโพธิสัตว์ต่างๆ ในสุขาวดีจัดเป็ นมโนกรรม
 ๕. แผ่กรุณาจิตให้สรรพสัตว์และปรารถนาให้พ้นไปจากสังสารทุกข์
สรุป
 อัคคิวัจฉโคตตสูตร คือพระสูตรของเถรวาท ที่ทางฝ่ายมหายานตีความ
คําสอนใหม่ด้วยหลักปรัชญา เพื่อต่อกรกับแนวความคิด อาตมันวาท
ของพวกพราหมณ์
 อัคคิวัจฉโคตตสูตร อยู่ในฐานะบริบทที่เป็ นบ่อเกิดให้กับแนวคําสอนของ
มหายาน ในเรื่องของตรีกาย
 การสร้างหลักความจริงว่าการมีอยู่ของพระพุทธองค์ ไม่มีที่สิ้นสุด ทําให้
ชาวพุทธมีที่พึ่งทางจิตใจ และมุ่งกระทําความดีกันมากขึ้นได้
จบการนําเสนอ
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูงรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูงTanterm Thebest
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาOppo Optioniez
 

Mais procurados (20)

ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูงรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมืองขั้นสูง
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 

Semelhante a อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึกWataustin Austin
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญKitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงChinnakorn Pawannay
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีKiat Chaloemkiat
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตTaweedham Dhamtawee
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรSarod Paichayonrittha
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 

Semelhante a อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน (20)

เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)
อักษรย่อชื่อคัมภีร์และสารบัญ (จริง)
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญสวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
สวดมนต์ กรรมฐานตามแบบหลวงพ่อจรัญ
 
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วงสัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
สัพพัญญุตญาณ พื้นที่ความรู้แจ้งในไตรภูมิพระร่วง
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มีแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาไม่มี
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 

Mais de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 

Mais de Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน