SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 4
สรุ ปประเด็นการสัมมนาเปิ ดตัว
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพห่ วงโซ่ อุปทานอุตสาหกรรมและโครงการพัฒนาความร่ วมมือในระดับห่ วงโซ่ อุปทาน
                            (Industrial Supply Chain Efficiency Improvement)
                                วันที่ 14 มีนาคม 2556 เวลา 08.30-16.00 น.
                  ณ. ห้ องคอนเวนชั่น A,B โรงแรมแอมบาสเดอร์ สุขุมวิท 11 กรุ งเทพ


ผู้แทน สรท. เข้ าร่ วมสัมมนา
      1. คุณนพพร เทพสิทธา             รองประธาน สรท.
      2. คุณอรรคเดช พัฒนนุสนธุ เจ้ าหน้ าที่ ฝ่ ายโลจิสติกส์ สรท.
                                  ิ
             โครงการดังกล่าวมีวตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิ ภาพของห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรม และการพัฒนาความ
                                ั
ร่ ว มมื อ ในระดับห่ว งโซ่อุป ทานของอุต สาหกรรมไทยโดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง SME เนื่ องจาก 94% ของผู้ประกอบการ
อุตสาหกรรมไทย เป็ น SME ดังนันกระทรวงอุตสาหกรรมจึงเล็ งเห็นความสาคัญ โดยสนับสนุน การให้ ความรู้ กับ
                                       ้
ผู้ประกอบการและผู้เข้ าร่ วมโครงในการบริ หารจัดการระบบห่วงโซ่อปทานในการลดต้ นทุนและสร้ างความร่ วมมือตลอด
                                                                  ุ
ห่วงโซ่อปทานจากต้ นน ้าถึงปลายน ้า เพื่อให้ SME ไทยสามารถยืนหยัดอยูบนเวทีการค้ าโลกได้ อย่างยังยืน โดยได้ รับเกียรติ
           ุ                                                          ่                       ่
จาก นายประเสริ ฐ บุญชัยสุข รัฐมาตรี ว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมเป็ นประธานเปิ ดงาน ซึ่งสรุ ปใจความสาคัญ ของการ
สัมมนาในครังนี ้ ดังนี ้
                ้


                  ปาฐกถาพิเศษ “ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตของประเทศไทย”
วิทยากร : คุณนพพร เทพสิทธา
        ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ของประเทศไทย ประกอบด้ วย
    1. บริบทภายในประเทศ
        1.1 การหยุดชะงักของโซ่อปทาน (Disruption) จากปั จจัยเสี่ยงภายในประเทศ ผู้ประกอบการไทยต้ องคานึงถึง
                                     ุ
              แผนบริ หารจัดการความต่อเนื่องของธุรกิจและเส้ นทางการขนส่งและโลจิสติกส์ในกรณีฉกเฉินมากขึ ้น
                                                                                                   ุ
        1.2 ไทยมีการพัฒนาความเชื่อมโยงการค้ าชายแดนเพิ่มมากขึ ้น จึงสร้ างโอกาสใหม่ทางเศรษฐกิจ
        1.3 ภาคธุรกิจไทยมีความตื่นตัวสูงต่อการเปิ ดตลาด AEC แต่มีข้อจากัดด้ านองค์ความรู้ เชิงลึกในการเข้ าถึง
              ตลาดนันๆ  ้
        1.4 สถานการณ์ขาดแคลนแรงงานภายในประเทศและแน้ วโน้ มค่าแรงที่สงขึ ้นในทุกสาขาของกิจกรรมโลจิสติกส์
                                                                                   ู
              จึงเป็ นแรงพลักดันให้ เกิดการย้ ายฐานการผลิตไปสูประเทศเพื่อบ้ านมากยิ่งขึ ้น
                                                                 ่
        1.5 การเติบโตของเมืองที่ไม่มีการวางแผนและการจัดการอย่างเป็ นระบบ จึงเป็ นข้ อจากัดต่อการเคลื่อนย้ าย
              สินค้ าที่มีประสิทธิภาพ
    2. บริบทภายนอกประเทศ
        2.1 ศูนย์กลางกิจกรรมการค้ าของโลกได้ ย้ายจากเดิม (ยุโรป อเมริ กา ญี่ ปน) ไปสู่ตลาดใหม่ (GMS จีน และ
                                                                                     ุ่
              เอเชีย) ดังนันไทยจาเป็ นจะต้ องปรับทิศทางยุทธศาสตร์ โลจิสติกส์ให้ เน้ นความเชื่อมโยงเส้ นทางไปสูประเทศ
                            ้                                                                                 ่
              เพื่อนบ้ านในภูมิภาคมากขึ ้น พร้ อมทังส่งเสริ มการพัฒนาเครื อข่ายบริ การและเส้ นทางการค้ า (Trade Lane)
                                                   ้
              ให้ ครอบคลุมไปสูกลุมประเทศคูค้าใหม่นอกเหนือจากอาเซียนด้ วย
                                 ่ ่           ่

                                                                                                        Page 1 of 4
2.2 แนวโน้ มเศรษฐกิจประเทศเพื่อนบ้ านมีแนวโน้ มเติบโตขึ ้น จึงเป็ นโอกาสในการขยายตัวธุรกิจของไทยใน
                  อนาคต
          2.3 โครงการก่อสร้ างนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรื อทวาย ก่อให้ เกิดโอกาสสาหรับห่วงโซ่อปทานในภูมิภาค
                                                                                                  ุ
          2.4 ความพยายามในการลดความเหลื่อมล ้าทางเศรษฐกิจในภูมิภาค จะเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ประกอบการ      ู
                  ไทยสามารถขยายการค้ าและการบริ การไปยังประเทศเพื่อนบ้ านที่มรกาลังซื ้อสูงขึ ้นได้
          แนวโน้ มโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน ปี 2013
     1. ให้ ความสาคัญในการบริ หารจัดการห่วงโซ่อปทานและมีความตื่นตัวมากขึ ้น
                                                                ุ
     2. เน้ นการบริ หารจัดการตังแต่ต้นน ้าถึงปลายน ้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทาน และลดต้ นทุนการผลิต ให้
                                         ้
          สามารถแข่งขันในเวทีการค้ าโลกได้
     3. สร้ างความร่ วมมือในระดับห่วงโซ่อุปทานมากขึ ้น โดยการรวมกลุ่มและร่ วมมือของอุตสาหกรรมตลอดห่วงโซ่
          อุปทานเพื่อความยังยืน   ่
     4. ให้ ความสาคัญกับแนวคิด Green Logistics มากขึ ้น เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม และใช้ ในการรับมือกับ
          การกีดกันทางการค้ าที่ไม่ใช่ภาษี
     5. มาตรฐานการบริ การและมาตรฐานผลิตภัณฑ์มีความสาคัญมากขึ ้น
     6. มีการใช้ เทคโนโลยีในการบริ หารจัดการซัพพลายเชนที่ทนสมัยมากขึ ้นในการเพิ่มประสิทธิภาพการไหลตลอดห่วง
                                                                         ั
          โซ่อปทานและการลดต้ นทุน
                ุ
          บทสรุ ปอนาคตของประเทศไทย
          วิวฒนาการของการพัฒนาซัพพลายเชน (Stage of Supply Evolution) ประกอบไปด้ วย 4 ขันดังนี ้
              ั                                                                                      ้
                     1. Conventional supply chain
                     2. Developing supply chain
                     3. Transforming supply chain
                     4. Demand-driven value network
          ซึงผู้ประกอบการในประเทศส่วนใหญ่จะอยูในวิวฒนาการขัน 1 ถ้ าผู้ประกอบการไทยยังไม่ตื่นตัวในการพัฒนาซ
            ่                                                  ่ ั            ้
ห่วงโซ่อปทานให้ อยูวิวฒนาการในขันที่ 2 หรื อมากกว่า จะทาให้ ผ้ ประกอบการไทยไม่มีขีดความสามารถในการแข่งขันใน
        ุ               ่ ั                ้                               ู
เวทีโลกได้ ดังนันบทสรุปที่ประเทศไทยควรจะดาเนินการเพื่อให้ ผ้ ประกอบการไทยสามารถแข่งขันได้ มีดงนี ้
                   ้                                                   ู                               ั
                   ผู้ประกอบการไทยต้ องพัฒนาซัพพลายเชนให้ อยูในวิวฒนาการขันที่ 2 Developing stage ให้ ได้
                                                                             ่ ั       ้
                   ใช้ บริ ษัทที่อยู่ในวิวฒนาการขันที่ 3 Transforming stage เป็ นต้ นแบบให้ กบผู้ประกอบการ SME หรื อ
                                             ั            ้                                   ั
                       บริ ษัทที่อยูในขันที่ต่ากว่า เพื่อเป็ นแนวทางและให้ คาปรึกษาในการพัฒนาต่อไป
                                    ่ ้
                   ต้ อ งมี แ นวคิ ด การพัฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง (Continuous improvement) เพื่ อ การพัฒ นาที่ ยั่ง ยื น
                       (Sustainability)
                   ระบบห่วงโซ่อปทานต้ องสามารถตรวจสอบและมองเห็นได้ ตลอดการไหลของห่วงโซ่อปทาน(Supply
                                       ุ                                                                   ุ
                       chain visibility) รวมถึงต้ องมีการร่วมมือทังภายในและภายนอกองค์กรตลอดห่วงโซ่อปทาน (Supply
                                                                     ้                                   ุ
                       chain Collaboration) เพื่อไปสูเ่ ปาหมายและแนวทางเดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพ
                                                             ้
                   ผู้ประกอบการ SME ถือว่าเป็ นผู้ประกอบการหลักของประเทศ ดังนันต้ องมีการสนับสนุนผู้ประกอบการ
                                                                                         ้
                       SME อย่างต่อเนื่อง โดยการรวมกลุมของผู้ประกอบการ SME ให้ มีความเข็มแข็งมากขึ ้น
                                                                  ่

                                                                                                            Page 2 of 4
เสวนาเรื่อง “การพัฒนาและยกระดับธุรกิจ SME ด้ วยคลัสเตอร์ และกลยุทธ์ ห่วงโซอุปทาน”

วิทยากร : นายสวัสดิ์ โสภะ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จากัด(มหาชน)
               การพัฒนาห่วงโซ่อปทานถือว่ามีความสาคัญต่อบริ ษัทไทยเบฟอย่างมาก เนื่องจากผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทมีความ
                                     ุ
หลากหลายและเป็ นสินค้ าอุปโภคบริ โภค ซึ่งเป็ นสินค้ าที่ สามารถทดแทนกัน สินค้ าทดแทนกันได้ หมายถึง สินค้ าที่ใช้ แทน
กันด้ วยวัตถุประสงค์เดียวกันและความสามารถใช้ แทนกันได้ ของผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในท้ องตลาด ดังนันการเข้ าถึงตลาดที่
                                                                                                     ้
ทันเวลาและสถานที่ เพียงพอต่อความต้ องการ รวมถึงต้ องเข้ าใจความต้ องการของลูกค้ า ซึงปั จจัยดังกล่าวถือว่าสาคัญใน
                                                                                        ่
การวางแผนการบริ หารจัดการห่วงโซ่อุปทานเพื่อให้ ตอบสนองความต้ องการของลูกค้ า ดังนันบริ ษัทจึงได้ เล็งเห็นถึง
                                                                                                   ้
ความสาคัญในเรื่ องดังโดยเน้ นไปที่การกระจายสินค้ าของบริ ษัทให้ ทวถึงและเพียงพอต่อความต้ องการของลูกค้ า ซึ่งการ
                                                                       ั่
กระจายสินค้ าของบริ ษัทส่วนมากจะผ่านร้ านค้ ารายย่อยและเป็ นธุรกิจ SME จากการบริ หารสินค้ าคงคลัง (stocking) ที่ย
ยังไม่เป็ นระบบและไม่มีประสิทธิ ภาพ ทางบริ ษัทจึงได้ วางแผนกลยุทธ์ ในการพัฒนาและยกระดับร้ านค้ า รายย่อยให้ มี
ประสิทธิ ภาพในการบริ หารจัดการร้ านค้ า อย่างเป็ นระบบมากขึ ้น โดยให้ ความช่วยเหลือทังในด้ านความรู้ การบริ หาร
                                                                                            ้
คลังสินค้ าอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงให้ ความช่วยเหลือทางด้ านไอที เพื่อให้ ง่ายต่อการตรวจสอบสินค้ าคงคลังและการ
จัดซื ้อ ซึงถือว่าเป็ นกลยุทธ์หวงโซ่อปทานและเป็ นการยกระดับ SME ที่ทางบริ ษัทได้ ดาเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง
             ่                  ่      ุ
 วิทยากร : นายพิบูลย์ มนัสพล นายกสมาคมคลัสเตอร์ สิ่งทอเพชรเกษม
               สมาคมคลัสเตอร์ สงทอเพชรเกษม เป็ นการรวมกลุมกันของผู้ผลิตเส้ นใย โรงงานย้ อมผ้ า โรงงานทอผ้ า และฯลฯ
                                  ิ่                           ่
มากกว่า 50 โรงงาน ซึ่งเป็ นการรวมกลุม กันของห่วงโซ่อปทานตังแต่ต้นน ้าถึงปลายน ้าในทุกสาขาอาชีพที่เกี่ยวข้ องกับ
                                           ่                 ุ       ้
กระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมสิ่งทอ ซึ่งคุณพิบลย์กล่าวว่าการรวมกลุมคลัสเตอร์ ของอุตสาหกรรม SME ไทยถือว่ามี
                                                    ู                       ่
ความสาคัญ เพื่อสร้ างความเข้ มแข้ งในการแข่งขันบนเวทีการค้ าโลก สามารถเพิ่มอานาจในการต่อรองทางการค้ าจากการ
รวมกลุม โดยคุณสมบัติของสมาชิกภายในกลุมคลัสเตอร์ จะต้ องไม่มีการกีดกันและการแข่งขันกันเองภายในกลุม ต้ องมี
         ่                                      ่                                                           ่
การแลกเปลียนความรู้ และให้ การสนับสนุนซึงกันและกัน โดยกลุมคลัสเตอร์ ต้องมีทิศทางไปในแนวเดียวกันเพื่อตอบสนอง
                 ่                            ่                  ่
ความต้ องการของลูกค้ าเป็ นสาคัญ ซึงแนวคิดดังกล่าวจะสามารถสร้ างความยังยืนของห่วงโซ่อปทานอย่างแท้ จริ ง
                                         ่                                    ่               ุ
วิทยากร : นายประเสริฐ สัมฤทธิ์วณิชชา กรรมการผู้จัดการ บริษัทแสงเจริญ ทูลส์ เซ็นเตอร์ จากัด
               ทางภาคอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ได้ เริ่ มเล็งเห็นถึงความสาคัญของการรวมกลุมคลัสเตอร์ และการพัฒนา
                                                                                          ่
ห่วงโซ่อปทานมากขึ ้น ซึงในขณะนี ้ได้ เริ่ มโครงการสร้ างกลุมคลัสเตอร์ อตสาหกรรมยานยนต์เพื่อความร่วมมือกันตลอดห่วง
           ุ               ่                               ่              ุ
โซ่ออุปทานเป็ นปี แรก โดยจะได้ นาแนวทางการรวมกลุมคลัสเตอร์ ดงกล่าวจากสมาคมคลัสเตอร์ สงทอเพชรเกษมมาเป็ น
                                                        ่          ั                            ิ่
แบบอย่างในการพัฒนากลุมต่อไป   ่


                 บรรยายเรื่อง “ห่ วงโซ่ อุปทานกับยุทธศาสตร์ การพัฒนาอุตสาหกรรมของไทย”

วิทยากร : นายกร ทัพพะรั งสี นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
          กล่าวว่าแนวคิดการบริ หารจัดการห่วงโซ่อุปทาน เริ่ มจากการพิจารณาจากทรัพยากรและวัตถุดิบที่มีอยู่ก่อน
จากนันจึง วิเคราะห์ ถึงการได้ มาของวัตถุดิบต่างๆนัน เช่นที่ตงของวัตถุดิบ อยู่ที่ใด ช่องทางและวิธีการขนส่งการขนส่ง
       ้                                             ้      ั้
วัตถุดิบเป็ นอย่างไร จากนันจึงวิเคราะห์ถึงสถานที่ตงโรงงาน ควรจะตังให้ ใกล้ วตถุดิบหรื อไม่หรื อควรตังโรงงานในเขตนิคม
                          ้                       ั้             ้          ั                       ้
อุตสาหกรรมเพื่อให้ ได้ รับสิทธิ พิเศษทางด้ านภาษี จากนันจึงทาการวิเคราะห์ เครื่ องมือหรื อเครื่ องจักรที่จะนามาใช้ ใน
                                                        ้


                                                                                                        Page 3 of 4
โรงงานให้ เหมาะสมกับสินค้ า เช่นสินค้ าที่จาเป็ นต้ องผลิตจานวนมากๆ (Mass Production) ก็ควรพิจารณาการนา
เครื่ องจักรมาใช้ เพื่อเพิ่มจานวนการผลิตให้ เพียงพอต่อความต้ องการ ในทางกลับกันถ้ าสินค้ าที่ผลิตต้ องใช้ งานฝี มือ หรื อ
ผลิตในปริ มาณที่น้อยก็อาจไม่จาเป็ นต้ องใช้ เครื่ องจักรเนื่องจากต้ องใช้ เงินลงทุนสูง อย่างไรก็ตามการที่จะผลิตและพัฒนา
ผลิตภัณฑ์จาเป็ นจะต้ องศึกษาคุณลักษณะและความต้ องการของผู้บริ โภค รวมถึงการศึกษาคู่แข่งทางการค้ าว่ามีจุดเด่น
หรื อจุดด้ อยอย่างไรโดยนาข้ อมูลดังกล่าวมาใช้ เพื่อการเปรี ยบเทียบการทางานในด้ านต่างๆในการปรับปรุ งการทางานของ
บริ ษัทอย่างต่อเนื่อง เมื่อพิจารณาถึงความต้ องการของลูกค้ า คูแข่งทางการค้ า การได้ มาของวัตถุดิบและการวางแผนการ
                                                                 ่
ผลิตแล้ ว จากนันจะต้ องพิจารณาถึง ช่องทางการกระจายสินค้ าไปสู่ผ้ บริ โภคอย่างมีคุณภาพตรงตามความต้ องการของ
                   ้                                                         ู
ลูกค้ า คือ ตรงเวลา ตรงตามสถานที่ที่กาหนด และตรงตามคุณภาพที่ลกค้ าต้ องการ ู
            สาหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยเป็ นที่ทราบกันดีอยู่แล้ วว่าอุตสาหกรรม SME ที่สาคัญของประเทศคือ
ภาคการเกษตร แต่ยังคงมี จุด ด้ อ ยในหลาย เช่น ขาดองค์ ความรู้ ในการบริ หารจัด การห่วงโซ่อุป ทานและการพัฒนา
กระบวนการผลิต ขาดการเข้ าถึงเทคโนโลยี จากปั ญหาดังกล่าวส่งผลให้ ปริ มาณผลผลิต ต่อไร่ ต่าเมื่อเปรี ยบเทียบกับ
ประเทศเพื่อนบ้ าน ดังนัน SME ไทยจะต้ องนาความรู้ จากงานวิจยของสถาบันการศึกษาต่างๆมาปรับปรุ งขบวนการผลิต
                            ้                                       ั
รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ มีคณภาพและมาตรฐานตรงตามความต้ องการของลูกค้ า
                                   ุ

                                                 **********************

                                                                                  สภาผู้สงสินค้ าทางเรื อแห่งประเทศไทย
                                                                                         ่
                                                                                                        18 มีนาคม 2556




                                                                                                           Page 4 of 4

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Barilla Spagethi Case Study
Barilla Spagethi Case StudyBarilla Spagethi Case Study
Barilla Spagethi Case StudyRiri Kusumarani
 
Barilla Spa: A case on Supply Chain Integration
Barilla Spa: A case on Supply Chain IntegrationBarilla Spa: A case on Supply Chain Integration
Barilla Spa: A case on Supply Chain IntegrationHimadri Singha
 
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?NIDA Business School
 
Adidas supply Chain Management
Adidas supply Chain ManagementAdidas supply Chain Management
Adidas supply Chain ManagementSusheel Racherla
 
Supply Chain Management of 7 eleven
Supply Chain Management  of 7 elevenSupply Chain Management  of 7 eleven
Supply Chain Management of 7 elevenSusheel Racherla
 
Supply Chain Strategy at 7-Eleven
Supply Chain Strategy at 7-ElevenSupply Chain Strategy at 7-Eleven
Supply Chain Strategy at 7-ElevenPrita Meilanitasari
 
Supply Chain Management-Nike
Supply Chain Management-NikeSupply Chain Management-Nike
Supply Chain Management-NikeIhab Itani
 
Toyota Supply chain Management
Toyota Supply chain Management Toyota Supply chain Management
Toyota Supply chain Management Siddhi Suthar
 
Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.
Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.
Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.Sabio Bernard
 

Destaque (12)

Barilla Spagethi Case Study
Barilla Spagethi Case StudyBarilla Spagethi Case Study
Barilla Spagethi Case Study
 
Starbucks case study
Starbucks case studyStarbucks case study
Starbucks case study
 
Barilla Spa: A case on Supply Chain Integration
Barilla Spa: A case on Supply Chain IntegrationBarilla Spa: A case on Supply Chain Integration
Barilla Spa: A case on Supply Chain Integration
 
Case Study : Serksu Thailand
Case Study : Serksu ThailandCase Study : Serksu Thailand
Case Study : Serksu Thailand
 
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
บทที่ 7 ห่วงโซ่คุณค่าคืออะไร/Chapter 7 What is Value Chain?
 
Adidas supply Chain Management
Adidas supply Chain ManagementAdidas supply Chain Management
Adidas supply Chain Management
 
Supply Chain Management of 7 eleven
Supply Chain Management  of 7 elevenSupply Chain Management  of 7 eleven
Supply Chain Management of 7 eleven
 
Supply Chain Management At Starbucks
Supply Chain Management At StarbucksSupply Chain Management At Starbucks
Supply Chain Management At Starbucks
 
Supply Chain Strategy at 7-Eleven
Supply Chain Strategy at 7-ElevenSupply Chain Strategy at 7-Eleven
Supply Chain Strategy at 7-Eleven
 
Supply Chain Management-Nike
Supply Chain Management-NikeSupply Chain Management-Nike
Supply Chain Management-Nike
 
Toyota Supply chain Management
Toyota Supply chain Management Toyota Supply chain Management
Toyota Supply chain Management
 
Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.
Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.
Supply Chain Management of TOYOTA.......case study by sabio bernard.
 

Mais de Nopporn Thepsithar

2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC
2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC 2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC
2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC Nopporn Thepsithar
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้วยปรัชญาหมากล้อม
การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้วยปรัชญาหมากล้อมการจัดการเชิงกลยุทธ์ด้วยปรัชญาหมากล้อม
การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้วยปรัชญาหมากล้อมNopporn Thepsithar
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4Nopporn Thepsithar
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3Nopporn Thepsithar
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2Nopporn Thepsithar
 
คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"
คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"
คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"Nopporn Thepsithar
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธNopporn Thepsithar
 
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AECNopporn Thepsithar
 
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชนNopporn Thepsithar
 
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556Nopporn Thepsithar
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance IndexNopporn Thepsithar
 
2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release 2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release Nopporn Thepsithar
 
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class LogisticsPresentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class LogisticsNopporn Thepsithar
 
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013Nopporn Thepsithar
 
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะเงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะNopporn Thepsithar
 
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจบริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจNopporn Thepsithar
 
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน 2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน Nopporn Thepsithar
 
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจPresentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจNopporn Thepsithar
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRINopporn Thepsithar
 

Mais de Nopporn Thepsithar (20)

2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC
2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC 2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC
2015-09-28 National Development Strategy proposed by TNSC
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้วยปรัชญาหมากล้อม
การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้วยปรัชญาหมากล้อมการจัดการเชิงกลยุทธ์ด้วยปรัชญาหมากล้อม
การจัดการเชิงกลยุทธ์ด้วยปรัชญาหมากล้อม
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 3
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 2
 
คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"
คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"
คุณค่าจากยุทธนิยายอิงประวัติศาสตร์ "เทพบุตรกู้บัลลังก์"
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
2014-05-07 ปรับกลยุทธ์และพัฒนาศักยภาพด้านโลจิสติกส์ก่อนบุกตลาด AEC
 
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
2014-02-06 การบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพในภาคเอกชน
 
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
จุลสารอุตสาหกรรมสีเขียว ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 ตุลาคม - พฤศจิกายน 2556
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
 
2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release 2013 12-03 TNSC Press Release
2013 12-03 TNSC Press Release
 
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class LogisticsPresentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
Presentation 2013 09-13 Thai Logistics Standard to World Class Logistics
 
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
Executive Summary CSCMP Europe Conference 2013
 
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะเงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
เงินกู้ 2 ล้านล้านบาท แผนการลงทุน ความคุ้มค่า และ ข้อเสนอแนะ
 
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจบริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
บริหารธุรกิจตามวิถีแห่งเต๋าของเหลาจื๊อ โดย ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
 
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน 2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
2013-03-21 การบริหารกำลังพลคุณภาพในภาคเอกชน
 
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจPresentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
Presentation เต้าเต๋อจิง คัมภีร์นักปกครอง โดยอาจารย์ก่อศักดิ์ ธรรมเจริญกิจ
 
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
2013-03-27 ประเทศไทยในกระแส AEC โดย ดร.สมเกียรติ TDRI
 
2013 03-15 Thai Truck Center
2013 03-15 Thai Truck Center2013 03-15 Thai Truck Center
2013 03-15 Thai Truck Center
 

2013-03-14 สรุปโครงการเพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรม

  • 1. สรุ ปประเด็นการสัมมนาเปิ ดตัว โครงการเพิ่มประสิทธิภาพห่ วงโซ่ อุปทานอุตสาหกรรมและโครงการพัฒนาความร่ วมมือในระดับห่ วงโซ่ อุปทาน (Industrial Supply Chain Efficiency Improvement) วันที่ 14 มีนาคม 2556 เวลา 08.30-16.00 น. ณ. ห้ องคอนเวนชั่น A,B โรงแรมแอมบาสเดอร์ สุขุมวิท 11 กรุ งเทพ ผู้แทน สรท. เข้ าร่ วมสัมมนา 1. คุณนพพร เทพสิทธา รองประธาน สรท. 2. คุณอรรคเดช พัฒนนุสนธุ เจ้ าหน้ าที่ ฝ่ ายโลจิสติกส์ สรท. ิ โครงการดังกล่าวมีวตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิ ภาพของห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรม และการพัฒนาความ ั ร่ ว มมื อ ในระดับห่ว งโซ่อุป ทานของอุต สาหกรรมไทยโดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง SME เนื่ องจาก 94% ของผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมไทย เป็ น SME ดังนันกระทรวงอุตสาหกรรมจึงเล็ งเห็นความสาคัญ โดยสนับสนุน การให้ ความรู้ กับ ้ ผู้ประกอบการและผู้เข้ าร่ วมโครงในการบริ หารจัดการระบบห่วงโซ่อปทานในการลดต้ นทุนและสร้ างความร่ วมมือตลอด ุ ห่วงโซ่อปทานจากต้ นน ้าถึงปลายน ้า เพื่อให้ SME ไทยสามารถยืนหยัดอยูบนเวทีการค้ าโลกได้ อย่างยังยืน โดยได้ รับเกียรติ ุ ่ ่ จาก นายประเสริ ฐ บุญชัยสุข รัฐมาตรี ว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมเป็ นประธานเปิ ดงาน ซึ่งสรุ ปใจความสาคัญ ของการ สัมมนาในครังนี ้ ดังนี ้ ้ ปาฐกถาพิเศษ “ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตของประเทศไทย” วิทยากร : คุณนพพร เทพสิทธา ปั จจัยที่มีผลกระทบต่อซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ของประเทศไทย ประกอบด้ วย 1. บริบทภายในประเทศ 1.1 การหยุดชะงักของโซ่อปทาน (Disruption) จากปั จจัยเสี่ยงภายในประเทศ ผู้ประกอบการไทยต้ องคานึงถึง ุ แผนบริ หารจัดการความต่อเนื่องของธุรกิจและเส้ นทางการขนส่งและโลจิสติกส์ในกรณีฉกเฉินมากขึ ้น ุ 1.2 ไทยมีการพัฒนาความเชื่อมโยงการค้ าชายแดนเพิ่มมากขึ ้น จึงสร้ างโอกาสใหม่ทางเศรษฐกิจ 1.3 ภาคธุรกิจไทยมีความตื่นตัวสูงต่อการเปิ ดตลาด AEC แต่มีข้อจากัดด้ านองค์ความรู้ เชิงลึกในการเข้ าถึง ตลาดนันๆ ้ 1.4 สถานการณ์ขาดแคลนแรงงานภายในประเทศและแน้ วโน้ มค่าแรงที่สงขึ ้นในทุกสาขาของกิจกรรมโลจิสติกส์ ู จึงเป็ นแรงพลักดันให้ เกิดการย้ ายฐานการผลิตไปสูประเทศเพื่อบ้ านมากยิ่งขึ ้น ่ 1.5 การเติบโตของเมืองที่ไม่มีการวางแผนและการจัดการอย่างเป็ นระบบ จึงเป็ นข้ อจากัดต่อการเคลื่อนย้ าย สินค้ าที่มีประสิทธิภาพ 2. บริบทภายนอกประเทศ 2.1 ศูนย์กลางกิจกรรมการค้ าของโลกได้ ย้ายจากเดิม (ยุโรป อเมริ กา ญี่ ปน) ไปสู่ตลาดใหม่ (GMS จีน และ ุ่ เอเชีย) ดังนันไทยจาเป็ นจะต้ องปรับทิศทางยุทธศาสตร์ โลจิสติกส์ให้ เน้ นความเชื่อมโยงเส้ นทางไปสูประเทศ ้ ่ เพื่อนบ้ านในภูมิภาคมากขึ ้น พร้ อมทังส่งเสริ มการพัฒนาเครื อข่ายบริ การและเส้ นทางการค้ า (Trade Lane) ้ ให้ ครอบคลุมไปสูกลุมประเทศคูค้าใหม่นอกเหนือจากอาเซียนด้ วย ่ ่ ่ Page 1 of 4
  • 2. 2.2 แนวโน้ มเศรษฐกิจประเทศเพื่อนบ้ านมีแนวโน้ มเติบโตขึ ้น จึงเป็ นโอกาสในการขยายตัวธุรกิจของไทยใน อนาคต 2.3 โครงการก่อสร้ างนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรื อทวาย ก่อให้ เกิดโอกาสสาหรับห่วงโซ่อปทานในภูมิภาค ุ 2.4 ความพยายามในการลดความเหลื่อมล ้าทางเศรษฐกิจในภูมิภาค จะเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ ผ้ ประกอบการ ู ไทยสามารถขยายการค้ าและการบริ การไปยังประเทศเพื่อนบ้ านที่มรกาลังซื ้อสูงขึ ้นได้ แนวโน้ มโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน ปี 2013 1. ให้ ความสาคัญในการบริ หารจัดการห่วงโซ่อปทานและมีความตื่นตัวมากขึ ้น ุ 2. เน้ นการบริ หารจัดการตังแต่ต้นน ้าถึงปลายน ้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพห่วงโซ่อุปทาน และลดต้ นทุนการผลิต ให้ ้ สามารถแข่งขันในเวทีการค้ าโลกได้ 3. สร้ างความร่ วมมือในระดับห่วงโซ่อุปทานมากขึ ้น โดยการรวมกลุ่มและร่ วมมือของอุตสาหกรรมตลอดห่วงโซ่ อุปทานเพื่อความยังยืน ่ 4. ให้ ความสาคัญกับแนวคิด Green Logistics มากขึ ้น เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม และใช้ ในการรับมือกับ การกีดกันทางการค้ าที่ไม่ใช่ภาษี 5. มาตรฐานการบริ การและมาตรฐานผลิตภัณฑ์มีความสาคัญมากขึ ้น 6. มีการใช้ เทคโนโลยีในการบริ หารจัดการซัพพลายเชนที่ทนสมัยมากขึ ้นในการเพิ่มประสิทธิภาพการไหลตลอดห่วง ั โซ่อปทานและการลดต้ นทุน ุ บทสรุ ปอนาคตของประเทศไทย วิวฒนาการของการพัฒนาซัพพลายเชน (Stage of Supply Evolution) ประกอบไปด้ วย 4 ขันดังนี ้ ั ้ 1. Conventional supply chain 2. Developing supply chain 3. Transforming supply chain 4. Demand-driven value network ซึงผู้ประกอบการในประเทศส่วนใหญ่จะอยูในวิวฒนาการขัน 1 ถ้ าผู้ประกอบการไทยยังไม่ตื่นตัวในการพัฒนาซ ่ ่ ั ้ ห่วงโซ่อปทานให้ อยูวิวฒนาการในขันที่ 2 หรื อมากกว่า จะทาให้ ผ้ ประกอบการไทยไม่มีขีดความสามารถในการแข่งขันใน ุ ่ ั ้ ู เวทีโลกได้ ดังนันบทสรุปที่ประเทศไทยควรจะดาเนินการเพื่อให้ ผ้ ประกอบการไทยสามารถแข่งขันได้ มีดงนี ้ ้ ู ั  ผู้ประกอบการไทยต้ องพัฒนาซัพพลายเชนให้ อยูในวิวฒนาการขันที่ 2 Developing stage ให้ ได้ ่ ั ้  ใช้ บริ ษัทที่อยู่ในวิวฒนาการขันที่ 3 Transforming stage เป็ นต้ นแบบให้ กบผู้ประกอบการ SME หรื อ ั ้ ั บริ ษัทที่อยูในขันที่ต่ากว่า เพื่อเป็ นแนวทางและให้ คาปรึกษาในการพัฒนาต่อไป ่ ้  ต้ อ งมี แ นวคิ ด การพัฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง (Continuous improvement) เพื่ อ การพัฒ นาที่ ยั่ง ยื น (Sustainability)  ระบบห่วงโซ่อปทานต้ องสามารถตรวจสอบและมองเห็นได้ ตลอดการไหลของห่วงโซ่อปทาน(Supply ุ ุ chain visibility) รวมถึงต้ องมีการร่วมมือทังภายในและภายนอกองค์กรตลอดห่วงโซ่อปทาน (Supply ้ ุ chain Collaboration) เพื่อไปสูเ่ ปาหมายและแนวทางเดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพ ้  ผู้ประกอบการ SME ถือว่าเป็ นผู้ประกอบการหลักของประเทศ ดังนันต้ องมีการสนับสนุนผู้ประกอบการ ้ SME อย่างต่อเนื่อง โดยการรวมกลุมของผู้ประกอบการ SME ให้ มีความเข็มแข็งมากขึ ้น ่ Page 2 of 4
  • 3. เสวนาเรื่อง “การพัฒนาและยกระดับธุรกิจ SME ด้ วยคลัสเตอร์ และกลยุทธ์ ห่วงโซอุปทาน” วิทยากร : นายสวัสดิ์ โสภะ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จากัด(มหาชน) การพัฒนาห่วงโซ่อปทานถือว่ามีความสาคัญต่อบริ ษัทไทยเบฟอย่างมาก เนื่องจากผลิตภัณฑ์ของบริ ษัทมีความ ุ หลากหลายและเป็ นสินค้ าอุปโภคบริ โภค ซึ่งเป็ นสินค้ าที่ สามารถทดแทนกัน สินค้ าทดแทนกันได้ หมายถึง สินค้ าที่ใช้ แทน กันด้ วยวัตถุประสงค์เดียวกันและความสามารถใช้ แทนกันได้ ของผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในท้ องตลาด ดังนันการเข้ าถึงตลาดที่ ้ ทันเวลาและสถานที่ เพียงพอต่อความต้ องการ รวมถึงต้ องเข้ าใจความต้ องการของลูกค้ า ซึงปั จจัยดังกล่าวถือว่าสาคัญใน ่ การวางแผนการบริ หารจัดการห่วงโซ่อุปทานเพื่อให้ ตอบสนองความต้ องการของลูกค้ า ดังนันบริ ษัทจึงได้ เล็งเห็นถึง ้ ความสาคัญในเรื่ องดังโดยเน้ นไปที่การกระจายสินค้ าของบริ ษัทให้ ทวถึงและเพียงพอต่อความต้ องการของลูกค้ า ซึ่งการ ั่ กระจายสินค้ าของบริ ษัทส่วนมากจะผ่านร้ านค้ ารายย่อยและเป็ นธุรกิจ SME จากการบริ หารสินค้ าคงคลัง (stocking) ที่ย ยังไม่เป็ นระบบและไม่มีประสิทธิ ภาพ ทางบริ ษัทจึงได้ วางแผนกลยุทธ์ ในการพัฒนาและยกระดับร้ านค้ า รายย่อยให้ มี ประสิทธิ ภาพในการบริ หารจัดการร้ านค้ า อย่างเป็ นระบบมากขึ ้น โดยให้ ความช่วยเหลือทังในด้ านความรู้ การบริ หาร ้ คลังสินค้ าอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงให้ ความช่วยเหลือทางด้ านไอที เพื่อให้ ง่ายต่อการตรวจสอบสินค้ าคงคลังและการ จัดซื ้อ ซึงถือว่าเป็ นกลยุทธ์หวงโซ่อปทานและเป็ นการยกระดับ SME ที่ทางบริ ษัทได้ ดาเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง ่ ่ ุ วิทยากร : นายพิบูลย์ มนัสพล นายกสมาคมคลัสเตอร์ สิ่งทอเพชรเกษม สมาคมคลัสเตอร์ สงทอเพชรเกษม เป็ นการรวมกลุมกันของผู้ผลิตเส้ นใย โรงงานย้ อมผ้ า โรงงานทอผ้ า และฯลฯ ิ่ ่ มากกว่า 50 โรงงาน ซึ่งเป็ นการรวมกลุม กันของห่วงโซ่อปทานตังแต่ต้นน ้าถึงปลายน ้าในทุกสาขาอาชีพที่เกี่ยวข้ องกับ ่ ุ ้ กระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมสิ่งทอ ซึ่งคุณพิบลย์กล่าวว่าการรวมกลุมคลัสเตอร์ ของอุตสาหกรรม SME ไทยถือว่ามี ู ่ ความสาคัญ เพื่อสร้ างความเข้ มแข้ งในการแข่งขันบนเวทีการค้ าโลก สามารถเพิ่มอานาจในการต่อรองทางการค้ าจากการ รวมกลุม โดยคุณสมบัติของสมาชิกภายในกลุมคลัสเตอร์ จะต้ องไม่มีการกีดกันและการแข่งขันกันเองภายในกลุม ต้ องมี ่ ่ ่ การแลกเปลียนความรู้ และให้ การสนับสนุนซึงกันและกัน โดยกลุมคลัสเตอร์ ต้องมีทิศทางไปในแนวเดียวกันเพื่อตอบสนอง ่ ่ ่ ความต้ องการของลูกค้ าเป็ นสาคัญ ซึงแนวคิดดังกล่าวจะสามารถสร้ างความยังยืนของห่วงโซ่อปทานอย่างแท้ จริ ง ่ ่ ุ วิทยากร : นายประเสริฐ สัมฤทธิ์วณิชชา กรรมการผู้จัดการ บริษัทแสงเจริญ ทูลส์ เซ็นเตอร์ จากัด ทางภาคอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ได้ เริ่ มเล็งเห็นถึงความสาคัญของการรวมกลุมคลัสเตอร์ และการพัฒนา ่ ห่วงโซ่อปทานมากขึ ้น ซึงในขณะนี ้ได้ เริ่ มโครงการสร้ างกลุมคลัสเตอร์ อตสาหกรรมยานยนต์เพื่อความร่วมมือกันตลอดห่วง ุ ่ ่ ุ โซ่ออุปทานเป็ นปี แรก โดยจะได้ นาแนวทางการรวมกลุมคลัสเตอร์ ดงกล่าวจากสมาคมคลัสเตอร์ สงทอเพชรเกษมมาเป็ น ่ ั ิ่ แบบอย่างในการพัฒนากลุมต่อไป ่ บรรยายเรื่อง “ห่ วงโซ่ อุปทานกับยุทธศาสตร์ การพัฒนาอุตสาหกรรมของไทย” วิทยากร : นายกร ทัพพะรั งสี นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กล่าวว่าแนวคิดการบริ หารจัดการห่วงโซ่อุปทาน เริ่ มจากการพิจารณาจากทรัพยากรและวัตถุดิบที่มีอยู่ก่อน จากนันจึง วิเคราะห์ ถึงการได้ มาของวัตถุดิบต่างๆนัน เช่นที่ตงของวัตถุดิบ อยู่ที่ใด ช่องทางและวิธีการขนส่งการขนส่ง ้ ้ ั้ วัตถุดิบเป็ นอย่างไร จากนันจึงวิเคราะห์ถึงสถานที่ตงโรงงาน ควรจะตังให้ ใกล้ วตถุดิบหรื อไม่หรื อควรตังโรงงานในเขตนิคม ้ ั้ ้ ั ้ อุตสาหกรรมเพื่อให้ ได้ รับสิทธิ พิเศษทางด้ านภาษี จากนันจึงทาการวิเคราะห์ เครื่ องมือหรื อเครื่ องจักรที่จะนามาใช้ ใน ้ Page 3 of 4
  • 4. โรงงานให้ เหมาะสมกับสินค้ า เช่นสินค้ าที่จาเป็ นต้ องผลิตจานวนมากๆ (Mass Production) ก็ควรพิจารณาการนา เครื่ องจักรมาใช้ เพื่อเพิ่มจานวนการผลิตให้ เพียงพอต่อความต้ องการ ในทางกลับกันถ้ าสินค้ าที่ผลิตต้ องใช้ งานฝี มือ หรื อ ผลิตในปริ มาณที่น้อยก็อาจไม่จาเป็ นต้ องใช้ เครื่ องจักรเนื่องจากต้ องใช้ เงินลงทุนสูง อย่างไรก็ตามการที่จะผลิตและพัฒนา ผลิตภัณฑ์จาเป็ นจะต้ องศึกษาคุณลักษณะและความต้ องการของผู้บริ โภค รวมถึงการศึกษาคู่แข่งทางการค้ าว่ามีจุดเด่น หรื อจุดด้ อยอย่างไรโดยนาข้ อมูลดังกล่าวมาใช้ เพื่อการเปรี ยบเทียบการทางานในด้ านต่างๆในการปรับปรุ งการทางานของ บริ ษัทอย่างต่อเนื่อง เมื่อพิจารณาถึงความต้ องการของลูกค้ า คูแข่งทางการค้ า การได้ มาของวัตถุดิบและการวางแผนการ ่ ผลิตแล้ ว จากนันจะต้ องพิจารณาถึง ช่องทางการกระจายสินค้ าไปสู่ผ้ บริ โภคอย่างมีคุณภาพตรงตามความต้ องการของ ้ ู ลูกค้ า คือ ตรงเวลา ตรงตามสถานที่ที่กาหนด และตรงตามคุณภาพที่ลกค้ าต้ องการ ู สาหรับการพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยเป็ นที่ทราบกันดีอยู่แล้ วว่าอุตสาหกรรม SME ที่สาคัญของประเทศคือ ภาคการเกษตร แต่ยังคงมี จุด ด้ อ ยในหลาย เช่น ขาดองค์ ความรู้ ในการบริ หารจัด การห่วงโซ่อุป ทานและการพัฒนา กระบวนการผลิต ขาดการเข้ าถึงเทคโนโลยี จากปั ญหาดังกล่าวส่งผลให้ ปริ มาณผลผลิต ต่อไร่ ต่าเมื่อเปรี ยบเทียบกับ ประเทศเพื่อนบ้ าน ดังนัน SME ไทยจะต้ องนาความรู้ จากงานวิจยของสถาบันการศึกษาต่างๆมาปรับปรุ งขบวนการผลิต ้ ั รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ มีคณภาพและมาตรฐานตรงตามความต้ องการของลูกค้ า ุ ********************** สภาผู้สงสินค้ าทางเรื อแห่งประเทศไทย ่ 18 มีนาคม 2556 Page 4 of 4