SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 20
Computer BasicComputer Basic
 คอมพิวเตอร์ มาจากภาษาละตินว่า
Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การ
คำานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ.2525ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า"
เครื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำาหน้าที่เหมือน
สมองกล ใช้สำาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับ
ซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ "คอมพิวเตอร์จึงเป็น
เครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้
ทำางานแทนมนุษย์ ในด้านการคิดคำานวณและ
สามารถจำาข้อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อ
การเรียกใช้งานในครั้งต่อไป นอกจากนี้ ยัง
สามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง
โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์
 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ.
2501 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศซึ่งใช้กำาลัง
ไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ถึง
แม้จะมีระบบระบายความร้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช้ภาษา
เครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์
ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค
(ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC)
 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี
พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้
ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำา มี
อุปกรณ์เก็บข้อมูลสำารองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก เช่น จาน
แม่เหล็ก ส่วนทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีการพัฒนาดีขึ้น โดย
สามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่เขียน
 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหว่างปี
พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม
(Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมี
ทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายในมากมายทำาให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็น
โปรแกรมย่อย ๆ ในการกำาหนดชุดคำาสั่งต่าง ๆ ทางด้าน
ซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบ
แบ่งเวลาการทำางานให้กับงานหลาย ๆ อยู่
 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ.
2513 จนถึงปัจจุบัน เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม
ความจุสูงมาก(Very Large Scale Integration : VLSI)
เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์ที่บรรจุทรานซิสเตอร์นับหมื่นนับแสน
ตัว ทำาให้ขนาดเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบน
 คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้าเป็นคอมพิวเตอร์ที่
มนุษย์พยายามนำามาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้
ดียิ่งขึ้นโดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่างๆเข้าไว้ในเครื่อง
สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็น
ประโยชน์คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการด้านปัญญา
ประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆทั่วโลก
ไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกาญี่ปุ่นและประเทศในทวีปยุโรปกำาลัง
สนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง
 เครื่องคอมพิวเตอร์มีมากมายหลายประเภทด้วยกัน ซึ่งแต่ละ
ประเภท มีวิธีการใช้ ระบบการทำางานและการอำานวยความ
สะดวกแตกต่างกันไปแต่สิ่งที่เหมือนกันคือสามารถ บวกลบ
คูณ หาร ได้ประเภทของเครื่อง คอมพิวเตอร์ แบ่งได้หลาย
ประเภทตามหลักการแบ่งต่างๆ ดังนี้คือ
 1. คอมพิวเตอร์ที่แบ่งตามลักษณะของข้อมูล สามารถแบ่งได้
3 ประเภท
 เครื่องคอมพิวเตอร์แบบอนาลอก (Analog Computer)
 เครื่องคอมพิวเตอร์แบบดิจิตอล (Digital Computer)
 เครื่องคอมพิวแบบไฮบริค (Hybrid Computer)
 2. คอมพิวเตอร์ที่แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน แบ่งได้
2 ประเภท คือ
 คอมพิวเตอร์แบบทั่วไป (General Purpose Computer)
 คอมพิวเตอร์เฉพาะกิจ (Special Purpose Computer)
 3. คอมพิวเตอร์ที่แบ่งตามขนาดของเครื่อง สามารถแบ่งได้ 3
ประเภท
 คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (Mainframe Computer หรือ Large Scale
Computer)
 คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก (Minicomputer)
 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
 1. จอภาพ ( Monitor) อาจเรียกทับศัพท์ว่า มอนิเตอร์
( Monitor) , สกรีน ( Screen) ,ดิสเพลย์ ( Display) ใช้
แสดงผลทั้งข้อความ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหวมีลักษณะ
คล้ายจอโทรทัศน์มีทั้งสีและขาวดำา ปัจจุบันนิยมใช้จอภาพสี
 2. ตัวเครื่อง ( Computer Case) เป็นส่วนที่เก็บอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์หลักของคอมพิวเตอร์ เช่น CPU , Driver,
Chip ฯลฯ เป็นหัวใจของเครื่อง
 3. คีย์บอร์ด (Keyboard) หรือแป้นพิมพ์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้
พิมพ์คำาสั่ง หรือป้อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์คีย์บอร์ดมีลักษณะ
คล้ายแป้นพิมพ์ดีด แต่จะมีปุ่มพิมพ์พิเศษมากกว่าเครื่องพิมพ์
ดีด
 4. เมาส์ ( Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้บังคับตัวชี้บนจอภาพ
เพื่อเลือกคำาสั่งต่าง ๆ แทนการป้อนคำาสั่งทางคีย์บอร์ด
 5. เครื่องพิมพ์ ( Printer) เป็นอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลออกมา
ทางกระดาษ
 6. สแกนเนอร์ ( Scanner) เป็นอุปกรณ์นำาเข้าข้อมูลโดยเอา
รูปภาพหรือข้อความมาสแกนเข้า ไปไว้ในเครื่อง
 หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง
(Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์
ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูลการรับ
ข้อมูลการแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่
จับต้องสัมผัสและสามารถมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรมมีทั้งที่
ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) และเชื่อมต่อ
ภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์เราสามารถแบ่งส่วนประกอบของ
ฮาร์ดแวร์ออกได้เป็น 5 หน่วยที่สำาคัญดังนี้
 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)ทำาหน้าที่ในการรับ
โปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ใน
การรับข้อมูลเข้าได้แก่ แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด (Keyboard)
เครื่องสแกนต่างๆเช่นเครื่องรูดบัตรสแกนเนอร์ฯลฯ
 2. หน่วยความจำา (Memory Unit)ทำาหน้าที่เก็บโปรแกรม
หรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งให้หน่วย
ประมวลผลกลางทำาการประมวลผลและรับผลลัพธ์ที่ได้จากการ
ประมวลผลเพื่อเตรียมส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไป
 3. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU หรือCentral
Processing Unit)ทำาหน้าที่ปฏิบัติงานตามคำาสั่งที่ปรากฏอยู่
ในโปรแกรมหน่วยนี้จะประกอบด้วยหน่วยย่อยๆอีก 2 หน่วย
ได้แก่หน่วยคำานวณเลขคณิตและตรรกวิทยา(ALU
หรือArithmetic and Logical Unit)และหน่วยควบคุม (CU
หรือControl Unit)
 4. หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง (Secondary Storge)ทำาหน้าที่
เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมที่จะป้อนเข้าสู่หน่วยความจำาหลัก
ภายในเครื่องก่อนทำาการประมวลผลโดยซีพียูรวมทั้งเป็นแหล่ง
เก็บผลลัพท์จากการประมวลผลด้วยเพื่อการใช้งานในภายหลัง
 5. หน่วยแสดงข้อมูล (Output Unit)ทำาหน้าที่แสดงผล
ลัพท์จากการประมวลผลเช่นจอภาพเครื่องพิมพ์เป็นต้น
 Software (ซอฟต์แวร์) เป็นองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ที่
เราไม่สามารถสัมผัสจับต้องได้โดยตรงเป็นชุดคำาสั่งหรือ
โปรแกรม (Program) ที่เขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำางาน
ซอฟต์แวร์จึงเป็นเสมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้งานกับ
คอมพิวเตอร์ให้สามารถเข้าใจกันได้
ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
 1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software หรือOperating
Software : OS)
หมายถึงโปรแกรมที่ทำาหน้าที่ประสานการทำางานติดต่อการ
ทำางานระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อให้ผู้ใช้
สามารถใช้Software ได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำาหน้าที่ใน
การจัดการระบบดูแลรักษาเครื่องการแปลภาษาระดับตำ่าหรือ
ระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องเพื่อให้เครื่องอ่านได้เข้าใจ
 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software )
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่างๆตามความต้องการของผู้
ใช้ที่สามารถนำามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรงปัจจุบันมีผู้พัฒนา
ซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่างๆ ออกจำาหน่ายมากการประยุกต์
งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลายเราอาจแบ่ง
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่มคือซอฟต์แวร์สำาเร็จและ
ซอฟต์แวร์ ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะซอฟต์แวร์สำาเร็จใน
ปัจจุบันมีมากมายเช่นซอฟต์แวร์ประมวลคำาซอฟต์แวร์ตาราง
ทำางานฯลฯ การที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาก้าวหน้า
อย่างรวดเร็วโดยเฉพาะการที่มีคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กทำาให้มี
การใช้งานคล่องตัวขึ้นจนในปัจจุบันสามารถ นำาคอมพิวเตอร์
ขนาดเล็กติดตัวไปใช้งานในที่ต่างๆได้สะดวก การใช้งาน
คอมพิวเตอร์ต้องมีซอฟต์แวร์ประยุกต์ซึ่งอาจเป็นซอฟต์แวร์
สำาเร็จที่มีผู้พัฒนา เพื่อใช้งานทั่วไปทำาให้ทำางานได้สะดวกขึ้น
 เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานเฉพาะกิจ (Special
Purpose Computer)
หมายถึงเครื่องประมวลผลข้อมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและ
โปรแกรมควบคุมให้ทำางานอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการเฉพาะ
(Inflexible) โดยทั่วไปมักใช้ในงานควบคุมหรืองาน
อุตสาหกรรมที่เน้นการประมวลผลแบบรวดเร็วเช่นเครื่อง
คอมพิวเตอร์ควบคุมสัญญาณไฟจราจรคอมพิวเตอร์ควบคุ
มลิฟท์หรือคอมพิวเตอร์ควบคุมระบบอัตโนมัติในรถยนต์
เป็นต้น
 เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานอเนกประสงค์ (General
Purpose Computer)
หมายถึงเครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความยืดหยุ่นในการ
ทำางาน (Flexible) โดยได้รับการออกแบบให้สามารถประยุกต์
ใช้ในงานประเภทต่างๆได้โดยสะดวกโดยระบบจะทำางานตาม
คำาสั่งในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาและเมื่อผู้ใช้ต้องการให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทำางานอะไรก็เพียงแต่ออกคำาสั่งเรียกโปรแกรมที่
 คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือช่วยในการทำางานของเรา ช่วยให้
เราทำางานได้เร็วขึ้นสะดวกและแม่นยำามากขึ้นการใช้
ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์ให้ได้ผลเต็มที่เราจึงต้อเรียนรู้วิธี
การ ทำางาน ตลอดจนลักษณะต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ให้ครบ
ถ้วน
การทำางานของคอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนสำาคัญ 4 ขั้นตอนคือ
 ขั้นตอนที่ 1 การรับข้อมูลและคำาสั่ง คอมพิวเตอร์รับข้อมูลและคำาสั่ง
ผ่านอุปกรณ์นำาเข้าคือ เม้าส์ คีย์บอร์ด ฯลฯ
 ขั้นตอนที่ 2 การประมวลผลหรือคิดคำานวณ หรือ CPU (Central
Processing Unit)เรียกสั้น ๆ ว่า ( Chip) เป็นสมองของคอมพิวเตอร์
ทำาหน้าที่คำานวณประมวนผลคำาสั่งและควบคุมการทำางานของอุปกรณ์
อื่น ๆ
 ขั้นตอนที่ 3 การเก็บข้อมูล ทำาหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ
หน่วยเก็บข้อมูลคือฮาร์ดดิสก์ ดิสเกตส์และ ซีดีรอม
 ขั้นตอนที่ 4 นำาเสนอผลลัพธ์ เป็นอุปกรณ์ที่นำาเสนอผลลัพธ์ที่ได้จาก
 จากการที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการทำาให้ถูกนำา
มาใช้ประโยชน์ต่อการดำาเนินชีวิตประจำาวันในสังคมเป็นอย่าง
มาก ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสาร
ต่างๆ เช่น พิมพ์จดหมาย รายงานเอกสารต่างๆ ซึ่งเรียกว่างาน
ประมวลผล ( word processing ) นอกจากนี้ยังมีการ
ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ อีกหลายด้าน ดังต่อไปนี้
 1. งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงาน
ต่างๆใช้คอมพิวเตอร์ในการทำาบัญชี งานประมวลคำา และติดต่อกับ
หน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม
 2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุขสามารถนำา
คอมพิวเตอร์มาใช้ในนำามาใช้ในส่วนของการคำานวณที่ค่อนข้างซับ
ซ้อน
 3. งานคมนาคมและสื่อสาร ในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใช้
คอมพิวเตอร์ในการจองวันเวลา ที่นั่ง ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานี
หรือทุกสายการบินได้ ทำาให้สะดวกต่อผู้เดินทางที่ไม่ต้องเสียเวลารอ
อีกทั้งยังใช้ในการควบคุมระบบการจราจร
 4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้
คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือ จำาลองสภาวการณ์ ต่างๆ
 5. งานราชการ เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยมี
จบการนำาเสนอจบการนำาเสนอ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
phatrinn555
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Hikaru Sai
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
Nattapon
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
krumolticha
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
pavinee2515
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
peter dontoom
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
Supreeyar philarit
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
Nattapon
 
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
peter dontoom
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
ปยล วชย.
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
namtoey
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
krunuy5
 

Mais procurados (20)

2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
2. อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ใบความรู้)
 
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboardการใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
การใช้งานแป้นพิมพ์ Keyboard
 
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
 
2.2 ใบงานแป้นพิมพ์
2.2 ใบงานแป้นพิมพ์2.2 ใบงานแป้นพิมพ์
2.2 ใบงานแป้นพิมพ์
 
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น  คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้นแผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
 
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 

Semelhante a สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
Benz Paengpipat
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
Benz Paengpipat
 
เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่าง
srilakorn
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
Oh Aeey
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
jennysarida
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
jennysarida
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
pavinee2515
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
Kritsakorn Niyomthai
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
Kritsakorn Niyomthai
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
SPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
SPipe Pantaweesak
 

Semelhante a สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น (20)

คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่าง
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ
ใบงานที่ 11 แผ่นพับใบงานที่ 11 แผ่นพับ
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ
 
ใบงานที่11 แผ่นพับ
ใบงานที่11 แผ่นพับใบงานที่11 แผ่นพับ
ใบงานที่11 แผ่นพับ
 

Mais de Noppakhun Suebloei

ระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุมระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุม
Noppakhun Suebloei
 
การวิเคราะห์องค์ความรู้
การวิเคราะห์องค์ความรู้การวิเคราะห์องค์ความรู้
การวิเคราะห์องค์ความรู้
Noppakhun Suebloei
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
Noppakhun Suebloei
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...
Noppakhun Suebloei
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...
Noppakhun Suebloei
 
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
Noppakhun Suebloei
 
ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม
ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคมปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม
ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม
Noppakhun Suebloei
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3
Noppakhun Suebloei
 

Mais de Noppakhun Suebloei (17)

ระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุมระบบลงทะเบียนชุมชุม
ระบบลงทะเบียนชุมชุม
 
การวิเคราะห์องค์ความรู้
การวิเคราะห์องค์ความรู้การวิเคราะห์องค์ความรู้
การวิเคราะห์องค์ความรู้
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบ...
 
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...
รายงานโปรแกรมสื่อบทเรียนสำหรับระบบการเรียนรู้ออนไลน์ เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพ...
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ วิชา คอมพิวเต...
 
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
 
Test sort
Test sortTest sort
Test sort
 
Sort
SortSort
Sort
 
Graph shortest
Graph shortestGraph shortest
Graph shortest
 
Graph
GraphGraph
Graph
 
ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม
ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคมปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม
ปฏิทินการปฏิบัติกิจกรรมการนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม
 
กิจกรรม Is3
กิจกรรม Is3กิจกรรม Is3
กิจกรรม Is3
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3
 
IS3
IS3IS3
IS3
 
ActivityIS3
ActivityIS3ActivityIS3
ActivityIS3
 
Graph
GraphGraph
Graph
 

สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

  • 2.  คอมพิวเตอร์ มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การ คำานวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า" เครื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำาหน้าที่เหมือน สมองกล ใช้สำาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับ ซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ "คอมพิวเตอร์จึงเป็น เครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ ทำางานแทนมนุษย์ ในด้านการคิดคำานวณและ สามารถจำาข้อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพื่อ การเรียกใช้งานในครั้งต่อไป นอกจากนี้ ยัง สามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์
  • 3.  คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศซึ่งใช้กำาลัง ไฟฟ้าสูง จึงมีปัญหาเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย ถึง แม้จะมีระบบระบายความร้อนที่ดีมาก การสั่งงานใช้ภาษา เครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC)  คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 คอมพิวเตอร์ยุคที่สอง อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ทรานซิสเตอร์ โดยมีแกนเฟอร์ไรท์เป็นหน่วยความจำา มี อุปกรณ์เก็บข้อมูลสำารองในรูปของสื่อบันทึกแม่เหล็ก เช่น จาน แม่เหล็ก ส่วนทางด้านซอฟต์แวร์ก็มีการพัฒนาดีขึ้น โดย สามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงซึ่งเป็นภาษาที่เขียน
  • 4.  คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 คอมพิวเตอร์ยุคที่สาม อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแต่ละตัวจะมี ทรานซิสเตอร์บรรจุอยู่ภายในมากมายทำาให้เครื่อง คอมพิวเตอร์จะออกแบบซับซ้อนมากขึ้น และสามารถสร้างเป็น โปรแกรมย่อย ๆ ในการกำาหนดชุดคำาสั่งต่าง ๆ ทางด้าน ซอฟต์แวร์ก็มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบ แบ่งเวลาการทำางานให้กับงานหลาย ๆ อยู่  คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 คอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้วงจรรวม ความจุสูงมาก(Very Large Scale Integration : VLSI) เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์ที่บรรจุทรานซิสเตอร์นับหมื่นนับแสน ตัว ทำาให้ขนาดเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบน
  • 5.  คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้าเป็นคอมพิวเตอร์ที่ มนุษย์พยายามนำามาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ ดียิ่งขึ้นโดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่างๆเข้าไว้ในเครื่อง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งานให้เป็น ประโยชน์คอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการด้านปัญญา ประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศต่างๆทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกาญี่ปุ่นและประเทศในทวีปยุโรปกำาลัง สนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจัง
  • 6.  เครื่องคอมพิวเตอร์มีมากมายหลายประเภทด้วยกัน ซึ่งแต่ละ ประเภท มีวิธีการใช้ ระบบการทำางานและการอำานวยความ สะดวกแตกต่างกันไปแต่สิ่งที่เหมือนกันคือสามารถ บวกลบ คูณ หาร ได้ประเภทของเครื่อง คอมพิวเตอร์ แบ่งได้หลาย ประเภทตามหลักการแบ่งต่างๆ ดังนี้คือ  1. คอมพิวเตอร์ที่แบ่งตามลักษณะของข้อมูล สามารถแบ่งได้ 3 ประเภท  เครื่องคอมพิวเตอร์แบบอนาลอก (Analog Computer)
  • 7.  เครื่องคอมพิวเตอร์แบบดิจิตอล (Digital Computer)  เครื่องคอมพิวแบบไฮบริค (Hybrid Computer)
  • 8.  2. คอมพิวเตอร์ที่แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน แบ่งได้ 2 ประเภท คือ  คอมพิวเตอร์แบบทั่วไป (General Purpose Computer)  คอมพิวเตอร์เฉพาะกิจ (Special Purpose Computer)
  • 9.  3. คอมพิวเตอร์ที่แบ่งตามขนาดของเครื่อง สามารถแบ่งได้ 3 ประเภท  คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (Mainframe Computer หรือ Large Scale Computer)  คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก (Minicomputer)  ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
  • 10.  1. จอภาพ ( Monitor) อาจเรียกทับศัพท์ว่า มอนิเตอร์ ( Monitor) , สกรีน ( Screen) ,ดิสเพลย์ ( Display) ใช้ แสดงผลทั้งข้อความ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหวมีลักษณะ คล้ายจอโทรทัศน์มีทั้งสีและขาวดำา ปัจจุบันนิยมใช้จอภาพสี  2. ตัวเครื่อง ( Computer Case) เป็นส่วนที่เก็บอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์หลักของคอมพิวเตอร์ เช่น CPU , Driver, Chip ฯลฯ เป็นหัวใจของเครื่อง  3. คีย์บอร์ด (Keyboard) หรือแป้นพิมพ์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ พิมพ์คำาสั่ง หรือป้อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์คีย์บอร์ดมีลักษณะ คล้ายแป้นพิมพ์ดีด แต่จะมีปุ่มพิมพ์พิเศษมากกว่าเครื่องพิมพ์ ดีด
  • 11.  4. เมาส์ ( Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้บังคับตัวชี้บนจอภาพ เพื่อเลือกคำาสั่งต่าง ๆ แทนการป้อนคำาสั่งทางคีย์บอร์ด  5. เครื่องพิมพ์ ( Printer) เป็นอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลออกมา ทางกระดาษ  6. สแกนเนอร์ ( Scanner) เป็นอุปกรณ์นำาเข้าข้อมูลโดยเอา รูปภาพหรือข้อความมาสแกนเข้า ไปไว้ในเครื่อง
  • 12.  หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได้โดยจะประกอบด้วยอุปกรณ์ ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมการประมวลผลข้อมูลการรับ ข้อมูลการแสดงผลข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ จับต้องสัมผัสและสามารถมองเห็นได้อย่างเป็นรูปธรรมมีทั้งที่ ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) และเชื่อมต่อ ภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์เราสามารถแบ่งส่วนประกอบของ ฮาร์ดแวร์ออกได้เป็น 5 หน่วยที่สำาคัญดังนี้  1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)ทำาหน้าที่ในการรับ โปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้ใน การรับข้อมูลเข้าได้แก่ แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ด (Keyboard) เครื่องสแกนต่างๆเช่นเครื่องรูดบัตรสแกนเนอร์ฯลฯ
  • 13.  2. หน่วยความจำา (Memory Unit)ทำาหน้าที่เก็บโปรแกรม หรือข้อมูลที่รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งให้หน่วย ประมวลผลกลางทำาการประมวลผลและรับผลลัพธ์ที่ได้จากการ ประมวลผลเพื่อเตรียมส่งออกหน่วยแสดงข้อมูลต่อไป  3. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU หรือCentral Processing Unit)ทำาหน้าที่ปฏิบัติงานตามคำาสั่งที่ปรากฏอยู่ ในโปรแกรมหน่วยนี้จะประกอบด้วยหน่วยย่อยๆอีก 2 หน่วย ได้แก่หน่วยคำานวณเลขคณิตและตรรกวิทยา(ALU หรือArithmetic and Logical Unit)และหน่วยควบคุม (CU หรือControl Unit)
  • 14.  4. หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง (Secondary Storge)ทำาหน้าที่ เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมที่จะป้อนเข้าสู่หน่วยความจำาหลัก ภายในเครื่องก่อนทำาการประมวลผลโดยซีพียูรวมทั้งเป็นแหล่ง เก็บผลลัพท์จากการประมวลผลด้วยเพื่อการใช้งานในภายหลัง  5. หน่วยแสดงข้อมูล (Output Unit)ทำาหน้าที่แสดงผล ลัพท์จากการประมวลผลเช่นจอภาพเครื่องพิมพ์เป็นต้น
  • 15.  Software (ซอฟต์แวร์) เป็นองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ที่ เราไม่สามารถสัมผัสจับต้องได้โดยตรงเป็นชุดคำาสั่งหรือ โปรแกรม (Program) ที่เขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเสมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้งานกับ คอมพิวเตอร์ให้สามารถเข้าใจกันได้ ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ  1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software หรือOperating Software : OS) หมายถึงโปรแกรมที่ทำาหน้าที่ประสานการทำางานติดต่อการ ทำางานระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อให้ผู้ใช้ สามารถใช้Software ได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำาหน้าที่ใน การจัดการระบบดูแลรักษาเครื่องการแปลภาษาระดับตำ่าหรือ ระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องเพื่อให้เครื่องอ่านได้เข้าใจ
  • 16.  2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software ) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่างๆตามความต้องการของผู้ ใช้ที่สามารถนำามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรงปัจจุบันมีผู้พัฒนา ซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่างๆ ออกจำาหน่ายมากการประยุกต์ งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลายเราอาจแบ่ง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่มคือซอฟต์แวร์สำาเร็จและ ซอฟต์แวร์ ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะซอฟต์แวร์สำาเร็จใน ปัจจุบันมีมากมายเช่นซอฟต์แวร์ประมวลคำาซอฟต์แวร์ตาราง ทำางานฯลฯ การที่เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาก้าวหน้า อย่างรวดเร็วโดยเฉพาะการที่มีคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กทำาให้มี การใช้งานคล่องตัวขึ้นจนในปัจจุบันสามารถ นำาคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กติดตัวไปใช้งานในที่ต่างๆได้สะดวก การใช้งาน คอมพิวเตอร์ต้องมีซอฟต์แวร์ประยุกต์ซึ่งอาจเป็นซอฟต์แวร์ สำาเร็จที่มีผู้พัฒนา เพื่อใช้งานทั่วไปทำาให้ทำางานได้สะดวกขึ้น
  • 17.  เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานเฉพาะกิจ (Special Purpose Computer) หมายถึงเครื่องประมวลผลข้อมูลที่ถูกออกแบบตัวเครื่องและ โปรแกรมควบคุมให้ทำางานอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใช้ในงานควบคุมหรืองาน อุตสาหกรรมที่เน้นการประมวลผลแบบรวดเร็วเช่นเครื่อง คอมพิวเตอร์ควบคุมสัญญาณไฟจราจรคอมพิวเตอร์ควบคุ มลิฟท์หรือคอมพิวเตอร์ควบคุมระบบอัตโนมัติในรถยนต์ เป็นต้น  เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่องานอเนกประสงค์ (General Purpose Computer) หมายถึงเครื่องประมวลผลข้อมูลที่มีความยืดหยุ่นในการ ทำางาน (Flexible) โดยได้รับการออกแบบให้สามารถประยุกต์ ใช้ในงานประเภทต่างๆได้โดยสะดวกโดยระบบจะทำางานตาม คำาสั่งในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาและเมื่อผู้ใช้ต้องการให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทำางานอะไรก็เพียงแต่ออกคำาสั่งเรียกโปรแกรมที่
  • 18.  คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือช่วยในการทำางานของเรา ช่วยให้ เราทำางานได้เร็วขึ้นสะดวกและแม่นยำามากขึ้นการใช้ ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์ให้ได้ผลเต็มที่เราจึงต้อเรียนรู้วิธี การ ทำางาน ตลอดจนลักษณะต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ให้ครบ ถ้วน การทำางานของคอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนสำาคัญ 4 ขั้นตอนคือ  ขั้นตอนที่ 1 การรับข้อมูลและคำาสั่ง คอมพิวเตอร์รับข้อมูลและคำาสั่ง ผ่านอุปกรณ์นำาเข้าคือ เม้าส์ คีย์บอร์ด ฯลฯ  ขั้นตอนที่ 2 การประมวลผลหรือคิดคำานวณ หรือ CPU (Central Processing Unit)เรียกสั้น ๆ ว่า ( Chip) เป็นสมองของคอมพิวเตอร์ ทำาหน้าที่คำานวณประมวนผลคำาสั่งและควบคุมการทำางานของอุปกรณ์ อื่น ๆ  ขั้นตอนที่ 3 การเก็บข้อมูล ทำาหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมต่าง ๆ หน่วยเก็บข้อมูลคือฮาร์ดดิสก์ ดิสเกตส์และ ซีดีรอม  ขั้นตอนที่ 4 นำาเสนอผลลัพธ์ เป็นอุปกรณ์ที่นำาเสนอผลลัพธ์ที่ได้จาก
  • 19.  จากการที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการทำาให้ถูกนำา มาใช้ประโยชน์ต่อการดำาเนินชีวิตประจำาวันในสังคมเป็นอย่าง มาก ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสาร ต่างๆ เช่น พิมพ์จดหมาย รายงานเอกสารต่างๆ ซึ่งเรียกว่างาน ประมวลผล ( word processing ) นอกจากนี้ยังมีการ ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ อีกหลายด้าน ดังต่อไปนี้  1. งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงาน ต่างๆใช้คอมพิวเตอร์ในการทำาบัญชี งานประมวลคำา และติดต่อกับ หน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม  2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุขสามารถนำา คอมพิวเตอร์มาใช้ในนำามาใช้ในส่วนของการคำานวณที่ค่อนข้างซับ ซ้อน  3. งานคมนาคมและสื่อสาร ในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใช้ คอมพิวเตอร์ในการจองวันเวลา ที่นั่ง ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานี หรือทุกสายการบินได้ ทำาให้สะดวกต่อผู้เดินทางที่ไม่ต้องเสียเวลารอ อีกทั้งยังใช้ในการควบคุมระบบการจราจร  4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้ คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือ จำาลองสภาวการณ์ ต่างๆ  5. งานราชการ เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยมี