SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
Baixar para ler offline
Cr. http://www.fth1.com/uppic/64100250/news/64100250_0_20150802-230939.jpg
ร่างกฎหมายนี้ เขียนขึ้นเพื่อให้ยกเลิก พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ทั้งฉบับ และ
ให้ใช้ร่างฉบับใหม่นี้แทน อย่างไรก็ดี โครงสร้างของเนื้อหากฎหมายมีลักษณะ
คล้ายคลึงฉบับเดิม โดยมีสาระสาคัญที่ต่างไป ดังนี้
ประเด็นที่ 1 เพิ่มนิยาม “ผู้ดูแลระบบ”
มาตรา 4 เพิ่มนิยามคาว่า “ผู้ดูแลระบบ” หมายความว่า “ผู้มีสิทธิเข้าถึงระบบ
คอมพิวเตอร์ที่ให้บริการแก่ผู้อื่นในการเข้าสู่อิน เทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึง
กันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการดูแลเพื่อ
ประโยชน์ของตนเองหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น”
ในกฎหมายเดิมมีการกาหนดโทษของ “ผู้ให้บริการ” ซึ่งหมายถึงผู้ที่ให้บริการแก่
บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งมี
การวิพากษ์วิจารณ์กันมากว่า การพยายามเอาผิดผู้ให้บริการซึ่งถือเป็น
“ตัวกลาง” ในการสื่อสาร จะส่งผลต่อความหวาดกลัวและทาให้เกิดการเซ็นเซอร์
ตัวเอง อีกทั้งในแง่ของกฎหมายคาว่าผู้ให้บริการก็ตีความได้อย่างกว้างขวาง คือ
แทบจะทุกขั้นตอนที่มีความเกี่ยวข้องในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารก็ล้วนเป็น ผู้
ให้บริการทั้งสิ้น
สาหรับร่างฉบับใหม่ที่เพิ่มนิยามคาว่า “ผู้ดูแลระบบ” ขึ้นมานี้ อาจหมายความถึง
เจ้าของเว็บไซต์ เว็บมาสเตอร์ แอดมินระบบเครือข่าย แอดมินฐานข้อมูล ผู้ดูแลเว็บ
บอร์ด บรรณาธิการเนื้อหาเว็บ เจ้าของบล็อก ขณะที่ “ผู้ให้บริการ” อาจ
หมายความถึงผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ตามร่างกฎหมายนี้ ตัวกลางต้องรับโทษเท่ากับผู้ที่กระทาความผิด เช่น หากมีการ
เขียนข้อมูลที่ไม่ตรงกับความจริง กระทบกระเทือนต่อความมั่นคง ผู้ดูแลระบบและผู้
ให้บริการที่จงใจหรือยินยอมมีความผิดทางอาญาเท่ากับผู้ที่ กระทาความผิด และ
สาหรับความผิดต่อระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การเจาะระบบ การดักข้อมูล หาก
ผู้กระทานั้นเป็นผู้ดูแลระบบเสียเอง จะมีโทษ 1.5 เท่า ของอัตราโทษที่กาหนดกับคน
ทั่วไป
ประเด็นที่ 2 คัดลอกไฟล์ จาคุกสูงสุด 3 ปี
สิ่งใหม่ในกฎหมายนี้ คือมีมาตรา 16 ที่ เพิ่มมาว่า “ผู้ใดสาเนา ข้อมูลคอมพิวเตอร์
ของผู้อื่นโดยมิชอบ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ต้องระวางโทษ
จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ”
การทาสาเนาคอมพิวเตอร์ อาจหมายถึงการคัดลอกไฟล์ การดาว์นโหลดไฟล์จาก
เว็บไซต์ต่าง ๆ มาตรานี้อาจมีไว้ใช้เอาผิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ภาพยนตร์หรือ
เพลง แต่แนวทางการเขียนเช่นนี้อาจกระทบไปถึงการแบ็กอัปข้อมูล การเข้าเว็บแล้ว
เบราว์เซอร์ดาว์นโหลดมาพักไว้ในเครื่องโดยอัตโนมัติหรือที่ เรียกว่า “แคช” (cache
เป็น เทคนิคที่ช่วยให้เรียกดูข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น โดยเก็บข้อมูลที่เคยเรียกดูแล้วไว้ใน
เครื่อง เพื่อให้การดูครั้งต่อไป ไม่ต้องโหลดซ้า) ซึ่งผู้ใช้อาจมิได้มีเจตนาหรือกระทั่ง
รับรู้ว่ามีกระทาการดังกล่าว
ประเด็นที่ 3 มีไฟล์ลามกเกี่ยวกับเด็ก ผิด
ในมาตรา 25 “ผู้ใดครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีลักษณะอันลามกที่เกี่ยวข้อง
กับเด็กหรือเยาวชน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท
หรือทั้งจาทั้งปรับ”
เป็นครั้งแรกที่มีการระบุขอบเขตเรื่องลามกเด็กหรือเยาวชนโดยเฉพาะขึ้น แต่อย่างไร
ก็ดี ยังมีความคลุมเครือว่า ลักษณะอันลามกที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชนนั้น
หมายความอย่างไร นอกจากนี้ มาตราดังกล่าวยังเป็นการเอาผิดที่ผู้บริโภค ซึ่งมี
ความน่ากังวลว่า การชี้วัดที่ “การครอบครอง” อาจทาให้เกิดการเอาผิดที่ไม่เป็น
ธรรม เพราะธรรมชาติการเข้าเว็บทั่วไป ผู้ใช้ย่อมไม่อาจรู้ได้ว่าการเข้าชมแต่ละครั้ง
ดาว์นโหลดไฟล์ใดมาโดย อัตโนมัติบ้าง และหากแม้คอมพิวเตอร์ถูกตรวจแล้วพบว่ามี
ไฟล์โป๊เด็ก ก็ไม่อาจหมายความได้ว่าผู้นั้นเป็นเจ้าของ หรือเป็นผู้ดูผู้ชม
ประเด็นที่ 4 ยังเอาผิดกับเนื้อหา
มาตรา 24 (1) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลที่ไม่ตรงต่อความเป็นจริง โดย
ประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความ ตื่น
ตระหนกแก่ประชาชน
เนื้อความข้างต้น เป็นการรวมเอาข้อความในมาตรา14 (1) และ (2) ของ กฎหมาย
ปัจจุบันมารวมกัน ทั้งนี้ หากย้อนไปถึงเจตนารมณ์ดั้งเดิมก่อนจะเป็นข้อความดังที่
เห็น มาจากความพยายามเอาผิดกรณีการทาหน้าเว็บเลียนแบบให้เข้าใจว่าเป็นหน้า
เว็บ จริงเพื่อหลอกเอาข้อมูลส่วนบุคคล (phishing) จึง เขียนกฎหมายออกมาว่า การ
ทาข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมถือเป็นความผิด แต่เมื่อแนวคิดนี้มาอยู่ในมือนัก
กฎหมายและเจ้าหน้าที่ ได้ตีความคาว่า “ข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอม” เสียใหม่
กลายเป็นเรื่องการเขียนเนื้อหาอันเป็นเท็จ และนาไปใช้เอาผิดฟ้องร้องกันในเรื่องการ
หมิ่นประมาท ความเข้าใจผิดนี้ยังดารงอยู่และต่อเนื่องมาถึงร่างนี้ซึ่งได้ปรับถ้อยคา
ใหม่ และกากับด้วยความน่าจะเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความ
ตื่น ตระหนกแก่ประชาชน มีโทษจาคุกสูงสุด 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้ง
จาทั้งปรับ
หากพิจารณาจากประสบการณ์ของเจ้าหน้าที่รัฐในการดาเนินคดีคอมพิวเตอร์ที่
ผ่านมา ปัญหานี้ก่อให้เกิดการเอาผิดประชาชนอย่างกว้างขวาง เพราะหลายกรณี
รัฐไทยเป็นฝ่ายครอบครองการนิยามความจริง ปกปิดความจริง ซึ่งย่อมส่งผลให้
คนหันไปแสดงความคิดเห็นในอินเทอร์เน็ตแทน อันอาจถูกตีความได้ว่ากระทบต่อ
ความไม่มั่นคงของ “รัฐบาล” ข้อความกฎหมายลักษณะนี้ ยังขัดต่อสิทธิเสรีภาพขั้น
พื้นฐานในการแสดงความคิดเห็นโดยไม่จาเป็น
ประเด็นที่ 5 ดูหมิ่น ผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
มาตรา 26 ผู้ใดนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ ซึ่ง
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพ ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่น หรือข้อมูลอื่นใด
โดยประการที่น่าจะทาให้บุคคลอื่นเสียหาย เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือ
ได้รับความอับอาย หรือเพื่อให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าเป็นข้อมูลที่แท้จริง ต้องระวาง
โทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ที่ผ่านมามีความพยายามฟ้องคดีหมิ่นประมาทซึ่งกันและกันโดยใช้ พ.ร.บ.
คอมพิวเตอร์ จานวนมาก แต่การกาหนดข้อหายังไม่มีมาตราใดใน พ.ร.บ.
คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ที่จะใช้ได้อย่างตรงประเด็น มีเพียงมาตรา 14 (1) ที่ระบุเรื่อง
ข้อมูลอันเป็นเท็จดังที่กล่าวมาแล้ว และมาตรา 16 ว่าด้วยภาพตัดต่อในร่าง พ.ร.บ.
คอมพิวเตอร์ฉบับใหม่ได้สร้างความสะดวกให้เจ้าหน้าที่ใช้ตั้งข้อหาการ ดูหมิ่นต่อกัน
ได้ง่ายขึ้น
ข้อสังเกตคือ ความผิดตามร่างฉบับใหม่นี้กาหนดให้การดูหมิ่น หรือหมิ่นประมาทมี
โทษจาคุก 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท ทั้งที่การหมิ่นประมาทในกรณีปกติ
ตามประมวลกฎหมายอาญามีโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท
ประเด็นที่ 6 ส่งสแปม ต้องเปิดช่องให้เลิกรับบริการ
มาตรา 21 ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นจานวนตาม
หลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด เพื่อประโยชน์ทางการค้าจนเป็นเหตุให้บุคคล
อื่นเดือดร้อนราคาญ และโดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ สามารถบอกเลิกหรือแจ้งความประสงค์เพื่อปฏิเสธการตอบรับได้
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
จากที่กฎหมายเดิมกาหนดเพียงว่าการส่งจดหมายรบกวน หากเป็นการส่งโดย
ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา ถือว่าผิดกฎหมาย ในร่างฉบับใหม่แก้ไขว่า หาก
การส่งข้อมูลเพื่อประโยชน์ทางการค้า โดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับสามารถบอกเลิกหรือ
แจ้งความประสงค์เพื่อปฏิเสธการ บอกรับได้ ทั้งนี้อัตราโทษลดลงจากเดิมที่กาหนด
โทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท มาเป็นจาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000
หรือทั้งจาทั้งปรับ
ทั้งนี้ ยังต้องตั้งข้อสังเกตด้วยว่า หากการส่งข้อมูลดังกล่าว แม้จะเป็นเหตุให้บุคคล
อื่นเดือดร้อนราคาญ แต่ไม่ได้ทาไปเพื่อประโยชน์ทางการค้า ก็จะไม่ผิดตามร่างฉบับ
ใหม่นี้
ประเด็นที่ 7 เก็บโปรแกรมทะลุทะลวงไว้ คุกหนึ่งปี
มาตรา 23 ผู้ใดผลิต จาหน่าย จ่ายแจก ทาซ้า มีไว้ หรือทาให้แพร่หลายโดย
ประการใด ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ชุดคาสั่ง หรืออุปกรณ์ที่จัดทาขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อ
นาไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทาความผิดตามมาตรา 15 มาตรา 16 มาตรา 17
มาตรา 18 มาตรา 19 และมาตรา 20 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่
เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
น่าสังเกตว่า เพียงแค่ทาซ้าหรือมีไว้ซึ่งโปรแกรมที่ใช้เจาะระบบ การก๊อปปี้ดาวน์โหลด
ไฟล์อย่างทอร์เรนท์ การดักข้อมูล การก่อกวนระบบ ก็มีความผิดจาคุกไม่เกิน 1 ปี
ปรับไม่เกิน 20,000 บาท เรื่องนี้น่าจะกระทบต่อการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์
คอมพิวเตอร์โดยตรง
ประเด็นที่ 8 เพิ่มโทษผู้เจาะระบบ
สาหรับกรณีการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิ
ชอบ เดิมกาหนดโทษจาคุกไว้ไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท ร่าง
กฎหมายใหม่เพิ่มเพดานโทษเป็นจาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท
(เพิ่มขึ้น 4 เท่า)
ประเด็นที่ 9 ให้หน้าที่หน่วยใหม่ สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
(องค์การมหาชน)
ร่างกฎหมายนี้กาหนดหน้าที่ให้หน่วยงานซึ่งมีชื่อว่า “สานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)” เรียกโดยย่อว่า “สพธอ.” และให้ใช้ชื่อเป็น
ภาษาอังกฤษว่า “Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)” เรียก
โดยย่อว่า “ETDA” เป็นองค์การมหาชนภายใต้การกากับดูแลของกระทรวงไอซีที
หน่วยงานนี้เพิ่งตั้งขึ้นเป็นทางการประกาศผ่าน “พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสานักงาน
พัฒนาธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิสก์ พ.ศ. 2554″ เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2554 โดย
เริ่มมีการโอนอานาจหน้าที่และจัดทาระเบียบ สรรหาประธานและกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2554
ในร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับใหม่นี้ กาหนดให้สานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) มีบทบาทเป็นฝ่ายเลขานุการของ
“คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิดทางคอมพิวเตอร์”
ภายใต้ร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ฉบับที่กาลังร่างนี้
นอกจากนี้ หากคดีใดที่ต้องการสอบสวนหาตัวผู้กระทาความผิดซึ่งอยู่ในต่างประเทศ
จะเป็นอานาจหน้าที่ของสานักงานอัยการสูงสุด ในร่างกฎหมายนี้กาหนดว่า
พนักงานสอบสวนอาจร้องขอให้สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
(องค์การ มหาชน) เป็นผู้ประสานงานกลางให้ได้ข้อมูลมา
ประเด็นที่ 10 ตั้งคณะกรรมการ สั.ดส่วน 8 – 3 – 0 : รัฐตารวจ-ผู้ทรงคุณวุฒิ-
ประชาชน
ร่างกฎหมายนี้เพิ่มกลไก “คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการกระทา
ความผิดทางคอมพิวเตอร์” ประกอบด้วย
– นายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ
– รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นรองประธาน
กรรมการ
– รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ เลขาธิการสภา
ความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) ผู้อานวยการสานักข่าวกรองแห่งชาติ และกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยระบุตัวบุคคลจากผู้มีความรู้ ความ
เชี่ยวชาญและประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ในด้านกฎหมาย วิทยาศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์ การเงินการธนาคาร หรือสังคมศาสตร์จานวนสามคน โดยให้
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี
คณะกรรมการชุดนี้ ให้ผู้แทนจากสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
(องค์กรมหาชน), สานักงานกากับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (สังกัดกระทรวงไอซี
ที), สานักคดีเทคโนโลยี (สังกัดกรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม), และ กลุ่ม
งานตรวจสอบและวิเคราะห์การกระทาความผิดทางเทคโนโลยี กองบังคับการสนับส
นุนทางเทคโนโลยี (บก.สสท.) (สังกัดสานักงานตารวจแห่งชาติ) เป็นเลขานุการ
ร่วมกัน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
S.W.2
 
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
S.W.2
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
S.W.2
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
S.W.2
 
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
thitichok
 
พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติ
pantt
 
สวัสดีคะ ขอต้อนรับสู่ Power point เรื่อง
สวัสดีคะ ขอต้อนรับสู่ Power point เรื่องสวัสดีคะ ขอต้อนรับสู่ Power point เรื่อง
สวัสดีคะ ขอต้อนรับสู่ Power point เรื่อง
polygg
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
toffy
 

Mais procurados (19)

บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ.ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พรบ ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และ อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการหลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ
 
Computer Traffic 2550
Computer Traffic 2550Computer Traffic 2550
Computer Traffic 2550
 
พรบ.Computer
พรบ.Computerพรบ.Computer
พรบ.Computer
 
พระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติพระราชบัญญัติ
พระราชบัญญัติ
 
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550
 
Law & Complaints in the Digital Age
Law & Complaints in the Digital AgeLaw & Complaints in the Digital Age
Law & Complaints in the Digital Age
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
สวัสดีคะ ขอต้อนรับสู่ Power point เรื่อง
สวัสดีคะ ขอต้อนรับสู่ Power point เรื่องสวัสดีคะ ขอต้อนรับสู่ Power point เรื่อง
สวัสดีคะ ขอต้อนรับสู่ Power point เรื่อง
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
IT Laws & Nursing (July 4, 2017)
IT Laws & Nursing (July 4, 2017)IT Laws & Nursing (July 4, 2017)
IT Laws & Nursing (July 4, 2017)
 
P1
P1P1
P1
 
Ripppppppppp
RippppppppppRipppppppppp
Ripppppppppp
 

Semelhante a พรบ 1

พรบ
พรบพรบ
พรบ
potogus
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
S.W.2
 
ความต่างของพรบ. คอมฯ ปี 50 และ 60.docx
ความต่างของพรบ. คอมฯ ปี 50 และ 60.docxความต่างของพรบ. คอมฯ ปี 50 และ 60.docx
ความต่างของพรบ. คอมฯ ปี 50 และ 60.docx
tonkung6
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
potogus
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
potogus
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
potogus
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
potogus
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
potogus
 
พระราชบัญญัติ612 21
พระราชบัญญัติ612 21พระราชบัญญัติ612 21
พระราชบัญญัติ612 21
shescale
 
พระราชบัญญัติ612 21
พระราชบัญญัติ612 21พระราชบัญญัติ612 21
พระราชบัญญัติ612 21
shescale
 
พระราชบัญญัติ612 21
พระราชบัญญัติ612 21พระราชบัญญัติ612 21
พระราชบัญญัติ612 21
shescale
 
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2550
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2550พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2550
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2550
Puniga Chansara
 

Semelhante a พรบ 1 (20)

พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พรบ.
พรบ.พรบ.
พรบ.
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
พรบคอมพิวเตอร์ 58
พรบคอมพิวเตอร์ 58พรบคอมพิวเตอร์ 58
พรบคอมพิวเตอร์ 58
 
ความต่างของพรบ. คอมฯ ปี 50 และ 60.docx
ความต่างของพรบ. คอมฯ ปี 50 และ 60.docxความต่างของพรบ. คอมฯ ปี 50 และ 60.docx
ความต่างของพรบ. คอมฯ ปี 50 และ 60.docx
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
งาน.Pptx
งาน.Pptxงาน.Pptx
งาน.Pptx
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
พระราชบัญญัติ612 21
พระราชบัญญัติ612 21พระราชบัญญัติ612 21
พระราชบัญญัติ612 21
 
พระราชบัญญัติ612 21
พระราชบัญญัติ612 21พระราชบัญญัติ612 21
พระราชบัญญัติ612 21
 
พระราชบัญญัติ612 21
พระราชบัญญัติ612 21พระราชบัญญัติ612 21
พระราชบัญญัติ612 21
 
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2550
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2550พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2550
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2550
 

Mais de Nipitapon Khantharot (8)

งานนำเสนอคอม2.1
งานนำเสนอคอม2.1งานนำเสนอคอม2.1
งานนำเสนอคอม2.1
 
Project
ProjectProject
Project
 
2559 project
2559 project  2559 project
2559 project
 
99 วิธีหยุดโลกร้อน
99 วิธีหยุดโลกร้อน99 วิธีหยุดโลกร้อน
99 วิธีหยุดโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
My Profile
My ProfileMy Profile
My Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 

พรบ 1

  • 2. ร่างกฎหมายนี้ เขียนขึ้นเพื่อให้ยกเลิก พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ทั้งฉบับ และ ให้ใช้ร่างฉบับใหม่นี้แทน อย่างไรก็ดี โครงสร้างของเนื้อหากฎหมายมีลักษณะ คล้ายคลึงฉบับเดิม โดยมีสาระสาคัญที่ต่างไป ดังนี้ ประเด็นที่ 1 เพิ่มนิยาม “ผู้ดูแลระบบ” มาตรา 4 เพิ่มนิยามคาว่า “ผู้ดูแลระบบ” หมายความว่า “ผู้มีสิทธิเข้าถึงระบบ คอมพิวเตอร์ที่ให้บริการแก่ผู้อื่นในการเข้าสู่อิน เทอร์เน็ต หรือให้สามารถติดต่อถึง กันโดยประการอื่น โดยผ่านทางระบบคอมพิวเตอร์ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการดูแลเพื่อ ประโยชน์ของตนเองหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลอื่น” ในกฎหมายเดิมมีการกาหนดโทษของ “ผู้ให้บริการ” ซึ่งหมายถึงผู้ที่ให้บริการแก่ บุคคลอื่นในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือให้บริการเก็บรักษาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งมี การวิพากษ์วิจารณ์กันมากว่า การพยายามเอาผิดผู้ให้บริการซึ่งถือเป็น “ตัวกลาง” ในการสื่อสาร จะส่งผลต่อความหวาดกลัวและทาให้เกิดการเซ็นเซอร์ ตัวเอง อีกทั้งในแง่ของกฎหมายคาว่าผู้ให้บริการก็ตีความได้อย่างกว้างขวาง คือ แทบจะทุกขั้นตอนที่มีความเกี่ยวข้องในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารก็ล้วนเป็น ผู้ ให้บริการทั้งสิ้น สาหรับร่างฉบับใหม่ที่เพิ่มนิยามคาว่า “ผู้ดูแลระบบ” ขึ้นมานี้ อาจหมายความถึง เจ้าของเว็บไซต์ เว็บมาสเตอร์ แอดมินระบบเครือข่าย แอดมินฐานข้อมูล ผู้ดูแลเว็บ บอร์ด บรรณาธิการเนื้อหาเว็บ เจ้าของบล็อก ขณะที่ “ผู้ให้บริการ” อาจ หมายความถึงผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ตามร่างกฎหมายนี้ ตัวกลางต้องรับโทษเท่ากับผู้ที่กระทาความผิด เช่น หากมีการ เขียนข้อมูลที่ไม่ตรงกับความจริง กระทบกระเทือนต่อความมั่นคง ผู้ดูแลระบบและผู้ ให้บริการที่จงใจหรือยินยอมมีความผิดทางอาญาเท่ากับผู้ที่ กระทาความผิด และ สาหรับความผิดต่อระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การเจาะระบบ การดักข้อมูล หาก ผู้กระทานั้นเป็นผู้ดูแลระบบเสียเอง จะมีโทษ 1.5 เท่า ของอัตราโทษที่กาหนดกับคน ทั่วไป
  • 3. ประเด็นที่ 2 คัดลอกไฟล์ จาคุกสูงสุด 3 ปี สิ่งใหม่ในกฎหมายนี้ คือมีมาตรา 16 ที่ เพิ่มมาว่า “ผู้ใดสาเนา ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของผู้อื่นโดยมิชอบ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อผู้อื่น ต้องระวางโทษ จาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ” การทาสาเนาคอมพิวเตอร์ อาจหมายถึงการคัดลอกไฟล์ การดาว์นโหลดไฟล์จาก เว็บไซต์ต่าง ๆ มาตรานี้อาจมีไว้ใช้เอาผิดกรณีการละเมิดลิขสิทธิ์ภาพยนตร์หรือ เพลง แต่แนวทางการเขียนเช่นนี้อาจกระทบไปถึงการแบ็กอัปข้อมูล การเข้าเว็บแล้ว เบราว์เซอร์ดาว์นโหลดมาพักไว้ในเครื่องโดยอัตโนมัติหรือที่ เรียกว่า “แคช” (cache เป็น เทคนิคที่ช่วยให้เรียกดูข้อมูลได้รวดเร็วขึ้น โดยเก็บข้อมูลที่เคยเรียกดูแล้วไว้ใน เครื่อง เพื่อให้การดูครั้งต่อไป ไม่ต้องโหลดซ้า) ซึ่งผู้ใช้อาจมิได้มีเจตนาหรือกระทั่ง รับรู้ว่ามีกระทาการดังกล่าว ประเด็นที่ 3 มีไฟล์ลามกเกี่ยวกับเด็ก ผิด ในมาตรา 25 “ผู้ใดครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีลักษณะอันลามกที่เกี่ยวข้อง กับเด็กหรือเยาวชน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ” เป็นครั้งแรกที่มีการระบุขอบเขตเรื่องลามกเด็กหรือเยาวชนโดยเฉพาะขึ้น แต่อย่างไร ก็ดี ยังมีความคลุมเครือว่า ลักษณะอันลามกที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชนนั้น หมายความอย่างไร นอกจากนี้ มาตราดังกล่าวยังเป็นการเอาผิดที่ผู้บริโภค ซึ่งมี ความน่ากังวลว่า การชี้วัดที่ “การครอบครอง” อาจทาให้เกิดการเอาผิดที่ไม่เป็น ธรรม เพราะธรรมชาติการเข้าเว็บทั่วไป ผู้ใช้ย่อมไม่อาจรู้ได้ว่าการเข้าชมแต่ละครั้ง ดาว์นโหลดไฟล์ใดมาโดย อัตโนมัติบ้าง และหากแม้คอมพิวเตอร์ถูกตรวจแล้วพบว่ามี ไฟล์โป๊เด็ก ก็ไม่อาจหมายความได้ว่าผู้นั้นเป็นเจ้าของ หรือเป็นผู้ดูผู้ชม
  • 4. ประเด็นที่ 4 ยังเอาผิดกับเนื้อหา มาตรา 24 (1) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลที่ไม่ตรงต่อความเป็นจริง โดย ประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความ ตื่น ตระหนกแก่ประชาชน เนื้อความข้างต้น เป็นการรวมเอาข้อความในมาตรา14 (1) และ (2) ของ กฎหมาย ปัจจุบันมารวมกัน ทั้งนี้ หากย้อนไปถึงเจตนารมณ์ดั้งเดิมก่อนจะเป็นข้อความดังที่ เห็น มาจากความพยายามเอาผิดกรณีการทาหน้าเว็บเลียนแบบให้เข้าใจว่าเป็นหน้า เว็บ จริงเพื่อหลอกเอาข้อมูลส่วนบุคคล (phishing) จึง เขียนกฎหมายออกมาว่า การ ทาข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมถือเป็นความผิด แต่เมื่อแนวคิดนี้มาอยู่ในมือนัก กฎหมายและเจ้าหน้าที่ ได้ตีความคาว่า “ข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอม” เสียใหม่ กลายเป็นเรื่องการเขียนเนื้อหาอันเป็นเท็จ และนาไปใช้เอาผิดฟ้องร้องกันในเรื่องการ หมิ่นประมาท ความเข้าใจผิดนี้ยังดารงอยู่และต่อเนื่องมาถึงร่างนี้ซึ่งได้ปรับถ้อยคา ใหม่ และกากับด้วยความน่าจะเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความ ตื่น ตระหนกแก่ประชาชน มีโทษจาคุกสูงสุด 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้ง จาทั้งปรับ หากพิจารณาจากประสบการณ์ของเจ้าหน้าที่รัฐในการดาเนินคดีคอมพิวเตอร์ที่ ผ่านมา ปัญหานี้ก่อให้เกิดการเอาผิดประชาชนอย่างกว้างขวาง เพราะหลายกรณี รัฐไทยเป็นฝ่ายครอบครองการนิยามความจริง ปกปิดความจริง ซึ่งย่อมส่งผลให้ คนหันไปแสดงความคิดเห็นในอินเทอร์เน็ตแทน อันอาจถูกตีความได้ว่ากระทบต่อ ความไม่มั่นคงของ “รัฐบาล” ข้อความกฎหมายลักษณะนี้ ยังขัดต่อสิทธิเสรีภาพขั้น พื้นฐานในการแสดงความคิดเห็นโดยไม่จาเป็น
  • 5. ประเด็นที่ 5 ดูหมิ่น ผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ มาตรา 26 ผู้ใดนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ ซึ่ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพ ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่น หรือข้อมูลอื่นใด โดยประการที่น่าจะทาให้บุคคลอื่นเสียหาย เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือ ได้รับความอับอาย หรือเพื่อให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าเป็นข้อมูลที่แท้จริง ต้องระวาง โทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ที่ผ่านมามีความพยายามฟ้องคดีหมิ่นประมาทซึ่งกันและกันโดยใช้ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ จานวนมาก แต่การกาหนดข้อหายังไม่มีมาตราใดใน พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ที่จะใช้ได้อย่างตรงประเด็น มีเพียงมาตรา 14 (1) ที่ระบุเรื่อง ข้อมูลอันเป็นเท็จดังที่กล่าวมาแล้ว และมาตรา 16 ว่าด้วยภาพตัดต่อในร่าง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ฉบับใหม่ได้สร้างความสะดวกให้เจ้าหน้าที่ใช้ตั้งข้อหาการ ดูหมิ่นต่อกัน ได้ง่ายขึ้น ข้อสังเกตคือ ความผิดตามร่างฉบับใหม่นี้กาหนดให้การดูหมิ่น หรือหมิ่นประมาทมี โทษจาคุก 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท ทั้งที่การหมิ่นประมาทในกรณีปกติ ตามประมวลกฎหมายอาญามีโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท ประเด็นที่ 6 ส่งสแปม ต้องเปิดช่องให้เลิกรับบริการ มาตรา 21 ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นจานวนตาม หลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด เพื่อประโยชน์ทางการค้าจนเป็นเหตุให้บุคคล อื่นเดือดร้อนราคาญ และโดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ สามารถบอกเลิกหรือแจ้งความประสงค์เพื่อปฏิเสธการตอบรับได้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ จากที่กฎหมายเดิมกาหนดเพียงว่าการส่งจดหมายรบกวน หากเป็นการส่งโดย ปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มา ถือว่าผิดกฎหมาย ในร่างฉบับใหม่แก้ไขว่า หาก การส่งข้อมูลเพื่อประโยชน์ทางการค้า โดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับสามารถบอกเลิกหรือ
  • 6. แจ้งความประสงค์เพื่อปฏิเสธการ บอกรับได้ ทั้งนี้อัตราโทษลดลงจากเดิมที่กาหนด โทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท มาเป็นจาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 หรือทั้งจาทั้งปรับ ทั้งนี้ ยังต้องตั้งข้อสังเกตด้วยว่า หากการส่งข้อมูลดังกล่าว แม้จะเป็นเหตุให้บุคคล อื่นเดือดร้อนราคาญ แต่ไม่ได้ทาไปเพื่อประโยชน์ทางการค้า ก็จะไม่ผิดตามร่างฉบับ ใหม่นี้ ประเด็นที่ 7 เก็บโปรแกรมทะลุทะลวงไว้ คุกหนึ่งปี มาตรา 23 ผู้ใดผลิต จาหน่าย จ่ายแจก ทาซ้า มีไว้ หรือทาให้แพร่หลายโดย ประการใด ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ชุดคาสั่ง หรืออุปกรณ์ที่จัดทาขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อ นาไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทาความผิดตามมาตรา 15 มาตรา 16 มาตรา 17 มาตรา 18 มาตรา 19 และมาตรา 20 ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่ เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ น่าสังเกตว่า เพียงแค่ทาซ้าหรือมีไว้ซึ่งโปรแกรมที่ใช้เจาะระบบ การก๊อปปี้ดาวน์โหลด ไฟล์อย่างทอร์เรนท์ การดักข้อมูล การก่อกวนระบบ ก็มีความผิดจาคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท เรื่องนี้น่าจะกระทบต่อการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์โดยตรง ประเด็นที่ 8 เพิ่มโทษผู้เจาะระบบ สาหรับกรณีการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิ ชอบ เดิมกาหนดโทษจาคุกไว้ไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท ร่าง กฎหมายใหม่เพิ่มเพดานโทษเป็นจาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท (เพิ่มขึ้น 4 เท่า) ประเด็นที่ 9 ให้หน้าที่หน่วยใหม่ สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
  • 7. ร่างกฎหมายนี้กาหนดหน้าที่ให้หน่วยงานซึ่งมีชื่อว่า “สานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)” เรียกโดยย่อว่า “สพธอ.” และให้ใช้ชื่อเป็น ภาษาอังกฤษว่า “Electronic Transactions Development Agency (Public Organization)” เรียก โดยย่อว่า “ETDA” เป็นองค์การมหาชนภายใต้การกากับดูแลของกระทรวงไอซีที หน่วยงานนี้เพิ่งตั้งขึ้นเป็นทางการประกาศผ่าน “พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสานักงาน พัฒนาธุรกรรมทางอิเล็คทรอนิสก์ พ.ศ. 2554″ เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2554 โดย เริ่มมีการโอนอานาจหน้าที่และจัดทาระเบียบ สรรหาประธานและกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2554 ในร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับใหม่นี้ กาหนดให้สานักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) มีบทบาทเป็นฝ่ายเลขานุการของ “คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการกระทาความผิดทางคอมพิวเตอร์” ภายใต้ร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ฉบับที่กาลังร่างนี้ นอกจากนี้ หากคดีใดที่ต้องการสอบสวนหาตัวผู้กระทาความผิดซึ่งอยู่ในต่างประเทศ จะเป็นอานาจหน้าที่ของสานักงานอัยการสูงสุด ในร่างกฎหมายนี้กาหนดว่า พนักงานสอบสวนอาจร้องขอให้สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การ มหาชน) เป็นผู้ประสานงานกลางให้ได้ข้อมูลมา
  • 8. ประเด็นที่ 10 ตั้งคณะกรรมการ สั.ดส่วน 8 – 3 – 0 : รัฐตารวจ-ผู้ทรงคุณวุฒิ- ประชาชน ร่างกฎหมายนี้เพิ่มกลไก “คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการกระทา ความผิดทางคอมพิวเตอร์” ประกอบด้วย – นายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ – รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นรองประธาน กรรมการ – รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้บัญชาการตารวจแห่งชาติ เลขาธิการสภา ความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) ผู้อานวยการสานักข่าวกรองแห่งชาติ และกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยระบุตัวบุคคลจากผู้มีความรู้ ความ เชี่ยวชาญและประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ในด้านกฎหมาย วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การเงินการธนาคาร หรือสังคมศาสตร์จานวนสามคน โดยให้ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี คณะกรรมการชุดนี้ ให้ผู้แทนจากสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์กรมหาชน), สานักงานกากับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (สังกัดกระทรวงไอซี ที), สานักคดีเทคโนโลยี (สังกัดกรมสอบสวนคดีพิเศษ กระทรวงยุติธรรม), และ กลุ่ม งานตรวจสอบและวิเคราะห์การกระทาความผิดทางเทคโนโลยี กองบังคับการสนับส นุนทางเทคโนโลยี (บก.สสท.) (สังกัดสานักงานตารวจแห่งชาติ) เป็นเลขานุการ ร่วมกัน